You are on page 1of 11

Journal of Nursing and Education Volume 12 Number 2 April - June 2019 1

ภัยเงียบที่อาจเกิดแก่ทารกแรกเกิดจากโทรศัพท์มือถือ....
ป้องกันไว้ก่อนดีกว่าตามแก้ทีหลัง
Silent Danger That May Occur to Newborn Babies
from Cell Phones…..An Ounce of Prevention Is Worth
A Pound of Cure.
Received: 30/5/2562
รัตนา สิงห์โต* วิภา เพ็งเสงี่ยม** Revised: 14/6/2562
Rattana Singto* Vipa Pengsa-ngium** Accepted: 26/6/2562

บทคัดย่อ
นับได้วา่ โทรศัพท์มอื ถือเป็นปัจจัยที่ 5 ในการด�ำรงชีวติ ของมนุษย์ มารดาทีเ่ พิง่ ฟืน้ ตัวจากการคลอด
ทีอ่ ยูใ่ นโรงพยาบาลมักใช้โทรศัพท์มอื ถือในการติดต่อสือ่ สารกับบุคคลในครอบครัว ญาติพนี่ อ้ ง และเพือ่ นๆ
แต่หลังจากใช้โทรศัพท์ มารดามักจะวางโทรศัพท์ทิ้งไว้ใกล้ตัวทารกโดยเฉพาะบริเวณศีรษะโดยไม่คิดว่า
ก�ำลังมีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าแพร่กระจายออกมาจากโทรศัพท์ไปสู่ทารกได้ ปัจจุบันได้มีการพิสูจน์แล้วพบ
ว่าศีรษะเด็กสามารถดูดซับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากโทรศัพท์มือถือได้มากกว่าผู้ใหญ่ ยิ่งเด็กที่มีอายุน้อย
สมองยิ่งดูดซับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเข้าสู่เนื้อเยื่อสมองได้ลึกกว่าเด็กที่มีอายุมากกว่า ดังนั้นทารกแรกเกิด
ที่รอยต่อของกะโหลกศีรษะเชื่อมต่อกันไม่สนิท ท�ำให้มีกะโหลกศีรษะที่ไม่ปิดคลุม จึงเสี่ยงต่อการดูดซับ
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเข้าสู่เนื้อเยื่อสมองได้ลึกมากขึ้น
แม้การศึกษาต่างๆ ในขณะนีย้ งั ไม่สามารถสรุปได้วา่ คลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าทีแ่ ผ่รงั สีจากโทรศัพท์มอื ถือ
ก่ออันตรายในระยะยาวหรือไม่ แต่กระนั้นองค์การวิจัยโรคมะเร็งนานาชาติ (International Agency for
Research on Cancer, IARC) ซึง่ เป็นหน่วยงานหนึง่ ขององค์การอนามัยโลกก็ได้จดั รังสีคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า
จากโทรศัพท์มอื ถืออยูใ่ นประเภทกลุม่ 2 B คืออาจเป็นไปได้ทจี่ ะเป็นปัจจัยเสีย่ งต่อการเป็นมะเร็งในมนุษย์ที่
ต้องรอการพิสจู น์จากหลายงานวิจยั มารับรอง และในขณะทีก่ ำ� ลังอยูใ่ นห้วงของการรอพิสจู น์อยูน่ ี้ พยาบาล
ควรทีจ่ ะท�ำการป้องกันอันตรายให้แก่ทารกแรกเกิดทีย่ งั ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ไว้กอ่ น ทารกเหล่านีค้ วรได้รบั
สิทธิแ์ ละโอกาสของการได้เจริญเติบโตและพัฒนาการอยูใ่ นสภาพแวดล้อมทีป่ ลอดภัยจากคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า
ที่มาจากโทรศัพท์มือถือ ดังนั้นการบริหารจัดการถึงวิธีการใช้โทรศัพท์มือถือด้วยมาตรการที่ปลอดภัย
ตามหลักการป้องกันไว้กอ่ น (Precaution principles) จึงน่าจะเป็นวิธกี ารทีด่ ที สี่ ดุ พยาบาลทีป่ ฏิบตั หิ น้าที่
ในหออภิบาลมารดาหลังคลอดทีส่ ง่ เสริมให้มารดาหลังคลอดอยูก่ บั ทารกแรกเกิดตลอด 24 ชัว่ โมง ควรเพิม่
บทบาทในการให้ความรู้แก่มารดาหลังคลอดถึงวิธีการใช้โทรศัพท์มือถืออย่างปลอดภัยด้วย
คำ�สำ�คัญ : คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า, โทรศัพท์มือถือ, สุขภาพของทารกแรกเกิด

* ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ วิทยาลัยนานาชาติเซนท์เทเรซา


** คณบดี คณะพยาบาลศาสตร์ วิทยาลัยนานาชาติเซนท์เทเรซา
2 วารสารการพยาบาลและการศึกษา ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2562

