You are on page 1of 10

ISSN 1906-5574

วารสารเภสัชกรรมไทย
tjpp.pharmacy.psu.ac.th
วารสารเภสัชกรรมไทย

เจ้าของ: คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์


ที่ปรึกษา: คณบดีคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
บรรณาธิการ: รศ. ดร. สงวน ลือเกียรติบัณฑิต
ผู้ช่วยบรรณาธิการ คุณกุลธิดา ยงสุวรรณกุล
กองบรรณาธิการผู้ทรงคุณวุฒิ
ศ. ดร.ณธร ชัยญาคุณาพฤกษ์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลันเรศวร และ Monash University Malaysia
รศ. ดร.สุรฉัตร ง้อสุรเชษฐ์ School of Pharmacy, South Dakota State University, USA
รศ. ดร.จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ผศ. ดร.มณีรัตน์ เลย์ตัน คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ผศ. ดร.อารีวรรณ เชี่ยวชาญวัฒนา คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ผศ. ดร.ภูรี อนันตโชติ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ผศ. ดร.รุ่งเพชร สกลบารุงศิลป์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
รศ. ดร.วิทยา กุลสมบูรณ์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ผศ. ดร.รัตนาภรณ์ อาวิพันธ์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
รศ. ดร.หทัยกาญจน์ เชาวนพูนผล คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
รศ. ดร.อัญชลี เพิ่มสุวรรณ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
รศ. ดร.ภิญญุภา เปลี่ยนบางช้าง คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
รศ. ดร.มนทรัตม์ ถาวรเจริญทรัพย์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
รศ. ดร.กัญญดา อนุวงศ์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ผศ. ดร.ณัฏฐิญา ค้าผล คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
รศ. ดร.บุรินทร์ ต.ศรีวงษ์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
ดร.กรกมล รุกขพันธ์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ผศ. ดร.วรนุช แสงเจริญ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ผศ. ดร.กุลจิรา อุดมอักษร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ผศ. ดร.สุทธิพร ภัทรชยากุล คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ดร.อุษณีย์ วนรรฆมณี คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

วัตถุประสงค์ นักวิชาการในสาขาที่เกี่ยวข้อง บุคลากรทางการแพทย์และ


วารสารเภสั ช กรรมไทยเป็ น วารสารวิ ช าการ สาธารณสุขอื่น ๆ ตลอดจนเป็นแหล่งเผยแพร่ผลงานวิจัย
อิเล็กทรอนิกส์ของคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลา- ระดับบัณฑิตศึกษา
นครินทร์ วารสารอยู่ในฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 1 และอยู่ใน
ฐานข้อมูล ACI (Asean Citation Index) ในปี 2562 วารสาร ขอบเขตของวารสาร
ได้เพิ่มจานวนเล่มจาก 2 เป็น 4 ฉบับต่อปี ดังนี้ เล่มที่ 1 วารสารเภสัชกรรมไทยเผยแพร่บทความเกี่ยวกับ
(มกราคม-มีนาคม) เล่มที่ 2 (เมษายน-มิถุนายน) เล่มที่ 3 การปฏิบัติงานทางเภสัชกรรม ได้แก่การบริบาลทางเภสัช
(กรกฎาคม-กั น ยายน) และเล่ ม ที่ 4 (ตุ ล าคม-ธั น วาคม) กรรม เภสัชกรรมสังคม การบริหารเภสัชกิจ เศรษฐศาสตร์
วารสารฯ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ คื อ เป็ น สื่ อ กลางเผยแพร่ แ ละ ทางยา ระบาดวิทยาของยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ เภสัช
แลกเปลี่ยนวิชาการระหว่างนักวิจัยด้านเภสัชกรรม เภสัชกร
สาธารณสุข เภสัชพฤติกรรมศาสตร์ การคุ้มครองผู้บริโภค วารสารฯ มีนโยบายให้การพิจารณาบทความและการ
ด้านยาและสุขภาพ นิติเภสัชกรรม จริยศาสตร์เภสัชกรรม เผยแพร่ผลงานเป็นไปด้วยความรวดเร็วโดยใช้เทคโนโลยี
นโยบายด้ า นยาและสุ ข ภาพ การประยุ ก ต์ ใ ช้ ศ าสตร์ ท าง สารสนเทศ บทความแก้ไขและที่ผ่านการพิจารณาแล้วจะถูก
