You are on page 1of 6

See discussions, stats, and author profiles for this publication at: https://www.researchgate.

net/publication/305905440

Chemical Stability of 70% Alcohol after Opened

Article · January 2014

CITATIONS READS

0 3,986

5 authors, including:

Chedsada Noppawinyoowong Sarin Tadtong


Khon Kaen University Srinakharinwirot University
10 PUBLICATIONS   55 CITATIONS    53 PUBLICATIONS   358 CITATIONS   

SEE PROFILE SEE PROFILE

Some of the authors of this publication are also working on these related projects:

Extraction of Bioactive compounds View project

All content following this page was uploaded by Chedsada Noppawinyoowong on 06 August 2016.

The user has requested enhancement of the downloaded file.


นิพนธ์ตน้ ฉบับ x Original Article

ความคงตัวทางเคมีของแอลกอฮอล์ 70% หลังเปิดใช้


เจษฎา นพวิญญูวงศ์1, ชญานิศ ศรชัยธวัชวงศ์2, จรรยา ศรีแสงจันทร์1, สริน ทัดทอง2, อมรรัตน์ วิรยิ ะโรจน์2
1
งานเภสัชกรรม คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น
2
คณะเภสัชศาตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จังหวัดนครนายก

Chemical Stability of 70% Alcohol after Opened


Chedsada Noppawinyoowong1, Chayanid Sornchaithawatwong2, Janya Srisangchun1, Sarin Tadtong 2, Amornrat
Viriyaroj2
1
Manufacturing Pharmacy Unit, Srinagarind Hospital, Khonkaen University, Khonkaen.
2
Faculty of Pharmacy, Srinakharinwirot University, Nakornnayok.

หลักการและเหตุผล: เนื่องจากแอลกอฮอร์มีคุณสมบัติ Background and Objectives: Due to the volatility of


ระเหยได้ง่าย มักมีข้อสงสัยในความแรงของแอลกอฮอล์ alcohol, the concentration remaining of 70% alcohol
70% หลังเปิดใช้ เพื่อทำให้เกิดความมั่นใจในผลิตภัณฑ์ after opened is suspected. To ensure that the solution is
จึงทำการศึกษาความคงตัวทางเคมีของผลิตภัณฑ์หลังเปิดใช้ appropriate for use, it is necessary to test the stability of
และใช้เป็นข้อมูลกำหนดวันหมดอายุใช้งานแอลกอฮอล์ 70% the prepared products after opened and an expiry date
วิ ธ ี ก ารศึ ก ษา: เป็ น ศึ ก ษาแบบการทดลองที ่ ค ณะ can be judged.
เภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยวิเคราะห์หา Materials and Methods: This chemical stability study
ปริมาณแอลกอฮอล์คงเหลือด้วยวิธแี ก๊สโครมาโตกราฟี (gas was an experimental design and conducted at the
chromatography) ของแอลกอฮอล์ 70% ในกระปุก forceps faculty of Pharmacy, Srinakharinwirot University. By
(I) ระยะเวลาศึกษา 7 วัน, ในกระปุกสำลี (II) ระยะเวลาศึกษา using gas chromatography, the samples were analyzed
7 วัน, ในขวดทีเ่ ปิดใช้ (III) ระยะเวลาศึกษา 60 วัน และใน for concentrations remaining of 70% alcohol in forceps
ขวดที ่ ไ ม่ เ ปิ ด ใช้ (IV) ระยะเวลาศึ ก ษา 360 วั น jars (I) for 7 days period, in cotton jars (II) for 7 days
ที่อุณหภูมิห้องและอุณหภูมิทั่วไป period, in opened bottles (III) for 60 days period and in
ผลการศึกษา: ปริมาณแอลกอฮอล์คงเหลือ (II), (III) และ (IV) unopened bottles (IV) for 360 days period, at room
ของทุกวันทีศ่ กึ ษา มีคา่ มากกว่าร้อยละ 90 ของปริมาณเริม่ ต้น temperature and ambient temperature.
ยกเว้น ปริมาณแอลกอฮอล์คงเหลือ (I) ที่อุณหภูมิห้อง Results: The initial concentrations remaining of (II), (III)
วันศึกษาที่ 7 และที่อุณหภูมิทั่วไป วันศึกษาที่ 3 และที่ 7 and (IV), at room temperature and ambient temperature,
มีคา่ น้อยกว่าร้อยละ 90 on days studying were greater than 90 percent. Except,
สรุป : แอลกอฮอล์ 70% คงตัวไม่นอ้ ยกว่า 7 วัน ในกระปุก the initial concentrations remaining of (I) at room
สำลี, ไม่นอ้ ยกว่า 60 วัน ในขวดทีเ่ ปิดใช้ และไม่นอ้ ยกว่า 360 temperature on day 7 and at ambient temperature on
วัน ในขวดที่ไม่เปิดใช้ ที่อุณหภูมิห้อง หรืออุณหภูมิทั่วไป days 3 and 7, were less than 90 percent.
ส่วนแอลกอฮอล์ 70% ในกระปุก forceps คงตัวไม่นอ้ ยกว่า Conclusions: 70% alcohol was stable at least for 7
3 วัน ทีอ่ ณ
ุ หภูมหิ อ้ ง และไม่นอ้ ยกว่า 2 วัน ทีอ่ ณ
ุ หภูมทิ ว่ั ไป days in cotton jars, at least for 60 days in opened bottles
คำสำคัญ: ความคงตัวทางเคมี, แอลกอฮอล์ 70% and at least for 360 days in unopened bottles when
stored at either room temperature or ambient
temperature. While 70% alcohol in forceps jars was
stable at least for 3 days when stored at room
temperature and at least for 2 days when stored at
ambient temperature.
Keywords: chemical stability, 70% alcohol
ศรีนครินทร์เวชสาร 2557; 29 (6): . ™ Srinagarind Med J 2014 ;29 (6): .

