You are on page 1of 66

INTERNATIONAL RELATION

AND NABOUR COUNTRUES


International relation: ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ หมายถึงหลักปฏิบตั ิและการศึกษา
ปฏิบตั ิระหว่างประเทศ ที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการวางนโยบายระหว่างประเทศ ครอบคลุมด้านต่างๆ เช่น
การเมือง เศรษฐกิจ กฎหมาย ประวัติศาสตร์ สังคมวิทยาและศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง

Constructivism in international relation: แนวคิดเค้าโครงความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ เกิด


จากแนวคิดที่วา่ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศนั้นจะเกิดขึ้นได้จากการที่ แต่ระ รัฐ/ประเทศ มุ่งทำประโยชน์
ให้กบั ประชาชนในประเทศ โดยอาศัยความร่ วมมือระหว่างประเทศ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศนั้นไม่ได้รับอิทธิ พลแต่เฉพาะจากอำนาจและความมัน่ คงและมัง่ คัง่
แต่ยงั ได้รับอิทธิพลจากความคิดที่แตกต่างกันของแต่ละชาติ และรัฐหรื อประเทศยังเป็ นผูก้ ำหนดความ
สัมพันธ์ระหว่างประเทศเชิงสังคมมากกว่าเชิงตอบโต้กนั ลักษณะเด่นของสังคมระหว่างประเทศแต่ละ
ประเทศมักมีการแสดงออกซึ่ งวัฒนธรรมและเอกลักษณ์ เช่น การแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์ โลก แต่ละ
ประเทศจะแสดงวัฒนธรรมและเอกลักษณ์ของตนเอง เช่น ประเทศ อาฟิ ริ กา มีวดู โวซูลาไปเป่ าในสนามกีฬา
ฯลฯ

Rapprochement: การทอดไมตรี ต่อกัน มีรากศัพท์จากภาษาฝรั่งเศส คือ rapprocher หมายถึง


การนำพามารวมกันเป็ นพื้นฐานทางความสัมพันธ์ไมตรี ระหว่างกัน ในทางการเมืองแล้ว การทอดไมตรี
เป็ นการผสมร่ วมกันของความแตกต่างในทางปั จจัยทางการเมือง เช่น ประเทศจีน เปิ ดโอกาสหรื อทอด
สัมพันธ์ไมตรี ให้ประเทศได้เข้าไปติดต่อทางการเมืองด้วยเมื่อยีส่ ิ บปี ก่อน เป็ นต้น
ASEAN: Association of South East Asia Zation
อาเซียน เป็ นองค์การทางภูมิศาสตร์การเมืองและองค์การความร่ วมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเซี ย
ตะวันออกเฉี ยงใต้
ประเทศสมาชิก ประกอบด้วย 10 ประเทศ ดังนี้ ประเทศไทย มาเลเซี ย ฟิ ลิปปิ นส์ อินโดนีเซี ย
สิ งคโปร์ บรู ไน ลาว กัมพูชา และพม่า
วัตถุประสงค์อาเซียน เพื่อความร่ วมมือในการเพิ่มอัตราการเจริ ญเติบโตทางเศรษฐกิจ การพัฒนา
สังคม การพัฒนาวัฒนธรรมในกลุ่มประเทศสมาชิก และการธำรงรักษาสันติภาพและความมัน่ คงในพื้นที่
และเป็ นการเปิ ดโอกาสให้คลายข้อพิพาทระหว่างประเทศสมาชิกอย่างสันติอีกด้วย
จุดเริ่ มต้นของสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้มีจุดเริ่ มต้น เมื่อ กรกฎาคม พ.ศ. 2504
โดยประเทศไทย มาเลเซียและฟิ ลิปปิ นส์ ได้ร่วมกันจัดตั้ง Association of South East Asia

ด้ านภูมิศาสตร์
ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีสภาพภูมิอากาศแบบร้อนชื้ น อุณหภูมิอยูร่ ะหว่าง 27-36 oc มีพืช
พรรณธรรมชาติเป็ นป่ าฝนเขตร้อน ซึ่ งมีขนาดใหญ่เป็ นอันดับสองของโลก ป่ าดงดิบ ป่ าเบจญจพรรณ ป่ าสน
ป่ าหาดทรายชายทะเล ป่ าไม้ปลูก
- พืชเศรษฐกิจ ได้แก่ ข้าว ข้าวโพด มันสำปะหลัง ยางพารา ปาล์มน้ำมัน พริ กไทและอ้อย
- มีสมาชิกในกลุ่มอาเซียน 10 ประเทศ คิดเป็ นพื้นที่ประมาณ 4.5 ล้าน ตารางกิโลเมตร
- มีประชากรร่ วมกันประมาณ 560 ล้านคน ถือได้วา่ เป็ นตลาดขนาดใหญ่แห่งหนึ่งของโลก
- ประเทศในกลุ่มอาเซียนที่มีชายแดนติดกับประเทศไทยและถือว่าเป็ นเพื่อนบ้านใกล้ชิด ได้แก่
ลาว พม่า กัมพูชา และมาเลเซีย
สนธิสัญญา
ั ญาความสามัคคีและความร่ วมมือในกลุ่มอาเซี ยตะวันออกเฉี ยงใต้ได้มีการสรุ ป
จากสนธิสญ
แนวทางของสมาคมประชาชาติแห่งเอเซียตะวันออกเฉี ยวใต้ จำนวน 6 ข้อ ดังต่อไปนี้
1. ให้ความเคารพแก่เอกราช อำนาจอธิ ปไตย ความเท่าเทียม บูรณภาพแห่งดินแดนและเอกลักษณ์ของ
ชาติสมาชิกทั้งหมด
2. รัฐประเทศสมาชิก แต่ละประเทศมีสิทธิ ที่จะปลอดจากการแทรกแซงจากภายนอก การรุ กรานดิน
แดนและบังคับขู่เข็ญ
3. จะไม่เข้าไปยุง่ เกี่ยวกับกิจการภายในของประเทศสมาชิกอื่น
4. ยอมรับความแตกต่างระหว่างกัน หรื อแก้ปัญหาระหว่างกันอย่างสันติ
5. ประณามหรื อไม่ยอมรับการคุกคามหรื อการใช้ก ำลัง
6. ให้ความร่ วมมือระหว่างกันอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
ความสั มพันธ์ ไทยกับเพือ่ นบ้ าน ลาว กัมพูชา พม่ า มาเลเซีย
อาณาบริ เวณของประเทศไทยที่ติดกับเพื่อนบ้านรอบด้าน คือ พม่า ลาว กัมพูชา และมาเลเซี ย มี
ระยะทางยาวประมาณ 5,656 กิโลเมตร
ไทยได้ใช้นโยบายต่างประเทศ “นโยบายสร้างความสัมพันธ์ทุกทิศทาง” ทั้งมีความร่ วมมือทาง
เศรษฐกิจ และในเวลาเดียวกันก็แข่งขันทางการค้าด้วย
ตั้งแต่สมัย พล.อ. ชาติชาย ชุณหะวัน เป็ นนายกรัฐมนตรี รัฐบาลไทย ใช้นโยบาย “เปลี่ยนสนามรบ
เป็ นสนามการค้า” และต่อมาก้อหันมาใช้เศรษฐกิจนำต่างประเทศ สร้างความสัมพันธ์กบั อินโดจีนและพม่า
- ความสัมพันธ์ ไทย-ลาว ไม่มีปัญหาเป็ นไปอย่างราบรื่ น
- ความสัมพันธ์ไทยกับมาเลเซียอยูใ่ นระดับน่าพอใจ ยกเว้นปั ญหาชายแดนใต้ที่เป็ นปั จจัยทำให้
เกิดความเย็นชาอยูร่ ะยะหนึ่งที่เกิดเหตุการณ์ไม่สงบในภาคใต้รุนแรงขึ้นทำให้ความสัมพันธ์ท้ งั
สองฝ่ ายเย็นชา เพราะรัฐบาลสมัยนั้นใช้ทหารนำการเมือง มาเลเซี ยเป็ นประธานองค์การการ
ประชุมอิสลามโลก (OIC) และนำประเด็นความไม่สงบในภาคใต้ของไทยเข้าที่ประชุมโอไอซี
จากนั้นก็เกิดเหตุการณ์คนไทยในชายแดนใต้อพยพข้ามไปอยูใ่ นมาเลเซี ยจำนวน 110 คน ส่ วน
ปัญหาใหญ่ๆ อยูท่ ี่ขาดความต่อเนื่องของนโยบาย ทำให้ปัญหาคัง่ ค้างและใช้เวลาแก้ปัญหานาน
กว่าที่ควรจะเป็ น
- ความสัมพันธ์กบั กัมพูชา หลังจากเหตุการณ์เผาสถานเอกอัครราชทูตไทยแล้ว ความสัมพันธ์อยู่
ในขั้นดี แต่มาสะดุดเมื่อกัมพูชาเสนอขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเป็ นมรดกโลกเมื่อปลายปี
52 ไทยไม่พอใจกัมพูชาส่ วนกัมพูชาก็ระแวงไทย ในเรื่ องนักการทูตแนะให้ปรับนโยบายระยะ
สั้นโดยใช้การพบปะอย่างไม่เป็ นทางการทั้งสองฝ่ ายในระยะยาว ต้องสร้างกลไกที่เอื้อต่อการ
สร้างความไว้เนื้ อเชื่อใจและความสัมพันธ์ระหว่างประชาชนต่อประชาชน
- ความสัมพันธ์ ไทย-พม่า ก็ถือได้วา่ มีความเปราะบาง เพราะสถานการณ์ การเมืองในพม่าเอง อีก
ทั้งการสู้รบตามแนวชายแดน ไทย-พม่า ระหว่าง รัฐบาลพม่าและชนกลุ่มน้อยประกอบกับ
ปัญหาเศรษฐกิจทำให้คนอพยพข้ามฝั่งมาไทยนับเป็ นแสนคน
ความร่ วมมือไทยกับประเทศเพือ่ นบ้ าน
- ความตกลงอาเซียนว่าด้วยมลพิษจากหมกควันข้ามแดน (ASEAN Agreement on
Transboundary Haze Pollution) คือ ความตกลงด้านสิ่ งแวดล้อม ระหว่างชาติสมาชิกในกลุ่ม
ประชาชาติแห่งเอเซียตะวันออกเฉี ยงใต้ (ค.ศ. 2002)
วัตถุประสงค์ เพื่อลดมลหมอกพิษในเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้
มาเลเซีย - ธ.ค. 2002
สิ งคโปร์ – ม.ค. 2003
บูรไน – ก.พ. 2003
พม่า – มี.ค. 2003
เวียดนาม – มี.ค.2003
ไทย – ก.ย. 2003
ลาว – ธ.ค. 2004
กัมพูชา – เม.ษ. 2006
ประเภทของข้ อตกลง
Treaty: สนธิสญ
ั ญา
Peaestreaty: สนธิสญ
ั ญาสันติภาพ
Act:กรรมสาร
Accord: ข้อตกลง
Agreement: ความตกลง
Armistice: ข้อตกลงสงบศึกชัว่ คราว
Conference: การประชุม
Convention: อนุสญ
ั ญา
Declaration: ปฏิญญา
Joint Declation: แถลงการณ์ร่วม
Paet: กติกาสัญญา
Protocol: พิธีสาร
Truce หรื อ Ceasefire: ขอตกลงพักรบ
ระดับของสนธิสญ
ั ญา 1. Bilateral Treaty สนธิ สญ
ั ญาทวิภาคี
2. Multilateral Treaty สนธิ สญ
ั ญาพหุพาคี
กฎหมายระหว่างประเทศ (International Law) หมายถึง กฎ กฎเกณฑ์ และข้อตกลงที่เกิดขึ้นจาก
ความตกลง หรื อการแสดงเจตนาเข้าผูกพันของรัฐหรื อประเทศ ตั้งแต่ 2 รัฐ/ประเทศ ขึ้น และนิยมใช้เป็ น
หลักการในการพิจารณาข้อพิพาทที่เกิดขึ้นระหว่างประเทศและประเทศเพื่อนบ้าน
สงคราม (War) คือ ความขัดแย้งเป็ นวงกว้างและก่อให้เกิดผลกระทบอย่างร้ายแรง สงครามเกิดขึ้น
เมื่อเกิดความขัดแย้งและไม่สามารถแก้ไขด้วยวิธีสนั ติ ก็ลงเอยด้วยการทำสงครามหรื อการใช้ก ำลังเข้าต่อสู ้
เพื่อลิดรอนหรื อกำจัดบทบาททางการเมืองของอีกฝ่ ายหนึ่ง
ปัจจัยที่ก่อให้ เกิดความขัดแย้งนำไปสู่ สงคราม
1. เป้ าหมายและผลประโยชน์ของสงคราม
2. ทฤษฎีจิตวิทยา – มนุษย์ชื่นชอบความรุ นแรงแสดงโดยความรู ้สึกไม่พอใจ
3. ทฤษฎีสงั คมวิทยา
4. ทฤษฎีประชากรศึกษา
5. ทฤษฎีจิตวิทยาวิวฒั น์ – คือ นิสยั ของสัตว์ที่เพิ่มขึ้น เช่น ยึดครองดินแดนและการ
แข่งขัน
6. ทฤษฎีเหตุผล
7. ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์
8. ทฤษฎีลทั ธิมาร์กซิ สม์
9. ทฤษฎีการเมือง
ลักษณะความสั มพันธ์ ระหว่ างประเทศ
1. ด้านเศรษฐกิจ หลังจากการแก้ไขสนธิ สญ
ั ญาไม่เสมอภาคเป็ นผลสำเร็ จ
ในสมัยของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห่ วั และพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยูห่ วั  
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับนานาชาติได้เข้าสู่ ความเสมอภาคโดยสมบูรณ์ 
ยังผลให้ความสัมพันธ์ทางการค้าระหว่างไทยกับนานาชาติให้ประโยชน์แก่ไทยเพิ่มมากขึ้น 
โดยเฉพาะอย่างยิง่ ทางด้านภาษีศุลกากร
2. ด้านการเมือง แม้วา่ ประเทศไทยจะมีความเสมอภาคกับนานาชาติที่เป็ นสมาชิก
ขององค์การสันนิบาตชาติกต็ าม แต่ในทางปฏิบตั ิประเทศไทยยังไม่ได้มีฐานะเท่าเทียมกับประเทศต่าง ๆ 
ในยุโรป สหรัฐอเมริ กา และญี่ปุ่น ในเรื่ องเกี่ยวกับการใช้อ ำนาจทางศาล 
และการใช้อ ำนาจเก็บภาษีศุลกากร
3. ด้านสังคมและวัฒนธรรม ประเทศไทยดำเนินนโยบายต่างประเทศแบบผูกมิตรกับ
ทุกประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิง่ กับประเทศมหาอำนาจ แม้วา่ ในยุคเริ่ มต้นประชาธิ ปไตยนั้น 
ไทยจะมีความสัมพันธ์ดา้ นเศรษฐกิจและการเมืองกับญี่ปุ่นมากขึ้น แต่กย็ งั รักษาความสัมพันธ์อนั ดี
กับประเทศมหาอำนาจยุโรปและสหรัฐอเมริ กาไว้ ด้วยเหตุน้ี ความสัมพันธ์ดา้ นสังคม
และวัฒนธรรมระหว่างไทยกับประเทศมหาอำนาจจึงมีลกั ษณะดังนี้
1) การจ้างที่ปรึ กษาราชการ ประเทศไทยจ้างชาวยุโรปและอเมริ กาให้รับราชการ
เป็ นที่ปรึ กษางานด้านต่างๆ 
2) การส่ งนักเรี ยนไทยไปศึกษาต่อต่างประเทศ รัฐบาลไทยได้ส่งนักเรี ยนที่เรี ยนดี 
รวมทั้งประชาชนทัว่ ไปได้ส่งบุตรหลานไปศึกษาวิชาการสมัยใหม่ในยุโรป สหรัฐอเมริ กา และญี่ปนุ่
3) การได้รับการสนับสนุนจากญี่ปนุ่ รัฐบาลญี่ปุ่นได้ส่งเสริ มความสัมพันธ์ดา้ นสังคม
และวัฒนธรรมกับประเทศให้มากขึ้น เช่น ให้ทุนการศึกษาแก่นกั เรี ยนไทยไปศึกษาต่อที่ญี่ปุ่น เป็ นต้น 
อย่างไรก็ตาม ประชาชนไทยส่ วนใหญ่ยงั คงมีค่านิยมในศิลปวัฒนธรรมของยุโรป และสหรัฐอเมริ กา 
มากกว่าญี่ปุ่น โดยเฉพาะด้านเทคโนโลยีซ่ ึ งสู งกว่าญี่ปุ่น นอกจากนี้ผสู ้ นับสนุนให้ชาวญี่ปุ่นเข้ามา
ประกอบธุรกิจและท่องเที่ยวในประเทศไทยมากเป็ นพิเศษ