ABSTRACT
Cell phones have become the fifth necessity of life in addition to food, clothes,
shelter and medications. As a postpartum mother is recovering in a hospital from
delivering a baby, she usually contacts her family, cousins and friends by using her
cell phone brought with her to the hospital. After finishing her communication through
the cell phone, the mother often leaves or places the cell phone near her newborn
baby, in particular near the newborn’s head without being aware of the biological effects
of electromagnetic radiation emitting from a cell phone to her newborn baby. Currently,
children have been proven to absorb more radiated electromagnetic energy from cell
phones than adults. The younger the child is, the deeper the absorbed electromagnetic
radiation from cell phone can penetrate into his brain tissues. Thus, the newborn infants
whose skull sutures and fontanelles are still wide and open, are definitely at the greater
risk for absorbing much more electromagnetic radiations deeply into the brain tissues.
Today, the long-term health effects of electromagnetic radiation emitting from a
cell phone are not clearly established. However, the International Agency for Research
on Cancer, IARC, a part of the World Health Organization, has classified radiofrequency
electromagnetic fields as possibly carcinogenic to humans (Group 2B). While waiting for
research on whether or not electromagnetic radiations affect newborn babies’ health
in the long run, nurses should prevent danger to helpless newborn babies during this
ambiguious period. These newborn babies have the right to grow up and develop within
the safe environment without any possible adverse health effects of electromagnetic
radiation emitting from a cell phone. An ounce of prevention is worth a pound of cure.
Thus, at this time, the safety management of using a cell phone according to precaution
principles seems to be the best practice. Nurses practicing in the postpartum unit that
allows mothers and their newborns to stay together 24 hours a day need to teach mothers
how to use their cell phones appropriately in order to prevent a potential health risk
that may impact their newborns caused by electromagnetic radiation as a result of their
mothers’ using cell phones.
Keywords : Electromagnetic Radiation, Cell Phone, Newborn Health

* Assistant Professor, Faculty of Nursing, St.Theresa International College


** Dean, Faculty of Nursing, St.Theresa International College
Journal of Nursing and Education Volume 12 Number 2 April - June 2019 3
ปัจจุบนั โทรศัพท์มอื ถือเป็นสิง่ จ�ำเป็นส�ำหรับ ทารกแรกเกิดที่เพิ่งคลอดได้ไม่กี่วันยังมี
บุคคลทัว่ ไปเนือ่ งจากสามารถติดต่อได้สะดวกรวดเร็ว กะโหลกศีรษะที่บาง มีรอยต่อของกะโหลกศีรษะที่
ในทุกสถานที่ ทุกเวลา หรืออาจกล่าวได้วา่ โทรศัพท์ กว้างยังไม่เชื่อมต่อกัน และกระหม่อมหน้า-หลังยัง
มือถือคือปัจจัยที่ 5 ที่ช่วยให้การด�ำรงชีวิตของ เปิดอยู่ นอกจากนีร้ ะบบสมองและประสาทของทารก
มนุษย์ในยุคปัจจุบันมีความคล่องตัวมากกว่ามนุษย์ ก็ยังมีการเจริญเติบโตและพัฒนาไม่สมบูรณ์ ดังนั้น
ในยุคก่อนๆ มาก แทบเปรียบเทียบกันไม่ได้เลย หากมารดาใช้โทรศัพท์มือถืออย่างไม่ระมัดระวัง
จนมนุษย์ในยุคปัจจุบนั ได้รบั การขนานนามว่ามนุษย์ หรือวางโทรศัพท์มือถือไว้ใกล้กับศีรษะของทารก
ในโลกยุคดิจิตอล โทรศัพท์มือถือได้รับการพัฒนา ก็มีโอกาสเสี่ยงท�ำให้ศีรษะของทารกกลายเป็นเป้า
ทั้งรูปลักษณ์และสมรรถนะที่เอื้อประโยชน์แก่ผู้ใช้ ดูดซับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่แผ่จากโทรศัพท์มือถือ
อย่างมากมายในชีวิตประจ�ำวัน ปัจจุบันปริมาณ
การครอบครองโทรศัพท์มือถือมีจ�ำนวนเพิ่มมาก ได้โดยตรง โดยมีภาพแสดงเปรียบเทียบให้เห็น
ขึ้นกว่าแต่ก่อนอย่างเห็นได้ชัดเนื่องจากง่ายใน ถึงความลึกของการดูดซับของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
การซือ้ หา และราคาไม่แพงมากนัก จนเป็นทีน่ ยิ มใช้กนั จากโทรศัพท์มือถือที่มีความถี่ของคลื่น 900 MHz
อย่างแพร่หลายทัง้ ในกลุม่ ผูใ้ หญ่และในกลุม่ เด็ก จาก เข้าสูเ่ นือ้ เยือ่ สมองของเด็กระหว่างอายุ 5 และ 10 ปี
การส�ำรวจประชากรไทยที่มีอายุตั้งแต่ 6 ปีขึ้นไป กับของผู้ใหญ่ ซึ่งพบว่าสมองของเด็กระหว่างอายุ
พบว่ามีปริมาณการใช้โทรศัพท์มือถือเพิ่มมากขึ้น 5 และ 10 ปี สามารถดูดซับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่
ทุกปีจากร้อยละ 73.3 ในปีพ.ศ. 2556 ขึ้นมาเป็น แผ่ออกจากโทรศัพท์มือถือเข้าสู่เนื้อเยื่อสมองได้
ร้อยละ 88.2 ในปีพ.ศ. 25601 แม้กระทัง่ ในกลุม่ เด็กเล็ก ลึกกว่าของผู้ใหญ่ และหากเปรียบเทียบความลึก
ผูป้ กครองบางรายก็ยงั นึกสนุกกับการให้ใช้โทรศัพท์ ของการดูดซับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากโทรศัพท์มือ
มือถือพูดคุยเล่นด้วยได้ โดยไม่ได้ตระหนักแม้แต่นอ้ ย ถือเข้าสู่เนื้อเยื่อสมองระหว่างของเด็กอายุ 5 ปี
ถึงผลเสียหรือผลกระทบของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ กับ 10 ปี จะเห็นว่า ของเด็กอายุ 5 ปีมีการดูดซับ
แพร่กระจายออกมาจากโทรศัพท์มือถือที่อาจมีต่อ เข้าสู่เนื้อเยื่อสมองได้ลึกกว่า2 (ภาพที่ 1)
สุขภาพของเด็กทีก่ ำ� ลังเจริญเติบโต โดยเฉพาะทารก
แรกเกิด ทัง้ นีเ้ นือ่ งจากคนส่วนใหญ่มกั เคยชินกับการ
มองเห็นแต่ดา้ นคุณประโยชน์และความสะดวกสบาย
ที่ได้รับจากการใช้โทรศัพท์มือถือด้านเดียว

