You are on page 1of 36

19

คู่มอื การเลือกสาขา ปี การศึกษา 2564

3.3.4 ข้อแนะนําในการเลือกรายวิชาเลือกในสาขา
รายวิชาเลือ กจํานวน 2 หน่ ว ยกิต มีว ตั ถุ ประสงค์เ พื่อเสริมให้นักศึกษามีองค์ความรู้แ ละ
ทักษะเพียงพอทีจ่ ะนํ าไปประยุกต์หรือต่อยอดประสบการณ์ในการฝึกปฏิบตั งิ านวิชาชีพและการประกอบ
วิชาชีพในอนาคต ดังนัน้ นักศึกษาควรเลือกรายวิชาเลือกให้สอดคล้องกับทิศทางการฝึ ก ปฏิบตั ิง าน
วิชาชีพในชัน้ ปี ท่ี 6 และการประกอบวิชาชีพทีน่ กั ศึกษาประสงค์

3.4 การฝึ กปฏิ บตั ิ งานวิ ชาชีพสาขา


นักศึกษาจะได้ฝึกปฏิบตั งิ านวิชาชีพที่สอดคล้องกับความรูแ้ ละทักษะของสาขาในรายวิชา
ฝึ ก ปฏิบ ัติง านวิช าชีพ สาขาการบริบ าลทางเภสัช กรรม ซึ่ง เนื้ อ หาและกิจ กรรมต่ า งๆ ของการฝึ ก
ปฏิบตั งิ านเป็ นไปตามที่คณะกรรมการประสานงานการฝึ กปฏิบตั งิ านวิชาชีพเภสัชกรรมกําหนด ทัง้ นี้
นักศึกษาจะสามารถฝึ กปฏิบตั งิ านวิชาชีพได้ก็ต่อเมื่อผ่านเงื่อนไขต่างๆ ของการฝึ กปฏิบตั งิ านวิชาชีพ
ตามทีก่ ําหนดในหลักสูตรเท่านัน้
6
คู่มอื การเลือกสาขา ปี การศึกษา 2564

1.4 รายวิ ชาที่ต้องศึกษาเมื่อเข้าสาขา


นักศึกษาทีเ่ ข้าสาขาต้องศึกษารายวิชาตามแผนการศึกษาของหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต
(6 ปี ) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2559 ในชัน้ ปี ท่ี 5-6 ดังนี้

ปี ที่ 5 ภาคการศึกษาที่ 1
รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จํานวนหน่ วยกิต
550 351 ประสบการณ์วชิ าชีพ 6(ไม่น้อยกว่า 400 ชัวโมง)

551 390 จุลนิพนธ์ 1 1(0-3-0)
554 106 ภาษาอังกฤษสําหรับวิทยาศาสตร์สุขภาพ 2 3(2-2-5)
xxx xxx เลือกวิชาชีพสาขา 8
รวมหน่ วยกิต 18

ปี ที่ 5 ภาคการศึกษาที่ 2
รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จํานวนหน่ วยกิต
551 391 จุลนิพนธ์ 2 2(0-6-0)
xxx xxx เลือกวิชาชีพสาขา 12
Xxx xxx วิชาเลือกเสรี 3
รวมหน่ วยกิต 17

ปี ที่ 6 ภาคการศึกษาที่ 1
รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จํานวนหน่ วยกิต
xxx xxx ฝึกปฏิบตั งิ านวิชาชีพสาขา 15
รวมหน่ วยกิต 15

ปี ที่ 6 ภาคการศึกษาที่ 2
รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จํานวนหน่ วยกิต
xxx xxx ฝึกปฏิบตั งิ านวิชาชีพสาขา 15
รวมหน่ วยกิต 15
1
คู่มอื การเลือกสาขา ปี การศึกษา 2564

บทที่ 1
การเลือกสาขาตามหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต (6 ปี )
(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559) ปี การศึกษา 2564
1.1 บทนํา
ด้วยหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต (6 ปี ) (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559) คณะเภสัชศาสตร์
มหาวิทยาลัยศิลปากร (มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2559:20) ได้กําหนดรายวิชาเลือกวิชาชีพ 4 สาขาเพื่อให้
สอดคล้องกับทิศทางระบบผูช้ าํ นาญการของสภาเภสัชกรรมดังนี้
1. สาขาเภสัชกรรมอุตสาหการ (Industrial pharmacy)
2. สาขาการบริบาลทางเภสัชกรรม (เน้ นเภสัชกรรมโรงพยาบาล) (Pharmaceutical care
with specialty in hospital pharmacy)
3. สาขาการบริบาลทางเภสัชกรรม (เน้ นเภสัชกรรมชุมชน) (Pharmaceutical care with
specialty in community pharmacy)
4. สาขาการคุม้ ครองผูบ้ ริโภคด้านยาและสุขภาพ (Pharmaceutical and health consumer
protection)
โดยนักศึกษาในแต่ละสาขาต้องศึกษารายวิชาเลือกวิชาชีพตามทีร่ ะบุในหลักสูตร จํานวนไม่
น้ อยกว่า 20 หน่ วยกิตในภาคการศึกษาต้นและปลายของชัน้ ปี ท่ี 5 และต้องฝึ กปฏิบตั งิ านวิชาชีพสาขา
จํานวน 30 หน่ วยกิตในภาคการศึกษาต้นและปลายของชัน้ ปี ท่ี 6 ดังนัน้ นักศึกษาเภสัชศาสตร์ท่ผี ่ าน
การศึกษาทุกรายวิชาในชัน้ ปี ท่ี 1-4 จึงต้องเลือกสาขาตามความถนัดและความสนใจของตนเองเพื่อ
สําเร็จการศึกษาเภสัชศาสตร์ตามทีก่ ําหนดไว้ในหลักสูตร

1.2 ภาควิ ชาที่ดาํ เนิ นการสอนสาขา


สาขาของคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ดําเนินการสอนโดยภาควิชาต่างๆ ดังนี้
สาขา ภาควิชาทีด่ ําเนินการสอน
เภสัชกรรมอุตสาหการ ชีวเภสัชศาสตร์
เภสัชเคมี
เภสัชวิทยาและพิษวิทยา
เภสัชเวท
เทคโนโลยีเภสัชกรรม
การบริบาลทางเภสัชกรรม (เน้นเภสัชกรรมโรงพยาบาล) เภสัชกรรม
การบริบาลทางเภสัชกรรม (เน้นเภสัชกรรมชุมชน) เภสัชกรรมชุมชน
เภสัชกรรม
คํานํา

คู่มอื การเลือกสาขาตามหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต (6 ปี ) (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559)


ปี ก ารศึก ษา 2564 ฉบับ นี้ คณะเภสัช ศาสตร์ มหาวิท ยาลัย ศิล ปากร จัด ทํ าขึ้น เพื่อ เป็ น แนวทางสํ าหรับ
นักศึกษาเภสัชศาสตร์เทียบเท่าชัน้ ปี ท่ี 4 ในการเลือกสาขาเพื่อสําเร็จการศึกษาเภสัชศาสตร์ตามทีก่ ําหนดไว้
ในหลัก สูตร สาขาดังกล่ าวประกอบด้วย 4 สาขาคือ สาขาเภสัชกรรมอุ ต สาหการ (Industrial pharmacy)
สาขาการบริบ าลทางเภสัชกรรม (เน้ นเภสัชกรรมโรงพยาบาล) (Pharmaceutical care with specialty in
hospital pharmacy) สาขาการบริบาลทางเภสัชกรรม (เน้ นเภสัชกรรมชุมชน) (Pharmaceutical care with
specialty in community pharmacy) และสาขาการคุ้มครองผู้บริโภคด้านยาและสุขภาพ (Pharmaceutical
and health consumer protection)
คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิท ยาลัย ศิล ปากร หวังเป็ นอย่ างยิ่งว่ าคู่ม ือ ฉบับ นี้จะมีป ระโยชน์
สําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร์ในการเลือกสาขาตามความถนัด และความสนใจของตนเอง และนํ าความรู้
ทักษะ และประสบการณ์ ท่ไี ด้จากการศึกษาในสาขาที่ตนเลือกไปประยุกต์ใช้ในการประกอบวิชาชีพ หลัง
สําเร็จการศึกษาต่อไป

คณะเภสัชศาสตร์
มหาวิทยาลัยศิลปากร
พฤศจิกายน 2563

i
สารบัญ
คํานํา ....................................................................................................................................................... i
สารบัญ ................................................................................................................................................... ii
บทที่ 1 การเลือกสาขาตามหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิ ต (6 ปี )
(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559) ปี การศึกษา 2564 ................................................................ 1
1.1 บทนํา............................................................................................................................... 1
1.2 ภาควิชาทีด่ าํ เนินการสอนสาขา ......................................................................................... 1
1.3 รายวิชาทีต่ อ้ งสอบผ่านก่อนเข้าสาขา ................................................................................. 2
1.4 รายวิชาทีต่ อ้ งศึกษาเมือ่ เข้าสาขา ...................................................................................... 6
1.5 ขัน้ ตอนและกําหนดการเลือกสาขา .................................................................................... 7
บทที่ 2 การจัดการเรียนการสอนสาขาเภสัชกรรมอุตสาหการ ....................................................... 8
2.1 สาระของสาขาเภสัชกรรมอุตสาหการ ................................................................................ 8
2.2 ข้อกําหนดในการรับนักศึกษา ............................................................................................ 8
2.3 รายวิชาทีต่ อ้ งลงทะเบียน .................................................................................................. 8
2.4 การฝึกปฏิบตั งิ านวิชาชีพของสาขา.................................................................................. 13
บทที่ 3 การจัดการเรียนการสอนสาขาการบริบาลทางเภสัชกรรม
(เน้ นเภสัชกรรมโรงพยาบาล) ............................................................................................. 14
3.1 สาระของสาขาการบริบาลทางเภสัชกรรม (เน้นเภสัชกรรมโรงพยาบาล) ........................... 14
3.2 ข้อกําหนดในการรับนักศึกษา .......................................................................................... 14
3.3 รายวิชาทีต่ อ้ งลงทะเบียน ................................................................................................ 15
3.4 การฝึกปฏิบตั งิ านวิชาชีพของสาขา................................................................................. 19
บทที่ 4 การจัดการเรียนการสอนสาขาการบริบาลทางเภสัชกรรม
(เน้ นเภสัชกรรมชุมชน)....................................................................................................... 20
4.1 สาระของสาขาการบริบาลทางเภสัชกรรม (เน้นเภสัชกรรมชุมชน) .................................... 20
4.2 ข้อกําหนดในการรับนักศึกษา .......................................................................................... 20
4.3 รายวิชาทีต่ อ้ งลงทะเบียน ................................................................................................ 20
4.4 การฝึกปฏิบตั งิ านวิชาชีพของสาขา................................................................................. 24
บทที่ 5 การจัดการเรียนการสอนสาขาการคุ้มครองผู้บริโภคด้านยาและสุขภาพ ........................ 25
5.1 สาระของสาขาการคุม้ ครองผูบ้ ริโภคด้านยาและสุขภาพ ................................................... 25
5.2 ข้อกําหนดในการรับนักศึกษา .......................................................................................... 25
5.3 รายวิชาทีต่ อ้ งลงทะเบียน ................................................................................................ 25
5.4 การฝึกปฏิบตั งิ านวิชาชีพของสาขา.................................................................................. 29

ii
บทที่ 6 การสมัครเข้าสาขา ............................................................................................................. 30
6.1 การส่งแบบสมัครเข้าสาขา............................................................................................... 30
6.2 ตัวอย่างแบบสมัครเข้าสาขา ............................................................................................ 31
เอกสารอ้างอิ ง ...................................................................................................................................... 32

iii
2
คู่มอื การเลือกสาขา ปี การศึกษา 2564

สาขา ภาควิชาทีร่ บั ผิดชอบ


การคุม้ ครองผูบ้ ริโภคด้านยาและสุขภาพ เภสัชกรรมชุมชน
สารสนเทศศาสตร์ทางสุขภาพ

1.3 รายวิ ชาที่ต้องสอบผ่านก่อนเข้าสาขา


นักศึกษาทีจ่ ะเข้าสาขาต้องสอบผ่านรายวิชาตามแผนการศึกษาของหลักสูตร
เภสัชศาสตรบัณฑิต (6 ปี ) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2559 ในชัน้ ปี ท่ี 1-4 ทุกรายวิชาดังนี้