นโยบายและความสั มพันธ์ ระหว่ างประเทศไทยยุคปัจจุบัน


การกำหนดนโยบายและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของไทยในยุคปั จจุบนั
อาศัยองค์ประกอบที่สำคัญ 3 ประการดังนี้
1. องค์ประกอบภายในประเทศ องค์ประกอบภายในที่สำคัญที่รัฐบาลมักจะนำมา
ประกอบการพิจารณาในการกำหนดนโยบายต่างประเทศมี 4 ประการดังนี้
1) การเมืองภายในประเทศ หมายถึง สถานการณ์ทางการเมืองที่เป็ นผลจากการเคลื่อนไหว
และพฤติกรรมของผูน้ ำทางการเมืองกลุ่มผลประโยชน์ และพรรคการเมืองที่แสดงออกผ่านทาง
สถาบันทางการเมืองและสื่ อมวลชนในประเทศซึ่ งมีท้ งั การขัดแย้งและความร่ วมมือกันในเหตุการณ์ต่าง ๆ 
2) เศรษฐกิจภายในประเทศ หมายถึง ลักษณะและระดับของการพัฒนาทางเศรษฐกิจ 
ตลอดจนกระบวนการทางเศรษฐกิจในประเทศ ซึ่ งเป็ นผลจากการเคลื่อนไหวและพฤติกรรม
ของกลุ่มผลประโยชน์ต่าง ๆ อาทิ กลุ่มเกษตรกร กลุ่มแรงงานและกลุ่มธุรกิจ เป็ นต้น 
ซึ่ งอาจขัดแย้งกันหรื ออาจร่ วมมือกันเพื่อกดดันรัฐบาลดำเนินการพิทกั ษ์ผลประโยชน์ของกลุ่มตน 
อาจกล่าวได้วา่ การเคลื่อนไหวของกลุ่มผลประโยชน์เหล่านี้จะมีผลกระทบทั้งทางตรง
และทางอ้อมต่อการกำหนดนโยบายต่างประเทศโดยเฉพาะอย่างยิง่ ด้านเศรษฐกิจ
3) อุดมการณ์ของชาติ หมายถึง ระบบความคิด ความเชื่อเกี่ยวกับสังคมในชาติถือว่าเป็ นสิ่ ง
ที่ดีงามที่จะต้องรักษาไว้ สำหรับอุดมการณ์ของชาติไทย ซึ่ งคนไทยยึดมัน่ รวมกันมาช้านานแล้ว 
และต้องการรักษาไว้ตลอดไปคือ ความจงรักภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนาและพระมหากษัตริ ย ์
4) สภาพภูมิศาสตร์ของประเทศ สภาพภูมิศาสตร์ของประเทศเป็ นปั จจัยสำคัญในการกำหนด
นโยบายต่างประเทศ เนื่องจากพื้นที่ของประเทศไทยมีรูปร่ างเหมือนขวาน ซึ่ งพื้นที่ตอนบนมี
เขตแดนติดกับประเทศเพื่อนบ้าน 3 ประเทศ คือ พม่า ลาวและกัมพูชา ส่ วนพื้นที่ตอนล่าง
เป็ นแผ่นดินที่ยนื่ ออกไปในมหาสมุทรจึงล้อมรอบไปด้วยทะเลทั้งด้านตะวันตกและตะวันออก 
อีกทั้งมีเขตแดนดินติดกับประเทศเพื่อนบ้านอีก 2 ประเทศ คือ พม่า และมาเลเซี ย ซึ่ งมีลกั ษณะ
ทางภูมิศาสตร์ที่เป็ นโทษมากกว่าที่เป็ นคุณต่อประเทศไทย นอกจากนี้ ประชากรของไทยในปั จจุบนั  
ส่ วนใหญ่พดู ภาษาไทยและนับถือศาสนาพุทธและอีกส่ วนหนึ่งซึ่ งเป็ นชนกลุ่มน้อย ได้แก่ 
ผูท้ ี่นบั ถือศาสนาอิสลาม เช่น ชาวไทยใน 4 จังหวัดภาคใต้และผูท้ ี่นบั ถือภูติผปี ี ศาจ 
แม้สภาพทางภูมิศาสตร์จะเป็ นคุณแก่ประเทศไทย แต่ปัญหาที่เกิดจากสภาพภูมิศาสตร์
ที่ตอ้ งแก้ไขปั ญหาตลอดเวลา เช่น มีพ้ืนที่และอาณาเขตติดกับประเทศเพื่อนบ้าน 
ซึ่ งยังได้ปักปั นเขตแดนให้ชดั เจน อีกทั้งฝั่งทะเลมีความยาวและไม่ติดต่อกันซึ่ งยากแก่การป้ องกันได้ 
นอกจากนี้ยงั มีปัญหากับชนกลุ่มน้อยที่นบั ถือศาสนาอื่นและไม่ได้ใช้ภาษาไทยในชีวิตประจำวันเป็ นต้น
จากสภาพภูมิศาสตร์ท้ งั ที่เป็ นคุณและโทษต่อประเทศไทยดังกล่าว 
นโยบายต่างประเทศที่ผา่ นมาส่ วนใหญ่ยดึ นโยบายผูกมิตรกับนานาประเทศ ที่มีผลประโยชน์สอดคล้อง
กับประเทศไทย หรื ออาจคุกคามต่อความมัน่ คงของประเทศ
2. องค์ประกอบภายนอกประเทศ หมายถึง ระบบระหว่างประเทศ ซึ่ งประกอบด้วย ระบบระหว่าง
ประเทศระดับโลก หรื อระบบโลก ที่เกิดจากพฤติกรรมของมหาอำนาจเป็ นส่ วนใหญ่ ปั จจัยภายนอกที่สำคัญ
ที่มีส่วนกดดันให้รัฐบาลไทย ซึ่ งเป็ นประเทศระดับกลางมักจะนำมาประกอบการพิจารณาเพื่อกำหนด
นโยบายต่างประเทศเพื่อรักษาผลประโยชน์ของชาติมีดงั นี้
1) การแข่งขันเพื่อขยายอำนาจของมหาอำนาจ การแข่งขันเพื่อขยายอำนาจของมหาอำนาจ
ทั้งอดีตและปัจจุบนั มีผลกระทบต่อประเทศไทยเสมอ เนื่องจากประเทศไทยตั้งอยูใ่ นบริ เวณที่
เป็ นจุดยุทธศาสตร์ของโลก จึงทำให้มหาอำนาจสนใจที่จะแผ่เข้ามาครอบงำและแสวงผลประโยชน์
2) การขัดแย้งทางอุดมการณ์ของมหาอำนาจ ปั จจัยภายนอกที่ส่งผลกระทบต่อประเทศขนาดกลาง
และขนาดเล็กทัว่ โลกโดยทำให้ประเทศเหล่านี้ตอ้ งตัดสิ นใจว่าจะรับเอาอุดมการณ์ของมหาอำนาจใด 
มหาอำนาจหนึ่งมาเป็ นแนวทางในการกำหนดนโยบายต่างประเทศของตนหรื อไม่ สำหรับรัฐบาลไทย
เลือกดำเนินนโยบายสนับสนุนสหรัฐอเมริ กาทั้งในด้านการเมืองและการทหารในการต่อต้านคอมมิวนิสต์ 
เนื่องจากไม่ตอ้ งการลัทธิคอมมิวนิสต์ ซึ่ งลัทธิ ดงั กล่าวมุ่งทำลายสถาบันสำคัญคือ ชาติ ศาสนา 
และพระมหากษัตริ ย ์
3) การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองและการทหารในเอเชีย การเปลี่ยนแปลงดังกล่าว
เป็ นการเปลี่ยนแปลงในระบบระหว่างประเทศระหว่างภูมิภาค เป็ นปั จจัยภายนอกที่มีส่วนกดดันให้
ประเทศไทยต้องปรับนโยบายต่างประเทศให้สอดคล้องกับสถานการณ์ทางด้านการเมืองและการทหารที่
เปลี่ยนไป 
สำหรับการเมืองของไทยมีความเป็ นประชาธิ ปไตยมากขึ้น ในขณะที่ดา้ นการทหารมีนโยบายลดขนาดกำลัง
พลลงเพื่อให้เกิดความคล่องตัวแต่เพิ่มสมรรถนะความเข้มแข็งให้เพิ่มมากขึ้น
สำหรับนโยบายด้านการต่างประเทศในปัจจุบนั รัฐบาลได้เน้นการทูตเชิงรุ กด้านเศรษฐกิจ
พร้อมกับการทูตด้านอื่น ๆ เพื่อฟื้ นฟูและสร้างความสัมพันธ์และความร่ วมมือระหว่างประเทศในทุกด้าน
ให้การคุม้ ครองสิ ทธิและผลประโยชน์ของประเทศ รวมทั้งของภาคเอกชนไทย แรงงานไทย
และคนไทยในต่างประเทศ ตลอดจนความร่ วมมือระหว่างประเทศไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน
และประเทศในภูมิภาคเอเชีย ทั้งระดับทวิภาคีและพหุภาคี เพื่อนำมาซึ่ งความเข้าใจอันดีระหว่างกัน
ในการแก้ไขปัญหาและการแสวงหาผลประโยชน์ร่วมกันอย่างสร้างสรรค์ จริ งใจและโดยสันติวิธี