ภาพที่ 1 เปรียบเทียบความลึกของการดูดซับรังสีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ทีแ่ ผ่จากโทรศัพท์มอื ถือความถีข่ องคลืน่ ที่ 900 MHz เข้าสูส่ มองของเด็กอายุ
5, 10 ปี กับของผู้ใหญ่2
4 วารสารการพยาบาลและการศึกษา ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2562

โดยปกติมารดาที่เพิ่งฟื้นตัวจากการคลอด คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetic


มักใช้โทรศัพท์มือถือในการประสานติดต่อกับผู้คน radiation or EMR) คือ แสงในคุณสมบัตขิ องความ
ในครอบครัวและเพื่อนๆ และเมื่อสังเกตการวาง เป็นคลืน่ เรียกว่า “คลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า” ประกอบด้วย
โทรศัพท์มอื ถือของมารดาหลังคลอดหลังจากใช้เสร็จ สนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้าทีม่ กี ารเหนีย่ วน�ำจน
แล้วมักพบว่ามารดาหลายคนได้วางโทรศัพท์มอื ถือทิง้ เกิดการเปลีย่ นแปลงตลอดเวลา คลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า
ไว้ใกล้ตวั ทารกแรกเกิดค่อนข้างมาก โดยเฉพาะด้านบน เป็นคลื่นตามขวางและอยู่บนระนาบตั้งฉากกับทิศ
เหนือศีรษะของทารกซึ่งมีระยะห่างจากโทรศัพท์ ของการเคลื่อนที่ (ดังแสดงในภาพที่ 2) สามารถ
ไม่ถึง 5 นิ้วฟุต โดยไม่รู้ว่าทารกแรกเกิดก�ำลังซึมซับ เคลื่อนที่ได้โดยไม่อาศัยตัวกลาง มีความเร็วใน
คลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าทีแ่ พร่กระจายออกมาจากโทรศัพท์ การเคลือ่ นทีใ่ นสุญญากาศ 300,000,000 เมตร/วินาที
มือถือเข้าสูเ่ นือ้ เยือ่ สมอง ณ ตอนนี้ ค�ำถามทีอาจเกิด หรือ 3×108 m/s และมีพลังงานโฟตอน (Photon
ขึน้ ก็คอื คลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าคืออะไร มาจากโทรศัพท์ energy)3
มือถือได้อย่างไร ดังนัน้ ในเบือ้ งต้นจึงควรมาท�ำความ
เข้าใจเกี่ยวกับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าก่อน

ภาพที่ 2 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetic Radiation)3

คลืน่ ของแม่เหล็กไฟฟ้าทีป่ ระสาทตาของมนุษย์สามารถมองเห็น มีชว่ งความยาวของคลืน่ อยูร่ ะหว่าง


400 – 700 นาโนเมตร แสงแต่ละสีมคี วามยาวคลืน่ แตกต่างกัน คลืน่ ยาวมีความถีต่ ำ�่ ส่วนคลืน่ สัน้ มีความถีส่ งู
ในภาพที่ 2 จะเห็นว่าวิทยุ โทรทัศน์ ไมโครเวฟ เรดาร์ โทรศัพท์ มีช่วงความยาวคลื่นที่ยาวและมีความถี่
ของคลื่นที่ต�่ำ ในขณะที่แสงอัลตร้าไวโอเลต รังสีเอ็กซ์ และรังสีแกมม่า มีช่วงความยาวคลื่นที่สั้น
และมีความถี่ของคลื่นที่สูง3-4
Journal of Nursing and Education Volume 12 Number 2 April - June 2019 5

ภาพที่ 3 ประเภทของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า4

ช่วงความถี่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความต่อเนื่องกันจากต�่ำสุดไปสูงสุดเรียกว่า ผังความถี่
สนามแม่เหล็กไฟฟ้าหรือสเปกตรัมคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetic spectrum) โดยความยาวคลืน่ จะ
ลดลงในขณะทีค่ วามถีข่ องคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าเพิม่ มากขึน้ ความยาวคลืน่ มีหน่วยเป็นนาโนเมตร (Nanometer
or nm) หรือไมโครเมตร (Micrometer or µm) และความถี่ของคลื่นมีหน่วยเป็นเฮิรตซ์ (Hertz or
Hz) คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีช่วงความยาวคลื่นยาวหรือมีความถี่ต�่ำจะเป็นคลื่นที่ให้พลังงานน้อย ส่วนที่มี
ช่วงความยาวคลื่นสั้นหรือมีความถี่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าสูงจะให้พลังงานมาก3 (ดังแสดงในภาพที่ 4)

ภาพที่ 4 สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetic Spectrum)5


6 วารสารการพยาบาลและการศึกษา ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2562

