You are on page 1of 91

การลดค่าความต้านทานดินด้วย MEG

ระบบรากสายดิน (Grounding Electrode System)


การออกแบบระบบรากสายดินให้มปี ระสิทธิผลทีด่ ี จาเป็ นต้องมีขอ้ มูลเกีย่ วกับสภาพดินของโครงการ
(Soil Data) และสภาพทางกายภาพอื่นๆ ของพืน้ ที่ เพื่อให้บรรลุวตั ถุประสงค์ของการออกแบบ 2PER คือ
• Performance: ต้องมีค่าความต้านทานดิ นรวมของระบบที่ต่า (Low Ground Resistance)
• Permanent: ระบบต้องมีความคงทนถาวร
Soil Resistivity Data Performance
ค่าความต้านทานจาเพาะของดิน - ขนาดของพืน้ ทีแ่ ละความแข็งของดิน นามากาหนดเป็ นเงื่อนไขเพือ่ ใช้ออกแบบ
Physical of Area รูปแบบของรากสายดินทีเ่ หมาะสมกับพืน้ ทีน่ นั ้ ๆ
• ขนาดของพืน้ ทีท่ ากราวด์ - โดยต้องนาค่าความต้านทานจาเพาะของดิ นมาคานวณเพือ่ ให้ได้ค่าความ
• ความแข็งของดิน ต้านทานดินทีต่ ่าและเป็ นไปตามมาตรฐาน

Condition of Soil Permanent


• ค่าความเป็ นกรด-ด่าง (pH) เพือ่ นามาใช้พจิ ารณาวัสดุของรากสายดินให้มอี ายุการใช้งานยาวนาน เนื่องจาก
• ค่าความเค็ม (Salinity) รากสายดินถูกฝั งอยูใ่ ต้ดนิ จะมีการกัดกร่อนกับตัววัสดุรุนแรงกว่าอุปกรณ์อ่นื ๆ
• ค่ากามะถัน (Sulphur) ทีถ่ ูกติดตัง้ อยูเ่ หนือพืน้ ดิน ทังในเรื
้ ่องความชืน้ ความเป็ นกรดด่าง สภาพความ
เค็ม และเคมีต่างๆภายในดิน ทาให้การตรวจสอบแท่งหลักดินว่ายังมี
ประสิทธิภาพอยูห่ รือไม่ ภายหลังทีฝ่ ั งรากสายดินลงไปแล้วมีความยากหรือ
แทบเป็ นไปไม่ได้
ดังนัน้ การพิจารณาเลือกวัสดุของรากสายดินตัง้ แต่เริม่ ต้นนัน้ มีความสาคัญ
อย่างยิง่ ต่อประสิทธิภาพและอายุการใช้งานในระยะยาว 2
การลดค่าความต้านทานดินด้วย MEG
1. Ground Resistance และ Soil Resistivity คืออะไร? ต่างกันอย่างไร?
2. การวัดค่า Soil Resistivity เพื่อการออกแบบระบบรากสายดิน
3. การออกแบบระบบรากสายดินและการคานวณค่า Ground Resistance
4. การปรับปรุงค่าความต้านทานดินด้วย MEG

3
ค่าความต้านทานดิน (Grounding Resistance) คืออะไร?
“Ground Resistance” หรือ “Earth Resistance” หรือ “ค่าความต้านทานดิน” หรือมักนิยมเรียก
่ า “ค่ากราวด์” “ค่าโอห์ม” “ค่า R ดิน”
กันทัวไปว่

“Ground Resistance” หมายถึง


• ค่าความต้านทานการกระจายกระแสของดิน
• เกิดขึ้นเมื่อมีกระแสไหลผ่านรากสายดินแล้ว
ถูกกระจายออกสู่ดินโดยรอบๆ
• ซึ่งเป็ นอัตราส่วนระหว่างศักย์ไฟฟ้ าที่เกิดขึ้น
โดยรอบตัวนารากสายดิน กับกระแสที่กระจาย
ออกสู่ดิน

4
ค่าความต้านทานดิน (Grounding Resistance) คืออะไร?
การออกแบบรากสายดินมีวตั ถุประสงค์เพื่อให้ได้ค่า Ground Resistance ทีต่ ่ า และเป็ นไปตามเกณฑ์
มาตรฐานการต่อลงดินของระบบนัน้ ๆ

Ground Surface
ปั จจัยหลักที่มีผลกับค่า Ground Resistance คือ
1. Soil Resistivity หรือ ค่าความต้านทาน
จาเพาะของดิน
2. ปริมาณของรากสายดิน

ศักย์ไฟฟ้ าทีเ่ กิดขึน้ โดยรอบตัวนา


(Electrode Shell)

กระแสทีถ่ ูกกระจายลงสูด่ นิ

5
ปัจจัยหลักที่มีผลกับค่า Ground Resistance
1. Soil Resistivity หรือค่าความต้านทานจาเพาะของดิน
่ ยมเรียกว่า “ค่า Soil” “ค่าดิน” “ค่าโร” เป็ นต้น
• โดยทัวไปนิ
• มีสญั ลักษณ์คอื ρ (เรียกว่า โร) มีหน่วยเป็ น Ω•m (อ่านว่า โอห์มเมตร)
• เป็ นค่าทีบ่ ่งบอกถึงสภาพความนาไฟฟ้ าของดิน
• ถ้ามีค่า ρ ตา่ → มีความนาไฟฟ้ าที่ดีกว่า → ทาค่ากราวด์ตา่ ได้ง่ายกว่า
• ถ้ามีค่า ρ สูง → มีความนาไฟฟ้ าที่แย่กว่า → ทาค่ากราวด์ตา่ ได้ยากกว่า

2. ปริมาณของหลักดินหรือรากสายดินที่ถกู ติดตัง้
• เมื่อเทียบการติดตัง้ ในพืน้ ทีเ่ ดียวกันทีม่ คี ่า Soil Resistivity เท่ากัน
ถ้ามีปริมาณรากสายดินที่มากกว่า → มีการกระจายกระแสลงสู่ดินได้ดีกว่า → ทาให้ค่า
กราวด์ตา่ กว่า

6
ปัจจัยหลักที่มีผลกับค่า Ground Resistance
1. กรณี ใช้ Ground Rod ขนาดเท่ากัน (Dia. 14.2 mm (5/8”) ยาว 3m)
แต่ติดตัง้ ต่างสถานที่กนั มีค่า ρ ไม่เท่ากัน

𝝆 𝟖𝒍
𝑹= 𝒍𝒏 −𝟏
𝟐𝝅𝒍 𝒅

R = ค่าความต้านทานดิน (โอห์ม)
l
ρ = ค่าความต้านทานจาเพาะของดิน (โอห์ม-เมตร)
(3 m) l = ความยาว Ground Rod (เมตร)
d = ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง Ground Rod (เมตร)
d
(0.0142 m)

7
ปัจจัยหลักที่มีผลกับค่า Ground Resistance
1. กรณี ใช้ Ground Rod ขนาดเท่ากัน (Dia. 14.2 mm (5/8”) ยาว 3m)
แต่ติดตัง้ ต่างสถานที่กนั มีค่า ρ ไม่เท่ากัน

สถานที่ A สถานที่ B
ρ = 50 โอห์ม-เมตร ρ = 200 โอห์ม-เมตร

50 8(3) 200 8(3)


𝑅= 𝑙𝑛 −1 𝑅= 𝑙𝑛 −1
2𝜋(3) 0.0142 2𝜋(3) 0.0142

R = 17.1 โอห์ม R = 68.3 โอห์ม

8
ปัจจัยหลักที่มีผลกับค่า Ground Resistance
2. กรณี ติดตัง้ ในพื้นที่เดียวกัน ทีมีค่า ρ เท่ากัน แต่ติดตัง้ จานวน Ground Rod ไม่เท่ากัน

สถานที่ C: ρ = 100 โอห์ม-เมตร


3m

3m
3m

100 8(3)
𝑅= 𝑙𝑛 −1
2𝜋(3) 0.0142 100 8(3)
𝑅1 𝑟𝑜𝑑 = 𝑙𝑛 − 1 = 34.1
2𝜋(3) 0.0142
R = 34.1 โอห์ม
R 3 rod = 0.42 R1 rod