ปี ที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1
รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จํานวนหน่ วยกิต
081 101 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร 3(3-0-6)
081 102 ภาษาอังกฤษในชีวติ ประจําวัน 3(2-2-5)
511 103 แคลคูลสั สําหรับนักวิทยาศาสตร์ชวี ภาพ 3(3-0-6)
512 101 ชีววิทยาทัวไป ่ 1 3(3-0-6)
512 103 ปฎิบตั กิ ารชีววิทยาทัวไป
่ 1 1(0-3-0)
513 108 เคมีทวไปสํ
ั ่ าหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร์ 4(4-0-8)
550 151 บทนํ าสูว่ ชิ าชีพเภสัชกรรม 1(1-0-2)
xxx xxx วิชาบังคับเลือก หมวดวิชาศึกษาทัวไป ่ 3
รวมหน่ วยกิต 21

ปี ที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2
รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จํานวนหน่ วยกิต
081 103 การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ 3(2-2-5)
513 220 เคมีฟิสคิ ลั 3(3-0-6)
513 256 หลักเคมีอนิ ทรีย์ 4(4-0-8)
514 109 ฟิ สกิ ส์ทวไปสํ
ั ่ าหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร์ 4(4-0-8)
550 153 หลักการออกแบบเบือ้ งต้น 2(1-3-2)
xxx xxx วิชาบังคับเลือก หมวดวิชาศึกษาทัวไป ่ 3
รวมหน่ วยกิต 19
3
คู่มอื การเลือกสาขา ปี การศึกษา 2564

ปี ที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1
รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จํานวนหน่ วยกิต
554 105 ภาษาอังกฤษสําหรับวิทยาศาสตร์สุขภาพ 1 3(2-2-5)
561 104 พืน้ ฐานชีววิทยาระดับเซลล์และโมเลกุล 2(2-0-4)
563 251 สาธารณสุขพืน้ ฐาน 2(2-0-4)
564 301 พืน้ ฐานความรูด้ า้ นเภสัชเคมี 1(1-0-2)
566 301 เภสัชพฤกษศาสตร์ 2(1-3-2)
567 301 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 1 1(1-0-2)
568 351 สถิตแิ ละการประยุกต์ทางเภสัชศาสตร์ 3(2-3-4)
xxx xxx วิชาบังคับเลือก หมวดวิชาศึกษาทัวไป ่ 3
xxx xxx เลือกเสรี 3
รวมหน่ วยกิต 20

ปี ที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2
รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จํานวนหน่ วยกิต
561 105 กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยามนุ ษย์ 5(5-0-10)
561 135 ปฏิบตั กิ ารกายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยามนุ ษย์ 1(0-3-0)
563 257 การบริหารเภสัชกิจเบือ้ งต้น 1 2(2-0-4)
563 259 ระบบสุขภาพ 2(2-0-4)
564 302 เภสัชวิเคราะห์ 1 2(2-0-4)
564 303 ปฏิบตั กิ ารเภสัชวิเคราะห์ 1 1(0-3-0)
567 302 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 2 2(2-0-4)
567 303 ปฏิบตั กิ ารเทคโนโลยีเภสัชกรรม 2 1(0-3-0)
568 352 สารสนเทศศาสตร์สาํ หรับบุคลากรสุขภาพ 2(1-3-2)
รวมหน่ วยกิต 18
4
คู่มอื การเลือกสาขา ปี การศึกษา 2564

ปี ที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1
รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จํานวนหน่ วยกิต
561 204 ชีวเคมีทางการแพทย์ 3(3-0-6)
561 234 ปฏิบตั กิ ารชีวเคมีทางการแพทย์ 1(0-3-0)
563 258 การบริหารเภสัชกิจเบือ้ งต้น 2 2(1-3-2)
564 304 เภสัชวิเคราะห์ 2 2(2-0-4)
564 305 ปฏิบตั กิ ารเภสัชวิเคราะห์ 2 1(0-3-0)
565 301 เภสัชวิทยา 1 4(4-0-8)
565 305 ปฏิบตั กิ ารเภสัชวิทยา 1(0-3-0)
566 302 เภสัชเวท 1 2(2-0-4)
567 304 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 3 2(2-0-4)
567 305 ปฏิบตั กิ ารเทคโนโลยีเภสัชกรรม 3 1(0-3-0)
568 353 สารสนเทศศาสตร์เภสัชกรรม 2(2-0-4)
รวมหน่ วยกิต 21

ปี ที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2
รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จํานวนหน่ วยกิต
561 205 จุลชีววิทยาทางการแพทย์ 3(3-0-6)
561 206 วิทยาภูมคิ ุม้ กัน 1(1-0-2)
561 207 พยาธิวทิ ยาทัวไป ่ 1(1-0-2)
561 235 ปฏิบตั กิ ารจุลชีววิทยาทางการแพทย์ 1(0-3-0)
564 306 การควบคุมคุณภาพเภสัชภัณฑ์ 2(2-0-4)
564 307 เคมีทางยา 1 3(3-0-6)
565 302 เภสัชวิทยา 2 4(4-0-8)
566 303 เภสัชเวท 2 1(1-0-2)
566 304 ปฏิบตั กิ ารเภสัชเวท 1(0-3-0)
567 306 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 4 3(3-0-6)
567 307 ปฏิบตั กิ ารเทคโนโลยีเภสัชกรรม 4 1(0-3-0)
รวมหน่ วยกิต 21
5
คู่มอื การเลือกสาขา ปี การศึกษา 2564

ปี ที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1
รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จํานวนหน่ วยกิต
554 107 จริยธรรมการประกอบวิชาชีพ 2(2-0-4)
561 211 ชีววัตถุ 2(2-0-4)
562 365 เภสัชกรรมปฏิบตั ิ 4(3-3-6)
562 367 ชีวเภสัชกรรมและเภสัชจลนพลศาสตร์ 3(3-0-6)
563 260 หลักเภสัชระบาดวิทยาและเภสัชเศรษฐศาสตร์ 1(1-0-2)
564 308 เคมีทางยา 2 4(4-0-8)
565 303 เภสัชบําบัด 1 3(2-3-4)
567 308 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 5 2(2-0-4)
567 309 ปฏิบตั กิ ารเทคโนโลยีเภสัชกรรม 5 1(0-3-0)
รวมหน่ วยกิต 22

ปี ที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2
รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จํานวนหน่ วยกิต
554 108 หลักการวิจยั 2(2-0-4)
562 362 เภสัชบําบัด 2 5(4-3-8)
562 363 เภสัชกรรมการจ่ายยา 3(2-3-4)
562 364 หลักการพืน้ ฐานทางเภสัชกรรมโรงพยาบาล 2(2-0-4)
562 366 บริการเภสัชสนเทศ 2(1-3-2)
563 256 นิตเิ ภสัช 1(1-0-2)
563 261 การสื่อสารกับสุขภาพ 1(0-3-0)
565 304 พิษวิทยา 2(2-0-4)
566 305 เภสัชเวท 3 2(2-0-4)
567 310 เทคโนโลยีเภสัชกรรม 6 1(1-0-2)
567 311 ระบบคุณภาพทางเภสัชกรรม 1(1-0-2)
รวมหน่ วยกิต 22
7
คู่มอื การเลือกสาขา ปี การศึกษา 2564

1.5 ขัน้ ตอนและกําหนดการเลือกสาขา


ฝ่ ายวิชาการ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร กําหนดวิธกี ารและขัน้ ตอนการเลือก
สาขาของนักศึกษาเภสัชศาสตร์ ปี การศึกษา 2564 ดังนี้

ขัน้ ตอน วัน เวลา


นักศึกษาส่งแบบสมัครเข้าสาขาทีค่ ุณยศ รุ่งเรืองวานิช ภายในวันศุกร์ท่ี 15 มกราคม 2564
1
สํานักงานคณบดีคณะเภสัชศาสตร์ เวลา 16:00 น.
ฝ่ ายวิชาการแจ้งรายชื่อนักศึกษาทีส่ มัครเข้าสาขาให้สาขาต่างๆ ทราบ
2 วันจันทร์ท่ี 18 มกราคม 2564
เบือ้ งต้น
ฝ่ ายวิชาการส่งแบบสมัครของนักศึกษาให้สาขาทีน่ กั ศึกษาเลือกเป็ น
3 วันศุกร์ท่ี 5 กุมภาพันธ์ 2564
อันดับหนึ่งพิจารณารอบแรก
สาขาแจ้งผลการพิจารณารอบแรกโดยสรุปจํานวนและรายชื่อนักศึกษาที่
4 วันศุกร์ท่ี 5 มีนาคม 2564
รับเข้าสาขา พร้อมทัง้ ส่งแบบสมัครกลับคืนให้คุณยศ รุ่งเรืองวานิช
ฝ่ ายวิชาการส่งแบบสมัครของนักศึกษาทีไ่ ม่ได้รบั การคัดเลือกเข้าสาขาใน
5 วันศุกร์ท่ี 12 มีนาคม 2564
รอบแรกให้สาขาทีน่ กั ศึกษาเลือกเป็ นอันดับสองเพื่อพิจารณารอบสอง
สาขาแจ้งผลการพิจารณารอบสองโดยสรุปจํานวนและรายชื่อนักศึกษาที่
6 วันศุกร์ท่ี 2 เมษายน 2564
รับเข้าสาขา พร้อมทัง้ ส่งแบบสมัครกลับคืนให้คุณยศ รุ่งเรืองวานิช
ฝ่ ายวิชาการสรุปรายชื่อนักศึกษาเข้าสาขาเพื่อเสนอคณะกรรมการ
7 วันจันทร์ท่ี 20 เมษายน 2564
วิชาการคณะเภสัชศาสตร์
8 ฝ่ ายวิชาการสรุปรายชื่อนักศึกษาเข้าสาขาเพื่อเสนอคณบดี วันอังคารที่ 5 พฤษภาคม 2564
ฝ่ ายวิชาการประกาศรายชื่อนักศึกษาเข้าสาขาให้นกั ศึกษาและสาขา
9 วันอังคารที่ 12 พฤษภาคม 2564
ทราบอย่างเป็ นทางการ
8
คู่มอื การเลือกสาขา ปี การศึกษา 2564