ทั้งนี้ความยาวช่วงคลื่นและความเข้มของ low frequency electromagnetic field หรือ


คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจะขึ้นอยู่กับอุณหภูมิของแหล่ง ELF-EMF) คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากโทรศัพท์มือถือ
ก�ำเนิดคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า วัตถุทกุ ชนิดทีม่ อี ณ ุ หภูมสิ งู อยู่ในช่วงคลื่นเดียวกับคลื่นไมโครเวฟซึ่งถือว่าเป็น
กว่า 0 เคลวิน (-273 องศาเซลเซียส) ล้วนมีพลังงาน ส่วนหนึ่งของคลื่นวิทยุ มีความถี่ของคลื่นประมาณ
ที่สามารถแผ่รังสีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าได้ โดยวัตถุ 450–2,700 MHz (1 MHz = 1 ล้านลูกคลืน่ ต่อวินาที)
ร้อนมีพลังงานสูง จะแผ่รังสีคลื่นสั้น ส่วนวัตถุเย็น แม้ว่าโทรศัพท์มือถือมีรังสีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
มีพลังงานต�่ำ จะแผ่รังสีคลื่นยาว2 ทีม่ พี ลังงานต�ำ่ ให้ความร้อนออกมาน้อย แต่เนือ้ เยือ่
รังสีคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าแบ่งออกเป็น 2 กลุม่ 3,6 คือ ของร่างกายก็สามารถดูดกลืนพลังงานเหล่านีไ้ ด้7 ด้วย
1. รังสีนอนไอออไนซ์หรือรังสีไม่กอ่ ประจุ (Non- เหตุนบี้ ริษทั ทีผ่ ลิตโทรศัพท์มอื ถือจึงต้องรายงานผล
ionizing radiation/NIR) คือรังสีคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า การทดสอบค่าอัตราการดูดกลืนพลังงานจ�ำเพาะหรือ
ที่ให้แต่เพียงความร้อน ตามแนวคิดฟิสิกส์ดั้งเดิม อัตราพลังงานคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ถูกดูดกลืนโดย
เชือ่ ว่ารังสีกลุม่ นี้ มีผลในการเพิม่ อุณหภูมขิ องเนือ้ เยือ่ เนื้อเยื่อของร่างกาย (Specific absorbtion rate
ให้สูงขึ้นเท่านั้น และเชื่อว่าไม่มีผลกระทบต่อเซลล์ หรือ SAR) ซึ่งมีหน่วยเป็นวัตต์ต่อเนื้อเยื่อร่างกาย
ได้แก่ คลื่นของวิทยุ FM/AM โทรทัศน์ ไมโครเวฟ 1 กิโลกรัม (W/kg) ไว้เป็นข้อมูลส�ำหรับผู้ซื้อตาม
เรดาร์ โทรศัพท์และแสงแดด เป็นต้น เกณฑ์มาตรฐานของคณะกรรมการกลางก�ำกับ
2. รังสีไอออไนซ์หรือรังสีกอ่ ประจุ (Ionizing ดูแลกิจการสื่อสารของรัฐบาลสหรัฐอเมริกา (U.S.
radiation) คือรังสีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีพลังงาน Federal Communication Commission: US
โฟตอน (Photon energy) สูงมากพอที่จะท�ำให้ FCC) หรือคณะกรรมการกิจการสือ่ สารแห่งสหภาพ
อิเล็กตรอนวงนอกสุดของวงโคจรหลุดออกจาก ยุโรป (EU) และออสเตรเลีย เพือ่ จ�ำกัดระดับพลังงาน
อะตอมหรือโมเลกุล ท�ำให้โมเลกุลของเนื้อเยื่อและ คลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าหรือคลืน่ วิทยุหรือความร้อนทีแ่ ผ่
เซลล์แตกตัวเป็นไอออนหรืออนุมูลอิสระ (Free ออกมาซึง่ อาจเป็นอันตรายต่อร่างกายได้โดยเฉพาะ
radicals) จึงมีผลกระทบต่อเซลล์ ท�ำให้เกิดมะเร็ง เนื้อเยื่อบริเวณศีรษะ โดยได้ก�ำหนดค่าเฉลี่ยอัตรา
และโรคอื่นๆ ได้ ได้แก่ รังสีอัลตราไวโอเลตหรือ การดูดกลืนพลังงานจ�ำเพาะโดยเนือ้ เยือ่ ของร่างกาย
รังสีเหนือม่วง (Ultraviolet rays) รังสีเอกซ์หรือ (SAR) ไว้ส�ำหรับบุคคลทั่วไปเฉพาะส่วนศีรษะกับ
เอกซ์เรย์ (X-rays) รังสีแกมมา (Gamma-rays) และ ล�ำตัวต้องไม่เกิน 2 W/kg8 ในสหรัฐอเมริกา โทรศัพท์
รังสีอัลฟา (Alfa-rays) เป็นต้น มือถือทีส่ ามารถวางจ�ำหน่ายได้ในท้องตลาดอย่างถูก
อันตรายของคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าขึน้ กับระดับ กฎหมาย ระดับค่าอัตราการดูดกลืนพลังงานจ�ำเพาะ
ก�ำลังของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า กล่าวคือถ้ามีก�ำลัง โดยเนื้อเยื่อของร่างกาย (SAR) ของโทรศัพท์มือถือ
คลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้ามากจะเกิดความร้อนได้มาก3 เมือ่ ขณะที่ใช้แนบใกล้หูต้องน้อยกว่า 1.6 W/kg จึงจะ
พิจารณาจากความรูพ้ นื้ ฐานเกีย่ วกับคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า ได้ใบรับรองตามมาตรฐานของ US FCC9 ส�ำหรับใน
ดังที่กล่าวมาข้างต้น โทรศัพท์มือถือจึงจัดเป็นวัตถุ ประเทศไทย ยังไม่มกี ารก�ำหนดค่า SAR แต่อย่างใด
ที่เป็นแหล่งก�ำเนิดของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่แผ่รังสี ปริมาณการดูดซับหรือดูดกลืนรังสีคลื่น
คลื่นยาวแบบไม่ก่อประจุหรือรังสีนอนไอออไนซ์ แม่เหล็กไฟฟ้าหรือคลื่นวิทยุจากโทรศัพท์มือถือ
เป็นรังสีคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าทีม่ พี ลังงานต�ำ่ (extremely เข้าสูเ่ นือ้ เยือ่ ของร่างกายนัน้ ขึน้ กับหลายปัจจัยได้แก่
