You are on page 1of 4

1 / 4

Designed by Groupe-Dejour.de

พลังแห่งเสียงดนตรี
ภาพยนตร์
Space Rocks! (ไม่ได้ฉายในประเทศไทย) หัวข้อ
ดนตรี สุขภาพอารมณ์ สุขภาพจิต
เอลลีกับบทเรียนโคโรน่า ตอน จะบ้าตาย! งานอดิเรก ประสาทวิทยาศาสตร์
คนิตซ์เชอร์กับความเศร้า
คนิตซ์เชอร์กับสุขภาพ
คำ�สำ�คัญ
Sci-PY Reporter - Be Happy, Stay Healthy! (ไม่ได้ฉายในประเทศไทย) เสียง คลื่นเสียง ดนตรี อารมณ์
Youth and Corona (ไม่ได้ฉายในประเทศไทย) การตอบสนองทางอารมณ์ สมอง
โสตประสาท การสั่นสะเทือน
ระดับเสียง ความถี่ สารสื่อประสาท
จุดประสงค์ ระดับ
ประถมศึกษา มัธยมศึกษา
1 เพื่อให้เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรีและสมองของเรา
ชนิดของกิจกรรม
เพื่อทดสอบความสามารถของสมองในการตอบสนอง กิจกรรมและการทดลอง
2
เสียงดนตรีประเภทต่างๆ และวิเคราะห์ว่ามันมีผลต่อ จำ�นวนผู้เข้าร่วมที่เหมาะสม
อารมณ์ของเราหรือไม่ 25 - 30 คน
วิธีการถ่ายทอด
สถานที่จัดกิจกรรมขนาดใหญ่
บทนำ� กลุ่มเล็ก ไลฟ์ออนไลน์
ดนตรีได้รับการพิสูจน์ทางวิทยาศาสตร์แล้วว่าส่งผลต่อสมองเป็นอย่างมาก
มีการวิจัยที่แสดงให้เห็นว่าดนตรีสามารถช่วยได้หลายเรื่อง ทั้งบรรเทาความ ระยะเวลากิจกรรม
เจ็บปวด การบรรเทาความเครียด ช่วยเรื่องความจำ� เป็นต้น ดนตรีสามารถ 30 นาที
ส่งผลต่ออารมณ์ของเรา ส่งผลต่อการตอบสนองในสถานการณ์ต่างๆ รวม
ถึงการบริโภคและเอกลักษณ์ของตัวเรา
สิ่งนี้มันทำ�งานอย่างไร: เมื่อระบบเสียงดนตรีสั่นสะเทือนเคลื่อนที่ผ่านอากาศ
และเข้าไปในช่องหู แก้วหูจะรับรู้ได้ถึงการสั่นสะเทือนเหล่านี้ และแปลงเป็น
สัญญาณไฟฟ้าเดินทางผ่านเส้นโสตประสาทหรือประสาทการได้ยินไปยังก้าน
สมอง แล้วสัญญาณนั้นก็จะถูกประกอบขึ้นใหม่กลายเป็นสิ่งที่เรารับรู้ได้ว่า
เป็นดนตรี ดนตรีจะได้ถูกประมวลผลในเปลือกสมองส่วนที่ทำ�หน้าที่รับการ
ได้ยินเมื่อเราฟัง (auditory cortex) สมองส่วนที่ทำ�หน้าที่ควบคุมเมื่อเรามี
การตอบสนองทางกายภาพ (motor cortex) สมองส่วนการมองเห็นเมื่อ
อ่านโน้ตหรือชมการเต้น (visual cortex) สมองส่วนล่าง เมื่อเคลื่อนไหวหรือ
ตอบสนองทางอารมณ์ (cerebellum) และสมองส่วนความทรงจำ�เมื่อเราจำ�
ทำ�นอง (hippocampus) เป็นต้น
2 / 4
Designed by Groupe-Dejour.de