R3 rod = 14.3 โอห์ม

9
ปัจจัยหลักที่มีผลกับค่า Ground Resistance
*** สรุป: การออกแบบและติดตัง้ ระบบรากสายดินให้มีค่าความต้านทานดินที ต่ ่า***
1. ค่า Soil Resistivity จาเป็ นอย่างยิง่ เพือ่ นามาใช้ออกแบบและคานวณ
เพือ่ หาปริมาณของระบบรากสายดินทีต่ ้องใช้ เพือ่ ให้ได้ค่ากราวด์ทีต่ ้องการ
2. ต้องจัดสรรงบประมาณในการติดตัง้ รากสายดินเพือ่ ให้ได้ค่าที เ่ หมาะสม
ตามการออกแบบ ไม่ใช่เพียงแค่เอา Rod ปักลงดินเท่านัน้

10
การลดค่าความต้านทานดินด้วย MEG
1. Ground Resistance และ Soil Resistivity คืออะไร? ต่างกันอย่างไร?
2. การวัดค่า Soil Resistivity เพื่อการออกแบบระบบรากสายดิน
3. การออกแบบระบบรากสายดินและการคานวณค่า Ground Resistance
4. การปรับปรุงค่าความต้านทานดินด้วย MEG

11
ค่าความต้านทานจาเพาะของดิน (Soil Resistivity) คืออะไร?
ความต้านทานจาเพาะของดิน คือ ความต้านทานของดินปริมาตร 1 ลูกบาศก์เมตร โดยเสมือนว่าวัด
ระหว่างผิวด้านตรงข้ามกันของปริมาตรดิน ซึง่ เป็ นค่าทีแ่ สดงถึงคุณสมบัตทิ างไฟฟ้ าของดิน
ั ลักษณ์คอื “𝜌”(อ่านว่า Rho) และมีหน่วยเป็ น “Ω·m” (อ่านว่า โอห์มเมตร)
มีสญ

12
การวัดค่า Soil Resistivity เพื่อการออกแบบระบบรากสายดิน
มาตรฐาน IEEE Std. 81 - 2012 แนะนาวิธกี ารวัดความต้านทานจาเพาะของดิน
โดยการวัดแบบ 4 จุด (Four Point Method) ทีร่ ะยะห่างระหว่างอิเล็กโทรดเท่ากัน หรือเรียกอีก
อย่างว่า วิธีของเวนเนอร์ (Wenner’s Method) วิธนี ้จี ะให้ค่าแม่นยามากทีส่ ุดในทางปฏิบตั ิ
• โดยวิธนี ้จี ะใช้แท่งโพรบ (Probe) 4 แท่ง ฝั งในดินเป็ นแนวเส้นตรง
• ซึง่ Probe แต่ละแท่ง ปั กห่างกัน a เมตร และตอกลึกลงไปในดิน b เมตร

4-Point Method or Wenner’s Method


13
การวัดค่า Soil Resistivity เพื่อการออกแบบระบบรากสายดิน
ใช้หลักการนากระแสทดสอบ (I) ต่อระหว่างแท่งอิเล็กโทรดคูน่ อก และวัด Potential ระหว่างแท่ง
อิเล็กโทรดคู่ใน และวัดค่าความต้านทาน (R) ด้วย Potentiometer หรือ High Impedance Voltmeter
ซึง่ การวัดของเครื่องมือวัดเป็ นการนาค่าแรงดัน (V) มาหารกับค่ากระแส (I) จะได้ความต้านทาน (R)
แล้วนาค่าความต้านทานดินมาหาค่าความต้านทานจาเพาะของดินได้ดงั สมการต่อไปนี้

4πaR
ρ=
2a a
1+ −
a2 + b 2 a2 + b 2

a < 20b
4-Point Method or Wenner’s Method

14
การวัดค่า Soil Resistivity เพื่อการออกแบบระบบรากสายดิน
ถ้าในกรณีทร่ี ะยะห่างระหว่างโพรบ มีค่ามากกว่าความลึกของแท่ง Probe มากกว่า 20 เท่า
a > 20b
จะสามารถคานวณค่าความต้านทานจาเพาะของดินโดยใช้สมการอย่างง่ายดังสมการต่อไปนี้

a > 20b

4-Point Method or Wenner’s Method

15
การวัดค่า Soil Resistivity เพื่อการออกแบบระบบรากสายดิน
• ระยะห่างระหว่าง Probe “a” คือความลึกของชัน้ ดินทีต่ ้องการทาการวัดค่า
• เช่น a = 4 เมตร หมายถึงการวัดค่า Soil Resistivity ทีค่ วามลึกเฉลีย่ 4 เมตร
• ความลึกของ Probe “b” ไม่ควรเกินระยะ 5% ของระยะ “a” (a > 20b)

16
การวัดค่า Soil Resistivity เพื่อการออกแบบระบบรากสายดิน
ขัน้ ตอนการวัดโดยใช้เครื่องวัดค่าความต้านทานจาเพาะของดิน
• ปรับเครื่องมือไปที่ mode การวัด “soil resistivity test”
• ทาการปั ก Probe ทีร่ ะยะ “a” พร้อมทัง้ ต่อสายเข้ากับเครื่องมือวัด
(ความลึกของ Probe ห้ามปั กลึกเกิน 5% ของระยะ “a”)
• ใส่ค่าระยะ “a” ในเครื่องมือวัด
• กดปุ่มเริม่ การทางาน

Measurement Configuration 17
การวัดค่า Soil Resistivity เพื่อการออกแบบระบบรากสายดิน
การวัดเพื่อหาค่าเฉลี่ยความต้านทานจาเพาะมีความจาเป็ นเนื่ องจาก
• โดยปกติดนิ มักจะไม่ได้มโี ครงสร้างเป็ นเนื้อเดียวกัน แต่เกิดจากลักษณะของชัน้ ดินทีแ่ ตกต่างกัน
• ค่าความต้านทานจาเพาะของดินขึน้ อยู่กบั ชนิดของดินทีม่ มี ากมาย หลากหลายชนิด อีกทัง้ ยัง
เปลีย่ นแปลงตามปริมาณน้ าหรือความชืน้ และอุณหภูมขิ องดิน

ในรายงานควรมีบนั ทึกเรื่อง
สภาพแวดล้อมต่างๆ
ณ วันทีท่ าการวัด
เช่น อุณหภูม ิ ความชืน้
วันล่าสุดทีฝ่ นตก เป็ นต้น

18
การวัดค่า Soil Resistivity เพื่อการออกแบบระบบรากสายดิน
ดังนัน้ เพื่อให้ได้ค่าทีถ่ ูกต้องทีส่ ุดในการเก็บข้อมูลควรวัดความต้านทานจาเพาะของดิน
อย่างน้อย 5 แนวการวัด เพื่อป้ องกันการมีตวั นาแปลกปลอม เช่น ท่อเหล็กหรือโลหะใต้ดนิ ทีข่ นาน
แนวการวัด จะทาให้ผลการวัดทีไ่ ด้เกิดความคลาดเคลื่อนเนื่องจากผลของการเหนี่ยวนา จึงต้องทา
การวัดในแนวทีแ่ ตกต่างกันออกไป

19
การวัดค่า Soil Resistivity เพื่อการออกแบบระบบรากสายดิน
ตัวอย่างแบบฟอร์มการวัดค่า Soil Resistivity

20
การวัดค่า Soil Resistivity เพื่อการออกแบบระบบรากสายดิน
ตัวอย่างผลการวัดค่า Soil Resistivity

ค่าความต้านทานจาเพาะของดินเฉลีย่ เพื่อใช้ในการคานวณ
= (1,283.5 + 673.7 + 182.7 + 114.3 + 130 + 119.3) / 6
= 417.3 โอห์มเมตร

21
การวัดค่า Soil Resistivity เพื่อการออกแบบระบบรากสายดิน

ตัวอย่างค่า Soil Resistivity ของดินชนิดต่างๆ เพื่อการประเมิน

ความต้านทานจาเพาะเฉลี่ย
ชนิดดิน
(โอห์มเมตร)
ดินอินทรียเ์ ปี ยก 10
ดินชื้น 100
ดินแห้ง 1,000
หิน 10,000
อ้างอิงจาก IEEE 80

22
การวัดค่า Soil Resistivity เพื่อการออกแบบระบบรากสายดิน
ตัวอย่างค่า Soil Resistivity ของดินชนิดต่างๆ เพื่อการประเมิน