282 ศรีนครินทร์เวชสาร 2557; 29 (5) ™ Srinagarind Med J 2014 ;29 (5)


บูรพา ปุสธรรม x Burabha Pussadhamma

บทนำ 1 การเตรียมตัวอย่าง 70% แอลกอฮอล์


1.1 เตรียม 70% แอลกอฮอล์ เทใส่กระปุก forceps 10
แอลกอฮอล์ชนิดเอทธานอล หรือเอทิลแอลกอฮอล์เป็น
กระปุก และกระปุกสำลี 10 กระปุก และบรรจุในขวด PET
น้ำยาฆ่าเชือ้ ทีใ่ ช้มากในโรงพยาบาลออกฤทธิเ์ ป็น fungicidal,
20 ขวด แบ่งเป็นตัวอย่างขวดที่ไม่เปิดใช้ กับตัวอย่างขวด
virucidal และ bactericidal ต่อ vegetative form แต่ไม่เป็น
ทีเ่ ปิดใช้ อย่างละ 10 ขวด
sporicidal โดยการแปรสภาพโปรตีน (denaturing of pro-
1.2 นำกระปุก forceps กระปุกสำลี ขวดที่ไม่เปิดใช้
tein)1-4 แอลกอฮอล์มีคุณสมบัติในการซึมผ่านน้อย จึงใช้
และขวดที่เปิดใช้ เก็บที่อุณหภูมิห้องและอุณหภูมิทั่วไป
ฆ่าเชือ้ หรือทำความสะอาดเฉพาะพืน้ ผิว เช่น เตรียมผิวหนัง
อุณหภูมลิ ะ 5 ตัวอย่าง
ก่อนทำหัตถการ และฆ่าเชือ้ เทอร์โมมิเตอร์ เป็นต้น ความแรง
1.3 จำลองการเปิดใช้กระปุกสำลีและการเปิดใช้ขวด
ที ่ ม ี ฤ ทธิ ์ ฆ ่ า เชื ้ อ อยู ่ ร ะหว่ า งร้ อ ยละ 60 - 95 (ปริ ม าตร/
ทีเ่ ปิดใช้ โดยเปิดฝา 15 วินาที แล้วปิดฝา วันละ 30 ครัง้ ทุกวัน
ปริมาตร)1,2 ความแรงทีน่ ยิ มใช้และเหมาะทีส่ ดุ ในการฆ่าเชือ้
ตลอดระยะเวลาศึกษา
in vitro คือร้อยละ 701-4 เนื่องจากแอลกอฮอล์มีคุณสมบัติ
2 ระยะเวลาศึกษา ตรวจวิเคราะห์หาปริมาณแอลกอฮอล์
ระเหยได้งา่ ย มักมีขอ้ สงสัยในความแรงของแอลกอฮอล์ 70%
2.1 ในกระปุก forceps และกระปุกสำลี ระยะเวลาศึกษา
หลังเปิดใช้ จึงมีการกำหนดอายุการใช้งานของน้ำยา ซึ่ง
7 วัน วันศึกษาที่ 0, 1, 2, 3 และ 7
แตกต่ า งกั น ตามแต่ ล ะสถานพยาบาล เช่ น กำหนดอายุ
2.2 ในขวดทีเ่ ปิดใช้ ระยะเวลาศึกษา 60 วัน วันศึกษาที่
แอลกอฮอล์ 70% หลังเปิดใช้ ตัง้ แต่ 1 ถึง 14 วัน กำหนดการ
0, 7, 14, 30 และ 60
เปลี่ยนแอลกอฮอล์ 70% สำหรับแช่เครื่องมือ ตั้งแต่ ทุก 8
2.3 ในขวดที ่ ไ ม่ เ ปิ ด ใช้ ระยะเวลาศึ ก ษา 360 วั น
ถึง 24 ชั่วโมง เป็นต้น เพื่อให้มั่นใจในคุณภาพของน้ำยา
วันศึกษาที่ 0, 7, 14, 30, 60, 120, 180, 270 และ 360
ฆ่ า เชื ้ อ ที ่ ใ ช้ ได้ ม ี ก ารศึ ก ษาความคงตั ว ทางเคมี ข อง
3 การวิเคราะห์หาปริมาณแอลกอฮอล์
แอลกอฮอล์ 70% ของ Thaweethamcharoen5 พบว่า 70%
3.1 เตรียมตัวอย่าง โดยดูดตัวอย่าง 70% แอลกอฮอล์