ผลกระทบของนโยบายความสั มพันธ์ ระหว่ างประเทศ


ผลกระทบของนโยบายและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
นโยบายและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศยุคหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง 
ส่ งผลกระทบต่อประเทศไทยด้านต่างๆดังนี้
1. ด้านการเมือง เมื่อญี่ปุ่นประกาศสงครามกับสหรัฐอเมริ กาและอังกฤษแล้ว ต่อมารัฐบาลไทยได้ท ำ
สัญญาร่ วมรบกับญี่ปุ่นและได้ประกาศสงครามกับสหรัฐอเมริ กาและอังกฤษ ส่ งผลให้ไทยเป็ นประเทศคู่
สงครามกับทั้งสองประเทศอย่างเต็มที่องั กฤษรวมทั้งออสเตรเลียซึ่ งเป็ นประเทศในเครื อจักรภพได้ประกาศ
สงครามกับประเทศไทย ขณะเดียวกันสหรัฐอเมริ กากลับไม่ยอมประกาศสงครามกับไทย ด้วยเหตุผลที่
ว่าการประกาศสงครามไม่ได้เกิดจากความต้องการของคนไทยอย่างแท้จริ ง และถือว่าไทยถูกญี่ปุ่นยึดครอง
ต้องให้ความช่วยเหลือ  อย่างไรก็ตามผลกระทบด้านการเมืองต่อประเทศไทย หลังจากร่ วมมือกับญี่ปุ่นใน
การทำสงครามกับอังกฤษและสหรัฐอเมริ กามีหลายประการดังนี้
1) เกิดอำนาจเผด็จการทหาร มีการรวมอำนาจทางทหารไว้ที่จอมพล ป. พิบูลสงคราม 
นายกรัฐมนตรี ซ่ ึ งดำรงตำแหน่งทั้งผูบ้ ญั ชาการทหารสู งสุ ดและผูบ้ ญั ชาการทหารบกด้วยในฐานะนายก
รัฐมนตรี ยงั สามารถสัง่ การตำรวจและพลเรื อนได้ท้ งั หมด ซึ่ งถือว่านายกรัฐมนตรี เป็ นผูใ้ ช้อ ำนาจเผด็จการใน
ประเทศได้อย่างเด็ดขาด
2) เกิดความรู้สึกชาตินิยม เนื่องจากเกิดภาวะสงคราม ทำให้เกิดปัญหาทางเศรษฐกิจ 
โดยเฉพาะอย่างยิง่ การขาดแคลนเครื่ องอุปโภคบริ โภคและภาวะเงินเฟ้ อรัฐบาลได้ส่งเสริ มให้
คนไทยนิยมใช้สินค้าที่ผลิตในประเทศไทยอย่างจริ งจัง ด้วยการปลุกเร้าความรู ้สึกชาตินิยมให้ประชาชนไทย
ช่วยกันสร้างชาติให้เข้มแข็งทัดเทียมอารยประเทศโดยใช้ค ำขวัญว่าไทยทำไทยใช้ไทยเจริ ญเป็ นต้น
3) เกิดขบวนการเสรี ไทย การประกาศสงครามของไทยในครั้ งนี้ได้รับการคัดค้านจากผูน้ ำของ
ประเทศหลายคน เช่น นายปรี ดี พนมยงค์ และนายดิเรก ชัยนาม ซึ่ งได้ร่วมกันก่อตั้งขบวนการต่อต้านญี่ปุ่น
ขึ้นในประเทศไทย ชื่อว่า ขบวนการเสรี ไทย ขณะเดียวกัน ม.ร.ว. เสนีย ์ ปราโมช อัครราชทูตไทยประจำกรุ ง
วอชิงตันก็ได้ประกาศก่อตั้งขบวนการเสรี ไทยขึ้นเช่นกัน โดยขอการสนับสนุนจากอังกฤษและ
สหรัฐอเมริ กาเพื่อต่อต้านญี่ปนและปลดปล่
ุ่ อยประเทศไทยต่อไป ทั้งนี้ขบวนการเสรี ไทยทั้งในและนอก
ประเทศได้มีส่วนช่วยให้ไทยพ้นจากการเป็ นประเทศผูแ้ พ้สงคราม โดยนายปรี ดี พนมยงค์ ในฐานะหัวหน้า
ขบวนการเสรี ไทยแห่งประเทศไทย ได้ช่วยให้ ม.ร.ว.เสนีย ์ ปราโมช หัวหน้าขบวนการเสรี ไทยใน
สหรัฐอเมริ กา ซึ่ งได้รับการยอมรับจากรัฐบาลสหรัฐอเมริ กาเดินทางกลับไทยเพื่อรับตำแหน่งนายกรัฐมนตรี
4) เกิดเป็ นศัตรู กบั ชาติมหาอำนาจ เมื่อรัฐบาลไทยประกาศสงครามกับสหรัฐอเมริ กาและอังกฤษ 
ความสัมพันธ์ฉนั ท์มิตรที่ผา่ นมาได้กลายเป็ นศัตรู โดยเฉพาะอังกฤษมีอิทธิ พลทางเศรษฐกิจในประเทศไทย
อยูม่ าก เมื่อมีขา่ วว่าญี่ปนสนั ุ่ บสนุนไทยเพื่อขุดคลองบริ เวณคอคอดกระเพื่อเชื่อมมหาสมุทรอินเดียกับอ่าว
ไทย หากดำเนินการสำเร็ จก็จะมีร้ายทางยุทธศาสตร์ต่ออังกฤษอย่างมาก เนื่องจากจะทำให้ญี่ปุ่นมีอิทธิ พล
ทางเศรษฐกิจในไทยเพิ่มขึ้น และญี่ปุ่นสามารถคุมเส้นทางเดินเรื อระหว่างมหาสมุทรอินเดียกับอ่าวไทย และ
ลดความสำคัญของสิ งคโปร์ รวมทั้งช่องแคบมะละกาลงอย่างมาก ด้วยเหตุน้ ี สงครามโลกครั้งที่สองสิ้ นสุ ด
ลงประเทศไทยจำต้องทำความตกลงกับอังกฤษในระยะหลังสงคราม โดยต้องยอมปฏิบตั ิตามความต้องการ
บางประการของอังกฤษ คือ จะไม่มีการขุดคลองในดินแดนของประเทศไทยเพื่อเชื่อมอ่าวไทยกับมหาสมุทร
อินเดีย เว้นแต่องั กฤษจะให้ความยินยอม
2. ด้านเศรษฐกิจ ก่อนสงครามโลกครั้งที่สอง ประเทศไทยได้รับประโยชน์จากการดำเนินความ
สัมพันธ์กบั ต่างประเทศทางด้านเศรษฐกิจในลักษณะที่ได้เปรี ยบดุลการค้ากับต่างประเทศ นอกจากนั้น
ประเทศไทยยังเก็บภาษีศุลกากรได้เป็ นจำนวนมาก แต่หลังจากที่ญี่ปุ่นประกาศสงครามกับอังกฤษและ
สหรัฐอเมริ กา และดึงเอาประเทศไทยเข้าไปร่ วมในสงครามด้วย 
ทำให้การค้าระหว่างประเทศไทยกับอังกฤษและสหรัฐอเมริ กาหยุดชะงักลง เพราะประเทศไทยสามารถ
ทำการค้ากับญี่ปนได้ ุ่ เพียงประเทศเดียวเท่านั้น ยังผลให้ประเทศไทยได้รับภาษีศุลกากรลดลงมาก และการที่
การค้าระหว่างประเทศได้รับผลกระทบอย่างรุ นแรงนี้ได้ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจของไทยอย่างร้ายแรง
ดังนี้
1) ค่าครองชีพสูงขึ้น
2) เกิดภาวะเงินเฟ้ ออย่างรุ นแรง
3. ด้านสังคมและวัฒนธรรม รัฐบาลในสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้ปฏิวตั ิสงั คมและวัฒนธรรม
ไทย เพื่อให้มีความทันสมัยเหมือนประเทศตะวันตกและญี่ปุ่น โดยการประกาศรัฐนิยม และจัดตั้งสภา
วัฒนธรรมแห่งชาติข้ ึนดังนี้
1) การสร้างสำนึกชาตินิยม รัฐบาลได้ประกาศใช้รัฐนิยมจำนวน 12 ฉบับ อาทิการเปลี่ยนชื่อ
ประเทศสยามเป็ นประเทศไทย การกำหนดหน้าที่ให้คนไทยยืนเคารพธงชาติ เพลงชาติ และเพลงสรรเสริ ญ
พระบารมี การใช้ของที่ผลิตขึ้นในประเทศไทย การแต่งกายของชาวไทย และกิจวัตรประจำวันของคนไทย
นั้น เป็ นต้น 
2) การปฏิวตั ิวฒั นธรรม รัฐบาลได้จดั ตั้งสภาวัฒนธรรมขึ้นในปี พ.ศ. 2485 เพื่อดำเนินการ
เปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมและวิถีชีวิตของคนไทยให้เป็ นไปตามรัฐนิยมซึ่ งมีดงั นี้
1. ด้านจิตใจ รัฐบาลได้ส่งเสริ มให้คนไทยประกอบอาชีพตั้งแต่คา้ ขายเล็ก ๆ น้อย ๆ จนกระทัง่ ถึง
อุตสาหกรรมป่ าไม้และเหมืองแร่ เป็ นต้น
2. ด้านระเบียบประเพณี รัฐบาลได้ยกเลิกประเพณี บางอย่าง เช่น เปลี่ยนวันขึ้นปี ใหม่จากวันที่ 13
เมษายน มาเป็ นวันที่ 1 มกราคม ตามหลักสากลนิยม และยกเลิกบรรดาศักดิ์ต่าง ๆ ที่บุคคลได้รับล
พระราชทานมาจากพระมหากษัตริ ย ์ เพื่อทำให้ทุกคนเสมอกันในกฎหมายตามรัฐธรรมนูญ
3. ด้านศิลปกรรม ได้จดั ตั้งมหาวิทยาลัยศิลปากรขึ้นในปี พ.ศ. 2486 เพื่อค้นคว้าและส่ งเสริ ม
วัฒนธรรมและด้านศิลปกรรมของไทยและมีการปรับปรุ งการละเล่นพื้นเมืองทางภาคอีสาน เช่น รำโทน ให้
มีความสุ ภาพและเรี ยกชื่อใหม่วา่ รำวงซึ่ งรัฐบาลได้เผยแพร่ ให้ขา้ ราชการฝึ กรำวงกันทัว่ ประเทศ
4. ด้านวรรณกรรม ได้ปรับปรุ งภาษาไทยใหม่เพื่อให้ง่ายต่อการเรี ยน โดยลดตัวอักษรที่ไม่จ ำเป็ นลง
จาก 44 ตัวเหลือ 32 ตัว เช่น ตัดอักษร ฆ ษ และ ฒ ออกไป เป็ นต้น
5. ด้านการปฏิบตั ิต่อสตรี รัฐบาลได้ยกย่องสตรี ให้มีฐานะเท่าเทียมชายเกือบทุกประการ

ความสั มพันธ์ ระหว่ างประเทศ


ความหมาย
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ หมายถึง การแลกเปลี่ยนและปฏิสมั พันธ์ที่เกิดขึ้นข้ามเขตพรมแดนของรัฐ 
ซึ่ งอาจเกิดขึ้นโดยรัฐหรื อตัวแสดงอื่น ๆ ที่ไม่ใช่รัฐ ซึ่ งส่ งผลถึงความร่ วมมือหรื อความขัดแย้งระหว่าง
ประเทศต่าง ๆ ในโลก ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศเป็ นความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล กลุ่มบุคคล หรื อ
สังคม ซึ่ งเกิดขึ้นข้ามขอบเขตของกลุ่มสังคมการเมืองหนึ่ง ๆ