บทที่ 2
การจัดการเรียนการสอนสาขาเภสัชกรรมอุตสาหการ

2.1 สาระของสาขาเภสัชกรรมอุตสาหการ
ตามประกาศสภาเภสัชกรรมที่ 6/2557 เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานผูป้ ระกอบวิชาชีพเภสัชกรรม
สาขาเภสัช กรรมอุ ต สาหการ ของสภาเภสัช กรรม พ.ศ. 2557 เภสัช กรรมอุ ต สาหการ (industrial
pharmacy) หมายถึง วิทยาการสาขาหนึ่งของวิชาชีพเภสัชกรรมซึ่งเกี่ยวกับการวิจยั และพัฒนาเภสัช
ภัณฑ์ (รวมทัง้ ผลิตภัณฑ์สุขภาพทีเ่ กี่ยวข้อง) การผลิตตัง้ แต่ระดับห้องปฏิบตั กิ ารถึงระดับอุตสาหกรรม
การประกันคุณภาพ และการนํ าเภสัชภัณฑ์สู่ทอ้ งตลาด ดังนัน้ การเรียนการสอนในสาขาเภสัชกรรม
อุตสาหการจึงมุ่งเน้ นให้นักศึกษามีองค์ความรูด้ ้านการวิจยั และพัฒนาเภสัชภัณฑ์ ครอบคลุมการเสาะ
แสวงหาสารทีม่ ฤี ทธิ ์เป็ นยาทัง้ จากธรรมชาติ จากการสังเคราะห์และกึ่งสังเคราะห์ การพิสูจน์เอกลักษณ์
การศึกษากลไกการออกฤทธิ ์และพิษของยา ความคงตัวของตัวยา คุณสมบัตขิ องตัวยาทัง้ ทางเคมีและ
ทางกายภาพ การพัฒนาตํารับยาและเภสัชภัณฑ์ ความคงตัวของตํารับ การเก็บรักษา การปรับปรุง
เปลีย่ นแปลงตํารับเพื่อให้มปี ระสิทธิภาพการรักษาดียงิ่ ขึน้ ในห้องปฏิบตั กิ ารและระดับอุตสาหกรรม การ
ประกันและควบคุมคุณภาพเภสัชภัณฑ์ และการนําเภสัชภัณฑ์ส่ทู อ้ งตลาด

2.2 ข้อกําหนดในการรับนักศึกษา
2.2.1 จํานวนรับ 70 คน
2.2.2 นักศึกษาทีจ่ ะเข้าสาขาเภสัชกรรมอุตสาหการต้องสอบผ่านรายวิชาในชัน้ ปี ท่ี 1-4 ทุก
รายวิ ชาตามแผนการศึกษาของหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต (6 ปี ) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2559

2.3 รายวิ ชาที่ต้องลงทะเบียน


นักศึกษาสาขาเภสัชกรรมอุตสาหการต้องลงทะเบียนเรียนรายวิชาในสาขาจํานวนไม่น้อย
กว่า 20 หน่ วยกิตดังนี้
คู่มือการเลือกสาขา
ตามหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต (6 ปี )
(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559)
ปี การศึกษา 2564

คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
9
คู่มอื การเลือกสาขา ปี การศึกษา 2564

2.3.1 รายวิชาบังคับ จํานวน 13 หน่ วยกิต


รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จํานวนหน่วยกิต
561 245 การควบคุมคุณภาพยาทางชีวภาพ 2(2-0-4)
(Biological Quality Control of Pharmaceutical Products)
561 246 ปฏิบตั กิ ารการควบคุมคุณภาพยาทางชีวภาพ 1(0-3-0)
(Biological Quality Control of Pharmaceutical Products Laboratory)
564 331 บูรณาการทางเภสัชวิเคราะห์ 2(2-0-4)
(Integrated Study in Pharmaceutical Analysis)
565 306 การพัฒนาและควบคุมยา 2(2-0-4)
(Drug Development and Regulation)
567 312 หลักเกณฑ์วธิ กี ารทีด่ ใี นการผลิต 2(2-0-4)
(Good Manufacturing Practice)
567 313 การจัดการโรงงาน 2(2-0-4)
(Plant Management)
567 314 การออกแบบและพัฒนาสูตรตํารับเภสัชภัณฑ์ 2(2-0-4)
(Pharmaceutical Product Formulation Design and Development)

2.3.2 รายวิชาเลือก จํานวน 7 หน่ วยกิต เลือกจากรายวิชาดังนี้


รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จํานวนหน่วยกิต
561 241 เทคโนโลยีชวี ภาพทางเภสัชศาสตร์ 3(3-0-6)
(Pharmaceutical Biotechnology)
561 242 โภชนาการและโภชนบําบัด 2(2-0-4)
(Nutrition and Nutritional Therapy)
561 243 การเปลีย่ นแปลงทางชีวภาพของยา 3(3-0-6)
(Drug Biotransformation)
561 244 เภสัชพันธุศาสตร์ 2(2-0-4)
(Pharmacogenomics)
561 247 ปฏิบตั กิ ารเทคโนโลยีชวี ภาพทางเภสัชศาสตร์ 1(0-3-0)
(Pharmaceutical Biotechnology Laboratory)
561 248 เทคโนโลยีการผลิตวัคซีน 2(2-0-4)
(Vaccine Production Technology)
561 249 หัวข้อพิเศษทางเภสัชศาสตร์ชวี ภาพ 1(0-3-0)
(Special Topic in Biopharmaceutical Sciences)
561 302 ความปลอดภัยของอาหารและนํ้าดื่ม 3(1-6-2)
(Safety of Foods and Drinking Water)
10
คู่มอื การเลือกสาขา ปี การศึกษา 2564

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จํานวนหน่วยกิต


561 303 การขึน้ ทะเบียนยาชีววัตถุ 2(1-3-2)
(Biologics Registration)
564 351 ปฏิบตั กิ ารบูรณาการทางเภสัชวิเคราะห์ 2(0-6-0)
(Integrated Study in Pharmaceutical Analysis Laboratory)
564 352 เคมีประยุกต์ในวิทยาการทางเภสัชศาสตร์ 2(2-0-4)
(Applied Chemistry in Pharmaceutical Sciences)
564 353 การแยกและวิเคราะห์ทางเภสัชศาสตร์ 4(2-6-4)
(Pharmaceutical Separation and Analysis)
564 354 วิธพี เิ ศษในการวิเคราะห์ยา 3(2-3-4)
(Special Methods in Medicinal Analysis)
564 355 การวิเคราะห์ยาในสารชีวภาพ 3(2-3-4)
(Medicinal Analysis in Biologicals)
564 356 การควบคุมคุณภาพอาหารและเครื่องสําอาง 4(3-3-6)
(Quality Control of Food and Cosmetics)
564 357 เภสัชวิเคราะห์ในทางนิตวิ ทิ ยาศาสตร์ 2(2-0-4)
(Pharmaceutical Analysis in Forensic Sciences)
564 358 การอธิบายโครงสร้างของอินทรียสารด้วยวิธที างสเปกโทรเมตรี 3(3-0-6)
(Spectrometric Structure Determination of Organic Compounds)
564 359 การประกันคุณภาพทางเภสัชศาสตร์ 2(2-0-4)
(Quality Assurance in Pharmaceutical Sciences)
564 360 การสังเคราะห์ยา 3(2-3-4)
(Pharmaceutical Synthesis)
564 361 เคมีทางยาของยาใหม่ 2(2-0-4)
(Medicinal Chemistry of New Drugs)
564 362 เมแทบอลิซมึ ของยาเชิงเคมี 2(2-0-4)
(Chemical Aspects in Drug Metabolism)
564 363 หัวข้อปั จจุบนั ทางเภสัชเคมี 2(2-0-4)
(Current Topics in Pharmaceutical Chemistry)
564 364 การเรียนรูเ้ คมีทางยาโดยใช้ปัญหาเป็ นฐาน 2(2-0-4)
(Problem-Based Learning in Medicinal Chemistry)
564 365 การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ทางเภสัชเคมี 3(1-6-2)
(Computerized Applications in Pharmaceutical Chemistry)
564 366 เคมีของเกษตรเภสัชภัณฑ์ 3(2-3-4)
(Chemistry of Agropharmaceuticals)
565 307 พิษวิทยาภาวะแวดล้อม 3(2-3-4)
(Environmental Toxicology)
11
คู่มอื การเลือกสาขา ปี การศึกษา 2564

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จํานวนหน่วยกิต


565 308 เภสัชวิทยาระดับเซลล์และโมเลกุล 3(3-0-6)
(Cellular and Molecular Pharmacology)
565 309 การทดลองทางเภสัชวิทยาและพิษวิทยา 2(1-3-2)
(Experimental Pharmacology and Toxicology)
565 310 เภสัชวิทยาของยาทีอ่ อกฤทธิต่์ อจิตประสาท 2(2-0-4)
(Pharmacology of Neuropsychoactive Drugs)
565 311 เภสัชวิทยาของยาทีอ่ อกฤทธิต่์ อระบบหัวใจและหลอดเลือด 2(2-0-4)
(Pharmacology of Cardiovascular Drugs)
565 312 เภสัชวิทยาของยาทีอ่ อกฤทธิต่์ อระบบทางเดินอาหาร 2(2-0-4)
(Pharmacology of Gastrointestinal Drugs)
565 313 ยาใหม่ 2(2-0-4)
(New Drugs)
565 314 การประเมินฤทธิของยา
์ 3(2-3-4)
(Evaluation of Drug Action)
566 331 เทคนิคการสกัดแยกสารทางเภสัชเวท 3(2-3-4)
(Separation Techniques in Pharmacognosy)
566 332 การพัฒนาพืชสมุนไพร 3(2-3-4)
(Development of Medicinal Plants)
566 333 เทคโนโลยีชวี ภาพของพืชสมุนไพร 3(2-3-4)
(Biotechnology of Medicinal Plants)
566 334 เภสัชเวทประยุกต์ 2(2-0-4)
(Applied Pharmacognosy)
566 335 พฤกษบําบัดบนหลักฐานเชิงประจักษ์ 2(2-0-4)
(Evidence-Based Phytotherapy)
566 336 เภสัชกรรมแผนไทย 2(2-0-4)
(Thai Traditional Pharmacy)
566 337 ยาสมุนไพรพืน้ บ้าน 2(2-0-4)
(Indigenous Medicines)
567 315 ปฏิบตั กิ ารการออกแบบและพัฒนาสูตรตํารับเภสัชภัณฑ์ 2(0-6-0)
(Pharmaceutical Product Formulation Design and Development
Laboratory)
567 316 การวางแผนและกระบวนการเภสัชภัณฑ์ 2(1-3-2)
(Pharmaceutical Products Planning and Processing)
567 317 ระบบนาส่งยารูปแบบใหม่ 2(2-0-4)
(Novel Drug Delivery Systems)
567 318 วิทยาการเครื่องสําอาง 4(2-6-4)
(Cosmeticology)
12
คู่มอื การเลือกสาขา ปี การศึกษา 2564

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จํานวนหน่วยกิต


567 319 วิศวเภสัชกรรม 4(3-3-6
(Pharmaceutical Engineering)
567 320 ปั ญหาพิเศษทางเทคโนโลยีเภสัชกรรม 3(2-3-4)
(Special Problems in Pharmaceutical Technology)
567 321 เทคโนโลยีการเคลือบยา 3(2-3-4)
(Pharmaceutical Coating Technology)
567 322 วิทยาการพอลิเมอร์เบือ้ งต้นทางเภสัชศาสตร์ 2(2-0-4)
(Introductory Polymer Sciences in Pharmaceutical Sciences)
567 323 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 2(2–0–4)
(Occupational Health and Safety)
567 324 แนวโน้มทางเทคโนโลยีเภสัชกรรม 2(2-0-4)
(Trends in Pharmaceutical Technology)
568 370 พืน้ ฐานชีวสารสนเทศ 2(2-0-4)
(Basic Bioinformatics)
568 371 คีโมเมทริกซ์ในงานเภสัชวิเคราะห์ 2(2-0-4)
(Chemometrics in Pharmaceutical Analysis)