สังคมและการบริหารในการปฏิบัติงานเภสัชกรรม ทยอยเผยแพร่บนเวปไซด์ของวารสารโดยไม่จาเป็นต้องรอ
วารสารฯ อาจตีพิมพ์บทความที่ไม่เกี่ยวข้องกับ ให้บทความอื่น ๆ ในฉบับเดียวกันเสร็จสมบูรณ์ วารสารฯ
งานเภสั ช กรรมโดยตรงหากกองบรรณาธิ ก ารเห็ น ว่ า มี ตั้งเป้าหมายว่าจะเผยแพร่บทความบนอินเทอร์เน็ตภายใน
เนื้อหาที่เป็นประโยชน์ต่องานเภสัชกรรมหรือสามารถนามา เวลา 5 เดือนนับจากวันที่ได้รับบทความ หากผู้วิจัยสามารถ
ประยุกต์ใช้ได้กับงานเภสัชกรรม แก้ไขบทความให้มีคุณภาพตามคาแนะนาของผู้ทรงคุณวุฒิ
โดยไม่ต้องเข้าสู่กระบวนการพิจารณาใหม่อีกรอบหนึ่ง
ชนิดบทความที่เผยแพร่
บทความที่ตีพิมพ์อาจอยู่ในรูปบทความปริทรรศน์ ลิขสิทธิ์
บทความวิจัย หรือบทพินิจหนังสือ เนื้อหาในต้นฉบับต้องมา บทความที่ได้รับการเผยแพร่โดยวารสารเภสัชกรรม
จากความคิดริเริ่มของผู้นิพนธ์ โดยไม่ได้ลอกเลียนมาจากที่ ไทยถือเป็นสิทธิ์ของวารสารฯ ก่อนการเผยแพร่บทความ
ใด ต้ น ฉบั บ ที่ ส่ง ให้ว ารสารฯ พิ จ ารณาต้ อ งไม่ เ คยตีพิมพ์ ผู้เขียนทุกท่านต้องเซ้นต์หนังสือโอนสิทธิ์ในบทความให้แก่
เผยแพร่ในแหล่งใดมาก่อน และต้องไม่อยู่ในระหว่างการ วารสารโดยใช้แบบฟอรมที่กาหนด วารสารยินดีพิจารณาคา
พิจารณาของวารสารอื่น ขออนุญาตใช้ประโยชน์จากบทความของผู้ต้องการ ผู้ขอ
ส่ ว นบทความที่ ไ ด้ รั บ การตี พิ ม พ์ เ ผยแพร่ แ ล้ ว ต้ อ งกรอกแบบฟอร์ ม ค าขอให้ ค รบถ้ ว น และส่ ง มายั ง
บางส่วน เช่นตีพิมพ์ในหนังสือประกอบการประชุมวิชาการ sanguan.L@psu.ac.th ในรูปแบบ .docx เท่านั้น ในช่องที่
กองบรรณาธิการอาจรับไว้พิจารณาหากผู้นิพนธ์แสดงให้ ต้ อ งลงนามของผู้ ข อ กรุ ณ าใช้ ล ายเซ็ น อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์
เห็นว่าบทความที่ส่งมาได้มีส่วนที่เพิ่มเติมจากงานเดิมและ วารสารไม่อ าจพิจารณาแบบฟอร์มในรูป แบบ hard copy
ให้ความรู้ที่ลึกซึ้งขึ้นมากอย่างชัดเจน นอกจากนี้ ผู้เขียนยัง (กระดาษ) หรื อ pdf file ในปั จ จุ บั น วารสารยั ง ไม่ คิ ด
ต้องระบุในบทความว่าได้เผยแพร่บางส่วนของบทความไป ค่าธรรมเนียมการใช้ประโยชน์จากบทความ
แล้ว
ความรับผิดชอบของผู้แต่งบทความ
นโยบาย 1) รายชื่อผู้แต่งบทความ: รายชื่อผู้แต่งที่ปรากฏ
วารสารฯ ใช้กระบวนการพิจารณาโดยผู้เชี่ยวชาญ บนบทความควรมีเฉพาะผู้ที่มีส่วนสาคัญในการคิดหัวข้อ
เป็ น เครื่ อ งมื อ ประกั น คุ ณ ภาพบทความวิ ช าการ ดั ง นั้ น วิ จั ย ออกแบบ ด าเนิ น การ หรื อ แปลผลการวิ จั ย ตามที่
บทความวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์ต้องผ่านการพิจารณา ปรากฏในบทความ ทุ ก คนซึ่ ง มี ส่ว นร่ ว มอย่ า งสาคั ญควร
จากผู้ทรงคุณวุฒิอย่างน้อย 2 ท่าน ผู้พิจารณาบทความของ ได้รับการระบุชื่อว่าเป็นผู้ เขียนโดยเรียงลาดับตามสัดส่วน
วารสารฯ เป็นนักวิชาการที่สังกัดคณะหรือมหาวิทยาลัยที่ ของการมีส่วนร่วม ผู้ที่มีส่วนช่วยเหลือในลักษณะอื่น ๆ ควร
ไม่ ใ ช่ ส ถาบั น ที่ ผู้ ส่ ง ต้ น ฉบั บ สั ง กั ด การประเมิ น โดย ได้รับการกล่าวถึงในกิตติกรรมประกาศ
ผู้ทรงคุณวุฒิเป็นแบบ double blinded คือ มีการปกปิดชื่อ ผู้เประสานงานบทความควรตรวจสอบให้แน่ใจว่า ผู้มีส่วน
เจ้าของบทความแก่ผู้ทรงคุณวุฒิ และเจ้าของบทความไม่ ร่วมอย่างสาคัญทุกท่านมีชื่อปรากฏเป็นผู้ เขียนบทความ
ทราบชื่อของผู้ทรงคุณวุฒิ และไม่ ป รากฏชื่ อ บุ ค คลอื่ น ที่ ไ ม่ เ กี่ ย วข้ อ งเป็ น ผู้ เ ขี ย น
อย่างไรก็ตามผลการวิจัยและความคิดเห็นที่ปรากฏใน บทความ ผู้ประสานงานบทความต้องมั่นใจว่า ผู้เขียนทุก
บทความถือเป็นความคิดเห็นและอยู่ในความรับผิดชอบของ ท่านได้อ่านและยินยอมให้มีการส่งบทความมายังวารสาร
ผู้ นิ พ นธ์ มิ ใ ช่ ค วามเห็ น หรื อ ความรั บ ผิ ด ชอบของกอง ยินยอมให้มีการเผยแพร่บทความฉบับสุดท้าย และยินยอม
บรรณาธิการ หรือคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลา- ที่จะรับผิดและรับชอบในผลงานที่ส่งมายังวารสาร
นครินทร์ ทั้งนี้ไม่รวมความผิดพลาดอันเกิดจากการพิมพ์ 2) การเปิ ด เผยข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ ผลประโยชน์ ทั บ