แอลกอฮอล์ บรรจุในขวด 60 มล. และ 250 มล. และจำลองการ
1 มล. ผสมกับ n–propyl alcohol 0.5 มล. ใน volumetric
เปิดใช้ พบว่ามีความคงตัวทางเคมีไม่น้อยกว่า 18 วัน และ
flask ปรับปริมาตรด้วย purified water จนครบปริมาตร 10
32 วัน ตามลำดับ
มล.
โครงการวิจัยนี้เป็นการศึกษาความคงตัวทางเคมีของ
3.2 ระบบของ gas chromatography เป็น gc/fid cap-
แอลกอฮอล์ 70% ในภาชนะบรรจุชนิดต่างๆ เพือ่ ให้เกิดความ
illary column เป็น pe-wax ใช้ helium เป็น carrier gas
มั่นใจในผลิตภัณฑ์ที่เตรียมขึ้นและใช้เป็นข้อมูลกำหนด
โดยควบคุมอุณหภูมขิ อง gc ที่ 90oซ และเพิม่ อุณหภูมขิ น้ึ 5oซ
อายุการใช้งานของแอลกอฮอล์ 70%
ต่อนาที จนได้อุณหภูมิ 130oซ หลังจากนั้น ปรับอุณหภูมิ
เพิ่มขึ้น 20oซ ต่อนาที จนได้อุณหภูมิ 200oซ โดยกำหนด
วิธีการศึกษา temperature of detector ไว้ท่ี 250oซ ใช้ 5% n–propyl al-
สารเคมีและวัสดุอุปกรณ์ cohol เป็น internal standard
สารเคมี (ethanol (analytical grade) (99.8%) VWR Inter- 3.3 การฉี ด ตั ว อย่ า ง ฉี ด ตั ว อย่ า งละ 1 ไมโครลิ ต ร
national Ltd (England), n-propyl alcohol (analytical grade) โดยใช้ระบบ autosampling
(99.5%) (CARLO ERBA reagenti, Italy), purified water 3.4 กราฟมาตรฐาน สร้างเส้นกราฟมาตรฐานโดยการ
(Maxima ultrapure water) และ 95% แอลกอฮอล์ วิเคราะห์ แอลกอฮอล์ 5 ความเข้มข้น คือ 2%, 4%, 6%, 8%
(โรงงานสุราองค์การสุรา) และ 10% คำนวณหา peak area ratio ของแอลกอฮอล์กบั
เครือ่ งมือ: gas chromatography (Autosyststem XL) 5% n–propyl alcohol เขียนกราฟความสัมพันธ์ระหว่าง peak
PERKIN ELMER (USA), gas chromatography capillary area ratio กับความเข้มข้นของแอลกอฮอล์ คำนวณหา
column (Elite Series PE-WAX ) PERKIN ELMER (USA) สมการเส้นตรงเพื่อใช้หาปริมาณแอลกอฮอล์ในตัวอย่าง
length 60 m, inner diameter 32 mm film (0.5 m) PERKIN 3.5 การตรวจสอบความถูกต้อง (validation) ของระบบ
ELMER (USA), กระปุกแช่คมี เส้นผ่าศูนย์กลาง 2.5 ซม. สูง โดยพิจารณาจาก
9.5 ซม. และตลับสำลี เส้นผ่าศูนย์กลาง 9.5 ซม. สูง 6.0 ซม. (1) ความเป็นเส้นตรง (linearity) ของความสัมพันธ์
พร้อมฝาปิด, ขวด polyethylene terephthalate (PET) ระหว่างความเข้มข้นของแอลกอฮอล์กับ peak area ratio
ขนาดบรรจุ 450 มล. ได้สมการเส้นตรง y = 0.1565 x + 0.0118 มีคา่ coefficient