ลักษณะของความสั มพันธ์ ระหว่ างประเทศ


ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศหรื อการแลกเปลี่ยนและปฏิสมั พันธ์ที่เกิดขึ้นข้ามเขตพรมแดนของรัฐดังที่
กล่าวข้างต้นนั้นอาจมีลกั ษณะแตกต่างกันดังนี้

1. ความสัมพันธ์อย่างเป็ นทางการหรื อไม่เป็ นทางการ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศอาจกระทำ


อย่างเป็ นทางการโดยรัฐ เช่นการประชุมสุ ดยอด การดำเนินการทางการฑูต หรื ออาจเป็ นการกระทำไม่เป็ น
ทางการ เช่นการก่อการร้ายของอีกประเทศหนึ่งซึ่ งไม่ได้กระทำการในนามของรัฐ เป็ นต้น

2. ความสัมพันธ์ในลักษณะร่ วมมือหรื อขัดแย้ง ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศที่เกิดขึ้น หากไม่ร่วม


มือก็ขดั แย้ง ความสัมพันธ์ในลักษณะขัดแย้ง เช่น สงคราม การแทรกแซงบ่อนทำลาย ส่ วนความร่ วมมือ
ได้แก่ การกระชับความสัมพันธ์ทางการฑูต การร่ วมเป็ นพันธมิตร การให้ความช่วยเหลือทางเศรษฐกิจ การ
แลกเปลี่ยนเทคโนโลยีและวัฒนธรรมเป็ นต้นขอบเขตของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศความสัมพันธ์
ระหว่างประเทศมีขอบเขตที่ครอบคลุมเรื่ องต่างๆดังนี้

1. ความสัมพันธ์ทางการเมือง หมายถึง กิจกรรมข้ามพรมแดนเพื่อมีอิทธิ พลหรื อเปลี่ยนแปลง


พฤติกรรมตลอดจนการตัดสิ นใจขององค์การหรื อรัฐบางต่างประเทศ เช่นการดำเนินการทางการฑูต การ
ทหาร การแสวงหาพันธมิตร การแทรกแซงบ่อนทำลายประเทศอื่น การใช้ก ำลังบีบบังคับ การกำหนดและ
ดำเนินนโยบายต่างประเทศ เป็ นต้น 

2. ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ หมายถึง กิจกรรมการแลกเปลี่ยนทรัพยากรด้านบริ การหรื อวัตถุเพื่อ


ตอบสนองความต้องการในการอุปโภคของผูบ้ ริ โภค
3. ความสัมพันธ์ทางสังคม หมายถึงกิจกรรมที่มีวตั ถุประสงค์ในการแลกเปลี่ยนทางการศึกษา การ
ศาสนา วัฒนธรรม การพักผ่อนหย่อนใจ การท่องเที่ยว ซึ่ งเป็ นความสัมพันธ์ทางสังคมข้ามขอบเขตพรมแดน
ของรัฐ เช่น การส่ งฑูตวัฒนธรรมหรื อคณะนาฎศิลป์ ไปแสดงในประเทศต่าง ๆ การเผยแพร่ ศาสนาโดย
ตัวแทนทางศาสนาของประเทศอื่นการเผยแพร่ ศิลปะของประเทศหนึ่งในประเทศอื่นเป็ นต้น

4. ความสัมพันธ์ทางกฎหมาย เมื่อมีการแลกเปลี่ยนและปฏิสัมพันธ์ขา้ มเขตพรมแดนของรัฐมากขึ้ น 


เพื่อให้กิจกรรมดังกล่าวดำเนินไปโดยเรี ยบร้อยและมีระเบียบแบบแผน ประเทศต่าง ๆ จึงได้ก ำหนดกฎ
เกณฑ์ ระเบียบ หรื อแนวทางปฏิบตั ิที่แต่ละประเทศพึงยึดถือปฏิบตั ิในด้านต่าง ๆ ขึ้น กฎเกณฑ์หรื อระเบียบ
นี้อาจปรากฏในรู ปข้อตกลงลายลักษณ์อกั ษร ซึ่ งมีชื่อเรี ยกต่าง ๆ กัน เป็ นต้นว่าสนธิ สญ
ั ญา/อนุสญ
ั ญา
กติกา/สัญญากฎบัตรความตกลง ฯลฯ 

5. ความสัมพันธ์ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ความสัมพันธ์ประเภทนี้ มุ่งให้มีการแลกเปลี่ยน


พัฒนาความรู้และความช่วยเหลือทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เช่น มีการร่ วมมือค้นคว้าทดลองและ
วิจยั  การร่ วมมือกันระหว่างนักวิทยาศาสตร์หลายประเทศ เพื่อกำจัดโรคภัยไข้เจ็บสำคัญ เช่น โรคมะเร็ ง 
โดยสรุ ป ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีผลต่อความสงบเรี ยบร้อย การกินดีอยูด่ ีและการพัฒนาของ
ประชาชน รัฐ และสังคมโลกทั้งโดยตรงและโดยอ้อม จึงนับว่ามีความสำคัญมีคุณค่าควรแก่การสนใจ
ติดตามทำความเข้าใจทั้งโดยนักวิชาการผูก้ ำหนดนโยบายและประชาชนโดยทัว่ ไป
ความรู้ ทั่วไปเกีย่ วกับกฎหมายระหว่ างประเทศ
กฎหมายระหว่างประเทศเป็ นหลักกฎหมายหรื อข้อตกลงร่ วมกันที่ใช้บงั คับกับความสัมพันธ์
ระหว่างประเทศ วิวฒั นาการของกฎหมายระหว่างประเทศเริ่ มต้นตั้งแต่สมัยโบราณก่อนคริ สต์กาล นับตั้งแต่
มนุษย์เริ่ มรวมตัวเป็ นชุมชนสื บต่อมาในสมัยกลาง สมัยใหม่จนถึงสมัยปั จจุบนั โดยเริ่ มจากการปฏิบตั ิต่อกัน
จนกลายเป็ นจารี ตประเพณี สนธิสญ ั ญา และแนวคิดในการจัดตั้งองค์การระหว่างประเทศ
ความหมาย
มีผใู ้ ห้ค ำจำกัดความของกฎหมายระหว่างประเทศ ไว้หลายท่าน
โอเพนไฮน์ (Opoenhiem)
คือ กลุ่มคือถือแห่งจารี ตประเพณี และสนธิ สญ
ั ญา ซึ่ งถือว่ามีความผูกพันทางกฎหมายต่อรัฐในแง่
ความสัมพันธ์ระหว่างกัน
ลอเร็นซ์ (Lawrence)
คือ กฎเกณฑ์ซ่ ึ งกำหนดพฤติกรรมของกลุ่มประเทศในการติดต่อระหว่างกัน
แฟนวิค (Fenwick)
คือ กลุ่มประเทศที่ยดึ หลักการทัว่ ไปและหลักเกณฑ์เฉพาะที่มีความผูกพันระหว่างสังคมระหว่าง
ประเทศในด้านความสัมพันธ์ของกันและกัน
ไฮด์ (Hyde)
คือ กฎหมายระหว่างประเทศคือ หลักการและหลักเกณฑ์ของความประพฤติที่ท ำให้รัฐนั้น ๆ มี
ความรู ้สึกว่าถูกผูกพันและจะต้องปฏิบตั ิตาม ซึ่ งรัฐจะต้องให้ความเคารพในความสัมพันธ์ของกันและกัน เจ
สสุ ป (Jessup)
คือ กฎหมายระหว่างประเทศ คือ กฎหมายที่น ำมาใช้ความเคารพในความสัมพันธ์ระหว่างรัฐ
ฮูลเลอร์ (Huiller)
กล่าวว่ากฎหมายระหว่างประเทศ คือ กฎที่ก ำหนดหรื อควบคุมการติดต่อระหว่างรัฐ
ไบรเออลี (Brierly)
เขียนไส้ในหนังสื อ The Law of Nations ว่ากฎหมายระหว่างประเทศ คือ กลุ่มกฎเกณฑ์และหลัก
การของการกระทำ ซึ่ งผูกพันเหนือรัฐที่มีอารยะธรรมในการสัมพันธ์ระหว่างกันและกัน
สตาร์ ก (Starke)
ได้นิยามไว้ในหนังสื อ An Introduction to International Law ว่ากฎหมายระหว่างประเทศ ได้แก่
กลุ่มกฎหมายที่ส่วนใหญ่ประกอบด้วยหลักและข้อบังคับความประพฤติที่รัฐต่าง ๆ มีความรู ้สึกว่าต้องปฏิบตั ิ
ตามในความสัมพันธ์ระหว่างกัน และยังรวมถึงข้อบังคับทางกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบตั ิงานของ
องค์การระหว่างประเทศ และที่เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรเหล่านั้นที่มีต่อกัน รวมทั้งความ
สัมพันธ์ที่องค์กรเหล่านั้นมีต่อรัฐต่าง ๆ และเอกชน
กล่ าวโดนสรุ ป
กฎหมายระหว่างประเทศหมายถึงกฎเกณฑ์ที่ใช้บงั คับในความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลระหว่าง
ประเทศ ซึ่ งในปัจจุบนั นอกจากรัฐแล้วยังมีองการระหว่างประเทศอีกด้วย อีกทั้งยังมีเนื้อหาซึ่ งเกี่ยวข้องกับ
การคุม้ ครองปัจเจกคนภายในรัฐต่างๆ ด้วย
จากคำจำกัดความดังกล่าว ทำให้เราเข้าใจว่ากฎหมายระหว่างประเทศก็คือกฎหมายที่ก ำหนดขึ้นมา
เพื่อให้ประเทศต่าง ๆ ดำเนินการติดต่อสัมพันธ์กนั ไปตามกฎที่ก ำหนดหรื ออยูใ่ นกรอบของข้อตกลงระหว่าง
กัน
รากฐานแห่งกฎหมายระหว่างประเทศ คือ ความยินยอมร่ วมกันของบรรดาประเทศต่าง ๆ ซึ่ งมาจาก
2 ทาง คือ
1. จารี ตประเพณี
2. สนธิสญ
ั ญา
จารี ตประเพณี คือ ความยินยอมของรัฐที่ยอมปฏิบตั ิตามกฎเกณฑ์ เป็ นระยะเวลายาวนานพอสมควร
จนกลายเป็ นกฎเกณฑ์ที่มีความผูกพันไม่จ ำเป็ นต้องมีลายลักษณ์อกั ษร
สนธิสญ
ั ญา คือ การที่ได้มีการทำข้อตกลงระหว่างกันของรัฐอย่างเปิ ดเผย มีการสร้างกฎเกณฑ์ข้ ึนมา
เพื่อให้มีการปฏิบตั ิเฉพาะคู่สญ
ั ญา
ความแตกต่างระหว่างกฎหมายระหว่างประเทศกับกฎหมายภายในประเทศ พอจะกล่าวโดยสรุ ป
ดังนี้
1. กฎหมายระหว่างประเทศ เกิดขึ้นจากธรรมเนียมปฏิบตั ิต่อกันระหว่างประเทศหรื อโดยสนธิ
สัญญา แต่กฎหมายภายในประเทศเกิดขึ้นจากขนบธรรมเนียมภายในอาณาเขตของประเทศใดประเทศหนึ่ง
หรื อถูกตราขึ้นโดยสถาบันนิติบญั ญัติของประเทศนั้น ๆ
2. ความสัมพันธ์ที่ถูกบังคับ กฎหมายระหว่างประเทศใช้บงั คับความสัมพันธ์ระหว่างกัน ในขณะ
กฎหมายภายในประเทศบังคับความเกี่ยวพันระหว่างเอกชนกับรัฐ หรื อระหว่างเอกชนกับเอกชน
3. การตกอยูภ่ ายใต้บงั คับ กฎหมายระหว่างประเทศมิได้ก ำหนดให้รัฐหนึ่งมีอ ำนาจเหนืออีกรัฐหนึ่ง
แต่เป็ นการจรรโลงความสัมพันธ์ระหว่างอธิปไตย การใช้อ ำนาจบังคับของกฎหมายนั้นบางครั้งเราจะได้เห็น
ได้วา่ ศาลภายในประเทศที่ยอมรับเอาหลักกฎหมายระหว่างประเทศมาใช้บงั คับในบางคดี ลักษณะการกระ
ทำเช่นนี้จึงถือว่า กฎหมายระหว่างประเทศเป็ นส่ วนหนึ่งของกฎหมายภายในประเทศ แต่ศาลยุติธรรม
ระหว่างประเทศไม่ยอมรับเอากฎหมายภายในประเทศใดประเทศหนึ่งมาเป็ นหลักในดารพิจารณาคดีพิพาท
ระหว่างประเทศ กฎหมายระหว่างประเทศ เป็ นกฎหมายที่ตอ้ งปฏิบตั ิตามเมื่อเกี่ยวข้องสัมพันธ์ต่อกันไม่วา่
ยามปกติหรื อสงคราม กฎหมายระหว่างประเทศมีมูลฐานมาจากความยินยอมของประเทศต่าง ๆ เป็ น
กฎหมายที่มีลกั ษณะแตกต่างกับกฎหมายภายในประเทศ กฎหมายระหว่างประเทศแบ่งออกเป็ น 3 สาขา
1. กฎหมายระหว่างประเทศแผนคดีเมือง ได้แก่ กฎหมายที่วา่ ด้วยความสัมพันธ์ระหว่างรัฐในฐานะ
ที่รัฐเป็ นนิติบุคคล แผนกนี้ ส่วนใหญ่เป็ นเรื่ องที่เกี่ยวกับความสัมพันธ์ทางการทูต การทำสนธิ สญ
ั ญาและการ
ทำสงคราม
2. กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล เป็ นกฎหมายที่บงั คับเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่าง
บุคคลที่เป็ นพลเมืองของรัฐในทางแพ่ง เช่น การสมรส การอย่า การได้สญ
ั ชาติ การสู ญเสี ยสัญชาติ เป็ นต้น
3. กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีอาญา เป็ นกฎหมายที่ก ำหนดความสัมพันธ์ระหว่างรัฐในคดี
อาญา เมื่อพลเมืองของรัฐกระทำผิดกฎหมายอาญา เช่น การกำหนดอำนาจที่จะบังคับและปฏิบตั ิต่อชาวต่าง
ประเทศ
ข้ อที่ 1 ความรู้ ทวั่ ไปเกีย่ วกับกฎหมายระหว่างประเทศ
กฎหมายระหว่างประเทศเป็ นหลักกฎหมายหรื อข้อตกลงร่ วมกันที่ใช้บงั คับกับความสัมพันธ์ระหว่าง
ประเทศ วิวฒั นาการของกฎหมายระหว่างประเทศเริ่ มต้นตั้งแต่สมัยโบราณก่อนคริ สต์กาล นับตั้งแต่มนุษย์
เริ่ มรวมตัวเป็ นชุมชนสื บต่อมาในสมัยกลาง สมัยใหม่จนถึงสมัยปั จจุบนั โดยเริ่ มจากการปฏิบตั ิต่อกันจน
กลายเป็ นจารี ตประเพณี สนธิสญ ั ญา และแนวคิดในการจัดตั้งองค์การระหว่างประเทศ
กฎหมายระหว่างประเทศไม่แสดงลักษณะทัว่ ไปให้ปรากฏชัดถึงอำนาจอธิ ปไตยแห่งการบังคับใช้
กฎหมายเหมือนกับกฎหมายภายใน เนื่องจากไม่มีองค์การรับผิดชอบโดยตรงในการกำหนดหลักปฏิบตั ิต่อ
กันระหว่างประเทศ การบังคับให้เป็ นไปตามหลักปฏิบตั ิน้ ัน และการอธิ บายและปรับหลักปฏิบตั ิให้เข้ากับ
ปั ญหาขัดแย้งระหว่างประเทศ
กฎหมายระหว่างประเทศมีที่มาจากสิ่ งที่ไม่เป็ นลายลักษณ์อกั ษร ได้แก่ จารี ตประเพณี และหลัก
กฎหมายทัว่ ไป และสิ่ งที่เป็ นลายลักษณ์อกั ษร ได้แก่ สนธิ สญ
ั ญา ข้อตกลงระหว่างประเทศ และคำพิพากษา
ของศาล กฎหมายระหว่างประเทศ แบ่งเป็ น 2 ประเภท ได้แก่
1.กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีเมือง
2.กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล
บทบาทของกฎหมายระหว่างประเทศ แบ่งเป็ น 2 ประการ คือ
1.การก่อให้เกิดและธำรงไว้ซ่ ึ งความเป็ นระเบียบเรี ยบร้อยที่สอดคล้องกับผลประโยชน์ส่วนรวม
ของสังคมแห่งรัฐ
2.การคุม้ ครองผลประโยชน์ของรัฐที่เกิดกรณี ขดั แย้ง