ซ้อน: ผู้เขียนทุกท่านต้องเปิดเผยผลประโยชน์ทับซ้อนซึ่ง
อาจมีผลสาคัญหรือมีอิทธิพลต่อผลการวิจัยหรื อการแปล ความรับผิดชอบของผู้ทรงคุณวุฒิ
ผลการวิ จั ย ดั ง ที่ ป รากฏอยู่ ใ นบทความ แหล่ ง เงิ น ทุ น วารสารแต่ง ตั้ง ผู้ทรงคุ ณวุฒิอ ย่า งน้ อ ย 2 ท่ า นที่
สนับสนุนการวิจัยหรือการจัดทาบทความจะต้องถูกกล่าวถึง เป็ น ผู้ เ ชี่ ย วชาญในสาขาที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ บทความนั้ น
ในกิตติกรรมประกาศ ผู้ทรงคุณวุฒิมีหน้าที่ช่วยเหลือบรรณาธิการในการตัดสินว่า
3) การเป็ น ผลงานต้ น ฉบั บ และการลอกเลี ย น ควรตีพิมพ์บทความหรือไม่ และในขณะเดียวกัน มีหน้าที่
ผลงาน: เมื่อผู้เขียนส่งบทความมายังวารสารถือว่าเป็นการ ช่วยเหลือผู้เขียนเพื่อพัฒนาคุณภาพบทความ ผู้ทรงคุณวุฒิ
ยืนยันของผู้เขียนต่อวารสารว่า เจ้าของบทความคือคณะ ควรถอนตัวจากการพิจารณาบทความถ้าพบว่าตนเองไม่
ผู้เขียนโดยแท้จริง ส่วนแนวคิดและข้อความต่าง ๆ ซึ่งไม่ใช่ อาจประเมิ น บทความได้ ด้ ว ยสาเหตุ ใ ดก็ ต าม ความ
ของผู้ เ ขียน แต่ ไ ด้ ถู กระบุไ ว้ในบทความจะต้อ งได้ รับการ รับผิดชอบของผู้ทรงคุณวุฒิต่อการประเมินบทความมีดังนี้
อ้ า งอิ ง อย่ า งเหมาะสม ผู้ เ ขี ย นต้ อ งรั บ ผิ ด ชอบในการขอ 1) การเปิ ด เผยข้อ มูลและผลประโยชน์ ทับซ้อน:
อนุญาตใช้ภาพหรือขอลิขสิทธิ์จากงานอันมีลิขสิทธิ์นั้น ผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ต้ อ งไม่ รั บ พิ จ ารณาบทความที่ ต นเองมี
4) การตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานในหลายวารสารหรือ ผลประโยชน์ทับซ้อน เช่นเป็นบทความที่ตนเองมีส่วนร่วม
หลายแหล่ง: ผู้เขียนจะต้องระบุในใบปะหน้า (ตาม template หรือเป็นคู่แข่ง หรือมีความสัมพันธ์ใด ๆ กับผู้เขียน บริษัท
ของวารสาร) ว่ า บทความที่ส่งมายัง ว่าสารนั้ นไม่เคยถูก หรือหน่วยงานซึ่งเล็งเห็นได้อย่างชัดเจนว่าจะมีผลกระทบ
เผยแพร่ในวารสารหรือไม่ถูกนาเสนอในการประชุมวิชาการ ต่อการประเมินบทความอย่างสาคัญ
ต่าง ๆ มาก่อน (เว้นแต่ว่ามีการเพิ่มเติมอย่างสาคัญจนถือ 2) การประเมิ น บทความตามก าหนดเวลา:
ว่าเป็นงานที่ต่างจากงานที่นาเสนอ) และไม่อยู่ระหว่างการ ผู้ทรงคุณวุฒิที่รับพิจารณาบทความควรส่งผลการประเมิน
พิ จ ารณาของวารสารเล่ ม อื่ น การส่ ง บทความเข้ า สู่ ก าร ภายในเวลาที่ ก าหนดผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ที่ ท ราบว่ า ตนเองไม่
พิจารณาของวารสารมากกว่า 1 ฉบับในเวลาเดียวกันถือว่า สามารถประเมินบทความได้ด้วยสาเหตุใดก็ตาม ควรแจ้ง
เป็นพฤติกรรมที่ผิดจริยธรรม บรรณาธิการโดยทันที
5) มาตรฐานการเขียนบทความ: บทความจะต้อง 3) การถือว่าบบทความเป็นความลับ: บทความที่
เขี ย นโดยมี ร ายละเอี ย ดมากพอสมควรเพื่ อ ท าให้ ผู้ อ่ า น ผู้ทรงคุณวุฒิรับประเมินควรถือเป็นเอกสารลับ ข้อมูลและ
สามารถท าวิ จั ย ซ้ าได้ โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ในส่ ว นของ แนวคิดต่าง ๆ ที่ผู้ทรงคุณวุฒิไ ด้รับทราบในกระบวนการ
ระเบี ย บวิ ธีวิจัยในประเด็น ที่สาคั ญ การน าเสนอข้อมูลใน ตรวจสอบบทความนั้น ควรต้องถือเป็นความลับและต้องไม่
รายงานจะต้องมีความถูกต้อง การดัดแปลงข้อมูลหรือการ ใช้ เ พื่ อ ผลประโยชน์ ส่ ว นตั ว ผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ไ ม่ ค วรแสดง
จงใจแปลผลข้อมูลอย่างไม่ถูกต้อง ถือเป็นพฤติกรรมที่ผิ ด บทความหรืออภิปรายพูดคุยเกี่ยวบทความที่ได้ประเมินกับ
จริยธรรม ผู้อื่น เว้นแต่จะได้รับความยินยอมจากบรรณาธิการ
6) การเข้ า ถึ ง ข้ อ มู ล และการเก็ บ รั ก ษาข้ อ มู ล : 4) ความปราศจากอคติในการประเมินบทความ:
วารสารอาจขอให้ ผู้ เ ขี ย นส่ ง มอบข้ อ มู ล ดิ บ ที่ ใ ช้ ใ นการ ผู้ทรงคุณวุฒิควรประเมินบทความด้วยความเป็นธรรมและ
วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อตรวจสอบความถูกต้องหากมีข้อสงสัย ปราศจากอคติ การวิพากษ์วิจารณ์โดยความชอบ/ไม่ชอบ