Journal of Nursing and Education Volume 12 Number 2 April - June 2019 7
ระยะเวลาที่ใช้ในการพูดคุยทางโทรศัพท์ หากใช้ เพิม่ โอกาสการเป็นเนือ้ งอกหรือมะเร็งในสมอง แต่ก็
เวลานานเนื้อเยื่อของร่างกายก็จะดูดกลืนรังสีของ พอมีตวั บ่งชีถ้ งึ การเพิม่ ความเสีย่ งในการเป็นเนือ้ งอก
คลื่นวิทยุมาก และระยะห่างของโทรศัพท์ขณะฟัง ไกลโอมาในสมอง (Glioma) ในกลุ่มผู้ที่ใช้โทรศัพท์
หากเข้าใกล้หรือแนบชิดติดหู เนื้อเยื่อบริเวณศีรษะ มือถือเป็นเวลานานมากกว่าผู้ที่ไม่ได้ใช้โทรศัพท์
โดยเฉพาะสมองก็จะดูดกลืนรังสีคลืน่ วิทยุทแี่ ผ่ออก มือถือ โดยมีค่าเฉลี่ยการใช้อยู่ที่ 30 นาทีต่อวัน
มาได้ เมื่อปี ค.ศ. 2009 ได้มีการศึกษาในคนที่มี และใช้มานานมากกว่า 10 ปี11 สืบเนื่องจากผล
สุขภาพแข็งแรงทีย่ นิ ยอมเข้าร่วมท�ำการศึกษา จ�ำนวน ของการประชุมนีจ้ งึ เป็นเหตุให้องค์การวิจยั โรคมะเร็ง
47 คนพบว่าการวางโทรศัพท์มือถือไว้แนบหูนาน นานาชาติ (International Agency for Research
50 นาทีไม่ว่าจะเปิดเครื่องแล้วปิดเสียงหรือแม้แต่ on Cancer, IARC) ซึง่ เป็นหน่วยงานหนึง่ ขององค์การ
ปิดเครือ่ งก็ตาม ท�ำให้สมองมีการเผาผลาญกลูโคสใน อนามัยโลกที่มีบทบาทในการประสานและส่งเสริม
ปริมาณที่เพิ่มขึ้นไม่แตกต่างกัน10 นั่นแสดงว่าสมอง งานค้นคว้าวิจยั ระดับนานาชาติเกีย่ วกับสาเหตุและ
มีความไวต่อรังสีคลืน่ วิทยุทแี่ ผ่ออกมาแม้จะเป็นรังสี กลไกของการเกิดโรคมะเร็งอันเนื่องมาจากสภาพ
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีพลังงานต�ำ่ ก็ตาม แต่จากผล แวดล้อม ได้จดั รังสีคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าจากโทรศัพท์
การศึกษานี้ก็ไม่ได้ระบุถึงอันตรายที่มีต่อสุขภาพ มือถืออยู่ในประเภทกลุ่ม 2 B กล่าวคือ อาจเป็นไป
ของผูใ้ ช้โทรศัพท์มอื ถือแต่อย่างใด ทัง้ นีก้ ย็ งั ต้องรอการ ได้ที่จะเป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งในมนุษย์
วิจยั ต่อไปว่าหากมีการสัมผัสอย่างต่อเนือ่ งเป็นเวลา โดยใช้ศพั ท์ภาษาอังกฤษว่า Possibly carcinogenic
นานจะมีอนั ตรายต่อร่างกายในระดับชีวภาพหรือไม่ to humans แต่ยงั ไม่มหี ลักฐานเพียงพอทีจ่ ะพิจารณา
แม้กระนั้น ก็ยังมีนักวิจัยหลายท่านเชื่อว่า ได้ว่ารังสีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากโทรศัพท์มือถือ
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มาจากคลื่นความถี่ต�่ำของรังสี เป็นสาเหตุของการเกิดมะเร็งได้จริง จึงยังมีความ
คลื่นวิทยุจากโทรศัพท์มือถือมีผลกระทบต่อความ จ�ำเป็นต้องมีการศึกษาวิจยั ต่อไป ปัจจุบนั ทางองค์การ
ผิดปกติของคลื่นไฟฟ้าสมอง ตลอดจนเซลล์สมอง วิจัยโรคมะเร็งนานาชาติได้รวบรวมสาร/รังสี/แสง
ได้ เพียงแต่อาจเกิดขึน้ ช้ามากและต้องใช้ระยะเวลา จ�ำนวนทั้งหมด 299 ชนิดเข้าอยู่ในกลุ่ม 2 B นี12้
หลายปี จึงท�ำให้การศึกษาวิจยั ต้องใช้เวลานานหลายปี ในขณะทีบ่ างประเทศมีมาตรการทางกฎหมาย
เช่นกัน จนกระทั่งปี พ.ศ. 2554 (ค.ศ. 2011) ได้มี อย่างเป็นรูปธรรมในการให้ความคุ้มครองเด็กจาก
ผลงานวิจัยค่อยๆ ทยอยออกมา ส่งผลให้องค์การ อันตรายที่อาจเกิดขึ้นจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มา
อนามัยโลกได้มีการจัดประชุมและน�ำผลการวิจัย จากโทรศัพท์มือถือ อย่างเช่น สาธารณรัฐฝรั่งเศส
ทัง้ หมดทีเ่ กีย่ วข้องกับคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าจากโทรศัพท์ ได้ออกมาตรการทางกฎหมายในการควบคุมและ
มือถือทีม่ ผี ลต่อร่างกายทัง้ ของสัตว์ทดลองและมนุษย์ ระวังภัยล่วงหน้าจากอันตรายของคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า
มาวิเคราะห์ ประมวล และสรุปผล พร้อมท�ำการ จากโทรศัพท์มือถือที่อาจส่งผลกระทบต่อเด็กและ
รายงานเผยแพร่ว่าแม้ผลงานวิจัยในตอนนี้ทั้งหมด เยาวชนโดยห้ามใช้โทรศัพท์มอื ถือในระหว่างการเรียน
ยังไม่สามารถระบุได้วา่ การใช้โทรศัพท์มอื ถือในกรณี การสอนในสถานอนุบาลเด็กเล็ก โรงเรียนประถม
ปกติทวั่ ไปนัน้ มีผลต่อการท�ำงานของสมองในด้านการ และมัธยมศึกษาตอนต้น กล่าวคือ เด็กนักเรียนอายุ
รับรู้ ความจ�ำ (Cognitive function) การนอนหลับ 3-15 ปี ห้ามใช้โทรศัพท์มอื ถือ แม้กระทัง่ ช่วงพักเรียน
อัตราการเต้นของชีพจร ระดับความดันโลหิต หรือ โดยมีผลบังคับใช้ตงั้ แต่เดือนกันยายน 256113 เป็นต้น
8 วารสารการพยาบาลและการศึกษา ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2562