รายละเอียดทั่วไป
- การอยูร่ ่ วมกันเป็ นชุมชนเป็ นประชาคมระหว่างประเทศจะต้องมีกติกาที่ควบคุมความประพฤติและ
แบบแผน กติกาดังกล่าว เรี ยกว่า กฎหมายระหว่างประเทศ
- กฎหมายระหว่างประเทศ หมายถึง หลักกฎหมายหรื อข้อตกลงร่ วมที่ใช้บงั คับต่อความสัมพันธ์
ระหว่างประเทศ
- ประเทศ หมายถึง กลุ่มคนซึ่ งอยูร่ วมกันเป็ นปึ กแผ่นถาวรเป็ นอิสระบนอาณาเขตอันเดียวกับที่ตนเป็ น
เจ้าของ และอยูภ่ ายใต้อ ำนาจอันเดียวกันซึ่ งได้จดั ระเบียบไว้ โดยมุ่งจะให้เป็ นประกันแก่ทุกคนในการใช้
เสรี ภาพของตน
กลุ่มคนหนึ่งจะเป็ นประเทศได้ ต้ องประกอบด้ วย
1.เป็ นสมาคมถาวร
2.เป็ นสมาคมเอกราช
3.มีเจตนาร่ วมกัน
4.มีดินแดนที่ก ำหนดแน่นอน
- รัฐบาลตามความหมายอย่างกว้าง หมายถึง บุคคลหรื อคณะบุคคลซึ่ งได้รับมอบหมายให้เป็ นผูใ้ ช้
อำนาจอธิ ปไตยในการปกครองประเทศ
- รัฐบาลตามความหมายอย่างแคบ หมายถึง บุคคลหรื อคณะบุคคลซึ่ งใช้อ ำนาจบริ หาร

วิวฒั นาการของกฎหมายระหว่างประเทศ
1.กฎหมายระหว่างประเทศสมัยโบราณไม่มีการใช้กฎหมายร่ วมกัน และไม่มีการยอมรับความเสมอ
ภาคของกลุ่มชน การแก้ปัญหาความขัดแย้งระหว่างกลุ่มชนมักจะใช้ก ำลังทำสงคราม ต่อมาลดความทารุ ณ
โหดร้ายลงด้วยการวางหลักเกณฑ์แห่งสงคราม และเมื่อสังคมชาติมีความสัมพันธ์กนั กว้างขวางมากขึ้น
จนถึงมีผแู ้ ทนของแต่ละชาติเข้าไปในชาติอื่น จึงเกิดมีการวิวฒั นาการด้านกฎหมายขึ้น
2.กฎหมายระหว่างประเทศสมัยใหม่ชาวยุโรปสนใจกฎหมายโรมันมากขึ้น ได้มีการวางหลักกฎหมาย
เกี่ยวกับทะเลขึ้นหลายฉบับ แล้วรวบรวมเอาจารี ตประเพณี และการปฏิบตั ิระหว่างกันขึ้น หลายประเทศนำ
หลักเกณฑ์แห่งความสัมพันธ์ทางการทูตที่โกรซิ อุสเขียนไว้ ไปบังคับใช้ ซึ่ งถือว่าเป็ นกฎหมายระหว่าง
ประเทศอันหนึ่ง
3.กฎหมายระหว่างประเทศสมัยปัจจุบนั ในต้นยุคนี้ มีการสู ้รบทั้งภายในและนอกประเทศ ทำให้
ประเทศต่าง ๆ แสวงหาความเป็ นอยูแ่ บบสันติสุข จึงได้จดั ทำสนธิ สญ
ั ญากันขึ้น

* อังกฤษเป็ นประเทศแรกทีไ่ ด้ เปลีย่ นรู ปแบบของรัฐ จากรัฐราชาธิปไตยไปสู่ รัฐสมัยใหม่ ที่ต้งั อยู่บน


อาณาเขตที่กำหนดไว้ชัดแจ้ ง
* สนธิสัญญาเวสท์ ฟาเลีย ได้ รับการขนานนามว่ า กฎบัตรว่ าด้ วยธรรมนูญแห่ งยุโรป
* สนธิสัญญาอูเทรคท์ ได้ กำหนดหลักเกณฑ์ เกีย่ วกับแนวอาณาเขตระหว่ างประเทศในยุโรป
* องค์ การสหประชาชาติ เป็ นปัจจัยสำคัญของชีวติ ระหว่ างประเทศ และเป็ นกลไกสำคัญในการสร้ าง
สั นติภาพอย่ างแท้ จริง

ลักษณะทัว่ ไปของกฎหมายระหว่างประเทศ
1.ลักษณะเฉพาะของกฎหมายระหว่างประเทศ
- กฎหมายต้องเป็ นคำสัง่ หรื อข้อบังคับ
- กฎหมายต้องเป็ นคำสัง่ หรื อข้อบังคับที่มาจากรัฎฐาธิ ปัตย์ รัฎฐาธิ ปัตย์ คือ ผูซ้ ่ ึ งประชาชนส่ วน
มายอมรับนับถือว่าเป็ นผูม้ ีอ ำนาจสูงสุ ดในแผ่นดินหรื อบ้านเมืองนั้น และผูม้ ีอ ำนาจไม่ตอ้ งรับฟังอำนาจของ
ผูใ้ ดอีก
- กฎหมายต้องเป็ นคำสัง่ หรื อข้อบังคับที่ใช้บงั คับทัว่ ไป
- กฎหมายต้องมีสภาพบังคับ
2.กฎหมายระหว่างประเทศเป็ นส่ วนหนึ่งของกฎหมายภายในประเทศใช่หรื อไม่
2.1.ตามหลักคอมมอนลอว์ กฎหมายระหว่างประเทศเป็ นกฎหมายภายใน
2.2.ตามหลักประมวลกฎหมาย ( นักกฎหมายในประเทศภาคพื้นยุโรป )

กฎหมายระหว่างประเทศไม่เป็ นส่ วนหนึ่งของกฎหมายภายใน นักกฎหมายมีแนวคิดเกี่ยวกับปั ญหานี้แตก


ต่างกันไป ดังนี้
1.ทฤษฎีเอกนิยม มีหลักว่า ไม่วา่ จะเป็ นกฎหมายภายในหรื อระหว่างประเทศ มิได้เกิดจากความสมัคร
ใจของรัฐ ซึ่ งในบางกรณี อาจโดยใจสมัครก็ได้ ทฤษฎีเอกนิยมจึงอาจเรี ยกกฎหมายว่า กฎหมายตามความเป็ น
จริ ง
2.ทฤษฎีทวินิยม มีหลักว่า ไม่วา่ จะเป็ นกฎหมายภายในหรื อระหว่างประเทศ ย่อมเกิดจากใจสมัคร
เรี ยกว่า กฎหมายใจสมัคร
3.ความแตกต่างระหว่างกฎหมายภายในกับกฎหมายระหว่างประเทศ
3.1.มูลฐานแห่งกฎหมายไม่วา่ จะเป็ นกฎหมายภายในหรื อระหว่างประเทศ ย่อมมีมูลฐานมาจาก
ความยินยอมและการแสดงเจตนา
3.2.การบังคับใช้กฎหมาย
- กฎหมายระหว่างประเทศกระทำได้ระหว่างรัฐหลายรัฐที่ได้แสดงเจตนาไว้แต่เบื้องต้น
- กฎหมายภายในใช้บงั คับได้แต่เพียงในรัฐใดรัฐหนึ่งเท่านั้น
3.3.การชี้ขาดปัญหาขัดแย้ง
- การชี้ขาดปัญหาขัดแย้งเกี่ยวกับกฎหมายภายใน เป็ นหน้าที่ของศาลยุติธรรมภายในประเทศ
- กรณี มีขอ้ พิพาทระหว่างประเทศ สถาบันที่มีหน้าที่ในการชี้ ขาดปัญหา ได้แก่ ศาลยุติธรรม
ระหว่างประเทศ ซึ่ งมีที่ต้ งั อยูท่ ี่กรุ งเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์
3.4.หลักเกณฑ์ของการบัญญัติกฎหมาย
- กฎหมายระหว่างประเทศ บัญญัติโดยความยินยอมของแต่ละประเทศ
- กฎหมายภายในประเทศ บัญญัติข้ ึนโดยดุลยพินิจของรัฐ
ที่มาของกฎหมายระหว่างประเทศ
1.ที่มาของกฎหมายระหว่างประเทศ ที่ไม่เป็ นลายลักษณ์อกั ษร
1.1. จารี ตประเพณี ซึ่ งกฎหายจารี ตประเพณี จะมีข้ึนได้ ก็ต่อเมื่อมีการปฏิบตั ิและความเชื่อมัน่ ว่ามี
พันธกรณี ตามกฎหมาย กฎหมายจารี ตประเพณี มีความสำคัญมากในกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดี
บุคคล
1.2.หลักกฎหมายทัว่ ไป คือ กฎเกณฑ์ต่าง ๆ ที่มาจากกฎหมายภายในประเทศ ถือว่าเป็ นบ่อเกิดของ
กฎหมายระหว่างประเทศ สำหรับศาลยุติธรรมระหว่างประเทศหากไม่มีอนุสญ ั ญาหรื อหลักจารี ตประเพณี มา
ปรับใช้บงั คับในกรณี พิพาทได้ ก็จะพิจารณาพิพากษาโดยนำหลักกฎหมายทัว่ ไปมาใช้
2.ที่มาของกฎหมายระหว่างประเทศ ที่เป็ นลายลักษณ์อกั ษร
2.1.สนธิสญ ั ญาหมายถึง ความตกลงระหว่างประเทศที่ท ำขึ้นระหว่างรัฐเป็ นลายลักษณ์อกั ษร และอยู่
ภายใต้ขอบเขตของกฎหมายระหว่างประเทศ
2.2.ข้อตกลงระหว่างประเทศ ข้อตกลงระหว่างประเทศก่อให้เกิดผลทางกฎหมาย หมายถึง ผลบังคับ
ให้ประเทศที่แสดงเจตนาตามข้อตกลงระหว่างประเทศต้องปฏิบตั ิตาม
2.3.คำพิพากษาของศาล หมายถึง คำพิพากษาของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ( ศาลโลก )