ดังนั้นผู้เขียนควรเก็บข้อมูลของการวิจัยไว้หลังการวิจัยเสร็จ ส่วนตัว ถือว่าไม่เหมาะสม ผู้ประเมินควรแสดงความเห็น
สิ้นจนกว่าจะได้รับการตีพิมพ์บทความไปแล้วระยะหนึ่ง ของตนอย่างชัดเจน โดยอธิบายและให้เหตุผลว่าทาไมตนจึง
7) การพบข้อผิดพลาดที่สาคัญในงานตีพิมพ์: หาก เห็ น เช่ น นั้ น ค าแนะน าของผู้ท รงคุณวุ ฒิควรละเอี ยดและ
ผู้ เ ขี ย นพบความผิ ด พลาดที่ มี ค วามส าคั ญ ในการวิ จั ย สร้ า งสรรค์ เ พื่ อ ช่ ว ยให้ ผู้ เ ขี ย นบทความสามารถพั ฒ นา
ภายหลัง หรือพบความไม่ถูกต้องในงานที่ตีพิมพ์ ผู้เขียนมี บทความของตนต่อไปได้แม้ว่าบทความนั้นจะมีคุณภาพไม่
หน้ า ที่ แ จ้ ง ต่ อ วารสารและประสานงานกั บ บรรณาธิ ก าร ดีและถูกปฏิเสธการตีพิมพ์ก็ตาม
เพื่อให้ปรับแก้บทความให้มีความถูกต้องหรือถอนบทความ 5) การแจ้งถึงงานในอดีตที่เกี่ยวข้อง: ผู้ทรงคุณวุฒิ
หากจาเป็น ควรระบุ ใ นความเห็ น ถึ ง งานในอดี ต ซึ่ ง บทความไม่ ไ ด้
กล่ า วถึ ง ข้ อ ความที่ ก ล่ า วถึ ง งานในอดี ต ควรบอกถึ ง
แหล่ ง ที่ ม าด้ ว ย (เช่ น ชื่ อ วารสาร) ผู้ ป ระเมิ น ควรแจ้ ง ต่ อ
บรรณาธิการหากทราบว่า บทความที่พิจารณามีส่วนใดส่วน คาแนะนาสาหรับผู้นิพนธ์
หนึ่ ง ที่ ค ล้ า ยคลึ ง หรื อ เหมื อ นกั บ บทความที่ อ ยู่ ใ นการ การส่งต้นฉบับ
พิจารณาของวารสารอื่นหรืองานตีพิมพ์ในอดีต ผู้ นิ พ นธ์ ส ามารถส่ ง ต้ น ฉบั บ ที่ เ ตรี ย มขึ้ น ตาม
รู ป แบบที่ ก าหนดมายั ง วารสารฯ ผ่ า นระบบ online
ความรับผิดชอบของบรรณาธิการ submission ที่ www.tci-thaijo.org/index.php/TJPP/about/
1) ความยุ ติ ธ รรมในการประเมิ น บทความ: submissions ทั้งนี้ผู้ประสงค์จะส่งบทความต้องลงทะเบียน
บรรณาธิการจะประเมินบทความในส่วนที่เป็นเนื้อหาทาง ในระบบดังกล่าวก่อน (กรุณาศึกษาขั้นตอนจากคู่มือการใช้
วิชาการโดยไม่มีอคติในเรื่องคุณลักษณะใด ๆของผู้เขียน งานระบบวารสารอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ใ นส่ ว นของคู่ มื อ สาหรั บ
หรือองค์กร ผู้เขียยน) หากท่านประสบปัญหาในการส่งบทความ กรุณา
2) ความลั บ ของบทความ: บรรณาธิ ก ารจะไม่ แจ้งที่ sanguan.L@psu.ac.th
เปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบทความที่ส่งมายังวารสารกับผู้หนึ่ง
ผู้ใดนอกจากผู้ประสานงานบทความ ผู้ทรงคุณวุฒิ หรือผู้ที่ ค่าธรรมเนียมและกระบวนการพิจารณาบทความ
อาจเป็นผู้ทรงคุณวุฒิ นอกจากนี้บรรณาธิการจะพยายาม วารสารมีกระบวนการพิจารณาบทความ 2 แบบ
อย่ า งเต็มที่เ พื่อ ให้ก ระบวนการพิจารณาบทความเป็นไป คือ แบบปกติ (ทราบผลการประเมินบทความใน 6 สัปดาห์
อย่ า งปกปิ ด แบบ 2 ด้ า นและเป็ น ธรรม โดยไม่ เ ปิ ด เผย โดยมีค่าธรรมเนียมการพิจารณาบทความ 2,500 บาท) และ
รายชื่ อ ผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ กั บ ผู้ ใ ด (ยกเว้ น เมื่ อ ถู ก ร้ อ งขอโดย แบบเร่ ง ด่ ว น (ทราบผลการประเมิ น ใน 2 สั ป ดาห์ โดยมี
เหตุผลอันสมควร และเล็งเห็นแล้วว่าจะไม่เกิดผลกระทบเชิง ค่ า ธรรมเนี ย มการพิ จ ารณาบทความ 5,000 บาท) ผู้ ส่ ง
ลบใด ๆ ต่อผู้เกี่ยวข้อง) บทความสามารถเลือกกระบวนการพิจารณาบทความโดย
3) ก า ร พ บ เ ห็ น ก า ร ก ร ะ ท า ผิ ด จ ริ ย ธ ร ร ม : ระบุในใบปะหน้าของต้นฉบับที่ส่งมายังวารสาร พร้อมแนบ
บรรณาธิการจะดาเนินการอย่างเหมาะสมหากพบว่ามีการ หลั ก ฐานการโอนเงิ น (กรุ ณาดู ที่ template ของต้ น ฉบั บ)
กระทาผิดจริยธรรมทางวิชาการ ไม่ว่าบทความนั้นจะได้รับ กรุ ณ าโอนเงิ น ไปยั ง บั ญ ชี ธ นาคารไทยพาณิ ช ย์ สาขา
การตีพิมพ์หรือไม่ก็ตาม เพื่อที่จะแก้ไขปัญหาทางจริยธรรม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ชื่อบัญชี “โครงการปริญญาโท
นั้น ทั้งนี้การปฏิเสธบทความด้วยเหตุผลทางด้านจริยธรรม สาขาเภสัชศาสตร์สังคมและการบริหาร” เลขที่บัญชี 565-
จะต้องมีหลักฐานที่ชัดเจน 266609-0 ประเภทบัญชีออมทรัพย์ (หมายเหตุ สาหรับผู้