พลังแห่งเสียงดนตรี
ผู้คนส่วนใหญ่มีความสนใจทางดนตรีที่แตกต่างกัน แต่รสนิยม
เรื่องแนวดนตรีนั้นไม่ใช่ปัจจัยสำ�คัญ — ความเชื่อมโยงทาง วัสดุ/สิ่งที่ต้องเตรียม
อารมณ์ต่างหากที่สำ�คัญ เมื่อเพลงที่เราชอบดังขึ้น ระบบลิมบิก
(ส่วนหนึ่งของสมองที่ควบคุมอารมณ์) จะตอบสนองต่อเสียง สำ�หรับกิจกรรมอุ่นเครื่อง
เพลงนี้ ด้วยเหตุนี้ดนตรีที่กระตุ้นอารมณ์ได้จึงสามารถส่งผลต่อ แก้วน้ำ�หรือขวดโหลที่เท่าๆ กัน 4 แก้ว
อารมณ์ได้โดยตรง
น้ำ�เปล่าประมาณ 500 มล.
คำ�ถามนำ� ช้อนหรือส้อม

เสียงคืออะไร? - เสียงคือการสั่นสะเทือนที่เดินทางผ่าน
อากาศหรือตัวกลางอื่นเป็นคลื่นกลที่เราได้ยิน ภารกิจ/กระบวนการ
ดนตรีคืออะไร? - ดนตรีประกอบด้วยเสียงที่มีความถี่พื้น สำ�หรับกิจกรรมหลัก
ฐานและโอเวอร์โทนหรือเสียงสอดแทรก
เครื่องเล่นเพลง
เสียงรบกวนคืออะไร? - เสียงรบกวนคือสิ่งที่เราไม่พึง
ปรารถนา - เป็นเสียงที่ถือว่าไม่น่าพอใจ เสียงดังหรือรบกวน กระดาษหนึ่งแผ่น
การได้ยิน
ดินสอ/ปากกา
คุณเคยรู้สึกว่าดนตรีประเภทต่างๆ มีความดึงดูดใจแตก
ต่างกันหรือไม่? มีดนตรีบางประเภทที่ฟังแล้วรู้สึกเหมือนกับ หูฟัง (มีหรือไม่มีก็ได้)
เสียงรบกวนหรือไม่?
ดนตรีแบบไหนที่ทำ�ให้คุณนอนหลับเร็วขึ้น แบบไหนทำ�ให้
คุณรู้สึกกระฉับกระเฉงขึ้น หรือทำ�ให้คุณกระวนกระวายใจ?
เกิดอะไรขึ้นในสมองของเราเมื่อถูกกระตุ้นจนเกิดการ ส่วนที่ 1- กิจกรรมอุ่นเครื่อง:
เปลี่ยนแปลงดังกล่าว?
มาสร้างเสียงดนตรีด้วยตัวเองกันเถอะ
การให้ทารกในครรภ์ฟังเพลงมีผลต่อทารกหรือไม่?
นำ�แก้วหรือขวดโหลที่คล้ายกันสี่ใบมาวางไว้บนโต๊ะ ใช้ช้อนโลหะ
หรือส้อมแตะแก้วแต่ละใบ เสียงเหมือนหรือต่างกันหรือไม่? จาก
นั้นให้เทน้ำ�ในปริมาณที่แตกต่างกันในแก้วแต่ละใบ อาจทำ�ให้สนุก
มากขึ้นโดยเพิ่มสีผสมอาหารที่แตกต่างกันลงไปในแก้วแต่ละใบ
เพื่อให้ดูเหมือนรุ้งกินน้ำ� ใช้ช้อนหรือส้อมแตะแก้วอีกครั้ง คุณ
ได้ยินอะไร? เสียงในแต่ละแก้วต่างกันไหม? เพราะอะไร?
เกิดอะไรขึ้น: เสียงเป็นการรบกวนที่เคลื่อนที่ผ่านตัวกลางเป็น
คลื่น ในการทดลองนี้ การใช้ช้อนแตะแก้วจะรบกวนอนุภาคใน
แก้วน้ำ�ทำ�ให้เกิดการสั่นสะเทือน การสั่นสะเทือนในแก้วน้ำ�จะถูก
ส่งต่อไปยังอากาศรอบๆ แก้ว ทำ�ให้เกิดคลื่นเสียง เมื่อแก้วน้ำ�
ว่างเปล่า แรงสั่นสะเทือนและเสียงก็จะเหมือนกันหมด การเติม
น้ำ�ในปริมาณที่ต่างกันลงไปจะทำ�ให้การสั่นสะเทือน (และเสียง)
เปลี่ยนไป
3 / 4
Designed by Groupe-Dejour.de