ทัง้ นี้นกั ศึกษาสามารถลงทะเบียนเรียนรายวิชาเลือกวิชาชีพของสาขาอื่นทีเ่ อือ้ ประโยชน์ ต่อ


การศึกษาได้โดยได้รบั ความเห็นชอบจากทัง้ สองสาขา

2.3.3 รายวิชาฝึกปฏิบตั งิ านวิชาชีพ จํานวน 30 หน่ วยกิต


รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จํานวนหน่วยกิต
551 111 การฝึกปฏิบตั งิ านวิชาชีพด้านเภสัชกรรมอุตสาหการในการผลิตยา 5(ไม่น้อยกว่า 270 ชัวโมง)

(Industrial Pharmacy Clerkship in Pharmaceutical Production)
551 112 การฝึกปฏิบตั งิ านวิชาชีพด้านเภสัชกรรมอุตสาหการในการควบคุม 5(ไม่น้อยกว่า 270 ชัวโมง)

และประกันคุณภาพยา
(Industrial Pharmacy Clerkship in Quality Assurance and Quality
Control)
551 113 การฝึกปฏิบตั งิ านวิชาชีพด้านเภสัชกรรมอุตสาหการเชิงบูรณาการ 1 5(ไม่น้อยกว่า 270 ชัวโมง)

(Integrated Industrial Pharmacy Clerkship I)
551 114 การฝึกปฏิบตั งิ านวิชาชีพด้านเภสัชกรรมอุตสาหการเชิงบูรณาการ 2 5(ไม่น้อยกว่า 270 ชัวโมง)

(Integrated Industrial Pharmacy Clerkship II)
551 115 การฝึกปฏิบตั งิ านวิชาชีพด้านเภสัชกรรมอุตสาหการเชิงบูรณาการ 3 5(ไม่น้อยกว่า 270 ชัวโมง)

(Integrated Industrial Pharmacy Clerkship III)
551 116 การฝึกปฏิบตั งิ านวิชาชีพด้านเภสัชกรรมอุตสาหการเชิงบูรณาการ 4 5(ไม่น้อยกว่า 270 ชัวโมง)

(Integrated Industrial Pharmacy Clerkship IV)
32
คู่มอื การเลือกสาขา ปี การศึกษา 2564

เอกสารอ้างอิ ง

ศิลปากร, มหาวิทยาลัย คณะเภสัชศาสตร์ หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิ ต (6 ปี ) (ฉบับปรับปรุง


พ.ศ.2559) พิมพ์ทโ่ี รงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร นครปฐม 2559.
13
คู่มอื การเลือกสาขา ปี การศึกษา 2564

2.3.4 ข้อแนะนําในการเลือกรายวิชาเลือกในสาขา
รายวิชาเลือ กจํานวน 7 หน่ ว ยกิต มีว ตั ถุ ประสงค์เ พื่อเสริมให้นักศึกษามีองค์ความรู้แ ละ
ทักษะเพียงพอทีจ่ ะนํ าไปประยุกต์หรือต่อยอดประสบการณ์ในการฝึกปฏิบตั งิ านวิชาชีพและการประกอบ
วิชาชีพในอนาคต ดังนัน้ นักศึกษาควรเลือกรายวิชาเลือกให้สอดคล้องกับทิศทางการฝึ กปฏิบตั ิง าน
วิชาชีพในชัน้ ปี ท่ี 6 และการประกอบวิชาชีพ ที่นักศึกษาประสงค์ เช่น ถ้านักศึกษาสนใจจะประกอบ
วิชาชีพด้านการผลิตยาในโรงงาน นักศึกษาควรเลือกรายวิชาทีเ่ กีย่ วข้องกับการผลิต ถ้านักศึกษาสนใจ
ภาพรวมของงานโรงงานผลิตยา นักศึกษาควรเลือกผสมผสานระหว่างวิชาที่มเี นื้อหาด้านการวิเคราะห์
การวิจยั และพัฒนายา รวมถึงการบริหารจัดการ เป็ นต้น
สาขาเภสัชกรรมอุตสาหการจะประกาศรายวิชาเลือกที่จะเปิ ดสอนพร้อมทัง้ กําหนดวันและ
เวลาเรียนให้นักศึกษาทราบก่ อ นเปิ ด ภาคการศึกษาแต่ ละภาค หากนักศึกษาสนใจรายวิชาเลือ กอื่น
นอกเหนือจากทีส่ าขาแจ้งเปิ ด นักศึกษาสามารถเขียนคําร้องขอให้เปิ ดรายวิชาเพิม่ ได้ โดยแนบรายชื่อ
นักศึกษาทีป่ ระสงค์จะลงทะเบียนเรียนจํานวนไม่น้อยกว่า 5 คน และยื่นคําร้องก่อนการจัดตารางสอนใน
ภาคการศึกษานัน้ ๆ การพิจารณาเปิ ดสอนรายวิชาเพิม่ อยูใ่ นดุลยพินิจของสาขา
การเปิ ดรายวิชาเลือกและวิชาอื่นๆ ในแผนการศึกษาอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ตามความ
เหมาะสม ทัง้ นี้สาขาจะแจ้งให้นกั ศึกษาทราบล่วงหน้าทุกครัง้

2.4 การฝึ กปฏิ บตั ิ งานวิ ชาชีพสาขา


นักศึกษาจะได้ฝึกปฏิบตั งิ านวิชาชีพที่สอดคล้องกับความรูแ้ ละทักษะของสาขาในรายวิชา
ฝึ กปฏิบตั งิ านวิชาชีพสาขาเภสัชกรรมอุตสาหการ ซึ่งเนื้อหาและกิจกรรมต่างๆ ของการฝึ กปฏิบตั งิ าน
เป็ นไปตามทีค่ ณะกรรมการประสานงานการฝึ กปฏิบตั งิ านวิชาชีพเภสัชกรรมกําหนด ทัง้ นี้นักศึกษาจะ
สามารถฝึกปฏิบตั งิ านวิชาชีพได้กต็ ่อเมื่อผ่านเงื่อนไขต่างๆ ของการฝึ กปฏิบตั งิ านวิชาชีพตามทีก่ ําหนด
ในหลักสูตรเท่านัน้
14
คู่มอื การเลือกสาขา ปี การศึกษา 2564

บทที่ 3
การจัดการเรียนการสอนสาขาการบริบาลทางเภสัชกรรม
(เน้ นเภสัชกรรมโรงพยาบาล)

3.1 สาระของสาขาการบริ บาลทางเภสัชกรรม (เน้ นเภสัชกรรมโรงพยาบาล)


ประกาศสภาเภสัชกรรมที่ 8/2554 เรือ่ ง เกณฑ์มาตรฐานผูป้ ระกอบวิชาชีพเภสัชกรรม ด้าน
การบริบาลทางเภสัชกรรม พ.ศ. 2554 ได้กําหนดสมรรถนะทางวิชาชีพ (professional competency)
ของผูป้ ระกอบวิชาชีพเภสัชกรรม ด้านการบริบาลทางเภสัชกรรมว่าต้องสามารถปฏิบตั งิ านบริบาลทาง
เภสัชกรรมในระบบยาและระบบสาธารณสุขในการสร้างเสริมสุขภาพ การป้ องกัน การรักษา และการ
ฟื้ นฟูสภาพแก่ผู้ป่วยที่มารับบริการทัง้ ในระดับบุคคล ครอบครัวและชุมชน ในฐานะทีมสหสาขาวิชาชีพ
ได้ ดัง นั น้ การเรีย นการสอนในสาขาการบริบ าลทางเภสัช กรรม (เน้ น เภสัช กรรมโรงพยาบาล) จึง
ครอบคลุมองค์ความรูเ้ กี่ยวกับการดูแลบําบัดอาการของผู้ป่วยในโรงพยาบาลโดยใช้เภสัชภัณฑ์ ได้แก่
การให้คําปรึกษาและแนะนํ าการใช้ยา การติดตามอาการไม่พงึ ประสงค์จากการใช้ยา การตรวจวัดระดับ
ยาในเลือ ด การวางแผนการรัก ษาร่ ว มกับ ทีม บุ ค ลากรทางการแพทย์ การประเมิน การใช้ ย าและ
ผลการรักษา การสื่อสารและให้ขอ้ มูลเภสัชภัณฑ์แก่ผปู้ ่ วย ประชาชน และบุคลากรทางการแพทย์ เพื่อให้
การรักษามีประสิทธิภาพ สมเหตุสมผล และปลอดภัย

3.2 ข้อกําหนดในการรับนักศึกษา
3.2.1 จํานวนรับ 52 คน
3.2.2 นักศึกษาต้องลงทะเบียนเรียนและผ่านรายวิชา 562 369 การเรียนรูเ้ ชิงประสบการณ์
ในหน่วยงานเภสัชกรรม (Experiential Learning in Pharmacy Setting)
3.2.3 นักศึกษาต้องผ่านการสอบข้อเขียนและสอบสัมภาษณ์ของสาขา ซึ่งจะจัดสอบเพียง
ครัง้ เดียว
3.2.4 นักศึกษาทีเ่ ลือกสาขาการบริบาลทางเภสัชกรรม (เน้นเภสัชกรรมโรงพยาบาล) ไม่ว่า
อันดับใดต้องเข้าสอบตามทีร่ ะบุในข้อ 3.2.3 มิฉะนัน้ จะถือว่าสละสิทธิ ์
3.2.5 หากมีนักศึกษาผ่านเกณฑ์ท่กี ําหนดเกินจํานวนรับ จะให้สทิ ธิ ์นักศึกษาที่เลือกสาขา
การบริบาลทางเภสัชกรรม (เน้นเภสัชกรรมโรงพยาบาล) เป็ นอันดับ 1 ก่อน
3.2.6 กรณีใดๆ ทีน่ อกเหนือจากเงือ่ นไขดังกล่าวข้างต้น ให้อยูใ่ นดุลยพินิจของสาขา
3.2.7 นักศึกษาที่จะเลือกสาขาการบริบาลทางเภสัชกรรม (เน้ นเภสัชกรรมโรงพยาบาล)
ต้องสอบผ่านรายวิชาในชัน้ ปี ท่ี 1-4 ทุกรายวิ ชาตามแผนการศึกษาของหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต (6
ปี ) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2559
15
คู่มอื การเลือกสาขา ปี การศึกษา 2564

3.3 รายวิ ชาที่ต้องลงทะเบียน


นักศึกษาสาขาการบริบาลทางเภสัชกรรม (เน้นเภสัชกรรมโรงพยาบาล) ต้องลงทะเบียน
เรียนรายวิชาในสาขาจํานวนไม่น้อยกว่า 20 หน่ วยกิตดังนี้
3.3.1 รายวิชาบังคับ จํานวน 13 หน่ วยกิต
รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จํานวนหน่วยกิต
562 369 การเรียนรูเ้ ชิงประสบการณ์ในหน่วยงานเภสัชกรรม 2(ไม่น้อยกว่า
(Experiential Learning in Pharmacy Settings) 120 ชัวโมง)