4) การเปิ ด เผยข้อ มูลและผลประโยชน์ ทับซ้อน: โอนเงินจากบางธนาคาร ชื่อเจ้าของบัญชีที่ปรากฏจะเป็น
บรรณาธิการจะต้องทราบถึงแหล่งที่มาของเงินทุนวิจัยหรือ พิมพ์วรา ตันเวชศิลป์ ซึ่งเป็นประธานหลักสูตรปริญญาโท
แหล่งทุนสหรับการจัดทาบทความ บรรณาธิการจะพยายาม สาขาเภสั ช ศาสตร์ สั ง คมและการบริ ห าร) ในการโอน
ป้ อ งกั น ไม่ ใ ห้ มี ผ ลประโยชน์ ทั บ ซ้ อ นระหว่ า งผู้ เ ขี ย น ค่าธรรมเนียมการพิจารณาบทความ ขอความกรุณาให้ผู้
ผู้ทรงคุณวุฒิ และบุคคลในกองบรรณาธิการ เอกสารต่ าง ๆ แต่งบทความโอนเงินเป็นจานวน 2500 บาทหรือ 5000 บาท
ที่ถูกส่งมาเพื่อตีพิมพ์ยังวารสารจะไม่ถูกใช้เพื่อประโยชน์ใน แล้วแต่กรณีโดย “ไม่ต้อง” โอนค่าธรรมเนียมอื่น ๆ เช่น ค่า
การวิจัยของบรรณาธิการโดยปราศจากความยินยอมของ แปลบทคัดย่อเป็นภาษาอังกฤษหรือค่าออกจดหมายต่าง ๆ
ผู้เขียน ในรู ป ของกระดาษ ส าหรั บ ผู้ แ ต่ ง ที่ เ ป็ น บุ ค ลากรหรื อ
5) ความผิดพลาดที่พบในบทความที่ตีพิมพ์: เมื่อ นั ก ศึ ก ษาของคณะเภสั ช ศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลา
ผู้เขียนพบความผิดพลาดที่สาคัญหรือพบความไม่ถูกต้องใน น ค ริ น ท ร์ ก รุ ณ า ติ ด ต่ อ บ ร ร ณ า ธิ ก า ร ท า ง อี เ ม ล์
งานตี พิ ม พ์ ข องตนและได้ ร ายงานแก่ บ รรณาธิ การ sanguan.L@psu.ac.th ก่อนส่งบทความ
บรรณาธิ ก ารจะตี พิ ม พ์ ห น้ า แก้ ไ ขเพื่ อ ปรั บ บทความให้ มี ในทุกบทความ วารสารจะแต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อ
ความถูกต้อง หรือเพิกถอนบทความหากจาเป็น พิ จ ารณาคุ ณ ภาพบทความอย่ า งน้ อ ย 2 ท่ า นที่ มี ค วาม
เชี่ยวชาญตรงหรือเกี่ยวเนื่องกับเนื้อหาของบทความ และไม่
เป็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับผู้แต่งบทความ การประเมินโดย
ผู้ทรงคุณวุฒิเป็นแบบ double blinded คือ มีการปกปิดชื่อ
เจ้าของบทความแก่ผู้ทรงคุณวุฒิ และเจ้าของบทความไม่ 2. บทคัดย่อ สาหรับบทความวิจัยทั้งภาษาไทย
ทราบชื่ อ ของผู้ ท รงคุ ณวุ ฒิ ผลการประเมิ น มี 4 แบบ คื อ และภาษาอังกฤษ ความยาวไม่เกิน 350 คา ประกอบด้วย
ตี พิ ม พ์ ไ ด้ โ ดยไม่ ต้ อ งแก้ ไ ข ตี พิ ม พ์ ไ ด้ แ ต่ ต้ อ งแก้ ไ ขตาม หั ว ข้ อ วั ต ถุ ป ระสงค์ วิ ธี ก าร ผลการวิ จั ย และสรุ ป ท้ า ย
คาแนะนา ต้องแก้ไขตามคาแนะนาและผ่านการพิจารณา บทคัดย่อให้เขียนคาสาคัญไม่เกิน 6 คา สาหรับบทความที่
ใหม่ จ ากผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ อี ก ครั้ ง หนึ่ ง และไม่ ค วรตี พิ ม พ์ เป็ น ภาษาไทย ผู้ แ ต่ ง สามารถเขี ย นเฉพาะบทคั ด ย่ อ
บทความ การเลื อ กวิ ธี ก ารพิ จ ารณาอย่ า งเร่ ง ด่ ว นมิ ไ ด้ ภาษาไทย โดยไม่ต้ องส่ งบทคัด ย่อฉบับภาษาอังกฤษมา
หมายความว่า บทความจะได้รับการตีพิมพ์เสมอไป ขณะส่ ง บทความครั้ ง แรกก็ ไ ด้ อย่ า งไรก็ ต าม หลั ง จาก
หากผลการประเมิน คือ “ตีพิมพ์ได้แต่ต้องแก้ไข บทความได้ผ่านการพิจารณาของผู้ท รงคุ ณวุฒิและได้ รั บ
ตามค าแนะน า” ผู้ แ ต่ ง จะต้ อ งแก้ ไ ขบทความให้ เ สร็ จ สิ้ น การยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารแล้ว ผู้แต่งบทความจะต้อง
ภายใน 20 วันและส่งกลับมายังวารสาร หลังจากนั้นกอง จัดทาบทคัดย่อภาษาอังกฤษส่งกลับมาพร้อมบทความฉบับ
บรรณาธิการจะตรวจสอบบทความฉบับแก้ไข พร้อมทั้งจัด แก้ ไ ข บทความปริ ท รรศน์ ค วรมี บ ทคั ด ย่ อ ด้ ว ย โดยใช้
หน้ า ให้ อ ยู่ ใ นรู ป แบบที่ พร้ อ มที่จ ะเผยแพร่ ภ ายใน 10 วั น รูปแบบตามความเหมาะสม
วารสารจะส่งต้นฉบับที่จัดหน้าแล้วให้ผู้แต่งเพื่อตรวจสอบ กรุณาอย่าระบุชื่อผู้นิพนธ์ในบทคัดย่อ ทั้งนี้เพื่อให้
อี ก ครั้ ง ให้ เ สร็ จ สิ้ น ภายใน 7 วั น หลั ง จากนั้ น วารสารจะ การพิจารณาของผูท้ รงคุณวุฒิเป็นไปแบบนิรนาม
ดาเนินการออกจดหมายตอบรับการตีพิมพ์ให้แก่ผู้แต่งและ 3. ส่วนเนื้อหา
เผยแพร่บทความทางเว็บไซต์ต่อไป บทความวิจัยควรมีความยาวไม่เกิน 20-25 หน้า
วารสารดาเนินการส่งเอกสารต่าง ๆ ให้แก่ผู้เขียน (รวมรูป ตารางและเอกสารอ้างอิง) โครงสร้างบทความมี