ศรีนครินทร์เวชสาร 2557; 29 (5) ™ Srinagarind Med J 2014; 29 (5) 283


โรคลิม่ เลือดอุดกัน้ ในหลอดเลือดปอดเฉียบพลัน x Acute Pulmonary Embolism

of determination (R2) เท่ากับ 0.9998 ปริมาณแอลกอฮอล์คงเหลือของปริมาณเริม่ ต้น (ตารางที่ 1)


(2) ความแม่นยำ (precision) มีคา่ coefficient of varia- ปริมาณตัวยาสำคัญทีร่ ะบุในฉลากของแอลกอฮอล์ในกระปุกสำลี
tion (% CV) ของผลวิเคราะห์ intraday และ interday ในช่วง ที่อุณหภูมิห้อง มีค่าร้อยละ 100.29, 96.97, 95.98, 97.09
0.95 – 1.02 และ 1.73 – 1.88 ตามลำดับ และ 98.70 และมีปริมาณตัวยาสำคัญที่ระบุในฉลากของ
(3) ความละเอียด (accuracy) มีค่า % inaccuracy แอลกอฮอล์ในกระปุกสำลี ทีอ่ ณ ุ หภูมทิ ว่ั ไป ร้อยละ 100.29,
ของผลวิเคราะห์ intraday และ interday ในช่วง 0.40 – 1.13 95.61, 96.83, 94.07 และ 92.17 ในวันศึกษาที่ 0, 1, 2, 3
และ 0.35 – 1.60 ตามลำดับ และ 7 ตามลำดั บ คิ ด เป็ น ปริ ม าณแอลกอฮอล์ ค งเหลื อ
ของปริมาณเริม่ ต้น (ตารางที่ 1)
ผลการศึกษา ตลอดระยะเวลาศึกษา 60 วัน ระหว่างวันที่ 1 มีนาคม
ตลอดระยะเวลาศึกษา 7 วัน ระหว่างวันที่ 1 ถึง 7 มีนาคม ถึง 29 เมษายน 2552 อุณหภูมิห้องและอุณหภูมิทั่วไป
2552 อุณหภูมิห้องและอุณหภูมิทั่วไปมีค่าเฉลี่ย 24.2 ± มีค่าเฉลี่ย 24.5 ± 0.6oซ และ 30.8 ± 1.0oซ ตามลำดับ
0.5oซ และ 31.8 ± 0.8 ซ ตามลำดับ ผลการวิเคราะห์พบว่ามี ผลการวิเคราะห์พบว่ามีปริมาณตัวยาสำคัญทีร่ ะบุในฉลากของ
ปริมาณ ตัวยาสำคัญที่ระบุในฉลาก (labeled amount) แอลกอฮอล์ในขวดทีเ่ ปิดใช้ ทีอ่ ณุ หภูมหิ อ้ ง ร้อยละ 100.29,
ของแอลกอฮอล์ในกระปุก forceps ที่อุณหภูมิห้อง ร้อยละ 99.86, 99.87, 100.92 และ 99.70 และมีปริมาณตัวยาสำคัญ
100.29, 95.14, 99.05, 96.44 และ 81.48 และมีปริมาณตัวยา ที่ระบุในฉลากของแอลกอฮอล์ในขวดที่เปิดใช้ที่อุณหภูมิ
สำคัญที่ระบุในฉลากของแอลกอฮอล์ในกระปุก forceps ทัว่ ไป ร้อยละ 100.29, 99.23, 99.01, 98.49 และ 101.15 ใน
ทีอ่ ณ
ุ หภูมทิ ว่ั ไป ร้อยละ 100.29, 97.71, 93.39, 86.37 และ วันศึกษาที่ 0, 7, 14, 30 และ 60 ตามลำดับ คิดเป็นปริมาณ
59.89 ในวันศึกษาที่ 0, 1, 2, 3 และ 7 ตามลำดับ คิดเป็น แอลกอฮอล์คงเหลือของปริมาณเริม่ ต้น (ตารางที่ 2)