ประเภทของกฎหมายระหว่างประเทศ
1.กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีเมืองเป็ นเครื่ องกำหนดหลักเกณฑ์ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
ซึ่ งประเทศย่อมมีสิทธิและหน้าที่เหมือนบุคคลธรรมดาคนหนึ่ง สิ ทธิ และหน้าที่ในฐานะนิติบุคคลของแต่ละ
ประเทศต้องมีความสัมพันธ์และข้อพิพาทโต้แย้งซึ่ งกันและกัน
2.กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคลเป็ นกฎหมายที่บญั ญัติเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
ซึ่ งอยูใ่ นประเทศต่าง ๆ กัน เป็ นความเกี่ยวพันธ์ในเรื่ องสิ ทธิ และหน้าที่ของพลเมืองของประเทศซึ่ งกระทำ
การเกี่ยวข้องกับคนต่างชาติ หรื อระหว่างคนต่างชาติดว้ ยกันเองในขณะอยูใ่ นประเทศอื่น
* ตำรากฎหมายระหว่างประเทศบางเล่มมีกฎหมายระหว่ างประเทศแผนกคดีอาญาเพิม่ อีก 1 ประเภท

บทบาทของกฎหมายระหว่างประเทศ
1.การก่อให้เกิดและธำรงไว้ซ่ ึ งความเป็ นระเบียบเรี ยบร้อย ที่สอดคล้องกับผลประโยชน์ส่วนรวมของ
สังคมแห่งรัฐเป็ นบทบาทที่ยอมรับกันโดยทัว่ ไป ทำให้ส่งเสริ มมิตรภาพ ความร่ วมมือปรองดอง และ
มิตรไมตรี ระหว่างรัฐ โดยกฎหมายระหว่างประเทศไม่พ่ งึ พาการใช้ก ำลังให้รัฐอยูภ่ ายใต้บงั คับของกฎหมาย
ระหว่างประเทศ กล่าวคือ ไม่มีสภาพบังคับ นัน่ เอง ( จึงมีผกู ้ ล่าวว่า กฎหมายระหว่างประเทศมีลกั ษณะที่ไม่
สมบูรณ์ หรื อกล่าวอีกนัยว่า กฎหมายที่ยงั ไม่สุกงอม ) จึงทำให้สงั คมระหว่างรัฐมีลกั ษณะ สังคมอนาธิ ปไตย
ซึ่ งไม่มีอ ำนาจสูงสุ ดในการบังคับบัญชา ทำให้รัฐต่าง ๆ มีการใช้ก ำลังต่อสู ้กนั อยูบ่ ่อย ๆ
2.การคุม้ ครองผลประโยชน์ของรัฐที่เกิดกรณี ขดั แย้งกันกฎหมายระหว่างประเทศก็เหมือนกับระบบ
กฎหมายอื่น ๆ กล่าวคือ เป็ นผลพวงที่เกิดจากความสัมพันธ์ของอำนาจ เป็ นเครื่ องมือของรัฐที่มีอ ำนาจที่จะ
ใช้เพื่อรักษาอำนาจที่มีอยูใ่ ห้มนั่ คงและยัง่ ยืน่ และแสวงหาผลประโยชน์จากรัฐที่ดอ้ ยอำนาจ
* แนวคิดของลัทธิสงั คมนิยมมาร์กซิสม์ เห็นว่า กฎหมายระหว่างประเทศเป็ นเครื่ องมือของรัฐที่มีอ ำนาจและ
กำลัง ที่จะแสวงหาผลประโยชน์จากรัฐที่ดอ้ ยด้วยกำลัง เช่นเดียวกับกฎหมายทัว่ ไป
ความรู้ทั่วไปเกีย่ วกับกฎหมายระหว่ างประเทศ
ความรู้ ทวั่ ไปเกีย่ วกับกฎหมายระหว่างประเทศ
ความหมายและลักษณะของกฎหมายระหว่างประเทศ
วิวฒั นาการของกฎหมายระหว่างประเทศ
บ่อเกิดของกฎหมายระหว่างประเทศ
ความหมายและลักษณะของกฎหมายระหว่ างประเทศ
ความหมายและลักษณะของกฎหมายระหว่างประเทศ
ความหมายของกฎหมายระหว่างประเทศ
ลักษณะของกฎหมายระหว่างประเทศ
ความหมายของกฎหมายระหว่างประเทศ
กฎหมายระหว่างประเทศหมายถึงกฎเกณฑ์ที่ใช้บงั คับในความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลระหว่าง
ประเทศ ซึ่ งในปัจจุบนั นอกจากรัฐแล้วยังมีองค์การระหว่างประเทศอีกด้วย อีกทั้งยังมีเนื้อหาซึ่ ง
เกี่ยวข้องกับการคุม้ ครองปัจเจกชนภายในรัฐต่างๆด้วย
กฎหมายระหว่างประเทศเป็ นกฎเกณฑ์ทางกฎหมาย แต่กฎหมายระหว่างประเทศมีลกั ษณะที่แตก
ต่างจากกฎหมายภายในของรัฐ เนื่องจากโครงสร้างของสังคมและพื้นฐานทางกฎหมายของกฎหมายทั้ง
สองระบบแตกต่างกัน
คำนิยามของกฎหมายระหว่างประเทศ
กฎหมายที่ใช้บงั คับต่อความสัมพันธ์ระหว่างรัฐ
รัฐเท่านั้นที่มีสิทธิและหน้าที่ซ่ ึ งได้รับการยอมรับ (Recognized)
เดิมรัฐเท่านั้นที่เป็ นบุคคลภายใต้กฎหมายระหว่างประเทศ (Subject of International Law)
ส่ วนปัจเจกชน ตลอดจนองคาพยพอื่นๆ (Entity) ซึ่ งได้รับผลประโยชน์ หรื อภาระ ตามกฎหมาย
ระหว่างประเทศนั้นถือว่าได้มาโดยความสัมพันธ์เกี่ยวเนื่องกับรัฐ จึงเป็ นเพียงเป้ าหมาย หรื อวัตถุ
แห่งกฎหมายระหว่างประเทศเท่านั้น (Object of International Law)
ต่อมากฎหมายระหว่างประเทศได้ขยายขอบเขตไปบังคับต่อความสัมพันธ์ระหว่างรัฐและองค์การ
ระหว่างประเทศ และ ระหว่างรัฐหรื อองค์การระหว่างประเทศกับปั จเจกชนด้วย องค์การระหว่าง
ประเทศเดิมก็ให้หมายถึง Inter governmental Organization แต่ปัจจุบนั ก็ขยายไปถึง NGO ด้วย
ความหมายของกฎหมายระหว่างประเทศ
กฎหมายระหว่างประเทศจึงหมายถึงกฎหมาย และ ระเบียบข้อบังคับทั้งปวงของสังคมระหว่าง
ประเทศ ที่ก ำกับ และ ควบคุมพฤติกรรมของบุคคลระหว่างประเทศให้สามารถอยูร่ ่ วมกันได้อย่าง
สันติสุข ซึ่ งในปัจจุบนั นี้ กฎหมายระหว่างประเทศมิได้จ ำกัดบทบาทอยูเ่ พียงในความสัมพันธ์
ระหว่างประเทศเท่านั้น แต่ได้ขยายบทบาทเข้ามาใช้บงั คับในประเทศด้วย โดยเข้ามาควบคุมแม้แต่
พฤติกรรมขององค์กรของรัฐกับปัจเจกชนด้วย แล้วยังให้ความคุม้ กันแก่ปัจเจกชน มิให้ผใู ้ ดละเมิด
สิ ทธิมนุษยชน ให้ความคุม้ ครองแก่เด็ก และสตรี ตลอดจนสิ่ งแวดล้อม และดำเนินคดี ลงโทษแก่ผู ้
ประกอบอาชญากรรมต่อมนุษยชาติและอาชญากรรมสงคราม