บทความในรูปของอิเล็กทรอนิกส์ อย่างไรก็ตาม หากผู้แต่ง ดังนี้
บทความต้ อ งการจดหมายจากทางวารสารในรู ป ของ 3.1 บทนา (ความยาวไม่ควรเกินสองหน้า)
กระดาษ (เช่น จดหมายตอบรับในการตีพิมพ์) ทางวารสาร 3.2 วิธีการ ในส่วนนี้ หากงานวิจัยนั้นเป็นงานวิจัย
ยินดีออกจดหมายในรูปกระดาษให้โดยคิด ค่าธรรมเนี ย ม ในมนุษย์ ผู้แต่งบทความจะต้องแสดงข้อความว่า งานวิจัย
ฉบับละ 200 บาท นั้นได้ผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการจริยธรรมวิ จั ย
ของ…(ระบุชื่อสถาบันหรือหน่วยงาน) หรือแสดงข้อความใน
การเตรียมต้นฉบับ ทานองเดียวกันนี้ นอกจากนี้ผู้แต่งบทความจะต้องสามารถ
ต้ น ฉบั บ ควรเตรี ย มด้ ว ย Microsoft Office Word แสดงหลักฐานว่า โครงการวิจัยของตนได้ผ่านการพิจารณา
เป็นภาษาไทยหรืออังกฤษ ในลักษณะดังต่อไปนี้ ของคณะกรรมการจริ ย ธรรมวิ จั ย หากผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ข อง
ขนาดหน้า: กระดาษ A4 วารสารต้องการให้แสดงหลักฐานดังกล่าว (แต่ไม่ต้องส่ง
ตัวอักษร: Browallia New ขนาด 14 pt หลั ก ฐานดั ง กล่ า วมายั ง วารสารในขณะที่ ยื่ น บทความให้
ขอบกระดาษ: 1 นิ้วทุกด้าน วารสารพิจารณา)
ระยะห่างระหว่างบรรทัด: 2 เท่า (double space) 3.3 ผลการศึกษาและการอภิปรายผล ผู้นิพนธ์
ท่านสามารถดู template ของต้นฉบับได้ที่เว็บไซต์ สามารถแทรกรูปและตารางในเนื้อหาได้ตามความเหมาะสม
ของวารสาร ต้ น ฉบั บ ควรพิ ม พ์ เ ป็ น คอลั ม น์ เ ดี ย ว ผู้ ส่ ง 3.4 สรุปและข้อเสนอแนะ
ต้นฉบับไม่ต้องจัดพิมพ์เป็นสองคอลัมน์ 3.5 กิตติกรรมประกาศ ผู้นิพนธ์ควรระบุแหล่งทุน
ต้นฉบับต้องมีส่วนประกอบดังนี้ ที่สนับสนุนงานวิจัยในกิตติกรรมประกาศ
1. ใบปะหน้าบทความระบุชื่อเรื่องภาษาไทยและ 3. 6 เอกสา รอ้ า ง อิ ง (กรุ ณ า เขี ย นรา ย กา ร
อังกฤษ ชื่อ สถานที่ติดต่อ และ E-mail ของผู้นิพนธ์ทุกคน เอกสารอ้างอิงท้ายบทความเป็นภาษาอังกฤษ แม้ว่าเอกสาร
พร้ อ มระบุ ว่ า ผู้ นิ พ นธ์ ท่ า นใดคื อ ผู้ ป ระสานงานบทความ ที่ อ้ า งอิ ง นั้ น จะเป็ น ภาษาไทยก็ ต าม ทั้ ง นี้ เ พราะเป็ น
นอกจากนี้ วารสารใคร่ขอให้ผู้นิพนธ์ระบุข้อความต่อไปนี้ ” ข้ อ ก าหนดของการน าวารสารเข้ า สู่ ฐ านข้ อ มู ล Asean
ข้าพเจ้าขอรับรองว่าบทความนี้ไม่เคยตีพิมพ์เผยแพร่ที่ใด Citation Index)
มาก่อนและไม่อยู่ระหว่างการพิจารณาของวารสารฉบับอื่น” 3.7 ภาคผนวก (ถ้ามี)
ส่วนบทความปริทรรศน์จะมีหัวข้อย่อยอย่างไรก็ 1. การอ้างอิงบทความจากวารสาร
ได้ตามความเหมาะสม และควรมี ความยาวไม่เกิน 20-25 Deehan DJ, Bell K, McCaskie AW. Adolescent
หน้า musculoskeletal injuries. J Bone Surg 2007;89:25-8.
กรุ ณาอย่ า ระบุชื่อ ผู้นิ พนธ์ในบทความส่ วนใด ๆ กรณีผู้เขียนเกิน 6 คน ให้ใส่ชื่อผู้เขียน 6 คนแรก
ทั้งนี้เพื่อให้การพิจารณาของผู้ทรงคุณวุฒิเ ป็นไปแบบนิ ร คั่ น ด้ ว ยเครื่ อ งหมายจุ ล ภาคและตามด้ ว ย et al. ส าหรั บ
นาม เอกสารภาษาไทยใช้คาว่า ”และคณะ” ชื่อวารสารใช้ชื่อย่อ
ตามที่ ก าหนดใน Index Medicus (ตรวจสอบได้ จ าก
วารสารมี น โยบายไม่ รั บ ตี พิ ม พ์ บ ทความที่ มี http://www.ncbi.nlm.nih.gov) สาหรับวารสารภาษาไทยให้
ลักษณะต่อไปนี้ ใช้ชื่อเต็มที่ปรากฎที่บนปก
-งานวิจัยเชิงสารวจที่วัดตัวแปรและแปลผลของ การเขี ย นแบบแวนคู เ วอร์ จะแสดงเฉพาะ ปี แ ละ
คะแนนโดยแบ่งคะแนนออกเป็นช่วงที่เท่า ๆ กัน แต่ไม่มี เล่มที่ (volume) โดยไม่ต้องใส่เดือนและฉบับที่
หลักฐานรองรับว่า การแบ่งดังกล่าวมีความเหมาะสม เช่น 2. การอ้างอิงคอลัมน์เฉพาะในวารสาร เช่น บท
การส ารวจตั ว แปรที่ มี ค ะแนนระหว่ า ง 1-10 ซึ่ ง ผู้ วิ จั ย ให้ บรรณาธิการ จดหมาย หรืออ้างอิงบทคัดย่อทาดังนี้
ความหมายของช่วงคะแนนว่า 1-4 หมายถึงน้อย 4.01-7 Deehan DJ. Adolescent musculoskeletal
หมายถึ ง ปานกลาง 7.01-10 แปลว่ า มาก โดยมิ ไ ด้ แ สดง injuries [editorial]. J Bone Surg 2007; 89: 25-8.
