You are on page 1of 28

CONTENTS

ส า ร บั ญ

1 ส า ร จ า ก ป ร ะ ธ า น จั ด ง า น

3 ป ร ะ วั ติ จิ ต ร ภู มิ ศั ก ดิ์

5 ผลงาน

9 นิ ท ร ร ศ ก า ร

15 บ ท สั ม ภ า ษ ณ

16 ผ ล ง า น ก วี นิ พ น ธ

18 ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร จั ด ง า น โ ค ร ง ก า ร
1

สารจากประธานจัดงาน
วิถีปฏิบัติอยางหนึ่งที่เราพบไดในเกือบทุกสถาบันการศึกษาในปจจุบันคือการยกยองผูที่เคยศึกษาในสถาบันการ
ศึกษานั้นและประสบความสําเร็จ อยางนอยก็ในสายตาของผูคัดเลือก เราจะพบวาสถานศึกษาตั้งแตระดับโรงเรียนจนถึง
มหาวิทยาลัย มีการจัดทํารายชื่อประเภท“ศิษยเกาดีเดน” หรือ “Hall of Fame” ขึ้นอยางเปนลํ่าเปนสัน บางแหงถึงกับ
จัดทําเปนหองเกียรติยศเพื่อรวบรวมรายชื่อเหลานั้น สาเหตุหนึ่งของวิถีปฏิบัตินี้ก็คงเพราะถือเอาวาสถาบันการศึกษานั้น
เองก็เปนรากฐานความสําเร็จของบุคคลผูนั้นและในทางกลับกันศิษยเกาเหลานี้ก็คือตัวชี้วัดความสําเร็จของสถานศึกษา

จิตร ภูมิศักดิ์เองก็เปนศิษยเกาคณะอักษรศาสตร หรือเปนรุนพี่ของผมเอง ผลงานของเขาเปนที่ประจักษวาเขาเปน


นักเรียนอักษรศาสตรที่มีความอุตสาหะในการศึกษาคนควาทางดานมนุษยศาสตร ไมวาจะเปนดานประวัติศาสตร
นิรุกติศาสตรหรือวรรณคดีศึกษา นอกเหนือจากงานทางดานวิชาการแลวเขายังมีผลงานเดนชัดในดานความเปนศิลปนผู
สรางสรรค บทเพลงบทกวีที่นาจะใหนักเรียนอักษรศาสตรรุนหลังอยางผมไดศึกษาอีกดวย แตนาประหลาดที่จิตร ภูมิ
ศักดิ์แทบไมถูกจดจําหรือกลาวถึงในคณะ ไมตองถึงขั้นเปน“อักษรจรัส” หรือ “อักษรศาสตรดีเดน” แมแตการเปนศิษย
เกาอักษรศาสตรก็แทบจะไมถูกจดจําโดยคณะอักษรศาสตรเลย ทําไมจิตรจึงไมถูกจดจํา คําถามนี้คงจะตองขบคิดและ
ชวนใหตั้งคําถามตอไปวา อะไรคือ ‘ความสําเร็จ’ อะไรคือ ‘เงื่อนไข’ อะไรคือ ‘เกณฑ’ ในการคัดเลือกศิษยเกาใหเปน
ศิษยเกาดีเดน ไมใชแตเฉพาะคณะอักษรศาสตร แตยังรวมถึงสถาบันการศึกษาอื่น ๆ โดยรวมดวย

ในโอกาสครบรอบ 90 ป ชาตกาล จิตร ภูมิศักดิ์นี้ ผมในนามคณะกรรมการนิสิตอักษรศาสตร (ก.อศ.) มีความยินดีเปน


อยางยิ่งที่ไดนําชื่อจิตร ภูมิศักดิ์กลับสูคณะที่เขาเคยศึกษาอีกครั้งและหวังเปนอยางยิ่งวาจะเปนการกระตุนใหนิสิตหันมา
สนใจชีวิตและผลงานของรุนพี่คนหนึ่งที่เคยศึกษาในสถานศึกษาแหงนี้ ไมใชในฐานะวีรบุรุษใหยกยองแตเปนคนธรรมดา
ที่ไดสรางผลงานเปนที่ประจักษแกสังคมและเราสามารถวิพากษวิจารณได

ทั้งนี้ งานนี้จะเกิดขึ้นไมไดหากขาดความรวมมือและการสนับสนุนจากสโมสรนิสิตรัฐศาสตรและที่สําคัญที่สุด คือทีม


งานทุกคนในโครงการทั้งจากคณะอักษรศาสตรและคณะรัฐศาสตรที่มารวม “รับพี่จิตรคืนจุฬา” และทําใหงานนี้สําเร็จ
ลุลวงไปไดดวยดี ขอขอบคุณครับ

(ดอม รุงเรือง)
ประธานโครงการรําลึก 90 ป ชาตกาล จิตร ภูมิศักดิ์
รองประธานฝายวิชาการ
คณะกรรมการนิสิตอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
2

สารจากประธานจัดงาน
สวัสดีทุกทาน ผูเขารวมกิจกรรมของโครงการรําลึก 90 ปชาตกาล จิตร ภูมิศักดิ์ ขาพเจารูสึกตื้นตันเปนอยางยิ่งที่
นิสิตจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยและประชาชนใหความสนใจในกิจกรรมดังกลาวนี้ และที่สําคัญ ขาพเจารูสึกวาประเทศที่ดูสิ้น
หวังนี้ไดกลับมามีความหวังอีกครั้ง เมื่อนามของจิตร ภูมิศักดิ์เปนที่ยอมรับและรับรูอยางแพรหลายมากในมหาวิทยาลัยและ
สังคมไทย