มารัฐบาลของไต้หวันได้ปรับปรุงพระราชบัญญัติ ที่ยังเป็นสีเทาในระหว่างที่รออยู่นี้ พยาบาลผู้ที่มี


เพือ่ ให้การคุม้ ครองเด็กและเยาวชนให้ทนั กับปัจจุบนั ความใกล้ชิดอยู่กับมารดาหลังคลอดและทารกแรก
โดยห้ามเด็กทีม่ อี ายุตำ�่ กว่า 2 ขวบใช้โทรศัพท์มอื ถือ เกิดมากทีส่ ดุ ควรทีจ่ ะท�ำการป้องกันอันตรายให้แก่
และผู้ปกครองจะถูกปรับเป็นเงินด้วยหากละเลย ทารกแรกเกิดทีย่ งั ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ไว้กอ่ น ทารก
ประเทศรัสเซียได้แนะน�ำอย่างเป็นทางการว่า เหล่านีค้ วรได้รบั สิทธิแ์ ละโอกาสของการได้เจริญเติบโต
เด็กที่มีอายุต�่ำกว่า 18 ปี อย่าใช้โทรศัพท์มือถือ และพัฒนาการอยูใ่ นสภาพแวดล้อมทีป่ ลอดภัยจาก
รวมถึงอีกหลายประเทศที่ไม่สนับสนุนให้เด็กๆ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มาจากโทรศัพท์มือถือ มิใช่มา
ใช้โทรศัพท์มือถือได้แก่ ประเทศอินเดีย อิสราเอล ให้การรักษาแก้กนั ในภายหลังหรืออาจสายเกินแก้ไป
เบลเยียม สหราชอาณาจักรอังกฤษและสหพันธ์ แล้วก็ได้ หากมีผลกระทบต่อสุขภาพจริง เพราะการ
สาธารณรัฐเยอรมนี ในประเทศฟินแลนด์ หน่วยงาน ใช้โทรศัพท์มอื ถือของมารดาในขณะอุม้ ทารกดูดนม
ทางด้านรังสีและพลังงานนิวเคลียร์ (The Radiation จากเต้าอย่างต่อเนือ่ งเป็นเวลานาน การวางโทรศัพท์
and Nuclear Power Authority) ได้ออกมาเตือน มือถือของมารดาไว้ใกล้ตัวโดยเฉพาะด้านศีรษะ
ผู้ปกครองให้ท�ำการป้องกันไว้ก่อนถึงแม้ว่าจะยัง ของทารกแรกเกิด ล้วนเป็นกิจกรรมที่เห็นจนชินตา
ไม่มีงานวิจัยออกมาระบุอย่างแน่ชัดถึงผลกระทบ จนขาดความตระหนักถึงภัยเงียบทีอ่ าจเกิดขึน้ จากการ
ทีม่ ตี อ่ สุขภาพจากการใช้โทรศัพท์มอื ถือ แต่กย็ งั ไม่มี ดูดซับของคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าทีแ่ ผ่รงั สีจากโทรศัพท์
งานวิจัยใดที่ออกมาระบุอย่างแน่ชัดเช่นกันว่าการ มือถือเข้าสูเ่ นือ้ เยือ่ สมองของทารกทีเ่ พิง่ ลืมตาดูโลก
ใช้โทรศัพท์มือถือนั้นไม่มีผลกระทบต่อสุขภาพุ14 มาได้ไม่นาน ความสูญเสียที่มิอาจประเมินมูลค่า
ทั้งนี้เนื่องมาจากการใช้โทรศัพท์มือถือในกลุ่มเด็ก ได้อาจปรากฏให้เห็นในอนาคตเมื่อทารกเหล่านี้ได้
ถือว่าเป็นปรากฏการณ์ใหม่ในสังคมปัจจุบันที่ยังไม่ เจริญวัยไปเป็นเด็ก วัยรุ่นและผู้ใหญ่ในที่สุด ดังนั้น
สามารถศึกษาถึงผลกระทบทีม่ ตี อ่ สุขภาพในระยะยาว การบริหารจัดการถึงวิธีการใช้โทรศัพท์มือถือด้วย
ได้ ส�ำหรับประเทศไทย ปัจจุบันยังไม่มีมาตรการใน มาตรการที่ปลอดภัยตามหลักการป้องกันไว้ก่อน
การออกกฎหมายบังคับการใช้โทรศัพท์มอื ถือในเด็ก (Precaution principle) จึงน่าจะเป็นวิธีการที่ดี
แต่อย่างใด เนือ่ งจากผูใ้ หญ่ในสังคมส่วนใหญ่ยงั มอง ที่สุดในขณะนี้ที่ควรยึดถือปฏิบัติ
เห็นแต่ด้านความสะดวกสบายที่ได้รับจากโทรศัพท์ ด้วยเหตุผลดังที่ได้กล่าวข้างต้น มารดา
มือถือ และยังไม่พบปัญหาการใช้โทรศัพท์มือถือ หลังคลอดควรมีโอกาสได้รบั ทราบถึงข้อมูลเกีย่ วกับ
ที่มีผลเสียต่อสุขภาพอย่างชัดเจนจึงไม่ตระหนักถึง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าหรือรังสีคลื่นวิทยุ การแผ่ของ
ด้านภัยเงียบที่อาจมีผลกระทบต่อสุขภาพของเด็ก คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าหรือรังสีคลื่นวิทยุที่ออกมาจาก
โดยเฉพาะในเด็กเล็ก เช่น ทารกแรกเกิดที่อาจเกิด โทรศัพท์มอื ถือ ความสามารถของเนือ้ เยือ่ สมองของ
ขึ้นในกาลข้างหน้าได้ เด็กและทารกแรกเกิดในการดูดซับคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า
แม้การศึกษาต่างๆ ในขณะนี้ยังไม่สามารถ ตลอดจนหลักความปลอดภัยในการเลือกและใช้โทรศัพท์
สรุปได้ว่าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่แผ่รังสีจากโทรศัพท์ มือถือเพื่อป้องกันอันตรายจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
มือถือก่ออันตรายต่อสุขภาพในระยะยาวหรือไม่ และ ที่อาจส่งผลกระทบแก่ทารกแรกเกิดได้ในภายหลัง
ก�ำลังรอการรับรองยืนยันจากหลายงานวิจยั ในห้วง หลักความปลอดภัยในการใช้โทรศัพท์มือถือของ
ของการรอพิสูจน์ว่าด�ำหรือขาว ในความคลุมเครือ มารดาหลังคลอดเพื่อทารกมีดังนี้:
Journal of Nursing and Education Volume 12 Number 2 April - June 2019 9