อ้างอิงจาก BS 7430
23
การลดค่าความต้านทานดินด้วย MEG
1. Ground Resistance และ Soil Resistivity คืออะไร? ต่างกันอย่างไร?
2. การวัดค่า Soil Resistivity เพื่อการออกแบบระบบรากสายดิน
3. การออกแบบระบบรากสายดินและการคานวณค่า Ground Resistance
4. การปรับปรุงค่าความต้านทานดินด้วย MEG

24
ระบบรากสายดิน (Grounding Electrode System)
การออกแบบระบบรากสายดินให้มปี ระสิทธิผลทีด่ ี จาเป็ นต้องมีขอ้ มูลเกีย่ วกับสภาพดินของโครงการ
(Soil Data) และสภาพทางกายภาพอื่นๆ ของพืน้ ที่ เพื่อให้บรรลุวตั ถุประสงค์ของการออกแบบ 2PER คือ
• Performance: ต้องมีค่าความต้านทานดิ นรวมของระบบที่ต่า (Low Ground Resistance)
• Permanent: ระบบต้องมีความคงทนถาวร
Soil Resistivity Data Performance
ค่าความต้านทานจาเพาะของดิน - ขนาดของพืน้ ทีแ่ ละความแข็งของดิน นามากาหนดเป็ นเงื่อนไขเพือ่ ใช้ออกแบบ
Physical of Area รูปแบบของรากสายดินทีเ่ หมาะสมกับพืน้ ทีน่ นั ้ ๆ
• ขนาดของพืน้ ทีท่ ากราวด์ - โดยต้องนาค่าความต้านทานจาเพาะของดิ นมาคานวณเพือ่ ให้ได้ค่าความ
• ความแข็งของดิน ต้านทานดินทีต่ ่าและเป็ นไปตามมาตรฐาน

Condition of Soil Permanent


• ค่าความเป็ นกรด-ด่าง (pH) เพือ่ นามาใช้พจิ ารณาวัสดุของรากสายดินให้มอี ายุการใช้งานยาวนาน เนื่องจาก
• ค่าความเค็ม (Salinity) รากสายดินถูกฝั งอยูใ่ ต้ดนิ จะมีการกัดกร่อนกับตัววัสดุรุนแรงกว่าอุปกรณ์อ่นื ๆ
• ค่ากามะถัน (Sulphur) ทีถ่ ูกติดตัง้ อยูเ่ หนือพืน้ ดิน ทังในเรื
้ ่องความชืน้ ความเป็ นกรดด่าง สภาพความ
เค็ม และเคมีต่างๆภายในดิน ทาให้การตรวจสอบแท่งหลักดินว่ายังมี
ประสิทธิภาพอยูห่ รือไม่ ภายหลังทีฝ่ ั งรากสายดินลงไปแล้วมีความยากหรือ
แทบเป็ นไปไม่ได้
ดังนัน้ การพิจารณาเลือกวัสดุของรากสายดินตัง้ แต่เริม่ ต้นนัน้ มีความสาคัญ
อย่างยิง่ ต่อประสิทธิภาพและอายุการใช้งานในระยะยาว 25
การคานวณค่า Ground Resistance
1. สูตรการคานวณค่าความต้านทานดินสาหรับ Ground Rod 1 แท่ง
d

𝝆 𝟖𝒍
𝑹= 𝒍𝒏 −𝟏
𝟐𝝅𝒍 𝒅

R = ค่าความต้านทานดิน (โอห์ม)
l ρ = ค่าความต้านทานจาเพาะของดิน (โอห์ม-เมตร)
l = ความยาว Ground Rod (เมตร)
d = ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง Ground Rod (เมตร)

26
การคานวณค่า Ground Resistance
ตัวอย่างการคานวณค่าความต้านทานดินสาหรับ Ground Rod 1 แท่ง
14.2mm (5/8”) ติดตัง้ Ground Rod ขนาด 14.2mm (5/8”) ยาว 3m ในพืน้ ทีท่ ม่ี คี ่า
ความต้านทานจาเพาะของดิน 100 โอห์มเมตร จะได้ค่าความ
ต้านทานดินเท่าไร?
ρ = 100 โอห์มเมตร, d = 0.0142 m, l = 3 m

𝝆 𝟖𝒍
𝑹= 𝒍𝒏 −𝟏
𝟐𝝅𝒍 𝒅
3m
100 8(3)
𝑅= 𝑙𝑛 −1
2𝜋(3) 0.0142

R = 34.1 โอห์ม

27
การคานวณค่า Ground Resistance
2. สูตรการคานวณค่าความต้านทานดินสาหรับ Ground Rod ต่อขนานกันหลายแท่ง
โดยมีระยะห่างระหว่าง Rod เท่ากับความยาว Ground Rod (s = l )
n F
จานวน Rod ตัวประกอบการคูณ s
2 0.58
3 0.42 กรณี s = l l
4 0.33
5 0.28
6 0.24
7 0.21 𝑹𝒏−𝒓𝒐𝒅 = 𝑭 × 𝑹𝟏 𝒓𝒐𝒅
8 0.19
9 0.17
10 0.16
อ้างอิงจาก BS 7430
28
การคานวณค่า Ground Resistance
ตัวอย่างการคานวณค่าความต้านทานดินสาหรับ Ground Rod ต่อขนานกันหลายแท่ง
โดยมีระยะห่างระหว่าง Rod เท่ากับความยาว Ground Rod (s = l )
ติดตัง้ Ground Rod ขนาด 14.2mm (5/8”) ยาว 3m ต่อขนานกัน 2 แท่ง ปั กห่างกัน 3m
ในพืน้ ทีท่ ม่ี คี ่าความต้านทานจาเพาะของดิน 100 โอห์มเมตร จะได้ค่าความต้านทานดินเท่าไร?
3m 𝜌 8𝑙
𝑅1 𝑟𝑜𝑑 = 𝑙𝑛 −1
2𝜋𝑙 𝑑
3m
100 8(3)
𝑅1 𝑟𝑜𝑑 = 𝑙𝑛 − 1 = 34.1 โอห์ม
2𝜋(3) 0.0142

𝑹𝒏−𝒓𝒐𝒅 = 𝑭 × 𝑹𝟏 𝒓𝒐𝒅
ρ = 100 โอห์มเมตร
d = 0.0142 m 𝑅2−𝑟𝑜𝑑 = 0.58 × 34.1
l=3m
n = 2, F = 0.58 R2-rod = 19.8 โอห์ม

29
การคานวณค่า Ground Resistance
2. สูตรการคานวณค่าความต้านทานดินสาหรับ Ground Rod ต่อขนานกันหลายแท่ง
โดยมีระยะห่างระหว่าง Rod มากกว่า 2 เท่าของความยาว Ground Rod (s ≥ 2l )
n F
จานวน Rod ตัวประกอบการคูณ กรณี s ≥ 2l
2 0.54 s
3 0.38
4 0.29 l

5 0.24
6 0.20
7 0.18 𝑹𝒏−𝒓𝒐𝒅 = 𝑭 × 𝑹𝟏 𝒓𝒐𝒅

8 0.16
9 0.14
10 0.13
อ้างอิงจาก BS 7430
30
การคานวณค่า Ground Resistance
ตัวอย่างการคานวณค่าความต้านทานดินสาหรับ Ground Rod ต่อขนานกันหลายแท่ง
โดยมีระยะห่างระหว่าง Rod มากกว่า 2 เท่าของความยาว Ground Rod (s ≥ 2l )
ติดตัง้ Ground Rod ขนาด 14.2mm (5/8”) ยาว 3m ต่อขนานกัน 2 แท่ง ปั กห่างกัน 6m
ในพืน้ ทีท่ ม่ี คี ่าความต้านทานจาเพาะของดิน 100 โอห์มเมตร จะได้ค่าความต้านทานดินเท่าไร?
6m
𝜌 8𝑙
𝑅1 𝑟𝑜𝑑 = 𝑙𝑛 −1
2𝜋𝑙 𝑑
3m
100 8(3)
𝑅1 𝑟𝑜𝑑 = 𝑙𝑛 − 1 = 34.1 โอห์ม
2𝜋(3) 0.0142

𝑹𝒏−𝒓𝒐𝒅 = 𝑭 × 𝑹𝟏 𝒓𝒐𝒅
ρ = 100 โอห์มเมตร
d = 0.0142 m 𝑅2−𝑟𝑜𝑑 = 0.54 × 34.1
l=3m
n = 2, F = 0.54 R2-rod = 18.4 โอห์ม