ตลอดระยะเวลาที่ผานมา นิสิตและประชาชนตองดําเนินชีวิตในสังคมที่ไรความยุติธรรมจากกระบวนการทางความ
คิดและมรดกตกทอดที่หลอหลอมมิใหเห็นตางไดอยางเปดเผย กลาวไดวา ในปจจุบันนิสิตและประชาชนยังคงอยูภายใต
ระบอบเผด็จการและการใชอํานาจกดขี่ของชนชั้นปกครองในประวัติศาสตรของจุฬาลงการณมหาวิทยาลัยเองนั้น เมื่อป พ.ศ.
2496 นิสิตคณะอักษรศาสตร จิตร ภูมิศักดิ์ ผูมีความโดดเดนทางความคิดและดานวิชาการของไทย ก็ไดมีความคิดริเริ่ม
ในการเปลี่ยนแปลงเนื้อหาบางอยางในหนังสือประจําปซึ่งสะทอนสภาพสังคมที่ถูกชนชั้นปกครองเอารัดเอาเปรียบ รวมถึงชี้
ใหเห็นคานิยมบางอยางอันไมยุติธรรม แตแลวในขณะนั้น จิตร ภูมิศักดิ์ กลับโดนสังคมในขณะนั้นตัดสิน และถูกผูคนใน
มหา-วิทยาลัยทํารายรางกายจนบาดเจ็บสาหัส อีกทั้งยังไดรับการพิจารณาโทษจากมหาวิทยาลัยอีก โดยกระบวนการ
ทั้งหมด สะทอนใหเห็นถึงความอยุติธรรมที่เกิดขึ้นตลอดมาของสังคมไทย

ดวยเหตุนี้ สโมสรนิสิตรัฐศาสตร และคณะกรรมการนิสิตอักษรศาสตรเห็นความสําคัญของการตอสูของ จิตร ภูมิศักดิ์


และไดรับแรงบันดาลใจในการขับเคลื่อนเพื่อสังคมที่ยุติธรรมตอทุกคนอยางเทาเทียม จึงไดรวมกันจัดงานนี้ขึ้นเพื่อใหสังคม
ไดตระหนักรูถึงความสําคัญในการเคลื่อนไหวตอสูนี้อีกครั้งและเพื่อใหการตอสูของ จิตร ภูมิศักดิ์ ในอดีตเปนแรงบันดาลใจ
ใหทุกคนไดขับเคลื่อนตอไปดวยใจที่แกรงกลา

ขาพเจาหวังเปนอยางยิ่งวา ทุกคนจะไดเห็นถึงความสําคัญ รวมถึงไดรับแรงบันดาลใจจากจิตร ภูมิศักดิ์ ผูตอสูกับ


ความอยุติธรรมเฉกเชนเดียวกับขบวนการนิสิต นักศึกษา และประชาชนในปจจุบันที่ตอสูเพื่อเสรีภาพ ความเทาเทียมและจะ
ไมทิ้งผูใดไวขางหลังเหมือนที่จิตร ภูมิศักดิ์ ตองพบเจอในสมัยนั้น

"คนยังคงยืนเดนโดยทาทาย แมนผืนฟามืดดับเดือนลับละลาย
ดาวยังพรายศรัทธาเยยฟาดิน ดาวยังพรายอยูจนฟารุงราง"

(นายกฤตภาส เชษฐเจริญรัตน)
ประธานโครงการรําลึก 90 ป ชาตกาล จิตร ภูมิศักดิ์
อุปนายกฝายกิจการมหาวิทยาลัย
สโมสรนิสิตรัฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
3

ประวัติจิตร ภูมิศักดิ

2473
เกิด 25 กันยายน ณ ตําบลประจันตคาม
อําเภอประจันตคาม จังหวัดปราจีนบุรี
บุตรของนายศิริ ภูมิศักดิ์ และ
นางแสงเงิน ฉายาวงศ
เดิมชื่อ สมจิตร แตตอมาเปลี่ยนเปน จิตร
ตามนโยบายการตั้งชื่อใหระบุเพศชายหญิง
อยางชัดเจนของ จอมพล ป. พิบูลสงคราม

2479
จิตรติดตามบิดาซึ่งรับราชการเปนนายตรวจ-
สรรพสามิต ไปรับราชการยังจังหวัดกาญจนบุรี
เขารับการศึกษาชั้นประถมที่โรงเรียน
ประจําจังหวัดกาญจนบุรี
2482
ยายมาอยูที่จังหวัดสมุทรปราการ
4

บิดายายไปรับราชการที่เมืองพระตะบอง
สมัยนั้นเปนเมืองภายใตการปกครองของไทย
จิตรจึงไดยายตามไปดวย และไดเขาศึกษาใน
ระดับชั้นมัธยมศึกษาที่เมืองพระตะบอง 2490
ประเทศไทยตองคืนเมืองพระตะบองใหกัมพูชา
จิตรจึงอพยพตามมารดากลับเมืองไทย
จิตรและพี่สาว เดินทางมาศึกษาตอใน
กรุงเทพมหานคร โดยจิตรเขาเรียนที่
โรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร
สอบเขาโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา และ
คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
บิดาและมารดาของจิตร ภูมิศักดิ์ แยกทางกัน
ตอมาบิดาของจิตร แตงงานใหมกับนางสงวน
สรางครอบครัวใหมที่จังหวัดสระบุรี
2509
จิตรเสียชีวิตหลังเขารวมพรรคคอมมิวนิสต
แหงประเทศไทย (พคท.) โดยถูกพวก
อาสาสมัครฝงตรงขามและ
เหลาทหารลอมยิง
5
ผลงาน
หนังสือ
ทั้งนี้จิตร ภูมิศักดิ์มีผลงานเขียนหนังสือหลายเลม รวมถึงนามปากกามากมาย ดังนั้น
ขอกลาวถึงผลงานหนังสือ 2 เลมที่ถูกจัดอยูในหนังสือดี 100 เลมที่คนไทยควรอาน

โฉมหน้าของศักดินาไทยใน
ปจจุบัน (2500)
หนังสือมีเนื้อหากลาวถึงศักดินาทั่วไปและศักดินาไทย
ตลอดจนประวัติศาสตรเศรษฐกิจของไทยโดยคราวๆ
ตั้งแตบรรพกาลจนถึงกรุงรัตนโกสินทรที่พัฒนาจาก
สังคมทาสมาเปนสังคมศักดินา ตลอดจนการดํารงอยู
ของพระมหากษัตริยไทยที่สรางปญหาใหแกรัฐและสังคม
เขียนโดยใชวิธีวิเคราะหแบบวัตถุนิยมทางประวัติศาสตร
ในสํานักลัทธิมากซ หนังสือเลมนี้ทําให ม.ร.ว.คึกฤทธิ์
ปราโมช เดือดรอนอยางหนัก เหมือนถูกนํ้ารอนราดใส
ถึงกับตองเขียนหนังสือ "ฝรั่งศักดินา" ออกมาโต