ความหมายของกฎหมายระหว่ างประเทศ
กฎหมายระหว่างประเทศเป็ นกฎเกณฑ์ทางกฎหมาย แต่กฎหมายระหว่างประเทศมีลกั ษณะที่แตกต่าง
จากกฎหมายภายในของรัฐ เนื่องจากโครงสร้างของสังคมและพื้นฐานทางกฎหมายของกฎหมายทั้งสอง
ระบบแตกต่างกัน
การยืนยันว่ากฎหมายระหว่างประเทศเป็ นกฎหมายอาจกระทำได้โดยอาศัยข้อพิสูจน์หลายประการ
นอกจากนี้ไม่วา่ นักนิติศาสตร์จะมีความเห็นแตกต่างกันอย่างไรก็ตามเกี่ยวกับคำอธิ บายเรื่ องสภาพบังคับ
ของกฎหมายระหว่างประเทศ แต่ในทางปฏิบตั ิแล้วปั จจัยที่สำคัญก็คือเจตนารมณ์ของรัฐต่างๆ และ
ปั จจัยภายนอกอื่นๆ เช่น ผลประโยชน์ของประชาคมระหว่างประเทศ
ลักษณะของกฎหมายระหว่างประเทศ
สภาพบังคับของกฎหมายระหว่างประเทศ แตกต่างจากกฎหมายภายใน
กฎหมายระหว่างประเทศแตกต่างจากมารยาท และอัธยาศัยไมตรี อนั ดีระหว่างประเทศ (International
Comity หรื อ Comitas gentium) หรื อศีลธรรม (Moral) ซึ่ งไม่มีสถานะเป็ นกฎหมาย และไม่มีโทษ
กฎหมายระหว่างประเทศลงโทษโดยหลักการความรับผิดชอบของรัฐ (State Responsibility, Economic
Sanction, Diplomatic Isolation)
ความแตกต่ างระหว่างกฎหมายระหว่างประเทศกับกฎหมายภายใน
ปัจจัยด้านโครงสร้าง
การรวมตัว Integration
หลักอธิปไตย Sovereignty, Supranational
การบังคับใช้กฎหมาย Enforcement, Consessus
ปัจจัยด้านพื้นฐานทางกฎหมาย
Pacta Sunt Servanda,
อำนาจรัฎฐาธิปัตย์
ข้ อพิสูจน์ เกีย่ วกับการกฎหมายและสภาพบังคับของกฎหมายระหว่ างประเทศ
ข้อพิสูจน์วา่ กฎหมายระหว่างประเทศเป็ นกฎหมาย
มูลฐานของสภาพบังคับหรื อผลผูกพันของกฎหมายระหว่างประเทศ
บทวิเคราะห์
ข้อพิสูจน์วา่ กฎหมายระหว่างประเทศเป็ นกฎหมายศาลยุติธรรมระหว่างประเทศได้น ำกฎหมายระหว่าง
ประเทศมาปรับใช้ประเทศทัว่ โลกยอมรับความมีอยูข่ องกฎหมายสหประชาชาติมีบทบาทในการ
ประมวลกฎหมายระหว่างประเทศโดยสมาชิกทัว่ โลกยอมรับไม่เคยมีประเทศใดปฏิเสธความเป็ น
กฎหมายระหว่างประเทศ และเรี ยกร้องสิ ทธิ ตามกฎหมายระหว่างประเทศมีกฎหมายระหว่างประเทศที่
ละเมิดมิได้แม้กฎหมายระหว่างประเทศและกฎหมายภายในไม่เหมือนกันก็มิอาจจะเปรี ยบเทียบกันได้
มูลฐานของสภาพบังคับหรือผลผูกพันของกฎหมายระหว่ างประเทศ
แนวคิดที่ยดึ ถือเจตนารมณ์ของผูท้ รงสิ ทธิ ของกฎหมายและรู ปแบบ Voluntarism- Positivism
ทฤษฎีการจำกัดอธิปไตยของตน Auto Autonomy
ทฤษฎีเจตนารมณ์ร่วมกัน Common consessus
ทฤษฎีกฎเกณฑ์ที่เหนือกว่า Pacta sunt servanda
แนวคิดที่ยดึ ถือปัจจัยภายนอกที่มิใช่เจตนารมณ์ของรัฐ
กฎหมายธรรมชาติ: เหตุผล จิตวิญญาณในธรรมชาติของมนุษย์
พวก Objectivism: Solidarist, Marxist
บทวิเคราะห์
ไม่อาจมีทฤษฎีหนึ่งทฤษฎีใดที่ตอบคำถามได้อย่างชัดเจน จึงต้องอาศัยทฤษฎีการประสาน กล่าวคือใน
ปั จจุบนั บทบาทของเจตนารมณ์ของรัฐในการสร้างกฎเกณฑ์ระหว่างประเทศเป็ นสิ่ งที่ไม่อาจจะปฏิเสธ
ได้ แต่ในการดำเนินความสัมพันธ์ระหว่างรัฐ และเพื่อร่ วมกันรับผิดชอบแก้ไขปั ญหาส่ วนรวม ทำให้รัฐ
ต้องยอมรับการเกิดขึ้นของกฎเกณฑ์ แม้จะไม่ใช่ดว้ ยความสมัครใจ หรื อสิ่ งที่ตนปรารถนาก็ตาม ดังนั้น
จึงมีปัจจัยอื่นๆในการพิจารณานอกเหนือจากเจตนารมณ์ในการสร้างกฎหมาย
ไม่วา่ จะมีความโต้แย้งในมูลฐานของสภาพบังคับของกฎหมายระหว่างประเทศเป็ นอย่างไรก็ไม่อาจ
ปฏิเสธสถานภาพของกฎหมายระหว่างประเทศว่าเป็ นกฎหมายอีกต่อไป
วิวฒ
ั นาการของกฎหมายระหว่างประเทศ
วิวฒั นาการของกฎหมายระหว่างประเทศในด้านรู ปแบบและเนื้ อหา
วิวฒั นาการของกฎหมายระหว่างประเทศในเชิงประวัติศาสตร์
วิวฒั นาการของกฎหมายระหว่างประเทศในด้ านรู ปแบบและเนือ้ หา
วิวฒั นาการของกฎหมายระหว่างประเทศในด้านรู ปแบบ
จารี ตประเพณี (Customary International Law)
ทางปฏิบตั ิของรัฐ (State Practice)
รู ปแบบกฎหมายมหาชนระหว่างประเทศ (Public International Law)
เกี่ยวข้องเฉพาะรัฐ (State, Sovereignty, Diplomatic Immunity, Law of the Sea, Law of War)
ต่ อมาขยายขอบเขตความสัมพันธ์ ของรัฐ
ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับเอกชน
สร้างกฎหมายในรู ปของสนธิสญ ั ญา ทวิภาคี พหุภาคี
วิวฒั นาการของกฎหมายระหว่างประเทศในด้ านเนือ้ หา
เดิมทีกฎหมายระหว่างประเทศ จำกัดเพียงความสัมพันธ์ระหว่างรัฐจึงเน้น Public international Law
เช่น Law of War, Jus ad bellum, Jus in bello
ต่อมาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศขยายไปครอบคลุมถึงระดับองค์การระหว่างประเทศ และ
เอกชน จึงเกิด Private International Law, International transaction , International trade law,
Maritime Law, International environmental law, International criminal Law, Intellectual property
law, International organization Law, Humanitarian Law
วิวฒั นาการของกฎหมายระหว่างประเทศในเชิงประวัตศิ าสตร์
จากอดีตถึงสิ้ นสมัยกลางประมาณศตวรรษที่ 16 กฎเกณฑ์ของกลุ่มสังคม, จักรวรรดิ, อาณาจักร
โรมัน Jus gentium อิทธิพลของศาสนา, ยุคกลาง Middle Age ความขัดแย้งทางศาสนา การเกิดสงครามแย่ง
ชิง ขยายอำนาจทางทะเล อำนาจอธิปไตย สันติภาพ จากยุคศตวรรษที่ 16 จนถึงสงครามโลกครั้งที่ 1 ยุคสร้าง
รัฐชาติ ศูนย์กลางที่ยโุ รป วิวฒั นาการทางเทคโนโลยี อธิ ปไตย ความเสมอภาค สร้างสถาบันความร่ วมมือ
สงครามโลกครั้งที่ 1 การสร้างกฎเกณฑ์เพื่อสันติภาพ จากยุคสงครามโลกครั้ งที่ 1 ถึงยุคปั จจุบนั สิ้ น
สงครามโลกครั้งที่ 1 ใช้กฎหมายเป็ นเครื่ องมือรักษาสันติภาพของโลกสิ้ นสงครามโลกครั้งที่ 2 Collective
Security, Socialism- Liberalism, Cold War, North-South สิ้ นสงครามเย็น Economic War, Neo Liberalism,
Global Market
บ่ อเกิดของกฎหมายระหว่างประเทศ
บ่อเกิดหลักของกฎหมายระหว่างประเทศ
บ่อเกิดลำดับรองของกฎหมายระหว่างประเทศ และบ่อเกิดที่มิได้บญั ญัติไว้ในธรรมนูญศาลยุติธรรม
ระหว่างประเทศ
บ่ อเกิดหลักของกฎหมายระหว่างประเทศ
สนธิสญ ั ญา (Treaty)
กฎหมายจารี ตประเพณี ระหว่างประเทศ (Customary International Law)
ลักษณะและหลักการที่สำคัญเกี่ยวกับจารี ตประเพณี ระหว่างประเทศ
ไม่เป็ นลายลักษณ์อกั ษร เป็ นบ่อเกิดของกฎหมาย มีผลใช้ได้ทวั่ ไป erga omnes จารี ตประเพณี มีท้ งั
สากล และท้องถิ่น
การสร้างจารี ตประเพณี ระหว่างประเทศ: Material element, Time element, Psychological element)
หลักกฎหมายทัว่ ไป (General Principle of Law)
วิวฒ ั นาการของขั้นตอนการสร้ างกฎหมายจารีตประเพณีระหว่ างประเทศ
องค์การระดับสากลเป็ นเวทีในการเจรจาระหว่างประเทศ เพื่อประมวลและพัฒนาการกฎหมาย
ระหว่างประเทศ สร้างระเบียบกฎเกณฑ์ เกิดแนวโน้มของกฎหมาย de lege ferenda มีการอุดช่อง
ว่างของกฎหมาย lacunae ต่อมากฎหมายก่อตัวขึ้นเป็ น lex ferenda หรื อ soft law, Guideline
มีการประมวลจารี ตประเพณี เป็ นกฎหมายที่แน่นอน จนเป็ นที่ยอมรับในฐานะกฎหมายเป็ น Lex lata
บ่ อเกิดลำดับรองของกฎหมายระหว่างประเทศ
แนวคำพิพากษาของศาลระหว่างประเทศ (Jurisprudence of International Law)
ทฤษฎีของผูเ้ ชี่ยวชาญทางกฎหมายระหว่างประเทศ (Doctrine of Publicist)
บ่ อเกิดทีม่ ิได้ บัญญัติไว้ในธรรมนูญศาลยุติธรรมระหว่ างประเทศ
การกระทำฝ่ ายเดียว (Unilateral Acts)
การกระทำฝ่ ายเดียวของรัฐ
การกระทำฝ่ ายเดียวขององค์การระหว่างประเทศ
Acts, Decision, Resolution, Declaration
Law-Making Treaty
เช่นปฏิญญาสากลว่าด้วยสิ ทธิมนุษยชน Universal Declaration of Human rights
Displaced Persons
องค์ การระหว่ างประเทศ
องค์ การระหว่างประเทศ (International Organizations) หมายถึง โครงสร้างหรื อสถาบันที่เป็ นทางการ
(formal) ถูกสร้างขึ้นโดยข้อตกลงระหว่างรัฐหรื อไม่ใช่รัฐก็ได้ เพื่อบรรลุจุดประสงค์และผลประโยชน์ร่วม
กัน ซึ่ งองค์การระหว่างประเทศจะตั้งขึ้นโดยสนธิ สญ
ั ญาหรื อความตกลงระหว่างสอง "รัฐ" ขึ้นไป

หน้ าที่ขององค์ การระหว่ างประเทศ

1. จัดประชุมปรึ กษาหารื อระหว่าง "รัฐ"


2. วางกฎเกณฑ์ต่างเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่าง "รัฐ"
3. จัดสรรทรัพยากร (Resource Allocation)
4. เสนอการใช้วิธีป้องกันร่ วมกัน (Collective Defence)
5. เสนอการใช้วิธีปฏิบตั ิการรักษาสันติภาพ (Peace - Keeping)
6. ส่ งเสริ มความร่ วมมือเฉพาะด้านในด้านต่างๆ
ทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้
นครนิวยอร์ ก มี 5 องค์ กร คือ
1. สำนักงานใหญ่องค์การสหประชาชาติ

2. OHRLLS

3. สำนักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (UNDP)

4. กองทุนประชากรแห่งสหประชาชาติ (UNFPA)

5. กองทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (UNICEF)

กรุ งวอชิงตัน ดี.ซี. มี 2 องค์กร คือ

1. กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF)

2. ธนาคารเพื่อการบูรณะและพัฒนาระหว่างประเทศ (World Bank Group)

เมืองมอลทรีออล มี 1 องค์กร คือ

1. องค์กรการบินพลเรื อนระหว่างประเทศ (ICAO)

เมืองซานโตโดมินโก มี 1 องค์กรคือ

1. INSTRAW
เมืองซานติเอโก มี 1 องค์กร คือ

1. ECLAC
ทวีปยุโรป
รวม 21 องค์กร ได้แก่
กรุ งเจนีวา มี 10 องค์กร คือ

1. ECE

2.ILO

3. International Telecommunication Union (ITU)

4.OHCHR

5.การประชุมสหประชาชาติวา่ ด้วยการค้าและการพัฒนา (UNCTAD)

6.UNHCR

7.องค์การอนามัยโลก (WHO)

8.WIPO

9.องค์กรอุตุนิยมวิทยาโลก (WMO)

10.องค์การการค้าโลก (WTO) (Trade)

กรุ งเวียนนา มี 3 องค์กร คือ

1.IAEA

2.UNIDO

3.UNODC

กรุ งโรม มี 3 องค์กร คือ

1.องค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO)

2.IFAD
3.WFP

กรุ งลอนดอน มี 1 องค์กร คือ

1.IMO

กรุ งปารีส มี 1 องค์กร คือ

1.กองทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (UNICEF)

กรุ งมาดริด มี 1 องค์กร คือ

1.WTO (Tourism)

กรุ งเฮก มี 1 องค์กร คือ

1.ICJ

กรุ งเบอร์ น มี 1 องค์กร คือ

1.สหภาพสากลไปรษณี ย ์ (UPU)


ทวีปแอฟริกา
รวม 3 องค์กรคือ
กรุ งไนโรบี มี 2 องค์กร คือ

1.องค์การสิ่ งแวดล้อมโลก (UNEP)

2.UN-HABITAT

กรุ งแอดดิส อบาบา มี 1 องค์กร คือ

1.ECA
ทวีปเอเชีย
รวม 4 องค์กรคือ
กรุ งเบรุต มี 1 องค์กร คือ

1.ESCWA

กรุ งกาซา มี 1 องค์กร คือ


1.UNRWA

กรุ งเทพฯ มี 1 องค์กร คือ

1.คณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่ งเอเชียและแปซิ ฟิค (ESCAP)