31
การคานวณค่า Ground Resistance
ระยะห่างระหว่าง Ground Rod ทีเ่ หมาะสมทีส่ ุดคือ 2 เท่าของความยาว Ground Rod
หรืออย่างน้อยไม่ควรใกล้กนั กว่าระยะความยาวของ Ground Rod
n F (s = l) F (s ≥ 2l)
R1-rod = 34.1 โอห์ม จานวน Rod ตัวประกอบการคูณ ตัวประกอบการคูณ
s 2 0.58 0.54
3 0.42 0.38
l 4 0.33 0.29
5 0.28 0.24
6 0.24 0.20
s = 6m R2-rod = 18.4 โอห์ม 7 0.21 0.18
8 0.19 0.16
s = 3m R2-rod = 19.8 โอห์ม 9 0.17 0.14
10 0.16 0.13

32
การคานวณค่า Ground Resistance
• การจัดวางระยะห่างของ Ground Rod ทีเ่ หมาะสมทาให้กระจายกระแสได้ดกี ว่า จึงทาให้ค่าความ
ต้านทานดินต่ ากว่า
• ถ้าปั ก Ground Rod ใกล้กนั เกินไป จะทาให้เกิดผลของ Electrode Shell ทีท่ บั ซ้อนกัน ทาให้ม ี
การกระจายกระแสทีแ่ ย่กว่า จึงทาให้ค่าความต้านทานสูงกว่า

กรณี s ≥ 2l กรณี s = l

33
ตารางค่าความต้านทานดินสาหรับ Ground Rod ต่อขนานกันหลายแท่ง
สาหรับ Ground Rod ขนาด 14.2mm (5/8”) ยาว 3m
โดยมีระยะห่างระหว่าง Rod เท่ากับความยาว Ground Rod (s = l )

ค่าความต้านทานดิ น (Ground Resistance) Ω


ρ (Ω•m)
n=1 n=2 n=3 n=4 n=5 n=6 n=7 n=8 n=9 n=10
10 3.4 2.0 1.4 1.1 1.0 0.8 0.7 0.7 0.6 0.5
50 17.1 9.9 7.2 5.7 4.8 4.1 3.6 3.3 3.0 2.7
100 34.1 19.7 14.3 11.4 9.5 8.2 7.3 6.5 5.9 5.4
200 68.3 39.5 28.6 22.8 19.1 16.5 14.5 13.0 11.8 10.9
300 102.4 59.2 43.0 34.2 28.6 24.7 21.8 19.6 17.8 16.3
400 136.6 78.9 57.3 45.6 38.1 32.9 29.1 26.1 23.7 21.7
500 170.7 98.6 71.6 56.9 47.6 41.1 36.3 32.6 29.6 27.2
600 204.9 118.4 85.9 68.3 57.2 49.4 43.6 39.1 35.5 32.6
700 239.0 138.1 100.2 79.7 66.7 57.6 50.9 45.6 41.5 38.1
800 273.1 157.8 114.5 91.1 76.2 65.8 58.1 52.1 47.4 43.5
900 307.3 177.5 128.9 102.5 85.7 74.1 65.4 58.7 53.3 48.9
1000 341.4 197.3 143.2 113.9 95.3 82.3 72.7 65.2 59.2 54.4

34
ตารางค่าความต้านทานดินสาหรับ Ground Rod ต่อขนานกันหลายแท่ง
สาหรับ Ground Rod ขนาด 14.2mm (5/8”) ยาว 3m
โดยมีระยะห่างระหว่าง Rod มากกว่า 2 เท่าของความยาว Ground Rod (s ≥ 2l )
ค่าความต้านทานดิ น (Ground Resistance) Ω
ρ (Ω•m)
n=1 n=2 n=3 n=4 n=5 n=6 n=7 n=8 n=9 n=10
10 3.4 1.8 1.3 1.0 0.8 0.7 0.6 0.5 0.5 0.4
50 17.1 9.2 6.4 5.0 4.1 3.5 3.0 2.7 2.4 2.2
100 34.1 18.4 12.8 10.0 8.2 7.0 6.1 5.4 4.9 4.4
200 68.3 36.8 25.7 19.9 16.4 13.9 12.1 10.8 9.7 8.9
300 102.4 55.2 38.5 29.9 24.5 20.9 18.2 16.2 14.6 13.3
400 136.6 73.6 51.4 39.8 32.7 27.8 24.3 21.6 19.4 17.7
500 170.7 92.0 64.2 49.8 40.9 34.8 30.4 27.0 24.3 22.1
600 204.9 110.4 77.1 59.8 49.1 41.8 36.4 32.4 29.1 26.6
700 239.0 128.8 89.9 69.7 57.2 48.7 42.5 37.7 34.0 31.0
800 273.1 147.2 102.8 79.7 65.4 55.7 48.6 43.1 38.9 35.4
900 307.3 165.6 115.6 89.7 73.6 62.6 54.6 48.5 43.7 39.8
1000 341.4 184.0 128.5 99.6 81.8 69.6 60.7 53.9 48.6 44.3

35
การคานวณค่า Ground Resistance
3. สูตรการคานวณค่าความต้านทานดินสาหรับ Ground Rod ต่อแบบสามเหลี่ยม
หรือแบบเดลต้า โดยปั กระยะห่างระหว่าง Rod เท่ากับความยาว Ground Rod (s = l )
n F s
จานวน Rod ตัวประกอบการคูณ
2 0.58
3 0.42 l
4 0.33
5 0.28
6 0.24
7 0.21
8 0.19 𝑹𝒅𝒆𝒍𝒕𝒂 = 𝟎. 𝟒𝟐 × 𝑹𝟏 𝒓𝒐𝒅
9 0.17
10 0.16
อ้างอิงจาก BS 7430
36
การคานวณค่า Ground Resistance
ตัวอย่างการคานวณค่าความต้านทานดินสาหรับ Ground Rod ต่อแบบสามเหลี่ยม
หรือแบบเดลต้า โดยปั กระยะห่างระหว่าง Rod เท่ากับความยาว Ground Rod (s = l )
ติดตัง้ Ground Rod ขนาด 14.2mm (5/8”) ยาว 3m ต่อแบบเดลต้า ปั กห่างกัน 3m
ในพืน้ ทีท่ ม่ี คี ่าความต้านทานจาเพาะของดิน 100 โอห์มเมตร จะได้ค่าความต้านทานดินเท่าไร?
3m
𝜌 8𝑙
𝑅1 𝑟𝑜𝑑 = 𝑙𝑛 −1
2𝜋𝑙 𝑑
3m
100 8(3)
𝑅1 𝑟𝑜𝑑 = 𝑙𝑛 − 1 = 34.1 โอห์ม
2𝜋(3) 0.0142

𝑹𝒅𝒆𝒍𝒕𝒂 = 𝟎. 𝟒𝟐 × 𝑹𝟏 𝒓𝒐𝒅
ρ = 100 โอห์มเมตร
d = 0.0142 m 𝑅𝑑𝑒𝑙𝑡𝑎 = 0.42 × 34.1
l=3m
n = 3, F = 0.42 Rdelta = 14.3 โอห์ม

37
ตารางค่าความต้านทานดินสาหรับ Ground Rod แบบเดลต้าต่อขนานกันหลายชุด
สาหรับ Ground Rod ขนาด 14.2mm (5/8”) ยาว 3m

ค่าความต้านทานดิ น (Ground Resistance) Ω


ρ (Ω•m)
1 ชุด 2 ชุด 3 ชุด 4 ชุด 5 ชุด 6 ชุด 7 ชุด 8 ชุด 9 ชุด 10 ชุด
10 1.4 0.8 0.6 0.5 0.4 0.3 0.3 0.3 0.2 0.2
50 7.2 4.1 3.0 2.4 2.0 1.7 1.5 1.4 1.2 1.1
100 14.3 8.3 6.0 4.8 4.0 3.5 3.0 2.7 2.5 2.3
200 28.6 16.5 12.0 9.6 8.0 6.9 6.1 5.5 5.0 4.6
300 43.0 24.8 18.0 14.3 12.0 10.4 9.1 8.2 7.5 6.8
400 57.3 33.1 24.0 19.1 16.0 13.8 12.2 10.9 9.9 9.1
500 71.6 41.4 30.0 23.9 20.0 17.3 15.2 13.7 12.4 11.4
600 85.9 49.6 36.0 28.7 24.0 20.7 18.3 16.4 14.9 13.7
700 100.2 57.9 42.0 33.4 28.0 24.2 21.3 19.1 17.4 16.0
800 114.5 66.2 48.0 38.2 32.0 27.6 24.4 21.9 19.9 18.2
900 128.9 74.4 54.0 43.0 35.9 31.1 27.4 24.6 22.4 20.5
1000 143.2 82.7 60.0 47.8 39.9 34.5 30.5 27.3 24.8 22.8