ความเปนมาของคําสยาม ไทย
ลาวและขอม และลักษณะทาง
สังคมของชือชนชาติ (2508)
เปนงานชิ้นสุดทายของ จิตร ภูมิศักดิ์ ที่เขียนขณะที่ถูก
จําอยูในคุกลาดยาวถึง 7 ป งานนี้สันนิษฐานที่มาของ
คําตาง ๆ โดยชี้ใหเห็นถึงความเชื่อมโยงของลักษณะ
เชื้อชาติ ลักษณะทางสังคม ชีวิตความเปนอยูของ
ชาติพันธุตาง ๆ ในแถบสุวรรณภูมิ ที่ปรากฏขึ้นในรูป
ภาษา ถือเปนงานทางนิรุกติศาสตรและภาษาศาสตร
สังคมที่มีความโดดเดนอยางมาก โดยหนังสือแบง
เปนสามภาค คือ พื้นฐานทางนิรุกติศาสตรและ
ประวัติศาสตร, ชื่อชนชาติและฐานะทางสังคม, และ
ขอเท็จจริงวาดวยชนชาติขอม ภาคที่สามเปนสวนที่พบ
ภายหลังและไดเพิ่มเขามาในการจัดพิมพ
6

เพลงและบทกวี
ชิ้นงานรอยกรองและบทเพลงของ “จิตร ภูมิศักดิ์” ลวนแลวแต “สงสาร” บางประการ
ถึงสังคมในสายธารของการรับใชชีวิตไมเฉพาะแคการวิพากษสังคมการเมืองเทานั้นหาก
แตยังหมายรวมถึงการวิพากษในภาคสวนของ “คานิยม-วัฒนธรรม” ที่ฝงรากลึกใน
สังคม

เพลงแสงดาวแหงศรัทธา เปนเพลงที่ประพันธโดยจิตร ภูมิศักดิ์ ในชวงป พ.ศ. 2503-


2505 ขณะถูกขังอยูที่คุกลาดยาวโดยใชนามปากกาวา “ธรรม บุญรุง” มาเพลงนี้ถูกนํา
มาขับรองโดยวงคาราวานในชวงหลังเหตุการณ 14 ตุลา และเปนที่รูจักกันทั่วไป เปน
เพลงที่ใชปลุกพลัง ความหวัง และศรัทธา ไดเปนอยางดีเพลงนี้แสดงลักษณะการมอง
โลกในแงดีของจิตร ถึงแมวาจะถูกจับกุมคุมขัง แตก็ยังมองเห็นความหวัง ฟาทั้งผืนแมจะ
มืดมิด แตก็ยังมีดาวดวงนอยแซมแตม การจับกุมคุมขัง มิใชการสิ้นสุดบทบาทของชีวิต
เมื่อมองเห็นความหวังแลว ก็มีพลังศรัทธาในการที่จะทํางานเพื่อผลประโยชนของ
สาธารณชนอีกตอไปอยางเชื่อมั่น ความเปนจริงจะตองปรากฏสักวันหนึ่งวาใครทําอะไร
เพื่อใคร

มีเรื่องเลาวาในคุกที่กลุมนักศึกษาถูกจองจําจํานวนมาก ทามกลางความสิ้นหวัง
หวาดกลัว เจ็บแคนและปวดราว พลันก็มีคนคนหนึ่งเปลงเสียงนําขึ้น ทําลายความเงียบ
งัน รองเพลงเพลงหนึ่งขึ้น จาก 1 เสียงเพิ่มทีละเสียง ๆ จนดังกังวาน กองไปทั่ว ดังเขาไป
ในจิตวิญญาณของผูเรียกรองเสรีภาพและความเปนธรรม เพลงเพลงนั้นยังคงเปนอมตะ
ตราบทุกวันนี้
7

บทกวี
เธอคือหญิงรับจ้างแท้ใช่ แม่คน เปนบทกวีของจิตร ภูมิศักดิ์ที่แตงเพื่อบูชาแมและผูหญิง
ในนามปากกาศูลภูวดล ที่วิจารณผูหญิงที่รักสนุกแตพอทองขึ้นมาแลว
ปดความรับผิดชอบ ถูกตีพิมพในหนังสือประจําปของจุฬาฯ ป 2496
และเปนหนึ่งในสาเหตุที่ทําใหจิตรถูกโยนบก

เธอคือหญิงรับจ้างแท้ใช่ แม่คน

หวังเพียงความย่ามเหลิงระเริงรี
จนเสื อกมีทาํ ไมมิได้ฝน
เมือคาดืมปลืมปลักนํารักกัน
ใช่ หวังปนเด็กผีให้มีมา

ลูกนันหรือคือผลพลอยคนได้
จากความใคร่คราวหรรษ์เปลืองตัณหา
เฝาทําลายหลายครังประดังมา
มันทนทายาทเถนไอ้เดนตาย

อันรสร่านซ่ านดินคือสิ นจ้าง


ทีตอบต่างเงินตราให้มารศรี
ซื อเด็กคน...ปรนสบายให้หลายที
แล้วคุณมีต่อใครทีไหนรา !
8

ไอ้เรืองกลุม
้ อุม
้ ท้องทีเบ่งโย้
ลามกก็โขนันก็จริงหรอกหญิงจ๋า
แต่สินจ้างรายได้เราได้มา
ต้องใจกล้าลงทุนสมดุลย์กน ั

พระคุณแม่แท้ใช่ ทได้
ี เบ่ง
อยู่ทเล็
ี งรักถนอมเหมือนจอมขวัญ
แม้รดี แกล้งแท้งทําระยํายัญ
เธอมีทณ ั ฑ์ฐานฆ่า...อาชญากร