ตารางที่ 1 แสดงปริมาณแอลกอฮอล์คงเหลือในกระปุก forceps และกระปุกสำลี ที่อุณหภูมิห้องและอุณหภูมิทั่วไป


ระยะเวลาศึกษา 7 วัน
ปริมาณแอลกอฮอล์คงเหลือของปริมาณเริม่ ต้น (ร้อยละ) (ค่าเฉลีย่ ± ค่าเบีย่ งเบนมาตรฐาน)
  วันศึกษาที่
กระปุก forceps กระปุกสำลี
อุณหภูมิห้อง อุณหภูมทิ ว่ั ไป อุณหภูมิห้อง อุณหภูมทิ ว่ั ไป
1 94.86 ± 2.54 97.43 ± 1.66 96.70 ± 3.22 95.33 ± 0.88
2 98.77 ± 0.79 93.12 ± 1.91 95.71 ± 2.37 96.55 ± 2.41
3 95.99 ± 1.62 86.13 ± 1.74 96.82 ± 2.39 93.80 ± 2.74
7 81.25 ± 6.06 59.72 ± 4.58 98.42 ± 2.10 91.91 ± 0.87

ตารางที่ 2 แสดงปริมาณแอลกอฮอล์คงเหลือในขวดที่เปิดใช้และขวดที่ไม่เปิดใช้ ที่อุณหภูมิห้องและอุณหภูมิทั่วไป


ปริมาณแอลกอฮอล์คงเหลือของปริมาณเริม่ ต้น (ร้อยละ) (ค่าเฉลีย่ ± ค่าเบีย่ งเบนมาตรฐาน)
  วันศึกษาที่
ขวดที่เปิดใช้# ขวดทีไ่ ม่เปิดใช้##
อุณหภูมิห้อง s อุณหภูมทิ ว่ั ไป อุณหภูมิห้อง อุณหภูมทิ ว่ั ไป
7 99.58 ± 1.42 98.94 ± 1.50 98.55 ± 2.61 98.19 ± 2.65
14 99.59 ± 2.20 98.73 ± 2.66 99.80 ± 0.81 100.10 ± 0.98
30 100.63 ± 1.97 98.21 ± 1.14 101.05 ± 3.24 99.84 ± 2.35
60 99.41 ± 1.83 100.86 ± 4.80 98.48 ± 0.87 97.34 ± 0.29
120 - - 100.81 ± 3.36 102.99 ± 1.98
180 - - 98.80 ± 2.75 100.47 ± 2.65
270 - - 100.70 ± 2.24 98.53 ± 1.89
360 - - 97.03 ± 2.77 97.17 ± 1.71
#
: ระยะเวลาศึกษา 60 วัน
##
: ระยะเวลาศึกษา 360 วัน