562 370 การบริบาลทางเภสัชกรรมบนหลักฐานเชิงประจักษ์ 2(2-0-4)
(Evidence-Based Pharmaceutical Care)
562 371 ปฏิบตั กิ ารการบริบาลทางเภสัชกรรมบนหลักฐานเชิงประจักษ์ 1(0-3-0)
(Evidence-Based Pharmaceutical Care Laboratory)
562 372 การบริบาลทางเภสัชกรรมผูป้ ่ วยนอก 2(1-3-2)
(Ambulatory Care in Pharmacy Practice)
562 373 การบริบาลทางเภสัชกรรมบนแนวทางการรักษาปั จจุบนั 2(2-0-4)
(Current Therapy in Pharmaceutical Care)
562 374 เภสัชกรรมคลินิกขัน้ สูง 3(2-3-4)
(Advanced Clinical Pharmacy)
562 376 ยาและการรักษาโรคติดเชือ้ 2(2-0-4)
(Drugs and Treatment in Infectious Diseases)
562 377 การจัดการโรคเรือ้ รังและผูป้ ่ วยรายกรณี 2(1-3-2
(Chronic Disease and Case Management)
562 378 การปฏิบตั งิ านบริบาลทางเภสัชกรรมพืน้ ฐาน 2(0-6-0)
(Introduction to Pharmaceutical Care Practice)

3.3.2 รายวิชาเลือก จํานวน 2 หน่ วยกิต เลือกจากรายวิชาดังนี้


รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จํานวนหน่วยกิต
562 375 เภสัชกรรมโรงพยาบาลและการจัดการการใช้ยา 2(1-3-2)
(Hospital Pharmacy and Drug Utilization Management)
562 379 การสือ่ สารเชิงวิชาชีพ 2(1-3-2)
(Professional Communication)
562 381 เภสัชจลนพลศาสตร์คลินิก 2(1-3-2)
(Clinical Pharmacokinetics)
562 382 การประเมินผลลัพธ์ทางเภสัชกรรม 2(2-0-4)
(Outcomes Assessment in Pharmacy)
16
คู่มอื การเลือกสาขา ปี การศึกษา 2564

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จํานวนหน่วยกิต


562 383 การประเมินผลทางยา 2(1-3-2)
(Drug Evaluation)
562 384 หัวข้อปั จจุบนั ของเภสัชกรรมปฏิบตั ิ 2(2-0-4)
(Current Topics in Pharmacy Practice)
562 385 ปั ญหาพิเศษทางบริบาลเภสัชกรรม 2(1-3-2)
(Special Problems in Pharmaceutical Care)
562 386 โภชนาการคลินิกสําหรับเภสัชกร 2(2-0-4)
(Clinical Nutrition for Pharmacists)
562 387 การวิจยั ทางคลินิกเบือ้ งต้น 2(1-3-2)
(Introduction to Clinical Research)
562 388 กระบวนการเข้าถึงผูป้ ่ วยอย่างเป็ นระบบ 2(1-3-2)
(Systematic Approach to Patient Care)
562 389 ยาและการรักษาโรคหัวใจและหลอดเลือด 2(2-0-4)
(Drugs and Treatment in Cardiovascular Diseases)
562 390 ยาและการรักษาโรคทางระบบประสาทและจิตเวช 2(2-0-4)
(Drugs and Treatment in Neurologic and Psychiatric Disorders)
562 391 ยาและการรักษาผูป้ ่ วยวิกฤต 2(2-0-4)
(Drugs and Treatment in Critically Ill Patients)
562 392 ยาและการรักษาโรคไต 2(2-0-4)
(Drugs and Treatment in Kidney Diseases)
562 393 ยาและการรักษาโรคมะเร็งและโรคทางโลหิตวิทยา 2(2-0-4)
(Drugs and Treatment in Oncologic and Hematologic Disorders)
562 394 เภสัชกรรมสารสนเทศเพื่อการใช้ยาอย่างสมเหตุผล 2(1-3-2)
(Pharmacy Informatics for Rational Drug Use)

ทัง้ นี้นกั ศึกษาสามารถลงทะเบียนเรียนรายวิชาเลือกวิชาชีพของสาขาอื่นทีเ่ อือ้ ประโยชน์ ต่อ


การศึกษาได้โดยได้รบั ความเห็นชอบจากสาขาต้นสังกัดและสาขาทีจ่ ะไปลงทะเบียน
17
คู่มอื การเลือกสาขา ปี การศึกษา 2564

3.3.3 รายวิชาฝึกปฏิบตั งิ านวิชาชีพ จํานวน 30 หน่ วยกิต


3.3.3.1 รายวิชาบังคับฝึกปฏิบตั งิ านวิชาชีพ จํานวน 20 หน่ วยกิต
รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จํานวนหน่วยกิต
551 337 การฝึกปฏิบตั งิ านวิชาชีพด้านบริบาลทางเภสัชกรรมทาง 5(ไม่น้อยกว่า 270 ชัวโมง)

อายุรศาสตร์
(Pharmaceutical Care Clerkship in Internal Medicine)
551 338 การฝึกปฏิบตั งิ านวิชาชีพด้านบริบาลทางเภสัชกรรมด้านการ 5(ไม่น้อยกว่า 270 ชัวโมง)

ดูแลผูป้ ่ วยนอก
(Pharmaceutical Care Clerkship in Ambulatory Care Patients)
551 339 การฝึกปฏิบตั งิ านวิชาชีพด้านบริบาลทางเภสัชกรรมทาง 5(ไม่น้อยกว่า 270 ชัวโมง)

เภสัชกรรมชุมชน
(Pharmaceutical Care Clerkship in Community Pharmacy)
551 372 การฝึกปฏิบตั งิ านวิชาชีพด้านบริบาลทางเภสัชกรรมทางระบบบริหาร 5(ไม่น้อยกว่า 270 ชัวโมง)

จัดการด้านยาของโรงพยาบาล
(Pharmaceutical Care Clerkship in Hospital Drug Management
System)

3.3.3.2 รายวิชาเลือกฝึกปฏิบตั งิ านวิชาชีพ จํานวน 10 หน่ วยกิต


รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จํานวนหน่วยกิต
551 341 การฝึกปฏิบตั งิ านวิชาชีพด้านบริบาลทางเภสัชกรรมทาง 5(ไม่น้อยกว่า 270 ชัวโมง)

เภสัชจลนพลศาสตร์คลินิก
(Pharmaceutical Care Clerkship in Clinical Pharmacokinetics)
551 342 การฝึกปฏิบตั งิ านวิชาชีพด้านบริบาลทางเภสัชกรรมในบริการ 5(ไม่น้อยกว่า 270 ชัวโมง)

เภสัชกรรมโรงพยาบาล
(Pharmaceutical Care Clerkship in Hospital Pharmacy Service)
551 343 การฝึกปฏิบตั งิ านวิชาชีพด้านบริบาลทางเภสัชกรรมทาง 5(ไม่น้อยกว่า 270 ชัวโมง)

กุมารเวชศาสตร์
(Pharmaceutical Care Clerkship in Pediatrics)
551 345 การฝึกปฏิบตั งิ านวิชาชีพด้านบริบาลทางเภสัชกรรมทางโรคติดเชือ้ 5(ไม่น้อยกว่า 270 ชัวโมง)

(Pharmaceutical Care Clerkship in Infectious Disesases)
551 346 การฝึกปฏิบตั งิ านวิชาชีพด้านบริบาลทางเภสัชกรรมในโรคหัวใจและ 5(ไม่น้อยกว่า 270 ชัวโมง)

หลอดเลือด
(Pharmaceutical Care Clerkship in Cardiovascular Diseases)
551 348 การฝึกปฏิบตั งิ านวิชาชีพด้านบริบาลทางเภสัชกรรมในผูป้ ่ วยทีใ่ ช้การ 5(ไม่น้อยกว่า 270 ชัวโมง)

รักษาทางเลือก
(Pharmaceutical Care Clerkship in Alternative Medicine)
18
คู่มอื การเลือกสาขา ปี การศึกษา 2564

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จํานวนหน่วยกิต


551 366 การฝึกปฏิบตั งิ านวิชาชีพเฉพาะทางด้านการบริบาลทางเภสัชกรรม 1 5(ไม่น้อยกว่า 270 ชัวโมง)

(Specialized Pharmaceutical Care Clerkship I)
551 367 การฝึกปฏิบตั งิ านวิชาชีพเฉพาะทางด้านการบริบาลทางเภสัชกรรม 2 5(ไม่น้อยกว่า 270 ชัวโมง)

(Specialized Pharmaceutical Care Clerkship II)
551 368 การฝึกปฏิบตั งิ านวิชาชีพด้านบริบาลทางเภสัชกรรมในการติดตาม 5(ไม่น้อยกว่า 270 ชัวโมง)

อาการอันไม่พงึ ประสงค์จากการใช้ยา
(Pharmaceutical Care Clerkship in Adverse Drug Reaction
Monitoring)
551 369 การฝึกปฏิบตั งิ านวิชาชีพด้านบริบาลทางเภสัชกรรมในการวิจยั ทาง 5(ไม่น้อยกว่า 270 ชัวโมง)

คลินิก
(Pharmaceutical Care Clerkship in Clinical Research)
551 370 การฝึกปฏิบตั งิ านวิชาชีพด้านบริบาลทางเภสัชกรรมในการดูแลผูป้ ่ วย 5(ไม่น้อยกว่า 270 ชัวโมง)

เวชบําบัดวิกฤติ
(Pharmaceutical Care Clerkship in Critical Care)
551 371 การฝึกปฏิบตั งิ านวิชาชีพด้านบริบาลทางเภสัชกรรมทางบริการ 5(ไม่น้อยกว่า 270 ชัวโมง)

เภสัชสนเทศ
(Pharmaceutical Care Clerkship in Drug Information Service)
551 373 การฝึกปฏิบตั งิ านวิชาชีพด้านบริบาลทางเภสัชกรรมในการดูแลผูป้ ่ วย 5(ไม่น้อยกว่า 270 ชัวโมง)

โรคไต
(Pharmaceutical Care Clerkship in Patients with Kidney
Diseases)
551 374 การฝึกปฏิบตั งิ านวิชาชีพด้านบริบาลทางเภสัชกรรมในการดูแลผูป้ ่ วย 5(ไม่น้อยกว่า 270 ชัวโมง)

โรคมะเร็ง
(Pharmaceutical Care Clerkship in Patients with Oncologic
Diseases)
551 375 การฝึกปฏิบตั งิ านวิชาชีพด้านบริบาลทางเภสัชกรรมปฐมภูม/ิ 5(ไม่น้อยกว่า 270 ชัวโมง)

เภสัชกรรมครอบครัว
(Pharmaceutical Care Clerkship in Primary Care/Family
Pharmacy)
551 376 การฝึกปฏิบตั งิ านวิชาชีพด้านบริบาลทางเภสัชกรรมทางการดูแล 5(ไม่น้อยกว่า 270 ชัวโมง)

ผูป้ ่ วยโรคทางระบบประสาท และ/หรือโรคทางจิตเวช
(Pharmaceutical Care Clerkship in Patients with Psychiatric
and/or Neurologic Disorders)
551 377 การฝึกปฏิบตั งิ านวิชาชีพด้านบริบาลทางเภสัชกรรมในผูป้ ่ วยทีไ่ ด้รบั 5(ไม่น้อยกว่า 270 ชัวโมง)

อาหารทางหลอดเลือด
(Pharmaceutical Care Clerkship in Patients with Parenteral
Nutrition)
20
คู่มอื การเลือกสาขา ปี การศึกษา 2564