ถ้าแม้นใคร่ใจทีจะมีลกู
ฤทัยผูกรักลาทังพราสอน
อุตส่ าห์เลียงเอียงกล่อมถนอมนอน
ขอกราบกรนันแหละแม่ทแท้ ี จริง

แต่เธอคลอดทอดทิงแล้ววิงหนี
ไม่รูช้ ี เปนตายหรือชายหญิง
ไม่แลเหลียวเจียวหลังเพราะชั งชิ ง
เธอคือหญิงรับจ้างแท้...ใช่ แม่คน
9

นิทรรศการ
อดทน อดกลัน ขันติธรรม
เพราะสังคมไทย“ไมอดทนตอความแตกตาง” จิตร ภูมิศักดิ์จึงกลายเปน “เหยื่อ”
จิตร ภูมิศักดิ์ เปนนักคิดนักเขียนดานการเมือง ประวัติศาสตร ภาษาศาสตร นับเปน
ปราชญทีเรียกไดวา “ลํ้าหนา” ในยุคสมัยของเขา เพราะเปนนักวิชาการคนแรกๆ ที่กลาถก
เถียงและคัดคานความคิดของคนสวนใหญ ดวยวิธีคิดที่มีเหตุผลและลุมลึก แตในขณะเดียวกัน
ก็ไมละทิ้งความคิดตอตานระบอบเผด็จการและการใชอํานาจกดขี่ของชนชั้นสูง ชีวิตและผล
งานของเขามีบทบาทสําคัญมากตอวงการประวัติศาสตร
นิทรรศการ 90 ป ชาตกาล จิตร ภูมิศักดิ์ มุงถายทอดชีวิตและผลงานของจิตร ภูมิศักดิ์
ดวยการนําเสนอผลงานศิลปะสะทอนชวงชีวิตของเขา 5 ชวง ไดแก ชวงเวลาตั้งแตจิตร ภูมิ-
ศักดิ์เกิดจนเขาศึกษาที่คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และชวงที่สืบเนื่องกันจาก
เริ่มเขาศึกษาจนกระทั่งจบการศึกษา ทั้งสองชวงนี้มีความสําคัญอยางยิ่งเพราะเปนชวงกอตัว
ทางความคิดและอุดมการณของจิตร ภูมิศักดิ์ โดยมีเหตุการณสําคัญคือ “โยนบก” ณ หอ-
ประชุมจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ในวันที่ 28 ตุลาคม 2496 เหตุการณนี้ นอกจากจะสะทอน
ใหเห็นถึงความไมอดทนตอความแตกตางของสังคมไทย ยังสะทอนใหเห็นถึงความแนวแนใน
อุดมการณ และความเสียสละของจิตร ภูมิศักดิ์ที่อดทน ไมสะทกสะทานกับความรุนแรงที่
สังคมปฏิบัติตอเขา ความอดทนอันแนวแนนี้ จิตร ภูมิศักดิ์ไดแสดงใหเห็นผานการผลิตผลงาน
มากมาย ตั้งแตชวงที่เขาทํางานเปนอาจารยและศึกษาตอในระดับปริญญาโทโดยมีผลงานอัน
เปนที่เลื่องลือที่สุด คือ “โฉมหนาศักดินาไทย” ตลอดจนผลงานสําคัญชิ้นอื่น ๆ อีกเปนจํานวน
มากที่ผลิตขึ้นในภายหลังและในชวงที่ติดคุกลาดยาว ทายที่สุด นิทรรศการไดนําเสนอชวงชีวิต
สุดทายของจิตร ภูมิศักดิ์ ซึ่งเริ่มตนจากถูกปลอยตัวออกจากคุกและตัดสินใจเขาปารวมตอสู
กับพรรคคอมมิวนิสตแหงประเทศไทย จนกระทั่งถูกยิงเสียชีวิตที่ชายปาในวันที่ 5 พฤษภาคม
2509 และเกิดใหมอีกครั้งดวยอุดมการณและผลงานอันทรงคุณคาที่เขาไดสรางไวใหกับ
ประเทศไทยในเหตุการณ 14 ตุลา 2516
10

ช่วง 1 เกิด – เข้ามหาลัย

ชือช่วง : รุ่งสาง
จิตร ภูมิศักดิ์ เปนนักคิด นักเขียน กวี นักวิชาการ และนักปฏิวัติคนสําคัญของไทยมี
ชื่อเสียงจากเหตุการณ “โยนบก” ที่จิตรถูกโยนลงจากเวทีหอประชุมจุฬาลงกรณมหาวิทยา-
ลัย อยางไรขันติธรรมในขณะที่ขึ้นชี้แจงจุดยืนทางความคิดที่แตกตางของตน จิตรเปนบุคคล
ที่มีหัวกาวหนา มีความคิดแบบสมัยใหมและลึกซึ้ง เปนนักตอสูทางการเมืองที่ขับเคลื่อนและ
เปลี่ยนแปลงสังคมโดยสันติ และจิตรยังมีความคิดตอตานเผด็จการและการกดขี่ประชาชน
จิตรเขารวมกับพรรคคอมมิวนิสตแหงประเทศไทยเพื่อตอสูกับเผด็จการทหาร และถูกฝาย
เผด็จการลอมยิงจนเสียชีวิต
จิตร ภูมิศักดิ์ เกิดเมื่อวันที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2473 ในวัยเด็ก จิตรมีชีวิตที่ยาก
ลําบาก มีแมเปนผูสงเสียเพียงคนเดียวทําใหบางครั้งจิตรยอมอดขาวแลวนําเงินไปซื้อหนังสือ
มาอานเพื่อเดินตามความฝนที่อยากเปนปราชญราชบัณฑิต อีกทั้งการยายโรงเรียนยังทําให
จิตรถูกตราหนาวาเปนพวกเขมรตอนเรียนอยูที่โรงเรียนวัดเบญจมบพิตร จากการที่เคยอาศัย
อยูที่พระตะบองกอนที่ไทยจะคืนดินแดนใหเขมร จิตรไดรับอิทธิพลชาตินิยมและเกลียดชัง
ชาวตางชาติโดยเฉพาะชาวจีน หรือ "พวกเจก" จากการปลูกฝงของรัฐชาติสมัยนั้น
อยางไรก็ตาม นั่นเปนเพียงความคิดในวัยเยาวของจิตร ภายหลังจิตรไดรับการศึกษา
และพัฒนาความคิดตัวเองในชวงชีวิตในมหาวิทยาลัย ทําใหจิตรยอมรับถึงความแตกตาง
ทางเชื้อชาติและชี้ใหเปนถึงปญหาของคนจีนในสยามและกลาววาจะไมโจมตีประชาชนที่เปน
ชนชาติอื่น และจะโจมตีศัตรูของประชาชนเทานั้น
11