หลักฐานว่า ทาไมถึงแบ่งเกณฑ์คะแนนเช่นนั้น การรับไม่ 3. การอ้างอิงหนังสือทั้งเล่ม
ตี พิ ม พ์ บ ทความดั ง กล่ า วเพราะการแบ่ ง คะแนนดั ง กล่ า ว Stafford I. Coaching for long-term athlete
ก่ อ ให้ เ กิ ด การแปลผลที่ ไ ม่ เ หมาะสม เช่ น จากตั ว อย่ า ง development. 2nd ed. Leeds: Coach Foundation; 2005.
ข้ า งต้ น 6.98 ถื อ ว่ า มี ร ะดั บ ปานกลาง ส่ ว น 7.01 ถื อ ว่ า มี 4 การอ้างอิงบทหนึ่งของหนังสือ
ระดับมาก อย่างไรก็ตาม วารสารยิ นดีรับพิจารณาบทความ Blake G. Radiation protection. In: Ring F,
เชิงสารวจที่แปลผลคะแนนตามความหมายของสเกลที่ใช้วดั Hadsall R, editors. Bone densitometry. 2nd ed. Bath:
เช่น วัดตัวแปรบนสเกลจาก 1-5 (1=ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง ถึง National Osteoporosis Society; 1998. p.116-26.
5=เห็นด้วยอย่างยิ่ง) และผู้วิจัยแปลผลคะแนนที่วัดได้ตามที่ 5. การอ้ า งอิ ง บทความในหนั ง สื อ ประกอบการ
ก าหนดในสเกล นอกจากนี หากผู้ วิ จั ย ใช้ แ บบสอบถาม ประชุม
มาตรฐานที่มีเกณฑ์แปลผลซึ่งได้รั บการพิสูจน์ความตรงมา Bent M, Heim G. Dtecttion of privacy and
เป็ น ที่ เ รี ย บร้ อ ยแล้ ว วารสารยิ น ดี เ ป็ น อย่ า งยิ่ ง ที่ จ ะรั บ security in medical care. In: Dunn C, Enhoff O, editors.
พิจารณาบทความของท่าน Phartech 2009. Proceedings of the Federal Pharmacy
Congress; 2009 Jan 7-11; Bangkok, Thailand. Bangkok:
การอ้างอิง Uthaitip; 2009. p.101-9.
การเขี ย นเอกสารอ้ า งอิ ง ใช้ รู ป แบบแวนคู เ วอร์ 6. การอ้างอิงวิทยานิพนธ์
(Vancouver Style) กรุณาเขียนรายการเอกสารอ้างอิงท้าย Kathrine S. Pharmacy home health care
บทความเป็นภาษาอังกฤษ แม้ว่าเอกสารที่อ้างอิงนั้นจะเป็น [dissertation]. St. Paul: University of Washington; 1995.
ภาษาไทยก็ ต าม ทั้ ง นี้ เ พราะเป็ น ข้ อ ก าหนดของการน า 7. การอ้างอิงเอกสารเว็บไซต์
วารสารเข้าสู่ฐานข้อมูล Asean Citation Index ซึ่งวารสาร Reshi L. Cancer: an introduction [online]. 2002
กาลังเตรียมการอยู่ การอ้างอิงในเนื้อเรื่องให้ใส่ตัวเลขกากับ [cited Dec 9, 2009]. Available from: www.psumed.ac.th/
ที่ท้ายข้อความโดยใช้ตัวเลขอารบิคอยู่ในวงเล็บ เช่น การ cancer.htm.
ฝึ ก งานมี ผ ลต่ อ ทั ก ษะการจ่ า ยยาของนั ก ศึ ก ษา ( 1) 8. การอ้ า งอิ ง พระราชบั ญ ญั ติ กฎกระทรวง
ผลการวิจัยพบความแตกต่างของผู้ประกอบวิชาชีพ (2-4,9) ประกาศกระทรวง คาสั่ง
รู ป แบบการเขี ย นรายการอ้ า งอิ ง ท้ า ยบทความ Cosmetic Act B.E. 2558. Royal Gazette No.
ขึ้นกับประเภทของเอกสารที่อ้างอิงดังนี้ 132, Part 86A (Sep 8, 2015).
Public Health Ministerial Declaration No. 256 in
2002 on drinking water in sealed containers (No 4) .
Royal Gazette No. 119, Part 54D special (May 10,
2002).
Directive of Consumer Protection Committee
no 7/ 2553 on authorization of competent officers to
settle the case according to of the Consumer Protection
Act, B.E. 2522. (Jul 16, 2010).