บทที่ 4
การจัดการเรียนการสอนสาขาการบริบาลทางเภสัชกรรม
(เน้ นเภสัชกรรมชุมชน)

4.1 สาระของสาขาการบริ บาลทางเภสัชกรรม (เน้ นเภสัชกรรมชุมชน)


ประกาศสภาเภสัชกรรมที่ 8/2554 เรือ่ ง เกณฑ์มาตรฐานผูป้ ระกอบวิชาชีพเภสัชกรรม ด้าน
การการบริบาลทางเภสัชกรรม พ.ศ. 2554 ได้กําหนดสมรรถนะทางวิชาชีพ (professional competency)
ของผูป้ ระกอบวิชาชีพเภสัชกรรม ด้านการบริบาลทางเภสัชกรรมว่าต้องสามารถปฏิบตั งิ านบริบาลทาง
เภสัชกรรมในระบบยาและระบบสาธารณสุขในการสร้างเสริมสุขภาพ การป้ องกัน การรักษา และการ
ฟื้ นฟูสภาพแก่ผู้ป่วยที่มารับบริการทัง้ ในระดับบุคคล ครอบครัวและชุมชน ในฐานะทีมสหสาขาวิชาชีพ
ได้ ดังนัน้ การเรียนการสอนในสาขาการบริบาลทางเภสัชกรรม (เน้นเภสัชกรรมชุมชน) จึงครอบคลุมองค์
ความรู้เกี่ยวกับการบริบาลทางเภสัชกรรมทัง้ ในสถานพยาบาลสําหรับผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน การ
ประเมินภาวะสุขภาพเบือ้ งต้น และการวางแผนการบริบาลทางเภสัชกรรมสําหรับผูป้ ่ วยทัง้ ในระดับร้าน
ยา ครอบครัว และชุ ม ชน รวมถึง การบริห ารจัด การร้า นยา การประยุ ก ต์ ค วามรู้ด้า นสัง คมศาสตร์
พฤติกรรมศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ เพื่อให้เกิดประโยชน์และประสิทธิภาพในการดูแลผูป้ ่ วยสูงสุด และการ
ค้นคว้าวิจยั ในสาขาการบริบาลทางเภสัชกรรม (เน้นเภสัชกรรมชุมชน)

4.2 ข้อกําหนดในการรับนักศึกษา
4.2.1 จํานวนรับ 50 คน
4.2.2 นักศึกษาทีจ่ ะเลือกสาขาการบริบาลทางเภสัชกรรม (เน้นเภสัชกรรมชุมชน) ต้องสอบ
ผ่านรายวิชาในชัน้ ปี ท่ี 1-4 ทุกรายวิ ชาตามแผนการศึกษาของหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต (6 ปี ) ฉบับ
ปรับปรุง พ.ศ. 2559

4.3 รายวิ ชาที่ต้องลงทะเบียน


นักศึกษาสาขาการบริบาลทางเภสัชกรรม (เน้นเภสัชกรรมชุมชน) ต้องลงทะเบียนเรียน
รายวิชาในสาขาจํานวนไม่น้อยกว่า 20 หน่ วยกิตดังนี้
31
คู่มอื การเลือกสาขา ปี การศึกษา 2564

6.2 ตัวอย่างแบบสมัครเข้าสาขา
แบบสมัครเข้าสาขาสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร์ ปี การศึกษา 2564
คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิ ทยาลัยศิ ลปากร
____________________________________________________________________________

ข้าพเจ้าชื่อ…………………..นามสกุล……………..…..………………..รหัส…………………..
หมายเลขโทรศัพท์………………………. อีเมล์………………...
อาจารย์ทป่ี รึกษา………………………………………………….
มีความประสงค์จะสมัครเข้าสาขาดังต่อไปนี้

ลําดับที่ 1 …………………………………………..
ลําดับที่ 2 …………………………………………..

พร้อมกันนี้ขา้ พเจ้าได้แนบรายงานผลการศึกษาทีพ่ มิ พ์จากระบบลงทะเบียนของ


มหาวิทยาลัยศิลปากรมาด้วยแล้ว
ข้าพเจ้าขอรับรองว่าข้อมูลทีข่ า้ พเจ้าให้ประกอบการสมัครเข้าสาขาเป็ นความจริง
ทุกประการ ข้าพเจ้าเข้าใจและยินดีปฏิบตั ติ ามเงือ่ นไขและแผนการศึกษาของสาขาทุกข้อ หาก
ข้าพเจ้าให้ขอ้ มูลเท็จ หรือไม่ปฏิบตั ติ ามเงือ่ นไขดังกล่าว ข้าพเจ้ายินยอมให้ถอนชื่อออกจากสาขา
ลงชื่อ ……...………………………..
(นศภ……………………………)
วันที…่ …….มกราคม พ.ศ. 2564

∗∗นักศึกษาต้องกรอกแบบสมัครให้ครบถ้วนพร้อมทัง้ แนบรายงานผลการศึกษา มิฉะนัน้ จะไม่พิจารณาเข้าสาขา∗∗

ผลการพิ จารณาจากสาขา
1. เรียน คณบดี 2. เรียน คณบดี 3. เรียน คณบดี
ทัง้ นี้สาขาได้พจิ ารณาแล้วมีมติ ทัง้ นี้ สาขาได้พจิ ารณาแล้วมีมติ ทัง้ นี้ สาขาได้พจิ ารณาแล้วมีมติ
 อนุญาตให้เข้าสาขาได้  อนุญาตให้เข้าสาขาได้  อนุญาตให้เข้าสาขาได้
 ไม่รบั เข้าสาขา  ไม่รบั เข้าสาขา  ไม่รบั เข้าสาขา
ลงชื่อ………………………………... ลงชื่อ……………………...………… ลงชื่อ………………………………...
หัวหน้าภาควิชา.............................. หัวหน้าภาควิชา.............................. หัวหน้าภาควิชา..............................
21
คู่มอื การเลือกสาขา ปี การศึกษา 2564

4.3.1 รายวิชาบังคับ จํานวน 16 หน่ วยกิต


รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จํานวนหน่วยกิต
562 395 การบริบาลทางเภสัชกรรมผูป้ ่ วยในสําหรับสาขาเน้นเภสัชกรรมชุมชน 2(2-0-4)
(Pharmaceutical Care in Inpatients for Specialty in Community Pharmacy)
562 396 การบริบาลทางเภสัชกรรมผูป้ ่ วยนอกสําหรับสาขาเน้นเภสัชกรรมชุมชน 2(2-0-4)
(Pharmaceutical Care in Outpatients for Specialty in Community
Pharmacy)
562 397 การปฏิบตั กิ ารด้านการบริบาลทางเภสัชกรรมเบือ้ งต้นสําหรับสาขาเน้น 2(0-6-0)
เภสัชกรรมชุมชน
(Basic Practice in Pharmaceutical Care for Specialty in Community
Pharmacy)
563 270 การบริบาลทางเภสัชกรรมชุมชน 3(2-3-4)
(Pharmaceutical Care in Community Pharmacy)
563 281 เภสัชศาสตร์สงั คมและพฤติกรรมสุขภาพ 3(3-0-6)
(Social Pharmacy and Health Behavior)
563 289 การบริบาลเภสัชกรรมสําหรับเภสัชกรครอบครัว 2(1-3-2)
(Pharmaceutical Care for Family Pharmacist)
563 290 การบริหารจัดการร้านยา 2(1-3-2)
(Community Pharmacy Management)

4.3.2 รายวิชาเลือก จํานวน 4 หน่ วยกิต เลือกจากรายวิชาดังนี้


รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จํานวนหน่วยกิต
561 242 โภชนาการและโภชนบําบัด 2(2-0-4)
(Nutrition and Nutritional Therapy)
561 244 เภสัชพันธุศาสตร์ 2(2-0-4)
(Pharmacogenomics)
563 263 เภสัชเศรษฐศาสตร์ 2(2-0-4)
(Pharmacoeconomics)
563 264 เภสัชระบาดวิทยา 2(2-0-4)
(Pharmacoepidemiology)
563 283 การตลาดองค์รวมสําหรับบริการทางสุขภาพเชิงวิชาชีพ 2(1-3-2)
(Holistic Marketing for Professional Health Service)
566 335 พฤกษบําบัดบนหลักฐานเชิงประจักษ์ 2(2-0-4)
(Evidence-Based Phytotherapy)

ทัง้ นี้นกั ศึกษาสามารถลงทะเบียนเรียนรายวิชาเลือกวิชาชีพของสาขาอื่นทีเ่ อือ้ ประโยชน์ ต่อ


การศึกษาได้โดยได้รบั ความเห็นชอบจากสาขาต้นสังกัดและสาขาทีจ่ ะไปลงทะเบียน
22
คู่มอื การเลือกสาขา ปี การศึกษา 2564

4.3.3 รายวิชาฝึกปฏิบตั งิ านวิชาชีพ จํานวน 30 หน่ วยกิต


4.3.3.1 รายวิชาบังคับฝึกปฏิบตั งิ านวิชาชีพ จํานวน 20 หน่ วยกิต
รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จํานวนหน่วยกิต
551 337 การฝึกปฏิบตั งิ านวิชาชีพด้านบริบาลทางเภสัชกรรมทาง 5(ไม่น้อยกว่า 270 ชัวโมง)

อายุรศาสตร์
(Pharmaceutical Care Clerkship in Internal Medicine)
551 338 การฝึกปฏิบตั งิ านวิชาชีพด้านบริบาลทางเภสัชกรรมด้านการ 5(ไม่น้อยกว่า 270 ชัวโมง)

ดูแลผูป้ ่ วยนอก
(Pharmaceutical Care Clerkship in Ambulatory Care Patients)
551 339 การฝึกปฏิบตั งิ านวิชาชีพด้านบริบาลทางเภสัชกรรมทาง 5(ไม่น้อยกว่า 270 ชัวโมง)

เภสัชกรรมชุมชน
(Pharmaceutical Care Clerkship in Community Pharmacy)
551 372 การฝึกปฏิบตั งิ านวิชาชีพด้านบริบาลทางเภสัชกรรมทางระบบบริหาร 5(ไม่น้อยกว่า 270 ชัวโมง)

จัดการด้านยาของโรงพยาบาล
(Pharmaceutical Care Clerkship in Hospital Drug Management
System)

4.3.3.2 รายวิชาเลือกฝึกปฏิบตั งิ านวิชาชีพ จํานวน 10 หน่ วยกิต


รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จํานวนหน่วยกิต
551 341 การฝึกปฏิบตั งิ านวิชาชีพด้านบริบาลทางเภสัชกรรมทาง 5(ไม่น้อยกว่า 270 ชัวโมง)

เภสัชจลนพลศาสตร์คลินิก
(Pharmaceutical Care Clerkship in Clinical Pharmacokinetics)
551 342 การฝึกปฏิบตั งิ านวิชาชีพด้านบริบาลทางเภสัชกรรมในบริการ 5(ไม่น้อยกว่า 270 ชัวโมง)

เภสัชกรรมโรงพยาบาล
(Pharmaceutical Care Clerkship in Hospital Pharmacy Service)
551 343 การฝึกปฏิบตั งิ านวิชาชีพด้านบริบาลทางเภสัชกรรมทาง 5(ไม่น้อยกว่า 270 ชัวโมง)