ช่วง 2 ชีวิตช่วงมหาลัย
ชือช่วง : โยนบกฅนตระหนัก
สมัยที่จิตรเรียนอยูชั้นปที่ 3 คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (สมัยนั้นไมมี ์ ตรงคํา
วา กรณ) จิตรไดรับการคัดเลือกใหเปนสาราณียกรในการจัดทําหนังสือมหาวิทยาลัย ฉบับปยมหา-
ราชานุสรณ 23 ตุลาคม 2496 หรือที่มักเรียกกันวา หนังสือมหาวิทยาลัย ฉบับ 23 ตุลาฯ
หนังสือเลมดังกลาวจะไดรับการจัดทําขึ้นทุกป เพื่อสรรเสริญพระเกียรติคุณของ พระบาทสมเด็จ
พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว อยางไรก็ตาม จิตรไดปรับเปลี่ยนใหมีบทความสรรเสริญ ร.5 เพียงเรื่อง
เดียว นอกนั้นเปนบทความและบทกวีที่มีเนื้อหาสาระไปในทางอื่น โดยเฉพาะเรื่องสังคมและวัฒนธรรม
และใชลายพระหัตถ “สยามมินทร” เปนหนาปกแทนพระบรมสาทิสลักษณพระบาทสมเด็จพระจุลจอม-
เกลาเจาอยูหัว พรอมทั้งเปลี่ยนเนื้อหามาเปนการวิพากษวิจารณสังคม ซึ่งรวมบทความที่สะทอนใหเห็น
ถึง “ความคิดสมัยใหม” ที่ถือวา “แหวกขนบและไมสมควร” ในสมัยนั้น
สโมสรนิสิตจุฬาฯ ไดมีคําสั่งใหระงับการแจกจาย หนังสือมหาวิทยาลัย ฉบับ 23 ตุลาคมที่จิตร
เปนสาราณียกร ทําใหหนังสือดังกลาว กลายเปนฉบับที่โดงดังที่สุดที่ไมเคยมีใครไดอานตนฉบับจริง
นอกจากคณะผูจัดทํา
ตอมาวันที่ 28 ตุลาคม 2496 มีการเรียกประชุมนิสิตกวา 3,000 คนเพื่อชี้แจงเรื่องการระงับแจก
จายหนังสือดังกลาว หลังจากที่ ม.ร.ว. สลับ ลดาวัลยพูดกลาวหาเนื้อหาในหนังสือจนจบและเดินออก
ไปแลว จิตรจึงมีโอกาสชี้แจงเจตนารมณของตน ปรากฏวามีเสียงปรบมือสนับสนุนจากเหลานิสิตที่นั่ง
ฟงอยูขางลางกอนจะไดมีนิสิตคณะวิศวกรรมศาสตรที่โกรธแคน นําโดยนายสีหเดช บุนนาค นายศักดิ์
สุทธิพิศาล และนายชวลิต พรหมานพ ขึ้นไปจับจิตรขณะที่อยูบนเวที กอนโยนลงมาเบื้องลางเพื่อ
เปนการลงโทษตาม “ธรรมเนียม” หรือเรียกกันตอมาวา “การโยนบก”
แทนที่คนผิดจะถูกลงโทษ สภามหาวิทยาลัยไดสั่งใหพักการเรียนจิตรเปนเวลา 12 เดือนขอหามี
ความโนมเอียงไปทางซายและมีการกระทําที่ขัดตอนโยบายของรัฐบาลไทยและสหรัฐอเมริกา
สวนนิสิตวิศวะที่โยนบกจิตรไดรับการลดโทษใหเหลือแคเพียงเดินลงไปในสระนํ้าเพราะวาพวก
เขาไดแสดงนํ้าใจลูกผูชายดวยการมอบตัวใหทางคณะกรรมการสโมสรนิสิตจุฬาฯ พิจารณาลงโทษ
12

ช่วง 3 หลังจบมหาลัย – เข้าคุก


ชือช่วง : เจตจํานงของจิตร
หลังจากสําเร็จการศึกษาจากจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยในป พ.ศ. 2500 จิตรไดไป
เปนอาจารยพิเศษสอนภาษาอังกฤษที่มหาวิทยาลัยศิลปากรและศึกษาตอระดับปริญญาโท
ที่วิทยาลัยวิชาการศึกษาประสานมิตร (มศวในปจจุบัน) ในชวงเวลานี้จิตรไดเขียนบท
ความในหนังสือรับนองใหมของศิลปากร “ศิลปะเพื่อชีวิต” โดยใชนามปากกาวา ‘ทีปกร’
ความคิดเรื่องศิลปะเพื่อชีวิต ถือเปนความคิดใหมถือวาเปนความคิดใหมในสมัยนั้นทําให
ถูกบรรดานักศึกษาคณะจิตรกรรมตอตานและนําไปทําลายจํานวนมาก แตก็มีนักศึกษา
บางกลุมที่เห็นดวยกับความคิดของจิตรทําใหเกิดการชกตอยกันขึ้นระหวางทั้งสองฝาย
นอกจากนั้น จิตรไดเขียนเขียนบทความชื่อ “บทบาททางวรรณคดีของพระมหามนตรี”
ซึ่งมีเนื้อหาลอเลียนวัฒนธรรมศักดินา โดยเฉพาะวรรณกรรมชั้นสูงในเรื่องอิเหนาและเขียน
เพลงยาว “บักสนเท” เพื่อสะทอนการฉอราษฎรบังหลวง โดยผลงานเดนของจิตร ภูมิศักดิ์
ในชวงเวลานี้ก็คือ “โฉมหนาศักดินาไทย” ที่ตีพิมพครั้งแรกในวารสารนิติศาสตรฉบับ
ศตวรรษใหม 2500 โฉมหนาศักดินาไทยในฐานะหนังสือตองหามเรียกไดวาเปนผลงานที่
สั่นสะเทือนวงการมาจนถึงปจจุบันและไดรับยกยองเปนหนึ่งในรอยของหนังสือดีที่คนไทย
ทุกคนควรจะอาน
ตอมาจิตรถูกจับในขอหาสมคบกันกระทําความผิดตอความมั่นคงของรัฐบาลภายใน
และภายนอกราชอาณาจักรและกระทําการเปนคอมมิวนิสตเมื่อ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2501
พรอมกันกับเหลาปญญาชนนักคิดนักเขียนอีกมากมาย
13