38
การคานวณค่า Ground Resistance
3. สูตรการคานวณค่าความต้านทานดิน (อย่างง่าย) สาหรับ Ground Loop รอบอาคาร

𝝆 𝟐𝝅𝑫
𝑹= 𝒍𝒏
𝝅𝟐 𝑫 𝒅

R = ค่าความต้านทานดิน (โอห์ม)
ρ = ค่าความต้านทานจาเพาะของดิน (โอห์ม-เมตร)
D = เส้นผ่านศูนย์กลางของ Ground Loop (เมตร)
d = ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของสายกราวด์ (เมตร)

X
𝟒𝑿𝒀
Y D สามารถหาค่า D ได้จากสมการนี้ D = 𝝅

39
การคานวณค่า Ground Resistance
ตัวอย่างการคานวณค่าความต้านทานดิน (อย่างง่าย) สาหรับ Ground Loop รอบอาคาร
Ground Loop รอบอาคารขนาด 30x25 m ติดตัง้ โดยใช้สายทองแดงเปลือยขนาด 70mm2
ในพืน้ ทีท่ ม่ี คี ่าความต้านทานจาเพาะของดิน 100 โอห์มเมตร จะได้ค่าความต้านทานดินเท่าไร?
30 m
𝝆 𝟐𝝅𝑫
𝑹= 𝒍𝒏
𝝅𝟐 𝑫 𝒅
25 m D
100 2𝜋(30.9)
𝑅= 𝑙𝑛
𝜋 2 (30.9) 0.01
𝟒𝑿𝒀 𝟒(𝟐𝟓)(𝟑𝟎)
D= = = 𝟑𝟎. 𝟗𝒎
𝝅 𝝅

ρ = 100 โอห์มเมตร RGround Loop = 3.2 โอห์ม


d = 0.01 m (dia. สาย 70 mm2)

40
การคานวณค่า Ground Resistance
4. สูตรการคานวณค่าความต้านทานดิน (แบบละเอียด) สาหรับ Ground Loop รอบอาคาร

RTotal = ความต้านทานดิ นรวมทัง้ สาย Loop 𝐑𝐋𝐨𝐨𝐩𝐑𝐑𝐨𝐝 − 𝐑𝟐𝐦


𝐑 𝑻𝒐𝒕𝒂𝒍 =
รอบอาคารและ Ground Rod 𝐑𝐋𝐨𝐨𝐩 + 𝐑 𝐑𝐨𝐝 − 𝟐𝐑 𝐦

𝛒 𝟐𝐋𝐜 𝐤𝟏 × 𝐋𝐜
𝐑𝐋𝐨𝐨𝐩 = 𝐥𝐧( ) + − 𝐤𝟐
𝛑𝐋𝐜 𝐚 𝐀
ρ= ค่าความต้านทานจาเพาะของดิน (Ω·m)
Lc = ความยาวรวมของสาย Loop รอบอาคาร (m)
a’ = d1 h โดย d1 = ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของสาย Loop (m) และ
h = ความลึกทีฝ
่ ั ง (m)
A = พืน
้ ที่ Loop รอบอาคาร (m2)
k1, k2 = Coefficients (จากกราฟ IEEE 80-2013, Page 69, Figure 24)

𝛒 𝟖𝐋𝐫 𝟐𝐤𝟏 × 𝐋𝐫 𝛒 𝟐𝐋𝐜 𝐤𝟏 × 𝐋𝐜


𝐑𝐑𝐨𝐝 = 𝐥𝐧( ) − 𝟏 + ( 𝐧𝐑 − 𝟏)𝟐 𝐑𝐦 = 𝐥𝐧( )+ − 𝐤𝟐 + 𝟏
𝟐𝛑𝐧𝐑𝐋𝐫 𝐝𝟐 𝐀 𝛑𝐋𝐜 𝐋𝐫 𝐀
nR = จานวน Ground Rod Rm = Mutual Resistance ระหว่าง Loop
Lr = ความยาว Ground Rod (m) และ Ground Rod (Ω)
d2 = ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง Ground Rod (m)
ทีม่ า: Schwarz’s Equations ตามมาตรฐาน IEEE 80
41
การคานวณค่า Ground Resistance
4. (ต่อ) สูตรการคานวณค่าความต้านทานดิน (แบบละเอียด) สาหรับ Ground Loop รอบอาคาร

Coefficient k1 Coefficient k2

𝐗 𝐗
𝐤𝟏 = −𝟎. 𝟎𝟒 + 𝟏. 𝟒𝟏 𝐤𝟐 = 𝟎. 𝟏𝟓 + 𝟓. 𝟓𝟎
𝐘 𝐘

X = ความยาวของ Loop (m) (ด้านทีม่ คี วามยาว X = ความยาวของ Loop (m) (ด้านทีม่ คี วามยาว
มากกว่า) มากกว่า)
Y = ความกว้างของ Loop (m) (ด้านทีม่ คี วามยาว Y = ความกว้างของ Loop (m) (ด้านทีม่ คี วามยาว
น้อยกว่า) น้อยกว่า)

ทีม่ า: Schwarz’s Equations ตามมาตรฐาน IEEE 80


42
การคานวณค่า Ground Resistance
ตัวอย่างการคานวณค่าความต้านทานดิน (แบบละเอียด) สาหรับ Ground Loop รอบอาคาร
Ground Loop รอบอาคารขนาด 30x25 m ติดตัง้ โดยใช้สายทองแดงเปลือยขนาด 70mm2 และ Ground Rod
ขนาด 14.2mm (5/8”) ยาว 3m จานวน 7 แท่ง ในพืน้ ทีท่ ม่ี คี ่าความต้านทานจาเพาะของดิน 100 โอห์มเมตร
จะได้ค่าความต้านทานดินเท่าไร?
𝐑𝐋𝐨𝐨𝐩𝐑𝐑𝐨𝐝 − 𝐑𝟐𝐦
𝐑 𝑻𝒐𝒕𝒂𝒍 =
𝐑𝐋𝐨𝐨𝐩 + 𝐑 𝐑𝐨𝐝 − 𝟐𝐑 𝐦

ρ = 100 (Ω·m)
Lc = 110 (m) ความยาวรวมของสาย
a’ = 0.071
d1 = 0.01 (m) ขนาด Dia. ของสาย
h = 0.5 (m) ความลึกของสายทีฝ่ ั ง
A = 750 (m2)
k1 = 1.362
𝛒 𝟐𝐋𝐜 𝐤𝟏 × 𝐋𝐜 k2 = 5.68
𝐑𝐋𝐨𝐨𝐩 = 𝐥𝐧( ) + − 𝐤𝟐
𝛑𝐋𝐜 𝐚 𝐀 nR = 7 จานวนของ Ground Rod
Lr = 3 (m) ความยาวของ Ground Rod
𝛒 𝟖𝐋𝐫 𝟐𝐤𝟏 × 𝐋𝐫
𝐑𝐑𝐨𝐝 = 𝐥𝐧( ) − 𝟏 + ( 𝐧𝐑 − 𝟏)𝟐 d2 = 0.0142 (m) ขนาด Dia. ของ Ground Rod
𝟐𝛑𝐧𝐑𝐋𝐫 𝐝𝟐 𝐀

𝛒 𝟐𝐋𝐜 𝐤𝟏 × 𝐋𝐜
𝐑𝐦 = 𝐥𝐧( )+ − 𝐤𝟐 + 𝟏
𝛑𝐋𝐜 𝐋𝐫 𝐀
43
การคานวณค่า Ground Resistance
ตัวอย่างการคานวณค่าความต้านทานดิน (แบบละเอียด) สาหรับ Ground Loop รอบอาคาร

