You are on page 1of 8

PAT

PAT 1: CHAPTER 2 LOGIC

CHAPTER 2
CHAPTER OUTLINE

1
SECTION A ประโยคเปิ ดและตัวบ่ง
ปริมาณ A/1 ความหมายของ
ประโยคเปิ ด A/2 ตัวบ่ง
ปริมาณ A/3

By AJ. FLUKE (อ.ฟลุ้ค) August 18, 2019


1
PAT 1: CHAPTER 2 LOGIC

SECTION A ประโยคเปิ ดและตัวบ่งปริมาณ

A/1 ความหมายของประโยคเปิ ด

ประโยคเปิ ด คือประโยคที่มีตัวแปรซึ่งสามารถหาค่าความจริงได้โดยการ
แทนค่าตัวแปรนัน

Ex. x >1, เขาเป็ นนักมวย

A/2 ตัวบ่งปริมาณ

วิธีการหาค่าความจริงของประโยคที่มีตัวบ่งปริมาณ ∀x (For All)


สำหรับทุกๆค่า x , ∃x (For Some) สำหรับค่า x บางตัว
∀ x [P ( x ) ]
เป็ น F เมื่อมี x บางตัว ที่ทำให้ P(x) เป็ น
F
∃ x [ P (x )]
เป็ น T เมื่อมี x บางตัว ที่ทำให้ P(x) เป็ น
T
∀ x ∀ y [P ( x , y )]
เป็ น F เมื่อมี x, y บางตัว ที่ทำให้ P(x)
เป็ น F
∀ x ∃ y [P ( x , y ) ]
เป็ น F เมื่อมี x บางตัว คู่กับ y ทุกตัว ที่
ทำให้ P(x, y) เป็ น F
∃ x ∀ y [P ( x , y ) ]
เป็ น T เมื่อมี x บางตัว คู่กับ y ทุกตัว ที่
ทำให้ P(x, y) เป็ น T
∃ x ∃ y [ P( x , y )]
เป็ น T เมื่อมี x, y บางตัว ที่ทำให้ P(x,
y) เป็ น T

By AJ. FLUKE (อ.ฟลุ้ค) August 18, 2019


2
PAT 1: CHAPTER 2 LOGIC

∀ x∃ y ไม่เหมือนกับ ∃y∀x

A/3 สมมูลและนิเสธของประโยคเปิ ดที่มีตัวบ่งปริมาณ

สมมู ตัวบ่งปริมาณ เหมือนกัน ; ∀,∃

ล ประโยคเปิ ดต้อง สมมูลกัน


นิเสธ ตัวบ่งปริมาณ ตรงข้ามกัน ;
∀ ≡∃ , ∃≡ ∀

ประโยคเปิ ดต้องเป็ น นิเสธกัน


Ex. ∀ x ∃ x [ x> 0 ∧ x+ y=5]

SECTION B แบบฝึ กหัด


(ข้อสอบความถนัดทางคณิตศาสตร์ PAT1 พ.ศ. 2553) กำหนดเอกภพ
สัมภัทธ์ คือ {-1, 0, 1}

ข้อใดต่อไปนีถ
้ ูกต้อง

1. ∀ x ∀ y [ x+ y +2> 0] มีค่าความจริงเป็ นจริง

2. ∀ x ∃ y [x + y ≥0 ] มีค่าความจริงเป็ นเท็จ

3. ∃ x ∀ y [x + y=1] มีค่าความจริงเป็ นเท็จ

By AJ. FLUKE (อ.ฟลุ้ค) August 18, 2019


3
PAT 1: CHAPTER 2 LOGIC

4. ∃ x ∃ y [ x+ y>1] มีค่าความจริงเป็ นเท็จ

Problems Solution

(ข้อสอบความถนัดทางคณิตศาสตร์ PAT1 พ.ศ. 2559) กำหนดให้เอกภพ


สัมภัทธ์คือ {1 , 2 ,3 , 4 }

By AJ. FLUKE (อ.ฟลุ้ค) August 18, 2019


4
PAT 1: CHAPTER 2 LOGIC

ให้ P( x ) คือ |x−2|+|x−3|=1

Q(x ) คือ x ( x+ 1)>1

และ R(x ) คือ √ x−1< x−3

ประพจน์ในข้อใดต่อไปนี ้ มีค่าความจริงเป็ น เท็จ

1. ∀ x [P ( x ) ]→ ∀ x [Q ( x )]

2. ∀ x [P ( x ) → Q ( x ) ]→∃ x [R ( x ) ]

3. ∀ x [ Q ( x) ] ↔ ∀ x [ R ( x ) ]

4. ∃ x [ R ( x ) ]→ ∃ x [P ( x ) ]

5. ∃ x [Q ( x ) → P ( x ) ]∨ ∀ x [ Q ( x ) ]

Problems Solution

By AJ. FLUKE (อ.ฟลุ้ค) August 18, 2019


5
PAT 1: CHAPTER 2 LOGIC

(ข้อสอบความถนัดทางคณิตศาสตร์ PAT1 พ.ศ. 2552) กำหนดให้ P( x )

และ Q(x ) เป็ นประโยคเปิ ด

ประโยค ∀ x [P ( x ) ]→ ∃ x [ Q ( x ) ] สมมูลกับประโยคในข้อใดต่อไปนี ้

1. ∀ x [ P ( x ) ]→ ∃ x [Q ( x ) ]

2. ∀ x [Q ( x ) ]→ ∃ x [ P ( x ) ]

3. ∃ x [P ( x )]→ ∀ x [Q (x )]

4. ∃ x [ Q ( x ) ]→ ∀ x [P ( x ) ]

Problems Solution

By AJ. FLUKE (อ.ฟลุ้ค) August 18, 2019


6
PAT 1: CHAPTER 2 LOGIC

(ข้อสอบ สสวท. พ.ศ. 2542) นิเสธของข้อความ “สำหรับจำนวนคี่ x ใดๆ


เป็ นจำนวนคี่” คือข้อความใดต่อไปนี ้
3
x −x

1. สำหรับจำนวนคี่ x ใดๆ เป็ นจำนวนคู่


3
x −x

2. มีจำนวนคี่ x บางตัว ซึง่ เป็ นจำนวนคู่


3
x −x

3. มีจำนวนคู่ x บางตัว ซึง่ เป็ นจำนวนคู่


3
x −x

4. สำหรับจำนวนคู่ x ใดๆ เป็ นจำนวนคู่


3
x −x

Problems Solution

By AJ. FLUKE (อ.ฟลุ้ค) August 18, 2019


7
PAT 1: CHAPTER 2 LOGIC

By AJ. FLUKE (อ.ฟลุ้ค) August 18, 2019


8

You might also like