284 ศรีนครินทร์เวชสาร 2557; 29 (5) ™ Srinagarind Med J 2014; 29 (5)


บูรพา ปุสธรรม x Burabha Pussadhamma

ตลอดระยะเวลาศึกษา 360 วัน ระหว่างวันที่ 1 มีนาคม และ 360 วัน ตามลำดับ


2552 ถึง 23 กุมภาพันธ์ 2553 อุณหภูมิห้องและอุณหภูมิ การที่แอลกอฮอล์ 70% ในกระปุกสำลีมีความคงตัว
ทัว่ ไปมีคา่ เฉลีย่ 24.6 ± 0.6oซ และ 30.6 ± 1.2oซ ตามลำดับ มากกว่าในกระปุก forceps ทั้งที่กระปุกสำลีมีขนาดเส้นผ่า
ผลการวิเคราะห์พบว่ามีปริมาณตัวยาสำคัญทีร่ ะบุในฉลากของ ศูนย์กลางมากกว่ากระปุก forceps เนือ่ งจากกระปุกสำลี มีฝา
แอลกอฮอล์ในขวดที่ไม่เปิดใช้ ตั้งที่อุณหภูมิห้อง ร้อยละ ปิด ช่วยชะลอการระเหยของแอลกอฮอล์ได้ดีกว่ากระปุก
100.29, 98.83, 100.09, 101.34, 98.76, 101.10, 99.09, forceps ซึง่ ไม่มฝี าปิด และแอลกอฮอล์ 70% ไม่คงตัวเพิม่ ขึน้
100.99, และ 97.30 และปริมาณตัวยาสำคัญทีร่ ะบุในฉลาก เมื่อเก็บที่อุณหภูมิสูงขึ้น อย่างไรก็ตาม มีข้อสังเกตว่าน้ำยา
ของแอลกอฮอล์ในขวดที่เปิดใช้ ตั้งที่อุณหภูมิทั่วไป ร้อยละ แอลกอฮอล์ในกระปุกสำลีมีแนวโน้มไม่คงตัวหลังวันศึกษาที่
100.29, 98.47, 100.38, 100.12, 97.62, 103.28, 100.76, 7 ทีอ่ ณ
ุ หภูมทิ ว่ั ไป เนือ่ งจากการระเหยของแอลกอฮอล์ทเ่ี กิด
98.82 และ 97.45 ในวันศึกษาที่ 0, 7, 14, 30, 60, 120, 180, จากอุณหภูมิและฝาที่ปิดไม่สนิท
270 และ 360 ตามลำดับ คิดเป็นปริมาณแอลกอฮอล์คงเหลือ การใช้เกณฑ์ปริมาณตัวยาสำคัญคงเหลือไม่น้อยกว่า
ของปริมาณเริม่ ต้น (ตารางที่ 2) ร้อยละ 90 ของปริมาณเริ่มต้นของแอลกอฮอล์70% อาจ
เทียบเท่ากับแอลกอฮอล์ที่ความแรงไม่น้อยกว่าร้อยละ 63
วิจารณ์ (ปริ ม าตร/ปริ ม าตร) ซึ ่ ง เป็ น ความแรงที ่ ม ั ่ น ใจได้ ว ่ า มี
คณะผู้วิจัยออกแบบการศึกษานี้ให้มีสภาพใกล้เคียง ประสิทธิภาพฆ่าเชือ้ ได้ด2-4 ี ขณะเดียวกัน แอลกอฮอล์ทค่ี วาม
กับการปฏิบตั งิ านปกติในผูป้ ว่ ย โดยทำการศึกษาทีอ่ ณ ุ หภูมิ แรงคงเหลือน้อยกว่าร้อยละ 63 แต่มากกว่าร้อยละ 60
ห้องของห้องที่มีเครื่องปรับอากาศ เฉลี่ย 24.6 ± 0.6oซ อาจถูกพิจารณาว่าไม่คงตัว แม้อยู่ในช่วงความแรงที่ยังมี
ตามนิยามของ controlled room temperature ที่ 20 - 25oซ ประสิ ท ธิ ภ าพการฆ่ า เชื ้ อ ได้ ด ี เช่ น ปริ ม าณแอลกอฮอล์
และอุณหภูมิทั่วไปของห้องที่ไม่มีเครื่องปรับอากาศเฉลี่ย คงเหลือของแอลกอฮอล์ในกระปุก forceps ทีอ่ ณ ุ หภูมทิ ว่ั ไป
30.6 ± 1.2oซ ใกล้เคียงกับค่าเฉลี่ยของประเทศไทย พ.ศ. ในวันศึกษาที่ 3 มีค่าร้อยละ 86.13 ของปริมาณเริ่มต้น
2552 ที่ 31.0oซ และจำลองการเปิดใช้ตลับแช่สำลีและเปิดใช้ ซึง่ เทียบเท่าแอลกอฮอล์ความแรงร้อยละ 60.29 เป็นต้น