𝛒 𝟐𝐋𝐜 𝐤𝟏 × 𝐋𝐜
𝐑𝐋𝐨𝐨𝐩 = 𝐥𝐧( ) + − 𝐤𝟐
𝛑𝐋𝐜 𝐚 𝐀
100 (2)(110) 1.362 × 110
R Grid = ln( )+ − 5.68
𝜋(110) (0.071) 750

R Grid = 2.27 Ω

𝛒 𝟐𝐋𝐜 𝐤𝟏 × 𝐋𝐜
𝐑𝐦 = 𝐥𝐧( )+ − 𝐤𝟐 + 𝟏
𝛑𝐋𝐜 𝐋𝐫 𝐀
𝛒 𝟖𝐋𝐫 𝟐𝐤𝟏 × 𝐋𝐫
𝐑𝐑𝐨𝐝 = 𝐥𝐧( ) − 𝟏 + ( 𝐧𝐑 − 𝟏)𝟐
𝟐𝛑𝐧𝐑𝐋𝐫 𝐝𝟐 𝐀 100 (2)(110) (1.362) × (110)
= ln( )+ − 5.68 + 1
𝜋(110) (3) ( 750)
100 (8)(3) (2)(1.362) × 3
= ln( )−1+ ( 7 − 1)2
2𝜋 7 (3) (0.0142) 750 R m = 1.47 Ω
R Rod = 5.49 Ω

𝐑𝐋𝐨𝐨𝐩𝐑𝐑𝐨𝐝 − 𝐑𝟐𝐦 2.27 (5.49) − (1.47)2


𝐑 𝑻𝒐𝒕𝒂𝒍 = = ∴ R g = 2.14 Ω
𝐑𝐋𝐨𝐨𝐩 + 𝐑 𝐑𝐨𝐝 − 𝟐𝐑 𝐦 2.27 + 5.49 − 2(1.47)

44
การลดค่าความต้านทานดินด้วย MEG
1. Ground Resistance และ Soil Resistivity คืออะไร? ต่างกันอย่างไร?
2. การวัดค่า Soil Resistivity เพื่อการออกแบบระบบรากสายดิน
3. การออกแบบระบบรากสายดินและการคานวณค่า Ground Resistance
4. การปรับปรุงค่าความต้านทานดินด้วย MEG

45
Kumwell
สารปรับปรุงค่าความต้านทานดินคืออะไร ?
สารปรับปรุงค่าความต้านทานดิน
Earthing Enhancing Compound: เรียกตามมาตรฐาน IEC
Ground Enhancement Material: เรียกตามมาตรฐาน IEEE
เป็ นวัสดุทม่ี คี ่าความต้านทานจาเพาะต่ า ใช้เพื่อนามาหุม้ รอบๆแท่งหลักดินหรือสาย
กราวด์เพื่อเพิม่ การกระจายกระแสลงสูด่ นิ ทาให้มคี ่าความต้านทานดิน ทีล่ ดลงกว่า
การใช้แท่งหลักดินหรือรากสายดินเพียงอย่างเดียว

โดยสารเหล่านี้จะต้องมีคา่ ความต้านทานจาเพาะทีต่ ่ า
มากๆ เมื่อใช้แล้วจะต้องมีความคงทนถาวร ไม่มกี าร
ละลายหรือถูกชะล้างสารต่างๆลงสูด่ นิ
***ดังนัน้ การใช้เกลือเคมี การราดน้ าเกลือ หรือการใช้เบน
โทไนต์ ไม่ใช่การปรับปรุงค่าความต้านทานดินตาม
มาตรฐาน
Kumwell
สารปรับปรุงที่ไม่ได้มาตรฐาน
การใช้เกลือเคมี การราดน้าเกลือ หรือการใช้เบนโทไนต์ ไม่ใช่การปรับปรุงค่าความต้านทานดิ นตามมาตรฐาน
• มาตรฐาน IEEE 80 ระบุวา่ ถึงแม้วธิ เี หล่านี้จะลดค่ากราวด์ได้แต่ไม่ใช่วธิ ปี ฏิบตั ทิ ด่ี ี เพราะไม่มคี วามคงทนถาวร และ
ไม่สามารถคานวณปริมาณการใช้งานเพื่อให้บรรลุผลได้
• มาตรฐาน IEEE 80 แนะนาให้ใช้สารปรับปรุงประเภท Ground Enhancement Material
• สารปรับปรุงประเภทนี้จะต้องผ่านการทดสอบตามมาตรฐาน IEC 62561-7

กราวด์เคมีทใี่ ช้ทอ่ ทองแดงโดยข้างในท่อจะใส่ผงเกลือเคมีไว้ เบนโทไนต์ถงึ แม้วา่ หาง่ายและราคาถูก แต่เมือ่ ใช้ไปจะเกิดการหดตัว


ทาให้เกลือละลายสูด่ นิ โดยรอบ และเมือ่ เกลือหมด จะสูญเสีย ทาให้สญ
ู เสียความนาไฟฟ้ ารอบๆหลักดิน
ความนาไฟฟ้ าของดิน
Kumwell
Ground Enhancement Material (Background)
Ufer Ground เป็ นอีกชื่อเรียกหนึ่งสาหรับรากสายดินชนิดทีถ่ ูก
ห่อหุม้ ด้วยวัสดุทม่ี คี วามต้านทานต่ าเพื่อช่วยในการกระจาย
กระแส เช่น รากสายดินทีถ่ ูกห่อหุม้ ด้วยคอนกรีต (Concrete
Encased Electrode) และรากสายดินทีถ่ ูกห่อหุม้ ด้วยสารปรับปรุง
(Ground Enhancement Material) โดยมีทม่ี าพอสังเขป ดังนี้
• ปี ค.ศ. 1942 ในช่วงระหว่างสงครามโลกครัง้ ทีส่ อง Herbert G. Ufer ซึง่ ขณะนัน้ ดารงตาแหน่งทีป่ รึกษาด้าน
วิศวกรรมไฟฟ้ าของกองทัพสหรัฐอเมริกา (ภายหลัง Ufer ดารงตาแหน่ง UL Vice President) ได้รบั มอบหมายให้
รับผิดชอบการติดตัง้ ระบบต่อลงดินของคลังเก็บวัตถุระเบิด ทีต่ งั ้ อยู่ทเ่ี มือง Tucson และ Flagstaff รัฐแอริโซนา
จานวนทัง้ สิน้ 806 คลัง ซึง่ จะต้องสร้างให้เสร็จภายในระยะเวลาอันสัน้ ต่อภาวะสงครามขณะนัน้ จึงทาให้ Ufer ต้อง
เผชิญกับความท้าทายจากข้อจากัดหลายประการ เช่น
• ระบบรากสายดินจะต้องมีค่าความต้านทานดินทีต่ ่าตามข้อกาหนดของมาตรฐาน NEC เพื่อป้ องกันอันตรายจาก
Static Discharge และการป้ องกันฟ้ าผ่า ซึง่ จะต้องใช้แท่งหลักดินและตัวนาต่างๆ เป็ นปริมาณมหาศาลเพื่อให้ได้ค่า
ความต้านทานดินทีต่ ่า เนื่องจากพืน้ ทีบ่ ริเวณนัน้ เป็ นทะเลทรายทัง้ หมด
• การติดตัง้ ต้องมีความประหยัดเนื่องจากเป็ นช่วงภาวะสงคราม รวมถึงวัสดุทองแดงเกิด Short Supply เพราะถูก
นาไปใช้ในทางการทหารทัง้ หมด
Kumwell
Ground Enhancement Material (Background)

• Ufer ได้ทาการศึกษาและค้นพบว่าคอนกรีตมีสภาพนาไฟฟ้ าได้ดกี ว่าดินหลายๆประเภท จากคุณสมบัติทด่ี ดู ความชืน้