พลังแห่งเสียงดนตรี
สิ่งที่ให้เด็กทำ�ขณะฟังเพลง:
เราสามารถเปลี่ยนระดับเสียงที่เกิดได้โดยปรับปริมาณน้ำ�ที่ใส่
ลงในแก้วน้ำ� ระดับเสียงคือความสูงต่ำ�ของเสียงที่เราได้ยิน โดย วาดภาพสิ่งที่เด็กจินตนาการขณะฟังเพลง (ปล่อยให้เด็ก
a หลับตาฟังเพลงหนึ่งนาที จากนั้นให้ลืมตาแล้ววาดรูปต่อ)
จะขึ้นอยู่กับความถี่ของคลื่นเสียง เมื่อเราเติมน้ำ�ลงในแก้วมาก
ขึ้น ระดับเสียงก็จะต่ำ� เนื่องจากปริมาณน้ำ�ในแก้วที่สูงทำ�ให้ อาจให้วาดรูปง่ายๆ ที่มีแต่ลายเส้นหรือใช้สีวาดรูปที่มีราย
อนุภาคของแก้วสั่นได้ยากขึ้น ดังนั้นการสั่นของแก้วจึงช้าลงและ ละเอียดซับซ้อนขึ้นก็ได้
มีความถี่ต่ำ�กว่า เมื่อคุณเติมน้ำ�ลงในแก้วน้อยลง ระดับเสียงก็จะ เขียนอารมณ์ความรู้สึกที่เชื่อมโยงกับเพลง อาจเขียนเป็น
b คำ� ประโยคอธิบาย หรือฉากสมมุติก็ได้
สูง เนื่องจากปริมาณน้ำ�ในแก้วต่ำ�ทำ�ให้อนุภาคแก้วสั่นสะเทือนได้
ง่ายขึ้น ดังนั้นการสั่นของแก้วจึงเร็วขึ้นและมีความถี่สูงขึ้น
เด็กอยากฟังเพลงๆ นั้นตอนไหน? ตอนเต้น ตอนเสียใจ
c ตอนออกกำ�ลังกาย เป็นต้น
ส่วนที่ 2- กิจกรรมหลัก: มาฟังดนตรีกัน
เมื่อเรารู้แล้วว่าเสียงคืออะไรก็ถึงเวลามาฟังดนตรีกันบ้าง ให้
วิทยากรเปิดเพลง (ตามลิ้งค์จาก Google Slide ด้านล่าง) ส่วนที่ 3- กิจกรรมหลัก:
โดยไม่ต้องบอกว่าเพลงนั้นให้อารมณ์แบบไหน เชื่อมโยงดนตรีเข้ากับอารมณ์

ข้อสังเกต: 1 ให้เด็กวาดตาราง 6 ช่องตามตัวอย่างด้านล่างลงในสมุด


หรือแผ่นกระดาษ
1 ไม่ต้องให้ข้อมูลใดๆ เกี่ยวกับประเภทของดนตรีที่เปิดให้ฟัง เปิดเพลงให้ฟังอีกครั้งทีละเพลง (สไลด์ที่ 8-12)
2
คราวนี้ให้เด็กลืมตาและมองที่สไลด์เพื่อช่วยหา
ให้เด็กหลับตาแล้วฟังเพลง หากมีหูฟังก็จะยิ่งทำ�ให้ ความเชื่อมโยงระหว่างเพลงและอารมณ์
2
ประสบการณ์ฟังเพลงนี้ดียิ่งขึ้น ต้องแน่ใจว่าวิทยากรต้องไม่บอกหรือแสดงความคิดเห็น
3 ใดๆ ออกมาว่าเพลงนั้นให้อารมณ์แบบไหน
เปิดเพลงแรกให้ฟังแล้วให้เด็กทำ�ตามขั้นตอน a) b)
3 และ c) ที่อยู่ด้านล่างในขณะที่ฟัง ทำ�ซ้ำ�ทั้ง 5 เพลง
สิ่งที่ให้เด็กทำ�:
4 ไม่จำ�เป็นต้องเปิดให้ฟังทั้งเพลง แต่ 1-2 นาทีก็เพียง เขียนเลขของเพลงลงในช่องที่รู้สึกว่าตรงกับความรู้สึกในตาราง
พอแล้ว อาจเรียงตามลำ�ดับเพลงที่ได้ฟัง อย่าลืมว่านักเรียนสามารถ
เขียนเลขเพลงลงไปได้มากกว่าหนึ่งช่องอารมณ์ตามต้องการ
ลิ้งค์ Google slide สำ�หรับฟังเพลง: หากเขียนเลขเพลงไหนลงในช่อง “อื่นๆ” ให้นักเรียนเขียนกำ�กับ
5 ด้วยว่ามีความรู้สึกอย่างไร
https://tinyurl.com/4bkdtdtu
4 / 4
Designed by Groupe-Dejour.de