กุมารเวชศาสตร์
(Pharmaceutical Care Clerkship in Pediatrics)
551 345 การฝึกปฏิบตั งิ านวิชาชีพด้านบริบาลทางเภสัชกรรมทางโรคติดเชือ้ 5(ไม่น้อยกว่า 270 ชัวโมง)

(Pharmaceutical Care Clerkship in Infectious Diseases)
551 346 การฝึกปฏิบตั งิ านวิชาชีพด้านบริบาลทางเภสัชกรรมในโรคหัวใจและ 5(ไม่น้อยกว่า 270 ชัวโมง)

หลอดเลือด
(Pharmaceutical Care Clerkship in Cardiovascular Diseases)
551 348 การฝึกปฏิบตั งิ านวิชาชีพด้านบริบาลทางเภสัชกรรมในผูป้ ่ วยทีใ่ ช้การ 5(ไม่น้อยกว่า 270 ชัวโมง)

รักษาทางเลือก
(Pharmaceutical Care Clerkship in Alternative Medicine)
23
คู่มอื การเลือกสาขา ปี การศึกษา 2564

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จํานวนหน่วยกิต


551 366 การฝึกปฏิบตั งิ านวิชาชีพเฉพาะทางด้านการบริบาลทางเภสัชกรรม 1 5(ไม่น้อยกว่า 270 ชัวโมง)

(Specialized Pharmaceutical Care Clerkship I)
551 367 การฝึกปฏิบตั งิ านวิชาชีพเฉพาะทางด้านการบริบาลทางเภสัชกรรม 2 5(ไม่น้อยกว่า 270 ชัวโมง)

(Specialized Pharmaceutical Care Clerkship II)
551 368 การฝึกปฏิบตั งิ านวิชาชีพด้านบริบาลทางเภสัชกรรมในการติดตาม 5(ไม่น้อยกว่า 270 ชัวโมง)

อาการอันไม่พงึ ประสงค์จากการใช้ยา
(Pharmaceutical Care Clerkship in Adverse Drug Reaction
Monitoring)
551 369 การฝึกปฏิบตั งิ านวิชาชีพด้านบริบาลทางเภสัชกรรมในการวิจยั ทาง 5(ไม่น้อยกว่า 270 ชัวโมง)

คลินิก
(Pharmaceutical Care Clerkship in Clinical Research)
551 370 การฝึกปฏิบตั งิ านวิชาชีพด้านบริบาลทางเภสัชกรรมในการดูแลผูป้ ่ วย 5(ไม่น้อยกว่า 270 ชัวโมง)

เวชบําบัดวิกฤติ
(Pharmaceutical Care Clerkship in Critical Care)
551 371 การฝึกปฏิบตั งิ านวิชาชีพด้านบริบาลทางเภสัชกรรมทางบริการ 5(ไม่น้อยกว่า 270 ชัวโมง)

เภสัชสนเทศ
(Pharmaceutical Care Clerkship in Drug Information Service)
551 373 การฝึกปฏิบตั งิ านวิชาชีพด้านบริบาลทางเภสัชกรรมในการดูแลผูป้ ่ วย 5(ไม่น้อยกว่า 270 ชัวโมง)

โรคไต
(Pharmaceutical Care Clerkship in Patients with Kidney
Diseases)
551 374 การฝึกปฏิบตั งิ านวิชาชีพด้านบริบาลทางเภสัชกรรมในการดูแลผูป้ ่ วย 5(ไม่น้อยกว่า 270 ชัวโมง)

โรคมะเร็ง
(Pharmaceutical Care Clerkship in Patients with Oncologic
Diseases)
551 375 การฝึกปฏิบตั งิ านวิชาชีพด้านบริบาลทางเภสัชกรรมปฐมภูม/ิ 5(ไม่น้อยกว่า 270 ชัวโมง)

เภสัชกรรมครอบครัว
(Pharmaceutical Care Clerkship in Primary Care/Family
Pharmacy)
551 376 การฝึกปฏิบตั งิ านวิชาชีพด้านบริบาลทางเภสัชกรรมทางการดูแล 5(ไม่น้อยกว่า 270 ชัวโมง)

ผูป้ ่ วยโรคทางระบบประสาท และ/หรือโรคทางจิตเวช
(Pharmaceutical Care Clerkship in Patients with Psychiatric
and/or Neurologic Disorders)
551 377 การฝึกปฏิบตั งิ านวิชาชีพด้านบริบาลทางเภสัชกรรมในผูป้ ่ วยทีไ่ ด้รบั 5(ไม่น้อยกว่า 270 ชัวโมง)

อาหารทางหลอดเลือด
(Pharmaceutical Care Clerkship in Patients with Parenteral
Nutrition)
24
คู่มอื การเลือกสาขา ปี การศึกษา 2564

4.3.4 ข้อแนะนําในการเลือกรายวิชาเลือกในสาขา
รายวิชาเลือ กจํานวน 4 หน่ ว ยกิต มีว ตั ถุ ประสงค์เ พื่อเสริมให้นักศึกษามีองค์ความรู้แ ละ
ทักษะเพียงพอทีจ่ ะนํ าไปประยุกต์หรือต่อยอดประสบการณ์ในการฝึกปฏิบตั งิ านวิชาชีพและการประกอบ
วิชาชีพในอนาคต ดังนัน้ นักศึกษาควรเลือกรายวิชาเลือกให้สอดคล้องกับทิศทางการฝึ ก ปฏิบตั ิง าน
วิชาชีพในชัน้ ปี ท่ี 6 และการประกอบวิชาชีพทีน่ กั ศึกษาประสงค์

4.4 การฝึ กปฏิ บตั ิ งานวิ ชาชีพสาขา


นักศึกษาจะได้ฝึกปฏิบตั งิ านวิชาชีพที่สอดคล้องกับความรูแ้ ละทักษะของสาขาในรายวิชา
ฝึ ก ปฏิบ ัติง านวิช าชีพ สาขาการบริบ าลทางเภสัช กรรม ซึ่ง เนื้ อ หาและกิจ กรรมต่ า งๆ ของการฝึ ก
ปฏิบตั งิ านเป็ นไปตามที่คณะกรรมการประสานงานการฝึ กปฏิบตั งิ านวิชาชีพเภสัชกรรมกําหนด ทัง้ นี้
นักศึกษาจะสามารถฝึ กปฏิบตั งิ านวิชาชีพได้ก็ต่อเมื่อผ่านเงื่อนไขต่างๆ ของการฝึ กปฏิบตั งิ านวิชาชีพ
ตามทีก่ ําหนดในหลักสูตรเท่านัน้
25
คู่มอื การเลือกสาขา ปี การศึกษา 2564

บทที่ 5
การจัดการเรียนการสอนสาขาการคุ้มครองผู้บริโภคด้านยาและสุขภาพ

5.1 สาระของสาขาการคุ้มครองผูบ้ ริ โภคด้านยาและสุขภาพ


ตามประกาศสภาเภสัชกรรมที่ 20/2558 เรือ่ ง เกณฑ์มาตรฐานผูป้ ระกอบวิชาชีพเภสัชกรรม
ด้านการคุม้ ครองผูบ้ ริโภคด้านยาและสุขภาพ พ.ศ. 2558 ผูป้ ระกอบวิชาชีพเภสัชกรรม ด้านการคุม้ ครอง
ผู้บริโภคด้านยาและสุขภาพต้องมีความรู้ความสามารถด้านกฏหมายและการบังคับใช้กฏหมาย ด้าน
ระบบการจัด การความเสี่ยง ระบาดวิทยาและความปลอดภัยด้านยา ด้านเภสัชสาธารณสุ ขเพื่อ การ
คุ้มครองผู้บริโภค และด้านนโยบายและการจัดการด้านยา ผลิตภัณฑ์สุขภาพและระบบบริการสุขภาพ
ดัง นัน้ การเรียนการสอนในสาขาการคุ้มครองผู้บริโ ภคด้านยาและสุ ขภาพจึง ครอบคลุมองค์ความรู้
เกี่ย วกับ การคุ้ม ครองผู้บ ริโ ภคด้า นยา ผลิต ภัณ ฑ์แ ละบริก ารสุ ข ภาพ การสื่อ สารด้า นข้อ มูล ความรู้
เกี่ย วกับ ยาและผลิต ภัณ ฑ์สุ ข ภาพ การประยุ ก ต์ ค วามรู้ด้า นระบาดวิท ยา กฎหมาย สัง คมศาสตร์
พฤติกรรมศาสตร์ และสารสนเทศศาสตร์ เพื่อการบริหารจัดการงานคุม้ ครองผูบ้ ริโภคในระดับต่างๆ การ
เฝ้ าระวังเพื่อป้ องกันปั ญ หา การค้นหาและเสนอแนวทางในการแก้ไ ขปั ญหาที่เหมาะสม รวมถึง การ
ติดตามการใช้ยา ผลิตภัณฑ์และบริการสุขภาพในชุมชน และการค้นคว้าวิจยั ด้านการคุ้มครองผูบ้ ริโภค
ด้านยาและสุขภาพ

5.2 ข้อกําหนดในการรับนักศึกษา
5.2.1 จํานวนรับ 20 คน
5.2.2 นั ก ศึก ษาที่จ ะเลือ กสาขาการคุ้ม ครองผู้บ ริโ ภคด้า นยาและสุ ข ภาพต้ อ งสอบผ่ าน
รายวิชาในชัน้ ปี ท่ี 1-4 ทุกรายวิ ชาตามแผนการศึกษาของหลักสูต รเภสัชศาสตรบัณฑิต (6 ปี ) ฉบับ
ปรับปรุง พ.ศ. 2559

5.3 รายวิ ชาที่ต้องลงทะเบียน


นักศึกษาสาขาการคุม้ ครองผูบ้ ริโภคด้านยาและสุขภาพต้องลงทะเบียนเรียนรายวิชาใน
สาขาจํานวนไม่น้อยกว่า 20 หน่วยกิตดังนี้
26
คู่มอื การเลือกสาขา ปี การศึกษา 2564

5.3.1 รายวิชาบังคับ จํานวน 16 หน่ วยกิต


รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จํานวนหน่วยกิต
563 264 เภสัชระบาดวิทยา 2(2-0-4)
(Pharmacoepidemiology)
563 265 หลักการคุม้ ครองผูบ้ ริโภคด้านสุขภาพ 4(3-3-6)
(Principles of Consumer Protection in Health)
563 277 กฎหมายสําหรับงานคุม้ ครองผูบ้ ริโภค 2(1-3-2)
(Law for Consumer Protection)
563 281 เภสัชศาสตร์สงั คมและพฤติกรรมสุขภาพ 3(3-0-6)
(Social Pharmacy and Health Behavior)
563 282 ระบบยาและนโยบายสุขภาพ 3(3-0-6)
(Drug System and Health Policy)
568 354 สารสนเทศศาสตร์สาํ หรับงานคุม้ ครองผูบ้ ริโภคด้านสุขภาพ 2(1-3-2)
(Informatics for Health Consumer Protection)