ช่วงที 4 อยู่ในคุก
ชือช่วง : โรคจิต(ร)
สิ่งที่ตองเเลกเมื่อเปน โรคจิต(ร)ทามกลางเผด็จการ
การเปนนักคิด นักเขียนอิสระและเสนอแนวทางในเชิงวิพากษสังคมจึงไมเปนที่พอ
ใจของกลุมชนชั้นนําการจับกุมและกวาดลางใชศาลทหารในการตัดสินเอื้อใหสามารถจับ
กุมเเบบ “หวานเเห” ไดอยางงายดาย เเละสามารถควบคุมตัวเปนระยะเวลานานเทาใด
ก็ได จิตร ภูมิศักดิ์จึงถูกจับในขอหา “มีการกระทําอันเปนคอมมิวนิสตและทําลายความ
มั่นคงของรัฐทั้งภายในและภายนอกราชอาณาจักร” เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ.2501 โดย
สิ่งที่ตํารวจยึดเปนของกลาง มีเพียงหนังสือ 21 เลม จอมพลถนอม กิตติขจร มาเปน
นายกรัฐมนตรีแทนและใชนโยบายผอนปรน ปลอยตัวนักโทษการเมือง จิตรจึงถูกปลอย
จากคุกใน พ.ศ. 2507 ซึ่งเทากับติดคุกโดยปราศจากความผิดถึง 6 ป
21 ตุลาคม พ.ศ.2501 จิตร ภูมิศักดิ์ถูกควบคุมตัวไปยัง “คุกลาดยาว” สถานที่
กักตัวนักโทษการเมืองนักโทษการเมืองถูกตัดเสรีภาพและตัดขาดจากโลกภายนอกโดย
สิ้นเชิงแตถึงกระนั้นยังมีขอแตกตางจากนักโทษในคุกตามปกติอยูนั่นคือการที่สามารถมี
เวลาสวนตัวในการทําสิ่งอื่นได อาทิ การเขียนงานเพลง งานแปล การเลนกีฬา การเลน
ดนตรี และสามารถติดตอกับญาติซึ่งเปนตัวแทนการติดตอกับ “โลกภายนอก” ให (ใน
เวลานั้น คุณแมของคุณจิตร ภูมิศักดิ์มีบทบาทสําคัญเปนอยางยิ่ง) ทําใหหากเปนผูที่มี
การกําหนดตารางชีวิตไดอยางดี ก็ยังสามารถผลิตผลงานได
แมวารางกายจะไมมีอิสระ แตอุดมการณทางความคิดยังคงอยู
จิตร ภูมิศักดิ์จึงกอตั้ง “คอมมูน” ขึ้นมา เพื่อรวบรวมคนในการเรียกรองสิทธิในการ
สูคดี และยังชวยกันปลูกผักเลี้ยงเปด ไก ปลา เพื่อใหมีอาหารที่ดีขึ้น นอกจากนี้ยังมีการ
สงเสริมการเลนดนตรีทําใหเกิดผลงานเพลงออกมาจํานวนไมนอย เชน มารชลาดยาว
มารชแรงงานไทย ฟาใหม ความหวังยังไมสิ้น รําวงวันเมยเดย ศักดิ์ศรีแรงงาน และที่
โดงดังมากคือ “แสงดาวแหงศรัทธา”
14

ช่วงที 5
หลังออกจากคุก – เสียชีวิต
ชือช่วง : วาระสุดท้ายแห่งชีวิต “จิตร ภูมิศักดิ”
(เขาตายทีชายปา)
ในชวงสุดทายของชีวิตของจิตร ภูมิศักดิ์ เขาไดเขาปา และ เขารวมกับพรรคคอมมิวนิสต
แหงประเทศไทย (พคท.) ในนาม“สหายปรีชา” ในชวงนี้จิตรไดกลายเปนคอมมิวนิสตและ
กลายเปนนักปฏิวัติอยางเต็มรูปแบบ แตนอกเหนือจากการ เปนนักปฏิวัติแลว เขายังเปนนัก
กวีที่มีความสามารถอีกทานนึงอีกดวย สังเกตไดจากผลงานเพลงของจิตร ภูมิศักดิ์ เชน เพลง
มารชปลดแอก เพลงภูพานปฏิวัติ และเพลงจอมใจดวงแกว