สารบัญวารสารเภสัชกรรมไทย
ปีที่ 11 เล่มที่ 3 ก.ค.-ก.ย. 2562
หน้าที่
แบบแผนและผลลัพธ์ทางคลินิกจากการใช้ยาต้านจุลชีพรักษาผูป้ ่วยปอดอักเสบในโรงพยาบาลที่ติดเชื้อดื้อยา
470 Acinetobacter baumannii
วันวิสาข์ ขนานแข็ง, พีรยา ศรีผ่อง (เผยแพร่: 1 ก.ค. 2562)
การพัฒนาแนวทางการบริบาลผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลวเรื้อรังโดยเภสัชกรร่วมกับทีมสหสาขาวิชาชีพสาหรับ
483 ผู้ป่วยที่เข้าพักรักษาตัวในโรงพยาบาลสุรินทร์
ศิรประภา สนสี, ภัทรินทร์ กิตติบุญญาคุณ, วนรัตน์ อนุสรณ์เสงี่ยม, ฉลองชัย ทุนดี,
อารีรัตน์ ลีละธนาฤกษ์ (เผยแพร่: 1 ก.ค. 2562)
การสารวจความต้องการช่องทางการเติมยาของผู้ปว่ ยโรคเรื้อรัง
504 ชวนชม ธนานิธิศักดิ์, ศุจีรตั น์ ถาดี, สุพิชฌาย์ อังกาบสุวรรณ, เหม่ยเสียน พงศ์วิไลรัตน์,
ธีรพล ทิพย์พยอม (เผยแพร่: 1 ก.ค. 2562)
สถานการณ์การนาผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่สูบบุหรี่เข้ารับการบาบัดเพื่อเลิกบุหรี่
515 อดิณัฐ อานวยพรเลิศ, ชลลดา ไชยกุลวัฒนา, สุรศักดิ์ เสาแก้ว (เผยแพร่: 1 ก.ค. 2562)
ประสิทธิภาพของแบบจาลองเภสัชจลนศาสตร์ประชากรของยาลิเทียมในผูป้ ่วยชาวไทย
531 จันทิมา เมทนีธร, มนุพัศ โลหิตนาวี, ภวนันท์ สว่างจันทร์, อรภรณ์ สวนชัง (เผยแพร่: 1 ก.ค. 2562)
การให้ยาปฏิชวี นะเพื่อป้องกันการติดเชื้อในแผลจากสุนัขและแมวกัด/ข่วน
540 พรชนิตว์ หมื่นหน้า, ชาญกิจ พุฒิเลอพงศ์ (เผยแพร่: 1 ก.ค. 2562)
ผลของการจัดการปัญหาการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพปลอมปนสเตียรอยด์ในชุมชนในเขตโรงพยาบาลส่งเสริม
552 สุขภาพตาบลขุนลาน อาเภอดอกคาใต้ จังหวัดพะเยา
รุจิรา ปัญญา (เผยแพร่: 1 ก.ค. 2562)
การประเมินการใช้ยาที่ลดความเสี่ยงในการเกิดภาวะเลือดออกในทางเดินอาหารในผู้สูงอายุที่ได้รับยาต้าน
564 อักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์
พิราภรณ์ อยู่เหลีย่ ง, ชุลีพร ทองจักร, ปาจรีย์ ศรีอทุ ธา, กนกพร นิวัฒนนันท์ (เผยแพร่: 1 ก.ค. 2562)
ผลของการแก้ไขปัญหาสารเคมีกาจัดศัตรูพชื ตกค้างในผักสดในโรงพยาบาล
575 บัณฑิต ต้วมศรี, สุรศักดิ์ เสาแก้ว (เผยแพร่: 1 ก.ค. 2562)
ผลของมาตรการแก้ปญ ั หาการโฆษณาอาหารและยาที่ผิดกฎหมายในวิทยุท้องถิ่น
586 ราชัน คงชุม, สุนทรี ท. ชัยสัมฤทธิโ์ ชค, สงวน ลือเกียรติบณ ั ฑิตบัณฑิต (เผยแพร่: 1 ก.ค. 2562)
มาตรการในการควบคุมกากับร้านขายยาแผนปัจจุบันที่อยู่ระหว่างกระบวนการพิจารณาดาเนินคดี
603 อังศุรัตต์ ยิม้ ละมัย, นุศราพร เกษสมบูรณ์, สุภนัย ประเสริฐสุข (เผยแพร่: 1 ก.ค. 2562)
ผลของการจัดซื้อยาและเวชภัณฑ์ที่มใิ ช่ยา โรงพยาบาลสวรรค์ประชารักษ์ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2556-2557
614 เปรียบเทียบกับปี พ.ศ. 2558-2559 และ พ.ศ. 2560-2561
วนิดา นิมติ รพรชัย (เผยแพร่: 1 ก.ค. 2562)
สารบัญวารสารเภสัชกรรมไทย
ปีที่ 11 เล่มที่ 3 ก.ค.-ก.ย. 2562
หน้าที่
การประเมินกระบวนการของการผสมผสานวิธีการสารวจแบบเร่งด่วนร่วมกับ การสนทนากลุ่มในการค้นหา
625 ปัญหายาและผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน : กรณีศึกษาหมู่บ้านโนนหัวนา ตาบลศรีสุข อาเภอสีชมพู จังหวัด
ขอนแก่น
สุชาดา กาบิน, ทิพาพร กาญจนราช, ดุจฤดี ชินวงศ์ (เผยแพร่: 1 ก.ค. 2562)
ผลการพัฒนาศักยภาพของอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมูบ่ ้าน ในเรื่องร้านชาคุณภาพซึง่ ปลอดยาห้าม
638 จาหน่าย
นวเรศ เหลืองใส, ชิดชนก เรือนก้อน (เผยแพร่: 1 ก.ค. 2562)
ผลของโปรแกรมส่งเสริมสมรรถนะแห่งตนต่อความสามารถในการใช้ยาฉีดอินซูลิน ชนิดปากกาในผู้ป่วย
648 โรคเบาหวานชนิดที่ 2: การทดลองเชิงสุ่มที่มีกลุ่มควบคุม
กรองแก้ว พรหมชัยศรี, สงวน ลือเกียรติบัณฑิต, วรนุช แสงเจริญ (เผยแพร่: 1 ก.ค. 2562)
การพัฒนาเครื่องมือวัดความแตกฉานด้านสุขภาพของคนไทย ที่อิงการวัดความสามารถในการใช้ฉลาก
659 โภชนาการ
ปรินา ณ พัทลุง, สงวน ลือเกียรติบัณฑิต (เผยแพร่: 1 ก.ค. 2562)
การจัดการปัญหาโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพทีผ่ ิดกฎหมายทางสื่อวิทยุโดยการมีส่วนร่วมของเครือข่ายจังหวัด
678 ลพบุรี
ตุลาภรณ์ รุจิระยรรยง (เผยแพร่: 1 ก.ค. 2562)

You might also like