ได้รวดเร็วและสูญเสียความชืน้ ได้ชา้ รวมถึงสภาพความเป็ นกรดด่าง (pH) ของคอนกรีตทีม่ เี หล็กเสริมอยู่จะสามารถ
นากระแสไฟฟ้ าได้ดี จากนัน้ Ufer ได้เสนอแนวคิดรูปแบบการติดตัง้ รากสายดินโดยใช้แท่งเหล็กขนาดครึง่ นิ้วเชือ่ ม
เข้ากับเหล็กเสริมแรง (Rebar) ของฐานรากทัง้ หมดก่อนเทคอนกรีต ซึง่ วิธนี ้ี Ufer ได้พสิ จู น์แล้วว่ามีประสิทธิภาพมาก
มีค่าความต้านทานดินเฉลีย่ 2-5 โอห์ม ทางกองทัพสหรัฐจึงได้อนุมตั ใิ ห้ตดิ ตัง้ รากสายดินรูปแบบนี้ทุกคลังทีแ่ อริโซนา
ทาให้เทคนิคการติดตัง้ รากสายดินฐานรากดังกล่าว กลายเป็ นทีน่ ิยมเรียกกันอีกชือ่ หนึ่งว่า “Ufer Ground”
• 18 ปี ต่อมา หลังจากสงครามโลกสิน้ สุดลง Ufer ได้กลับไปทาการทดสอบระบบต่อลงดินของคลังต่างๆเหล่านัน้ อีกครัง้
พบว่าค่าความต้านทานดินเฉลีย่ ยังอยู่ท่ี 2-5 โอห์มเหมือนเดิม และได้ทาการศึกษาเพิม่ เติมจนสามารถตีพมิ พ์
ผลงานวิจยั ฉบับแรก ทีเ่ กีย่ วข้องกับรากสายดินฐานราก ในปี ค.ศ. 1963 ทีง่ าน IEEE Western Appliance
Technical Conference
• ต่อมาในปี ค.ศ. 1968 มาตรฐานไฟฟ้ าแห่งชาติของสหรัฐ National Electrical Code (NEC) ได้รบั รองให้การใช้ราก
สายดินฐานราก (Ufer Ground) เป็ นวิธตี ่อลงดินทีไ่ ด้การรับรองตามมาตรฐาน และได้ถกู เปลีย่ นชือ่ เป็ น Concrete
Encased Electrode (CEE) ในปี ค.ศ. 1978
Kumwell
Ground Enhancement Material (Background)
การศึกษาต่อยอดจากงานวิจยั ของ Ufer ทาให้ได้รปู แบบรากสายดินที่ สาคัญ 2 รูปแบบ
• รากสายดินฐานรากคอนกรีต (Concrete Foundation Grounding)
• รากสายดินทีห่ ุม้ ด้วยสารปรับปรุงค่าความต้านทานดิน (Ground Enhancement Material)

Concrete Encased Electrode Grid with Encased Vertical Electrode


(NEC 250) (IEEE Std 80-2013, Figure 26)
Kumwell
MEG สารปรับปรุงค่าความต้านทานดิน (Ground Enhancement Material)

MEG เป็ น Solution การทากราวด์สาหรับพืน้ ทีท่ ม่ี ขี อ้ จากัดทีไ่ ม่สามารถติดตัง้ กราวด์ทเ่ี พียงพอโดยวิธที วไป
ั่
หรือไม่สามารถตอก Ground Rod ลงไปได้
MEG สามารถปรับปรุงค่าความต้านทานดินได้โดยไม่ตอ้ งคานึงถึงสภาพของดิน เหมาะสาหรับการใช้งานใน
พืน้ ทีท่ ม่ี คี ่าการนาไฟฟ้ าต่ า เช่น พืน้ หิน ภูเขา และดินทราย

Permanent & Long Life – คงทนถาวร


MEG เป็ นสารปรับปรุงประเภท Conductive Concrete เมื่อเซ็ตตัวแล้วคงทน
ถาวรทนทานต่อทุกสภาพแวดล้อม สามารถติดตัง้ บริเวณทีม่ นี ้ าทะเลได้
Low Resistance – ความต้านทานตา่
MEG ประกอบด้วยผงกราไฟต์ความนาสูง หลังจากเซ็ตตัวจะมีค่าความ
ต้านทานจาเพาะ 0.03 Ohm-m
Environment Friendly – เป็ นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
ไม่มสี ารพิษเจือปนเป็ นมิตรกับสิง่ แวดล้อม
ผ่านการทดสอบตามมาตรฐาน IEC 62561-7 รับรองโดย DEKRA
Kumwell
MEG Application

Encased Ground Rod Trench Prefabricated


Kumwell
การติดตัง้ MEG

การออกแบบโดยใช้ MEG Deep Ground Well


การติดตัง้ โดยขุดหลุมลึกและฝั งแท่ง Ground Rod ไว้ทต่ี รงกลางหลุม
จากนัน้ นา MEG ทีผ่ สมเสร็จแล้วเทลงไปในหลุมเพือ่ หุม้ Ground Rod
• ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของหลุม 20 – 30 cm
• ความลึกของหลุม 6 – 12 m (ขึน้ อยู่กบั การออกแบบ)

Note: การทากราวด์ลึกเพียงจุดเดียวไม่เหมาะกับระบบป้ องกันฟ้ าผ่าอย่างยิ่ ง


จะต้องมีการออกแบบรากสายดิ นวงแหวนหรือกราวด์กริ ดร่วมด้วย
Kumwell
การติดตัง้ MEG
Example: Ground Rod ขนาด Dia. 14.2mm, ขนาด Dia. หลุม 20cm ความลึก 6m
Kumwell
การติดตัง้ MEG
MEG Deep Ground Well
Kumwell
ตัวอย่างเครื่องเจาะหลุม
Kumwell
การติดตัง้ MEG
การออกแบบโดยใช้ MEG Trench
เหมาะสาหรับพื้นที่ที่เป็ นหิ นภูเขาหรือดิ นแข็งที่ไม่สามารถตอก Ground Rod หรือเจาะหลุมลงไปได้
การติดตัง้ โดยทาร่องและวางไม้แบบให้มขี นาดตามทีต่ อ้ งการ เดินสายกราวด์ให้อยู่ตรงกลางร่อง จากนัน้ เท MEG ที่
ผสมเสร็จแล้วลงไปในไม้แบบเพื่อหุม้ สายกราวด์ทไ่ี ด้ตดิ ตัง้ ไว้
• ทาร่องกว้าง 20 – 30 cm ความยาวขึน้ อยู่กบั การคานวณ
• ฝั งลึกจากผิวดิน 30 – 50 cm
• ความหนาของ MEG ไม่น้อยกว่า 5 cm (ความหนาไม่ได้มผี ลกับค่าความต้านทาน แต่มผี ลต่อความแข็งแรงใน
การติดตัง้ )

5 cm
w
Kumwell
การติดตัง้ MEG
Example: ρ = 200 Ω·m
ทาร่องกว้าง 30cm ความยาว 10m ฝังลึกจากผิวดิน 0.5m ความหนา 5mm

𝛒 𝟐𝐥𝟐
𝐑 = 𝐥𝐧 −𝟏
𝟐𝛑𝐥 𝐖𝐃

𝟐𝟎𝟎 𝟐(𝟏𝟎)𝟐
𝐑 = 𝐥𝐧 −𝟏 = 𝟏𝟗. 𝟕 𝛀
𝟐𝛑(𝟏𝟎) (𝟎. 𝟑)(𝟎. 𝟓)
Kumwell
การติดตัง้ MEG
MEG Trench
Kumwell
ตัวอย่างไม้แบบเพื่อใช้เท MEG Trench

Fixed Pattern Movable Pattern


Kumwell
การคานวณปริมาณการใช้งาน MEG
MEG 1 ถุง ขนาด 25 kg
เมื่อผสมน้า 10-15 ลิตร
จะมีปริมาตรตอนเซ็ตตัวเท่ากับ 0.02 m3

ตัวอย่าง: MEG Well ขนาดหลุม(D) 20cm ลึก(L) 3m


πD2
หลุมมีปริมาตร = × L = 0.094 m3
4
จะใช้ MEG = 0.094/0.02 = 4.7 ถุง

∴ จะใช้ MEG ประมาณ 5 ถุง


Kumwell
Ground Grid Design in Difficult Conditions
Example: Area = 27x18 m , 𝜌 = 200 Ω·m …… < 2 Ω Required

27 m

Grid 3x3 m
18 m

Ground Rod
5/8”x10’
70 Rods
Kumwell
Ground Grid Design in Difficult Conditions
Schwarz’s Equation: IEEE Std 80-2013, Page 67
For Area 27x18m, Grid 3x3m and 70 ground rods

ρ 2Lc k1 × Lc ρ 2Lc k1 × Lc
R Grid = ln( ) + − k2 Rm = ln( )+ − k2 + 1
πLc a A πLc Lr A
ρ = Soil Resistivity (Ω·m)
Lc = Total Length of All Connected Grid Conductors (m) Rm = Mutual Ground Resistance between
a’ = d1 x h (d1 = Diameter of Conductor, h = Buried Depth) Grid and Rod Bed (Ω)
A = Area Covered by Conductors (m2)
k1, k2 = Coefficients (IEEE 80-2013, Page 69, Figure 24)