จิตร ภูมิศักดิ์เสียชีวิต ในวันที่ 5 พฤษภาคม 2509 บริเวณริมชายปาหมูบานหนองกุง


อําเภอวาริชภูมิ จังหวัดสกลนคร จากเหตุการณลอมยิง โดยตัวแทนของกลุมเผด็จการนามวา
“กํานันแหลม” พวกอาสาสมัครฝงตรงขาม และเหลาทหารตํารวจ อยางไรก็ตามจิตร ภูมิ-
ศักดิ์ ไดถือวาเปน “ผูเกิดใหม” ในชวงยุคหลัง 14 ตุลาคม 2516 สืบเนื่องจากหลังเหตุการณ
14 ตุลา มีปญญาชนกลุมหนึ่งไดนําผลงานของจิตรมาตีพิมพใหมทําใหผลงานของเขาเปนที่
รูจักเปนวงกวางโดยเฉพาะ “โฉมหนาศักดินาไทย” รวมทั้งผลงาน “ศิลปะเพื่อชีวิต” นอกจาก
นี้เหลา บรรดานักศึกษายังไดขุดคนผลงานของจิตรที่เขาผลิตขึ้นในชวงเผด็จการสฤษดิ์-ถนอม
จนเกิดเปนแรงบันดาลใจ และตองการสืบตอปณิธานของจิตร อีกทั้งพรรคคอมมิวนิสตไทย
(พคท.) ยังมีสวนในการผลักดันในการเผยแพรผลงานของจิตร ภูมิศักดิ์ ผานสํานักพิมพที่อยู
ในกํากับของพรรคคอมมิวนิสตแหงประเทศไทย (พคท.)
15
OCT. 2020 •  ISSUE NO. 1

บ ท สั ม ภ า ษ ณ์
คุ ณ ธ น า พ ล อิ ว ส กุ ล
c r . : ศิ ล ป วั ฒ น ธ ร ร ม

ตัวตนความเปนจิตร ภูมศ ิ ก
ั ดิ
ทียังดํารงอยูจ
่ นถึงปจจุบนั
จากการสัมภาษณ์คุณธนาพล อิ วสกุล บรรณาธิการสํานักพิมพ์ฟาเดียวกันมีการ
พู ดคุยเรืองจิตร ภูมิศักดิ ในหลายประเด็น แต่ประเด็นหนึงทีจะนํามากล่าวถึง คือ
“ตัวตนของคุณจิตร” คุณธนาพลกล่าวว่าจิตรในความคิดของเขา คือ “ปญญา-
ชนปฎิวัติ” เนืองจาก จิตร ภูมิศักดิมีความสนใจในประวัติศาสตร์การเมืองไทย
เปนทังนักเคลือนไหว นักเขียน ยิงกว่านันคือความคิดของคุณจิตรทังตอนทียัง
มีชีวิตแล้วก็หลังจากเสียไปแล้ว มันเปนส่วนหนึงของการเมืองการเปลียนแปลง
ของไทย รวมทังยังมีความสําคัญจนถึงปจจุ บันนี การเคลือนไหวทางการเมือง
บทกวีหลายชิน บท เพลงต่างๆ แม้กระทังหนังสืออย่างโฉมหน้าศั กดินาไทยใน
ปจจุ บัน คนก็กลับมาอ่ านอี กรอบนึง นอกจากนี คุณจิตรเปนหนึงในนักคิดทีมี
ความสําคัญ ด้วยความทีมีหลายบทบาท ความเปนกวี นักปราชญ์ มีความครบ
เครืองในตัว คือเขาไม่ใช่แค่คอมมิวนิสต์คนหนึง เพราะถ้าแค่นันก็คงไม่มีใคร
สนใจ หรือแค่นักวิชาการก็คงไม่น่าสนใจขนาดนัน แต่คนยังสนใจอยู่เพราะความ
ครบเครืองในตัวของคุณจิตร ภูมิ-ศั กดิ หรือแม้กระทังคนทีเอาเรืองคุณจิตรมา
แต่งเพลงอย่างคุณหงา มันก็กลายเปนสิงตกค้างทางประวัติศาสตร์ทีทําให้คุณ
ขอขอบคุ ณ
จิตรยังอยู่ทังตัวตนและอุ ดมการณ์
คุ ณ ธนาพล อิ วสกุ ล
16
ผลงานจากการประกวดกวีนิพนธ์
90 ป ชาตกาล จิตร ภูมิศักดิ
โฉมหน้ า ของผู้ ส้ ู มาก่ อ น
ธุลีดนทีเท้าเราเหยียบอยู่ ทว่าธุลีกาลโหมผ่านพ้น
หน้ าทีผ่านเยียบหนาวและผ่าวร้อน ต่างทับซ้ อนจนเปนหน้ านิ รนาม
ทว่าธุลีกาลโหมผ่านพ้น หน้ าเปอนหม่นเลือดกรังยังน่ าขาม
แม้นแววตาดับแล้วสิ นแวววาม เหลือแววงามแจ่มชั ดดาวศรัทธา
ดาวทีจุดแสงทองด้วยสองมือ มือทีถืออุดมการณ์ อันหาญกล้า
มือทีถืออุดมการณ์ อันหาญกล้า เถิดมองฟาดาวยังพรายในคาคืน
เพือส่ องทางแก่คนผู้ทนทุกข์ เพือปลอบปลุกผู้จมในขมขืน
เพือปาวร้องตอกยาความกลากลืน เพือหยัดยืนชี วิตสิ ทธิเสรี
เขาคือดาวอมตะประดับฟา อยู่ท้ายทาทรหดการกดขี
ไม่หวาดเกรงร่วงหายในธาตรี จึงวันนี ดาวระยับเกินนั บดวง
คารวะแด่จิตร ภูมิศักดิ ด้วยแน่ นหนั กในศั กดิศรีทีแหนหวง
แหงนหน้ าเย้ยอธรรมใดทังปวง ประจัญทวงความจริงสิ งไม่ตาย
คารวะแด่ผู้ไม่ยอมสยบ ตราบธุลีฝงกลบลบเลือนหาย
เราจะยังยืนเด่นโดยท้าทาย เชื อสุดท้ายรุ ง่ รางไม่ห่างไกล
ขอโฉมหน้ าของผู้ส้ ูมาก่อน ทานสะท้อนบนหน้ าผู้ลุกสู้ใหม่
จิตวิญญาณทระนงส่ งต่อไป ดังดาวพรายสุกใสอยู่ในเรา...
ประพันธ์โดย
นายจิรายุทธ สุวรรณสั งข์
นิสิตคณะอักษรศาสตร์ ชั นปที 4
17