1. ใช้มือถือที่มีอัตราการดูดกลืนพลังงาน สรุป
จ�ำเพาะหรืออัตราที่พลังงานถูกดูดกลืนโดยเนื้อเยื่อ แม้ในขณะนี้จะยังไม่มีหลักฐานจากการวิจัย
ของร่างกาย (Specific absorbtion rate หรือ SAR) ยืนยันได้รอ้ ยเปอร์เซ็นต์วา่ การใช้โทรศัพท์มอื ถือทีม่ ี
ซึ่งมีหน่วยเป็นวัตต์ต่อเนื้อเยื่อร่างกาย 1 กิโลกรัม พลังคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าต�่ำจะปลอดภัยต่อสุขภาพ
(W/kg) ทีม่ คี า่ น้อยกว่า 1.6 W/kg โดยดูได้จากคูม่ อื ของมนุษย์จริง แต่ก็เชื่อว่าการศึกษาวิจัยที่ก�ำลัง
ที่มาพร้อมกับโทรศัพท์หรือศึกษาจากเว็บไซต์ของ ด�ำเนินอยู่และในอนาคตคงจะช่วยบอกความเสี่ยง
บริษทั ทีผ่ ลิต เพือ่ ลดปริมาณการรับคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า ของการสัมผัสคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าทีแ่ ผ่จากโทรศัพท์
เข้าสู่ร่างกาย มือถือได้มากขึน้ ดังนัน้ ในช่วงเวลาแห่งการรอฟังผล
2. วางหรือเก็บโทรศัพท์มือถือให้ห่างจาก
การวิจยั การป้องกันอันตรายจากคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า
ตัวทารกอย่างน้อย 1 เมตร15 ไม่วางทิ้งไว้บนเตียง
ใกล้ตัวของทารกโดยเฉพาะทางด้านศีรษะ ที่อาจมีผลกระทบต่อสุขภาพของทารกแรกเกิดได้
3. ส่งข้อความแทนการพูดคุยทางโทรศัพท์ ในภายหลัง จึงมีความจ�ำเป็นและควรปฏิบัติตาม
มือถือขณะมีทารกอยู่ด้วย แต่ควรอยู่ห่างจากทารก หลักการป้องกันล่วงหน้าหรือปลอดภัยไว้ก่อน
อย่างน้อย 1 เมตร15 (Precautionary principles) ดีกว่าการรักษาหรือ
4. ขณะที่มีสายเรียกเข้า ควรกดรับสายให้ ตามแก้ไขกันภายหลัง พยาบาลในหออภิบาลหลังคลอด
ห่างจากทารกอย่างน้อย 1 เมตร15 เพราะขณะ ที่ปฏิบัติตามนโยบายให้มารดาและทารกแรกเกิด
ที่มีสายเรียกเข้าจะมีก�ำลังของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า อยู่ด้วยกันตลอด 24 ชั่วโมงหรือ Rooming-in
มากที่สุด ควรตระหนัก เอาใจใส่ในการเฝ้าระวัง ดูแล และ
5. ไม่พูดคุยโทรศัพท์ขณะอุ้มทารกดูดนม สอนให้ความรู้เกี่ยวกับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าหรือรังสี
จากเต้าของมารดา คลื่นวิทยุที่แผ่มาจากโทรศัพท์มือถือ ความสามารถ
6. ไม่นอนตะแคงพูดคุยโทรศัพท์โดยมีโทรศัพท์ ของเนื้อเยื่อสมองของทารก แรกเกิดในการดูดซับ
วางไว้ใต้ศีรษะ เพราะโทรศัพท์ที่อยู่ระหว่างหมอน คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าตลอดจนวิธีการใช้โทรศัพท์
และศีรษะขณะสนทนา จะต้องเพิม่ ก�ำลังการส่งคลืน่ มือถืออย่างปลอดภัย ให้แก่มารดา หลังคลอดนอก
เหมือนอยูใ่ นทีอ่ บั สัญญาณ หากมีทารกนอนอยูใ่ กล้ๆ เหนือจากการดูแลและให้ความรู้ตามปกติ ทัง้ นีเ้ พื่อ
ทารกก็จะได้รบั คลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าทีม่ กี �ำลังสูงเข้าสู่ ป้องกันและลดผลกระทบของคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าต่อ
เนื้อเยื่อสมองมาก สุขภาพของทารกทีอ่ าจเกิดขึน้ ได้ในภายหลัง รวมทัง้
7. หลีกเลี่ยงการใช้โทรศัพท์มือถือในลิฟต์
อาจารย์พยาบาลและนักศึกษาพยาบาลทีด่ แู ลมารดา
หรือในรถยนต์หากมีทารกอยู่ด้วย เพราะเป็นที่
อับสัญญาณซึ่งจะท�ำให้โทรศัพท์ใช้ก�ำลังในการ ทารกหลังคลอดควรมีความรูแ้ ละตระหนักถึงอันตราย
ส่งคลื่นสูงสุด เพื่อให้ความแรงของคลื่นเท่าเดิม ทีอ่ าจเกิดขึน้ ในระยะยาวต่อพัฒนาการและสุขภาพ
มีผลท�ำให้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเข้าสู่เนื้อเยื่อสมอง ของทารกแรกเกิด จึงควรให้ค�ำแนะน�ำต่อมารดา
ของทารกมากขึ้น หลังคลอดและผู้เกี่ยวข้อง ตลอดจนเผยแพร่ความรู้
8. ในกรณีอยู่ที่บ้าน ควรปิดโทรศัพท์มือถือ เรื่องนี้ให้เกิดความตระหนักเพื่อป้องกันภัยเงียบที่
และอุปกรณ์ส่งสัญญาณแบบไร้สายก่อนเข้านอน อาจเกิดขึ้น
เพือ่ ลดอันตรายจากคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าไปยังตัวทารก
9. หากต้ อ งการตั้ ง ปลุ ก ขณะนอนหลั บ
ควรตั้งโทรศัพท์มือถือให้อยู่ในโหมดเครื่องบิน
เพื่อไม่ให้มีการแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า15
10 วารสารการพยาบาลและการศึกษา ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2562