ขวดบรรจุนำ้ ยา 30 ครัง้ ต่อวัน ซึง่ เป็นจำนวนครัง้ สูงสุดทีไ่ ด้ จากผลการศึกษาดังกล่าว สามารถกำหนดวันหมดอายุ
จากการสอบถามผูป้ ฏิบตั งิ านในหอผูป้ ว่ ยอายุรกรรมศัลยกรรม แอลกอฮอล์ 70% อย่างน้อย 1 ปี นับจากวันที่ผลิต มีข้อ
และกุมารเวชกรรม โรงพยาบาลศรีนครินทร์ แนะนำผูป้ ฏิบตั งิ านให้เปลีย่ นแอลกอฮอล์ 70% ในภาชนะแช่
เนื่องจาก USP ไม่มีการกำหนดปริมาณตัวยาสำคัญ เครื่องมือ ทุก 24 - 48 ชั่วโมง และไม่จำเป็นต้องเททิ้ง
ที่ระบุในฉลากของแอลกอฮอล์ 70% ไว้ การพิจารณาความ แอลกอฮอล์ 70% ในขวดที่เปิดใช้ทุกวัน หรือภายใน 7 วัน
คงตัวทางเคมีของการศึกษานี้ จึงอาศัยหลักการกำหนดวัน หากไม่มีการปนเปื้อน เพราะทำให้เกิดความสูญเสียโดย
สิน้ อายุตามทีร่ ะบุในเภสัชตำรับโรงพยาบาล พ.ศ. 2549 ว่า เปล่าประโยชน์ แต่ควรเน้นผู้ปฏิบัติงานให้ความสำคัญกับ
วันสิ้นอายุคือวันที่พบว่าปริมาณตัวยาสำคัญคงเหลือมีความ เทคนิคปลอดเชือ้ (aseptic technique) และปิดฝาขวดบรรจุ
แรงน้อยกว่าร้อยละ 90 ของปริมาณเริม่ ต้น6 ให้สนิท เมื่อมีการหยิบจับหรือเปิดใช้ทุกครั้ง เครื่องมือ
ปริมาณแอลกอฮอล์คงเหลือทุกค่าที่ศึกษามีความแรง อุปกรณ์ที่นำมาแช่ในแอลกอฮอล์ 70% ต้องสะอาดและแห้ง
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ของปริมาณเริ่มต้น ยกเว้น ปริมาณ เพราะฤทธิ ์ ก ารฆ่ า เชื ้ อ ของแอลกอฮอล์ ถ ู ก ทำลายโดยสิ ่ ง
แอลกอฮอล์คงเหลือในกระปุก forceps ที่อุณหภูมิทั่วไป สกปรกที่เป็นสารอินทรีย์ (organic matters) เช่น เลือด
ในวันศึกษาที่ 3 มีคา่ ร้อยละ 86.13 และทีอ่ ณ ุ หภูมหิ อ้ งในวัน และหนอง เป็นต้น2-4 และเครือ่ งมืออุปกรณ์ทเ่ี ปียกน้ำ จะทำให้
ศึกษาที่ 7 มีค่าร้อยละ 81.25 สรุปว่าแอลกอฮอล์ 70% น้ำยาแอลกอฮอล์ถูกเจือจาง และส่งผลให้ประสิทธิภาพใน
ในกระปุก forceps ไม่คงตัวในวันศึกษาที่ 3 ทีอ่ ณ ุ หภูมทิ ว่ั ไป การฆ่าเชื้อลดลง
และไม่คงตัวในวันศึกษาที่ 7 ที่อุณหภูมิห้อง กล่าวอีกนัย
หนึง่ คือ แอลกอฮอล์ 70% ในกระปุก forceps คงตัวไม่นอ้ ยกว่า สรุป
2 วัน ทีอ่ ณ
ุ หภูมทิ ว่ั ไป และคงตัวไม่นอ้ ยกว่า 3 วัน ทีอ่ ณุ หภูมิ แอลกอฮอล์ 70% ในกระปุก forceps มีความคงตัวทาง
ห้อง ในทำนองเดียวกัน แอลกอฮอล์ 70% คงตัว ไม่นอ้ ยกว่า เคมีไม่นอ้ ยกว่า 2 วัน ทีอ่ ณ
ุ หภูมทิ ว่ั ไป และคงตัวไม่นอ้ ยกว่า
7 วัน ในกระปุกสำลี คงตัวไม่นอ้ ยกว่า 60 วัน ในขวดทีเ่ ปิดใช้ 3 วัน ทีอ่ ณ
ุ หภูมหิ อ้ ง แอลกอฮอล์ 70% คงตัวไม่นอ้ ยกว่า 7
และคงตัวไม่น้อยกว่า 360 วันในขวดที่ไม่เปิดใช้ที่อุณหภูมิ วัน ในตลับแช่สำลี ทีจ่ ำลองการเปิดใช้, คงตัวไม่นอ้ ยกว่า 60
ห้องและอุณหภูมทิ ว่ั ไป ตลอดระยะเวลาศึกษา 7 วัน, 60 วัน วัน ในขวด PET ทีจ่ ำลองการเปิดใช้ และ คงตัวไม่นอ้ ยกว่า