5.3.2 รายวิชาเลือก จํานวน 4 หน่ วยกิต เลือกจากรายวิชาดังนี้


รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จํานวนหน่วยกิต
561 242 โภชนาการและโภชนบําบัด 2(2-0-4)
(Nutrition and Nutritional Therapy)
561 302 ความปลอดภัยของอาหารและนํ้าดื่ม 3(1-6-2)
(Safety of Foods and Drinking Water)
563 263 เภสัชเศรษฐศาสตร์ 2(2-0-4)
(Pharmacoeconomics)
563 273 การจัดการบริการในระบบสุขภาพ 2(2-0-4)
(Health Service Management)
563 283 การตลาดองค์รวมสําหรับบริการทางสุขภาพเชิงวิชาชีพ 2(1-3-2)
(Holistic Maketing for Professional Health Service)
563 284 เภสัชกรและการดูแลสุขภาพชุมชน 2(1-3-2)
(Pharmacists and Community Health Care)
563 285 การจัดการเชิงกลยุทธ์ทางการคุม้ ครองผูบ้ ริโภคด้านยาและสุขภาพ 2(2-0-4)
(Strategic Management in Pharmaceutical and Health Consumer
Protection)
563 286 เภสัชศาสตร์สาธารณสุข 2(2-0-4)
(Public Health Pharmacy)
27
คู่มอื การเลือกสาขา ปี การศึกษา 2564

รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จํานวนหน่วยกิต


563 287 ปั ญหาพิเศษทางการคุม้ ครองผูบ้ ริโภคด้านยาและสุขภาพ 2(2-0-4)
(Special Problems in Pharmaceutical and Health Consumer
Protection)
563 288 หัวข้อปั จจุบนั ทางการคุม้ ครองผูบ้ ริโภคด้านยาและสุขภาพ 2(1-3-2)
(Current Topics in Pharmaceutical and Health Consumer Protection)
568 355 การเผยแพร่สารสนเทศสําหรับงานคุม้ ครองผูบ้ ริโภคด้านสุขภาพ 2(1-3-2)
(Information Dissemination for Health Consumer Protection)
568 356 การพัฒนางานประยุกต์เพื่อการคุม้ ครองผูบ้ ริโภคด้านสุขภาพ 2(1-3-2)
(Development of Applications for Health Consumer Protection)
568 357 การวิเคราะห์ขอ้ มูลและการใช้สารสนเทศเพือ่ การตัดสินใจ 2(2-0-4)
(Data Analysis and Information Usage for Decision Making)
568 358 ซอฟต์แวร์แบบเปิ ดเผยการโปรแกรมสําหรับงานเภสัชกรรมและสุขภาพ 2(2-0-4)
(Open Source Software for Pharmacy and Health)
568 359 สือ่ อิเล็กทรอนิกส์สาํ หรับงานเภสัชกรรม 3(3-0-6)
(Electronic Media for Pharmacy Practice)
568 360 การสืบค้นและประเมินสารสนเทศสุขภาพ 2(2-0-4)
(Health Information Retrieval and Evaluation)
568 361 ปั ญหาพิเศษทางสารสนเทศศาสตร์ในงานคุม้ ครองผูบ้ ริโภคด้านสุขภาพ 1 3(2-2-5)
(Informatics Special Problems in Health Consumer Protection I)
568 362 ปั ญหาพิเศษทางสารสนเทศศาสตร์ในงานคุม้ ครองผูบ้ ริโภคด้านสุขภาพ 2 2(1-3-2)
(Informatics Special Problems in Health Consumer Protection II)
568 363 การวิเคราะห์และออกแบบระบบสารสนเทศในงานคุม้ ครองผูบ้ ริโภคด้านสุขภาพ 2(2-0-4)
(Analysis and Design of Information Systems in Health Consumer
Protection)
568 364 การพัฒนาอินเทอร์เน็ตเว็บไซต์ 3(2-2-5)
(Internet Web Site Development)
568 365 เทคโนโลยีสขุ ภาพสําหรับเภสัชกร 2(2-0-4)
(Health Technology for Pharmacists)
568 366 โปรแกรมประยุกต์ทางสุขภาพสําหรับเภสัชกร 2(2-0-4)
(Health Applications for Pharmacists)
568 367 การใช้งานโปรแกรมสํานักงานขันสู ้ ง 2(1-3-2)
(Advance Usage of Office Programs)
568 368 ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล 2(2-0-4)
(Hospital Information System)
568 369 เครื่องมือสําหรับการจัดการสารสนเทศร่วมกัน 3(2-2-5)
(Tools for Collaborative Information Management)
28
คู่มอื การเลือกสาขา ปี การศึกษา 2564

ทัง้ นี้นกั ศึกษาสามารถลงทะเบียนเรียนรายวิชาเลือกวิชาชีพของสาขาอื่นทีเ่ อือ้ ประโยชน์ ต่อ


การศึกษาได้โดยได้รบั ความเห็นชอบจากสาขาต้นสังกัดและสาขาทีจ่ ะไปลงทะเบียน

5.3.3 รายวิชาฝึกปฏิบตั งิ านวิชาชีพ จํานวน 30 หน่ วยกิต


รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จํานวนหน่วยกิต
551 211 การฝึกปฏิบตั งิ านวิชาชีพด้านระบบการคุม้ ครองผูบ้ ริโภคด้านยาและ 5(ไม่น้อยกว่า 270 ชัวโมง)

สุขภาพ
(Pharmaceutical and Health Consumer Protection System
Clerkship)
551 212 การฝึกปฏิบตั งิ านวิชาชีพด้านการบังคับใช้กฎหมายเพื่อการคุม้ ครอง 5(ไม่น้อยกว่า 270 ชัวโมง)

ผูบ้ ริโภค
(Law Enforcement for Consumer Protection Clerkship)
551 213 การฝึกปฏิบตั งิ านวิชาชีพด้านการคุม้ ครองผูบ้ ริโภคด้านยาและสุขภาพ 5(ไม่น้อยกว่า 270 ชัวโมง)

ในชุมชน
(Pharmaceutical and Health Consumer Protection in Community
Clerkship)
551 214 การฝึกปฏิบตั งิ านวิชาชีพด้านการจัดการความปลอดภัยด้านยาและ 5(ไม่น้อยกว่า 270 ชัวโมง)

สุขภาพ
(Pharmaceutical and Health Safety Management Clerkship)
551 215 การฝึกปฏิบตั งิ านวิชาชีพด้านการคุม้ ครองผูบ้ ริโภคด้านยาและสุขภาพ 5(ไม่น้อยกว่า 270 ชัวโมง)

เชิงบูรณาการ 1
(Integrated Pharmaceutical and Health Consumer Protection
Clerkship I)
551 216 การฝึกปฏิบตั งิ านวิชาชีพด้านการคุม้ ครองผูบ้ ริโภคด้านยาและสุขภาพ 5(ไม่น้อยกว่า 270 ชัวโมง)

เชิงบูรณาการ 2
(Integrated Pharmaceutical and Health Consumer Protection
Clerkship II)

5.3.4 ข้อแนะนําในการเลือกรายวิชาเลือกวิชาชีพ
รายวิชาเลือกวิชาชีพจํานวน 4 หน่ วยกิตมีวตั ถุประสงค์เพื่อเสริมให้นกั ศึกษามีองค์ความรูแ้ ละ
ทักษะเพียงพอทีจ่ ะนํ าไปประยุกต์หรือต่อยอดประสบการณ์ในการฝึกปฏิบตั งิ านวิชาชีพและการประกอบ
วิชาชีพในอนาคต ดังนัน้ นักศึกษาควรเลือกรายวิชาเลือกวิชาชีพให้สอดคล้องกับทิศทางการฝึกปฏิบตั ิ
งานวิชาชีพในชัน้ ปี ท่ี 6 และการประกอบวิชาชีพทีน่ กั ศึกษาประสงค์
30
คู่มอื การเลือกสาขา ปี การศึกษา 2564

บทที่ 6
การสมัครเข้าสาขา

6.1 การส่งแบบสมัครเข้าสาขา
การส่งแบบสมัครเข้าสาขาให้ดาํ เนินการตามขัน้ ตอนดังนี้
1. กรอกแบบสมัครอิเล็กทรอนิกส์ตามลิงค์หรือ QR code ข้างล่าง
https://forms.gle/bmPdqRDMjExRXc8Z9

2. นักศึกษาสามารถเลือกสาขาได้ 2 สาขาเรียงตามลําดับความสนใจ
3. หลังจากที่กดส่ ง ข้อ มูล นักศึกษาจะได้รบั ข้อความยืนยันบนหน้ าจอว่ า “บันทึกข้อ มูล
เรียบร้อยแล้ว ถ้านักศึกษาส่งข้อมูลมากกว่า 1 ครัง้ จะพิ จารณาคัดเลือกเข้าสาขาจากข้อมูลที่ ส่ง
ครัง้ แรก” หากส่งข้อมูลแล้วไม่พบหน้าจอดังกล่าวแสดงว่าส่งข้อมูลไม่สาํ เร็จ ให้ส่งข้อมูลใหม่
4. นักศึกษาจะได้รบั แบบสมัครและแบบรายงานผลการศึกษาทางอีเมล์ทแ่ี จ้งในแบบสมัคร
ทันที ให้นกั ศึกษาพิมพ์เอกสารทีไ่ ด้รบั และดําเนินการดังนี้
4.1 ลงชื่อและลงวันทีใ่ นแบบสมัคร
4.2 กรอกเกรดทุกรายวิชาในแบบรายงานผลการศีกษา หากเคยได้เกรด F หรือ W ใน
รายวิช าใด ให้ร ะบุ เ กรดดัง กล่ า วตามด้ว ยเกรดอื่น ที่ไ ด้ ร บั เช่ น F, A (นั กศึ กษาต้ อ งสอบผ่ า นทุ ก
รายวิ ชาจึงจะได้รบั การพิ จารณาให้เข้าสาขา)
5. ระบุหน่ วยกิตทีส่ ะสมได้ทงั ้ หมดในแบบรายงานผลการศีกษา
6. พิม พ์ ผ ลการศึ ก ษาจากระบบลงทะเบีย นออนไลน์ reg.su.ac.th ของระบบบริก าร
การศึกษา กองบริการการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร
7. ส่งเอกสารทัง้ หมดทีค่ ุณยศ รุ่งเรืองวานิช งานจัดการศึกษา สํานักงานคณบดีคณะเภสัช
ศาสตร์ ภายในวันศุกร์ท่ี 15 มกราคม 2564 เวลา 16:00 น.

นักศึกษาต้องกรอกข้อมูลในแบบสมัครและแบบรายงานผลการศึกษาให้ครบถ้วน
พร้อมทัง้ แนบผลการศึกษาทีพ่ มิ พ์จากระบบลงทะเบียนออนไลน์
มิฉะนัน้ จะไม่ได้รบั การพิจารณาเข้าสาขา
29
คู่มอื การเลือกสาขา ปี การศึกษา 2564

5.4 การฝึ กปฏิ บตั ิ งานวิ ชาชีพของสาขา


นักศึกษาจะได้ฝึกปฏิบตั งิ านวิชาชีพทีส่ อดคล้องกับความรูแ้ ละทักษะของสาขาในรายวิชาฝึก
ปฏิบตั งิ านวิชาชีพสาขาการคุ้มครองผู้บริโภคด้านยาและสุขภาพ ซึง่ เนื้อหาและกิจกรรมต่างๆ ของการ
ฝึกปฏิบตั งิ านเป็ นไปตามทีค่ ณะกรรมการประสานงานการฝึกปฏิบตั งิ านวิชาชีพเภสัชกรรมกําหนด ทัง้ นี้
นักศึกษาจะสามารถฝึ กปฏิบตั งิ านวิชาชีพได้ก็ต่อเมื่อผ่านเงื่อนไขต่างๆ ของการฝึ กปฏิบตั งิ านวิชาชีพ
ตามทีก่ ําหนดในหลักสูตรเท่านัน้

You might also like