ρ 8Lr 2k1 × Lr RGridRRod − R2m


R Rod = ln( ) − 1 + ( nR − 1)2 Rg =
2πnRLr d2 A RGrid + R Rod − 2R m
nR = Total Number of Ground
Lr = Length of each Ground Rod (m)
d2 = Diameter of Ground Rod (m)
Kumwell
Ground Grid Design in Difficult Conditions
Schwarz’s Equation: IEEE Std 80-2013, Page 67
For Area 27x18m, Grid 3x3m and 70 ground rods

ρ 2Lc k1 × Lc ρ 2Lc k1 × Lc
R Grid = ln( ) + − k2 Rm = ln( )+ − k2 + 1
πLc a A πLc Lr A
200 (2)(369) 1.35 × 369 200 (2)(369) (1.35) × (369)
R Grid = ln( )+ − 5.725 = ln( )+ − 5.725 + 1
𝜋(369) (0.087) 486 𝜋(369) (3) ( 486)

R Grid = 4.48 Ω R m = 4.03 Ω

ρ 8Lr 2k1 × Lr RGridRRod − R2m


R Rod = ln( ) − 1 + ( nR − 1)2 Rg =
2πnRLr d2 A RGrid + R Rod − 2R m
200 (8)(3) (2)(1.35) × 3
= ln( )−1+ ( 70 − 1)2 4.48 (4.00) − (4.03)2
2𝜋 70 (3) (0.0142) 486 =
4.48 + 4.00 − 2(4.03)
R Rod = 4.00 Ω
∴ R g = 4.00 Ω
Kumwell
Ground Grid with MEG Calculation
MEG Encased Ground Rod
Example: Area = 27x18 m , 𝜌 = 200 Ω·m Hole Ø 15 cm, Length 10 m

MEG Encased Ground Rod


27 m 13 Rods
18 m

Grid Size 3x3m


Kumwell
Ground Grid with MEG Calculation
Schwarz’s Equation: IEEE Std 80-2013, Page 67
For Area 27x18m, Grid 3x3m and 13 MEG encased ground rods Ø 15 cm, Length 10 m

ρ 2Lc k1 × Lc ρ 2Lc k1 × Lc
R Grid = ln( ) + − k2 Rm = ln( )+ − k2 + 1
πLc a A πLc Lr A

ρ 8Lr 2k1 × Lr RGridRRod − R2m


R Rod = ln( ) − 1 + ( nR − 1)2 Rg =
2πnRLr d2 A RGrid + R Rod − 2R m
MEG Well Depth = 10 m
Diameter of MEG = 0.15 m
Kumwell
Ground Grid with MEG Calculation
Schwarz’s Equation: IEEE Std 80-2013, Page 67
For Area 27x18m, Grid 3x3m and 13 MEG encased ground rods Ø 15 cm, Length 10 m

ρ 2Lc k1 × Lc ρ 2Lc k1 × Lc
R Grid = ln( ) + − k2 Rm = ln( )+ − k2 + 1
πLc a A πLc Lr A
200 (2)(369) 1.35 × 369 200 (2)(369) (1.35) × (369)
R Grid = ln( )+ − 5.725 = ln( )+ − 5.725 + 1
𝜋(369) (0.087) 486 𝜋(369) (10) ( 486)

R Grid = 4.48 Ω R m = 3.82 Ω

ρ 8Lr 2k1 × Lr RGridRRod − R2m


R Rod = ln( ) − 1 + ( nR − 1)2 Rg =
2πnRLr d2 A RGrid + R Rod − 2R m
200 (8)(10) (2)(1.35) × 10
= ln( )−1+ ( 13 − 1)2 4.48 (3.33) − (3.82)2
2𝜋 13 (10) (0.15) 486 =
4.48 + 3.33 − 2(3.82)
R Rod = 3.33 Ω
∴ R g = 1.92 Ω
Kumwell
Ground Grid with MEG Calculation

Study Summarize:
For Area 27x18m, 𝝆 = 200 Ω·m, Grid 3x3m
Kumwell
เกณฑ์มาตรฐานการทดสอบ MEG

IEC 62561-7: Requirements for Earthing Enhancing Compound

• Leaching Test: ทดสอบการชะล้างหรือการละลายของสาร


ปรับปรุง เพื่อพิสูจน์ความคงทนถาวรและความเป็ นมิตรต่อ
สิง่ แวดล้อม
• Sulfur Determination: ต้องมีซลั เฟอร์น้อยกว่า 2%.
• Determination of Resistivity: ทดสอบค่าความนาไฟฟ้ า
• Corrosion Tests: ทดสอบ Polarization Resistant เพื่อพิสูจน์
ว่าสารปรับปรุงจะต้องไม่เกิดการกัดกร่อนกับวัสดุตวั นาที่
นาไปใช้หมุ้ เช่น ทองแดง เหล็กชุบทองแดง
Kumwell
MEG Quality

Test Report & Certificate

DEKRA Test Report DEKRA Certificate Non-Contamination


IEC 62561-7 IEC 62561-7 Report
Kumwell
MEG Quality
Certificate of Acceptance

EVN Substation EDL Transmission Line Tower


Kumwell
MEG Application for Substation

SIEMENS – Substation 115kV


Kumwell
MEG Application for Substation

Vietnam – An Don 110kV Substation

Date 10/9/2009 Date 8/5/2015


R = 0.3 Ohm R = 0.5 Ohm
Kumwell
MEG Reference

EGAT – Rayong 230kV Transmission Line Tower


Kumwell
MEG Reference

EDL – Nam Ngum 2 230kV Transmission Line Tower


Kumwell
MEG Reference

Malaysia – KVMRT North Portal Station


Project Reference Kumwell
Grounding & Lightning Protection System

GIS Substation 115/22 kV

• Location: Amata City Industrial Estate, Rayong Province

• Substation Area: 28 x 20 m
Project Requirement Kumwell
Grounding & Lightning Protection System

• The electricity authority require ground grid resistance less than 2 Ω

• The soil resistivity rather high than usual (300 Ω·m) and small area for
install ground grid.

• Utilizing the ground enhancement material (MEG)


to decrease the ground grid resistance.
Grounding Layout Kumwell
Grounding & Lightning Protection System
MEG Installation Kumwell
Grounding & Lightning Protection System

Install MEG trench size 20x20 cm


Install MEG well diameter 20 cm, depth 6 m
MEG Well Installation Kumwell
Grounding & Lightning Protection System

Step 1:
Boring the hole dia. 20 cm and 6 m deep
MEG Well Installation Kumwell
Grounding & Lightning Protection System

Step 2:
Install the ground rod at the center of
the hole then connect the grounding
cable by exothermic welding.
MEG Well Installation Kumwell
Grounding & Lightning Protection System

Step 3:
Pre-mixing the MEG then
pouring into the hole until finish
MEG Trench Installation Kumwell
Grounding & Lightning Protection System

Step 1:
Prepare the pattern then connect the
grounding cable by exothermic welding
MEG Trench Installation Kumwell
Grounding & Lightning Protection System

Step 2:
Install the steel pattern
size 20x20 cm
MEG Trench Installation Kumwell
Grounding & Lightning Protection System

Step 3:
Pre-mixing MEG then pouring into
steel pattern until finish
Ground Resistance Measurement Kumwell
Grounding & Lightning Protection System

Measurement Layout

C 172 m

P 106 m

Substation
Ground Resistance Measurement Kumwell
Grounding & Lightning Protection System

Wiring the measurement


cable from substation

Install “P” Probe at


the distance 106 m
from substation
Ground Resistance Measurement Kumwell
Grounding & Lightning Protection System

Install “C” Probe at


the distance 172 m
from substation

Clamping the cable to


grounding point at
substation
Ground Resistance Measurement Kumwell
Grounding & Lightning Protection System

Point / Time CE (m) PE (m) Resistance (Ω) Result

1st (PE 52%) 172 89 0.93 Pass

2nd (PE 62%) 172 106 0.96 Pass

3rd (PE 72%) 172 123 0.99 Pass


่ มอบความปลอดภ ัยสูส
“ส ง ั
่ งคม ”
“SAFETY TO SOCIETY”

You might also like