โฉมหน้า...ประชาราษฎร์

เมือเชยชมโฉมประชาเวลานี นวลตลอดกลับถอดสี ไม่สดใส


แต่คนยังไม่หมดหวังกําลังใจ ไฟจวนดับกลับติดใหม่ในดวงมาน
พักตร์เคยหมองกลับผ่องพักตร์ดังจันทรา คือใบหน้าชาวประชาผู้กล้าหาญ
ผู้ยังยืนหยัดอยู่ส้ ูหมู่มาร ทรราชหรือจะต้านทานมวลชน
นัยน์ตาคนยังคงดําไม่ขุน
่ ขาว นาเหงือเคล้าหยาดนาตาดังนาฝน
แม้นฟาสั งให้เข่นฆ่าประชาชน คนยังคงเย้ยฟาอย่างท้าทาย
กรกรายอ่อนท่อนท้ายคล้ายคันศร เรากรายกรเกียวกันยึดกันไว้
แม้นแรงผลักสั กแสนกองมาต้องกาย ก็ไม่คลายด้วยแรงรักสามัคคี
มือเคยก้มกราบลงแทนบงกช มือจรดเพือบูชาฟาก่อนนี
ก็กลายกลับชูความงามสามดัชนี แทนเครืองชี คนคือคนใช่ ทาสใคร
เท้านวลงามกลับทรามลงเพราะคงหยัด ยืนสู้อยู่กับหมู่สัตว์ไม่หวันไหว
ยังตรากตรําเพือนําพาประชาธิปไตย ให้คงอยู่คู่ไว้ในแผ่นดิน
ใจยังมันไม่หวันกลัวความชั วช้ า พวกเรามารวมใจอย่าได้สิน
จงเปล่งเสี ยงกู่รอ้ งก้องธานิ นทร์ ว่าผืนดินถินนี ของผองประชา
เมือเชยชมโฉมประชาเวลานี คือผู้มีใจคงมันและหาญกล้า
เมือฟาทองทีลาลับกลับคืนมา ปวงประชาจะเปนใหญ่ในแผ่นดิน

ประพันธ์โดย
นิวอ้วน
18

คณะกรรมการจัดงานโครงการ
รําลึก 90 ป ชาตกาล จิตร ภูมิศักดิ
ประธาน
นายดอม รุงเรือง
นายกฤตภาส เชษฐเจริญรัตน
เลขานุการ
นายภูวภัท ลีลารัศมีพรพันธุ
ทีปรึกษา
นางสาวณัฐนันท มะลิเถา
นายเนติวิทย โชติภัทรไพศาล
เหรัญญิก
นายศุภกฤต อุเทศ
หาทุน ประสานองค์กรภายนอก
นายเนติวิทย โชติภัทรไพศาล
ฝายเนือหา ประสาน
นายอดิศร ลลิตมงคล
•ประสานวิทยากร พิธีกร
นายคชพัฒน เกียรติไกรภพ
นางสาวแพรวา หัสดี
•เวทีกลาง ประสานชมรม
นายบวรศักดิ์ วรรณธนศิลป
นางสาวพิชญา แขวงสุคนธทิพย
นายพีรดนย รุงณรงครักษ
19

•PR
นายศิระ บุญโตสิตระกูล
นายปยะพล พุทธิมา
นางสาวมนพัทธ คงสกุลวัฒนสุข
นางสาวพรประภา พงษลภัสธร
นางสาวณิชชา จันทสาโร
นายปาณัสม อรรถวัน
•ถ่ายภาพ
นางสาวธนกร เกตุแกว
•นิทรรศการ
นายปณณธร จิตรตั้งตรง
นางสาวณัฐชญา ใหมนิถะ
นางสาวปยะธิดา เกิดสุข
นางสาวสุชนา ชุณหะนันทน
นางสาวสิรินภา ทวีพงศภิญโญ
นางสาวธรรศมน นิพัทธพล
นายนน ศุภสาร
นายชยานันท พิริยะพฤทธิ์
20
•สูจิบัตร
นางสาวอัญชิสา ตนตระกูลชาญชัย
นางสาวปราณปริยา สถิตยวงศ
นางสาวปณรสี วัฒนอังกูร
นางสาวญาณิศร อัศวกิตติพร
นางสาวพรชนก เจียงจตุรภัทร
นางสาวณิชยา ลังกาพินธุ
ฝายอํานวยการ
นายจิรภัทร รวมพันธทอง
นางสาวณัฐธิดา กรัณยากรณ
•สถานที ปฏิคม
นางสาวกรกัญา สุจริยาศัย
นายสรวิชญ ใสสุข
นางสาวตุลยลยา เซียว
นางสาวมารตินา วาลิช
21

•แสงเสียง
นางสาวพิมพศจี เกษสุวรรณ
นางสาวณิชาภัทร พรมผล
นางสาวสุธินี จางพิพัฒนวกิจ
นางสาวสุชานันท ตันสกุล
นางสาวอลิษา มุสิกสินธร
นายอธิษฐ อู
•สวัสดิการ
นางสาวชนิตา คะระนันท
นายธนิน ชาญปรีชารัตน
นายสุวัฒน อรรคศรีวร
นางสาวธันยารัตน วัชรศรม
นางสาวโชติกา วัชรเทศ
นางสาวขวัญจิรา จวบความสุข
22
•ทะเบียน ประเมินผล
นางสาวจังคนิภา แกวกุลชัย
นางสาวพิมพจุฑา ไตรวสุสกุล
นายเธียรธร เธียรสูตร
นายสิรภัทร มะเริงสิทธิ์
นางสาวสุดารัตน ปทุมวัน
นางสาวมาภา จายเจริญ
นางสาวณัฏฐนิกา บุญเทียม
นางสาวพิชามญชุ ตันตยานนท
นางสาวมนันยา สังวรสมาธิ
นางสาวนัชยา สงสถิต
23

คณะผู้จัดทําสูจิบัตร

นางสาวอัญชิสา ตนตระกูลชาญชัย
นางสาวปราณปริยา สถิตยวงศ
นางสาวปณรสี วัฒนอังกูร
นางสาวญาณิศร อัศวกิตติพร
นางสาวพรชนก เจียงจตุรภัทร
นางสาวณิชยา ลังกาพินธุ
" ยังคง
คน

ยืนเด่น
"
โดยท้าทาย

You might also like