REFERENCES 6. Ekburanawat, W. Health impact from


1. National Statistical Office, Ministry extremely low-frequency electromagnetic
of Digital Economy and Society. The fields [online]. 2013. [cited 2017/07/28];
2017 household survey on the use Available from: file:///C:/Users/admin/
of information and communication Desktop/ผลต่อสุขภาพจากสนามแม่เหล็ก
technology [online]. 2017. [cited ไฟฟ้ากำ�ลังอ่อน%20-%20บทความโดยมูลนิธิ
2019/05/17]. Available from: www.nso. สัมมาอาชีวะ.html. (in Thai)
go.th/sites/2014/ DocLib13/ด้านICT/.../ 7. Youyuenyong, P. Protecting children
2560/FullReportICT_60.pdf from the danger of electromagnetic
2. Gandhi, O.P., Lazzi, G., Furse, C.M.
radiation from mobile phones [online].
Electromagnetic absorption in the
human head and neck for mobile 2013. [cited 2017/11/27]; Available
telephones at 835 and 1990 MHz. from: http://public-law.net/publaw/
IEEE Transactions on Microwave view.aspx?id=1837. (in Thai)
Theory and Techniques [online]. 8. Siamphonedotcom, News. Read before
1996. [cited 2018/10/18]. Available buying a mobile phone [online]. 2010.
from: https://www.researchgate.net/ [cited 2017/11/23]; Available from:
publication/3119751_Electromagnetic_ http://news.siamphone.com/ news-
Absorption_in_the_Human_Head_and_ 02909.html. (in Thai)
Neck_for_Mobile_Telephones_at_835_ 9. German, K. CNET News. Why CNET
and_1900_MHz compiles cell phone radiation charts
3. Geo-Informatics Center for Thailand. [online]. 2014. [cited 2017/11/23];
Electromagnetic radiation [online]. Available from: https://www.cnet.com/
2015 [cited 2017/07/18]. Available news/ cell-phone-radiation/
from: http://www.gisthai.org/about-gis/ 10. Volkow, ND., Tomasi, D.T., Wang, G.J.,
el ectromagnetic.html. (in Thai) Vaska, P., Fowler, J.S., Telang. F., Alexoff,
4. Encyclopedia Britannica. Types of D., Logan, J., Wong, C. Effects of cell
electromagnetic radiation [online].
phone radiofrequency signal exposure
n.d. [cited 2017 /07/18]; Available
from: http://kids.britannica.com/kids/ on brain glucose metabolism. JAMA.
assembly/view/ 89741 2011; 305(8):808-813.
5. Nave, R. Hyperphysics: The electromagnetic 11. World Health Organization.
spectrum [online].n.d. [cited 2017/07/ Electromagnetic fields and public
28]; Available from: http://hyperphysics. health: mobile phones, Fact sheet
phy-astr.gsu.edu/hbase/ ems1.html N°193 [online]. 2014. [cited 2017/07/31];
Available from: http://www.who.int/
mediacentre/ factsheets/fs193/en/
Journal of Nursing and Education Volume 12 Number 2 April - June 2019 11
12. World Health Organization, International 14. Environmental Health Trust. Database
Agency for Research on Cancer. IARC of worldwide policies on cell phones,
monographs on the evaluation of wireless and health [online]. 2019. [cited
carcinogenic risks to humans: List of 2019/04/15]; Available from: https://
classifications, volumes 1-119 [online]. ehtrust. org/policy/international-policy-
2017. [cited 2017/07/28]; Available actions-on-wireless/
from: http://monographs.iarc.fr/ENG/ 15. Thairathonline. Wi-Fi, cell phone, risk
Classification/latest_classif.php for cancer? Should know how to reduce
13. Arpakajorn, P. Isranews Agency. France risk [online]. 2015. [cited 2017/11/27];
bans cell phones in school: Lesson Available from: https://www.thairath.
to Thailand. [online]. 2018. [cited co.th/content/553227. (in Thai)
2019/04/15]; Available from: https://
www.isranews.org/isranews-article/69253-
france-69253.html

You might also like