พลังแห่งเสียงดนตรี
มีความสุข เศร้า คิดถึงความหลัง ปลุกใจ โกรธ อื่นๆ

อภิปรายเสริม คำ�แนะนำ�เพื่อความปลอดภัย
หากใช้หูฟังในการฟังเพลง
1
คุณรู้สึกถึงความเชื่อมโยงระหว่างดนตรี ต้องแน่ใจว่าไม่เปิดเสียงดังจนเกินไป
และอารมณ์หรือไม่?
คุณรู้สึกว่าอารมณ์สามารถถูกดนตรีควบคุมได้หรือ
2 ไม่ การฟังเพลงสงบๆ ช่วยให้คุณกระวนกระวายน้อยลง กิจกรรมที่อาจทำ�เพิ่มเติม
หรือไม่?
ตารางที่คุณเขียนแตกต่างจากเพื่อนหรือไม่? การเข้าใจ สารสื่อประสาทคืออะไรและส่งผลต่ออารมณ์ของเรา
1 อย่างไร? การฟังเพลงสามารถกระตุ้นการผลิตโดพามีน
3 ว่าแต่ละคนมีสัมผัสรับรู้ที่แตกต่างกันช่วยให้เรายอมรับผู้ เซโรโทนิน และสารเคมีอื่นๆ ในสมองของเราได้หรือไม่?
อื่นมากขึ้นและมีความใจกว้างมากขึ้น บางทีคุณอาจพบว่า
เพื่อนสนิทได้ผลลัพธ์ที่แตกต่างกันโดยสิ้นเชิงซึ่งก็ไม่ได้ ลองนำ�วิธีนี้ไปใช้ดู เพลงบางเพลงที่เหมาะสมนั้นสามารถ
2 ทำ�ให้คุณอดทนทำ�งานบางอย่างได้มากขึ้นหรือไม่ เช่น
ผิดปกติอะไรเลย
ฟังเพลงขณะทำ�งานบ้าน ตากผ้า หรือล้างจาน?
หากทำ�การทดลองนี้กับผู้ใหญ่ คุณคิดว่าจะได้ผลลัพธ์
4 ที่แตกต่างกันหรือไม่? หากแตกต่าง คิดว่าจะแตกต่าง
อย่างไรบ้าง? ลองเอาไปให้พ่อแม่หรือผู้ปกครองทำ�ดู 3 สำ�รวจหากิจกรรมอื่นๆ ที่เกี่ยวกับดนตรีเพิ่มเติม

ดนตรีคือสิ่งที่คอยเป็นขวัญกำ�ลังใจให้กับนักบินอวกาศ
5 ที่อยู่บนสถานีอวกาศนานาชาติเสมอมา คุณคิดว่าทำ�ไม
จึงเป็นเช่นนั้น? มันส่งผลกระทบอะไรต่อจิตใจของพวก
เขาหรือไม่? ผู้เขียนและแหล่งที่มา
เคยสังเกตไหมว่าดนตรีถูกนำ�ไปใช้ในภาพยนตร์และวิดีโอ ออกแบบและนำ�เสนอโดย โยชิดะ เมนน และ ปรีวีณา นันทกุมาร์ ครูวิทยาศาสตร์
6 เพื่อสร้างอารมณ์หรือไม่? คุณนึกภาพหนังที่ไม่มีดนตรี ประเทศอินเดีย
หรือเสียงเอฟเฟ็คต์เลยออกไหม? อยากลองดูหนังแบบ www.pnas.org/content/116/9/3793
นั้นไหม?
www.nasa.gov/vision/space/features/wakeup_calls.html
เคยได้ยินเรื่องดนตรีบำ�บัดหรือการใช้ดนตรีเป็นเครื่องมือ
7 เพื่อจุดประสงค์บางอย่างหรือไม่? ดนตรีสามารถทำ�ให้คน www.esa.int/Science_Exploration/Human_and_Robotic_
Exploration/Music_for_space
ขยันขึ้นได้หรือเปล่า? คิดว่าจะได้ผลกับคุณไหม?
www.psychologytoday.com/us/blog/science-choice/201908/
music-emotion-and-well-being

www.themusiclab.org/quizzes/jan

You might also like