ศรีนครินทร์เวชสาร 2557; 29 (5) ™ Srinagarind Med J 2014; 29 (5) 285


โรคลิม่ เลือดอุดกัน้ ในหลอดเลือดปอดเฉียบพลัน x Acute Pulmonary Embolism

360 วัน ในขวด PET ที่ไม่เปิดใช้ เมื่อเก็บที่อุณหภูมิห้อง Sterilization and Preservation. 3rd ed. Philadelphia : Lea &
หรืออุณหภูมิทั่วไป Febiger, 1983 : 225-39.
3. Rotter ML. Alcohols for Antisepsis of Hands and Skin. In:
กิตติกรรมประกาศ Ascenzi JM, editor, Handbook of Disinfectants and
คณะผู้วิจัยขอขอบคุณคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย Antiseptics. New York : Marcel Dekker, 1996 : 177-234.
ขอนแก่น ที่สนับสนุนทุนวิจัย เลขที่โครงการ I51215 และ 4. Moore SL, Payne DN. Types of antimicrobial agents. In:
ขอขอบคุณคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ Fraise AP, Lambert PA, Maillard JY, editors. Principles and
ทีส่ นับสนุนให้ใช้สถานทีแ่ ละเครือ่ งมืออุปกรณ์สำหรับการทำวิจยั นี้ Practice of Disinfection Preservation and Sterilization. 4th ed.
Oxford : Blackwell Publishing, 2004 : 8-97.
5. Thaweethamcharoen T, Sasithornrojanachai S. Confidence
เอกสารอ้างอิง in the daily use of antiseptic alcohol. Siriraj Med J 2009; 61:
1. The Council of the Pharmaceutical Society of Great Britain. 78-81.
The Pharmaceutical Codex. 12 th ed. London : The 6. คณะกรรมการแห่งชาติดา้ นยา. เภสัชตำรับโรงพยาบาล พ.ศ. 2549.
Pharmaceutical Press, 1994. กรุงเทพฯ: คณะกรรมการแห่งชาติด้านยา, 2549.
2. Morton HE. Alcohols. In: Block SS, editor. Disinfection  

286 ศรีนครินทร์เวชสาร 2557; 29 (5) ™ Srinagarind Med J 2014; 29 (5)

View publication stats

You might also like