กรุ งโตเกียว มี 1 องค์กร คือ

1.UNU

สหประชาชาติ
ประเทศที่ได้รับการรับรองว่าเป็ นเอกราชจากองค์การสหประชาชาติ โดยไม่ค ำนึงถึงมุมมองของรัฐ
สมาชิกอื่น หรื อต่อสถานภาพทางกฎหมายของประเทศใดๆ
สำนักงานใหญ่ แมนฮัตตัน นครนิวยอร์ก รัฐนิวยอร์ก สหรัฐอเมริ กา
ภาษาราชการ ภาษาอารบิก ภาษาจีน ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส ภาษารัสเซี ย ภาษาสเปน
รัฐสมาชิก 192 ประเทศ
ผูน้ ำ เลขาธิการสหประชาชาติ บัน คี มูน
การก่อตั้ง กฎบัตรสหประชาชาติ 26 มิถุนายน ค.ศ. 1945
การบังคับใช้กฎบัตร 24 ตุลาคม ค.ศ. 1945
สหประชาชาติ (อังกฤษ: United Nations; ตัวย่อ: UN) หรื อ องค์ การสหประชาชาติ (ตัวย่อ: UNO)
เป็ นองค์การระหว่างประเทศซึ่ งมีวตั ถุประสงค์เพื่อก่อให้เกิดร่ วมมือกันของกฎหมายระหว่างประเทศ ความ
มัน่ คงระหว่างประเทศ การพัฒนาเศรษฐกิจ การเปลี่ยนแปลงทางสังคม สิ ทธิ มนุษยชน และการบรรลุ
สันติภาพโลก สหประชาชาติถูกก่อตั้งขึ้นภายหลังสงครามโลกครั้งที่สองยุติลงในปี พ.ศ. 2488 เพื่อแทนที่
สันนิบาตชาติ ในการยับยั้งสงครามระหว่างประเทศ และเพื่อเป็ นเวทีสำหรับการเจรจาเพื่อยุติขอ้ พิพาท
สหประชาชาติมีองค์การย่อย ๆ จำนวนมากเพื่อดำเนินการตามภารกิจ
สหประชาชาติมีสมาชิกทั้งหมด 192 ประเทศ ครอบคลุมรัฐอธิ ปไตยเกือบทุกรัฐบนโลก มี
สำนักงานใหญ่ต้ งั อยูใ่ นนครนิวยอร์ก ระบบสหประชาชาติอยูบ่ นพื้นฐานของ 5 องค์กรหลัก ได้แก่: สมัชชา
ใหญ่แห่งสหประชาชาติ คณะมนตรี ความมัน่ คงแห่งสหประชาชาติ คณะมนตรี เศรษฐกิจและสังคมแห่ ง
สหประชาชาติ สำนักงานเลขาธิการแห่งสหประชาชาติ และศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ นอกจากนี้ยงั มี
องค์กรอื่น ๆ อีกเช่นองค์การอนามัยโลก ยูเนสโก และยูนิเซฟ เจ้าหน้าที่ระดับสู งที่มกั เป็ นที่รู้จกั และปรากฏ
ตัวต่อสาธารณชน คือ เลขาธิการสหประชาชาติ ปั จจุบนั ผูด้ ำรงตำแหน่งนี้ คือ นายบัน คี มุน ชาว
เกาหลีใต้ เข้ารับตำแหน่งเมื่อวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 2007 ต่อจากโคฟี อันนัน

ประวัติการก่ อตั้ง
สหประชาชาติถูกก่อตั้งขึ้นเพื่อสื บทอดองค์การสันนิบาตชาติ ซึ่ งถูกมองว่าไร้ประสิ ทธิ ถาพที่จะ
ธำรงรักษาสันติภาพ ดังที่เห็นได้จากความล้มเหลวในการป้ องกันสงครามโลกครั้งที่สอง คำว่า
"สหประชาชาติ" เป็ นแนวคิดของ แฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์และวินสตัน เชอร์ชิลล์ ถูกใช้ครั้งแรกในกฎบัตร
สหประชาชาติ เมื่อปี  ค.ศ. 1942 ซึ่ งเป็ นการรวบรวมเอาประเทศฝ่ ายสัมพันธมิตร 26 ประเทศในสงครามโลก
ครั้งที่สองเข้าด้วยกันภายใต้การลงนามในกฎบัตรแอตแลนติก และกลายเป็ นคำที่ใช้เรี ยกองค์การนี้ ในที่สุด
ในปี  ค.ศ. 1944 ตัวแทนจากประเทศฝรั่งเศส สาธารณรัฐจีน สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริ กา และสหภาพ
โซเวียต ได้เข้าร่ วมประชุมเพื่อวางแผนการก่อตั้งสหประชาติที่ดมั บาตันโอกส์ ในกรุ งวอชิงตัน ดี.ซี . การ
ประชุมครั้งนั้นและครั้งต่อ ๆ มา ทำให้เกิดรากฐานความร่ วมมือกันระหว่างประเทศเพื่อนำไปสู่ สนั ติภาพ
ความมัน่ คง ความร่ วมมือทางเศรษฐกิจและสังคม โดยแผนเหล่านี้ได้ผา่ นการถกเถียงอภิปรายจากรัฐบาล
และประชาชนจากทัว่ โล
เมื่อใกล้สิ้นสุ ดสงคราม การประชุมสหประชาชาติวา่ ด้วยองค์การระหว่างประเทศ เริ่ มต้นขึ้นเมื่อวัน
ที่ 25 เมษายน ค.ศ. 1945 ที่นครซานฟรานซิสโก ตัวแทนจาก 50 ประเทศได้ลงนามในกฎบัตรสหประชาชาติ
เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน ยกเว้นโปแลนด์ที่ไม่สามารถส่ งผูแ้ ทนเข้าร่ วมประชุมได้แต่ได้รับการพิจารณาให้เป็ น
สมาชิกดั้งเดิม รวมเป็ น 51 ประเทศ แม้สนั นิบาตชาติจะถูกล้มเลิกไป แต่อุดมการณ์ส่วนใหญ่และโครงสร้าง
บางประการได้ถูกกำหนดไว้ในกฎบัตรโดยได้รับการพัฒนาให้เหมาะสมกับโลกใหม่ที่ซบั ซ้อนมากขึ้น หลัง
จากกฎบัตรผ่านการลงนามจากสมาชิก สหประชาชาติจึงได้รับการสถาปนาอย่างเป็ นทางการเมื่อกฏบัตรมี
ผลบังคับใช้ในวันที่ 24 ตุลาคม ค.ศ. 1945 หลังจากนั้น การประชุมสมัชชาครั้งแรกเกิดขึ้นที่กรุ ง
ลอนดอน เมื่อเดือนมกราคม ค.ศ. 1946
ระบบสหประชาชาติอยูบ่ นพื้นฐานของ 5 องค์กรหลัก (ไม่นบั รวมไปถึง คณะมนตรี ภาวะทรัสตี
แห่งสหประชาชาติ ซึ่ งยุติการปฏิบตั ิงานไปในปี  ค.ศ. 1994) ซึ่ งประกอบด้วย สมัชชาใหญ่แห่ง
สหประชาชาติ คณะมนตรี ความมัน่ คงแห่งสหประชาชาติ คณะมนตรี เศรษฐกิจและสังคมแห่ ง
สหประชาชาติ สำนักงานเลขาธิการแห่งสหประชาชาติและศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ สี่ องค์กรในจำนวน
ดังกล่าวมีสถานที่ท ำการในสำนักงานใหญ่ขององค์การสหประชาชาติในนครนิวยอร์ก ส่ วนศาลยุติธรรม
ระหว่างประเทศตั้งอยูท่ ี่กรุ งเฮก ส่ วนองค์การย่อย ๆ ตั้งอยูท่ ี่เจนีวา เวียนนาและไนโรบี รวมไปถึงเมืองอื่น ๆ
ทัว่ โลก
สหประชาชาติมีธง ที่ท ำการไปรษณี ย ์ และดวงตราไปรษณี ยากรของตนเอง ภาษาทางการที่ใช้มีอยู่
6 ภาษา คือ ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาสเปน ภาษารัสเซี ย ภาษาจีน และภาษาอาหรับ โดยที่ภาษา
อาหรับได้ถูกเพิ่มเข้ามาหลังสุ ด เมื่อปี  ค.ศ. 1973 ส่ วนสำนักงานเลขาธิ การนั้นใช้ 2 ภาษาคือ ภาษา
อังกฤษ และภาษาฝรั่งเศส ภาษาอังกฤษที่ก ำหนดให้เป็ นมาตรฐาน คือ อังกฤษบริ ติช และการสะกดแบบอ
อกซ์ฟอร์ด ส่ วนภาษาจีนมาตรฐาน คือ อักษรจีนตัวย่อ ซึ่ งเปลี่ยนมาจาก อักษรจีนตัวเต็ม ในปี  ค.ศ. 1971 เมื่อ
สาธารณรัฐประชาชนจีนเป็ นสมาชิกสหประชาชาติแทนสาธารณรัฐจีน
สมัชชาใหญ่ แห่ งสหประชาชาติ

สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ
ดูบทความหลักที่   สมัชชาใหญ่ แห่ งสหประชาชาติ
สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติคือการประชุมของประเทศสมาชิกองค์การสหประชาชาติ
ประเทศสมาชิกของสหประชาชาติจะประชุมสมัชชาใหญ่ซ่ ึ งอาจเปรี ยบได้กบั รัฐสภาของโลกเป็ น
ประจำทุกปี โดยมีประธานสมัชชาที่ได้รับการเลือกมาจากประเทศสมาชิก การประชุมจะกินเวลานาน
สองสัปดาห์ ซึ่ งทุกประเทศสามารถเสนอญัตติแก่ที่ประชุมได้ การประชุมสมัชชาใหญ่ครั้งแรกเกิดขึ้น
เมื่อวันที่ 10 มกราคม ค.ศ. 1946 ณ กรุ งลอนดอน ซึ่ งในขณะนั้นมีสมาชิก 51 ประเทศ
เมื่อที่ประชุมสหประชาชาติมีญตั ติที่สำคัญ จะต้องมีการลงมติโดยประเทศสมาชิกจำนวน
อย่างน้อยสองในสามเพื่อให้มีการผ่าน อย่างเช่น การประชุมเกี่ยวกับสันติภาพและการรักษาความ
ปลอดภัย การเลือกสมาชิกขององค์การ การรับสมาชิก การยุติสถานะสมาชิก การขับไล่สมาชิกและ
เรื่ องของการจัดสรรงบประมาณ ส่ วนญัตติอื่นจะยึดถือตามเสี ยงข้างมาก ไม่วา่ ประเทศจะมีขนาดใหญ่
หรื อเล็ก ร่ำรวยหรื อยากจน ต่างมีสิทธิออกเสี ยงได้เพียงเสี ยงเดียว แม้วา่ คำตัดสิ นของสมัชชาใหญ่มิได้
ถือเป็ นข้อผูกมัดแต่กเ็ ป็ นมติที่มีน ้ำหนักเท่ากับเป็ นความเห็นของรัฐบาลโลก สมัชชาใหญ่สามารถให้
คำแนะนำเกี่ยวกับประเด็นต่าง ๆ ภายใต้ขอบเขตขององค์การสหประชาชาติ ยกเว้นเรื่ องสันติภาพและ
การรักษาความปลอดภัยซึ่ งเป็ นการตัดสิ นใจของคณะมนตรี ความมัน่ คงแห่งสหประชาชาติ
คณะมนตรีความมัน่ คงแห่ งสหประชาชาติ
คณะมนตรี ความมัน่ คงแห่งสหประชาชาติมีหน้าที่ด ำรงรักษาสันติภาพและความปลอดภัยแก่
ประเทศสมาชิก ขณะที่ส่วนอื่น ๆ ของสหประชาชาติสามารถเพียงให้ค ำแนะนำแก่รัฐบาลของประเทศ
สมาชิก แต่คณะมนตรี ความมัน่ คงมีอ ำนาจที่จะผูกมัดประเทศสมาชิกให้ปฏิบตั ิตามการตัดสิ นใจของ
คณะมนตรี ความมัน่ คงแห่งสหประชาชาติตามข้อตกลงในกฎบัตรข้อที่ 25 โดยผลการตัดสิ นใจของ
คณะมนตรี ความมัน่ คง เรี ยกว่า มติของคณะมนตรี ความมัน่ คงแห่งสหประชาชาติ
คณะมนตรี ความมัน่ คงแห่งสหประชาชาติประกอบด้วยสมาชิก 15 ประเทศ ได้แก่ สมาชิก
ถาวร 5 ประเทศ คือ จีน ฝรั่งเศส รัสเซีย สหราชอาณาจักรและสหรัฐอเมริ กา และสมาชิกไม่ถาวรอีก
10 ประเทศ ซึ่ งปัจจุบนั ประกอบด้วย ออสเตรี ย บอสเนียและเฮอร์เซโกวี
นา บราซิล กาบอง ญี่ปน เลบานอน เม็
ุ่ กซิ โก ไนจีเรี ย ตุรกี และยูกนั ดาและ สมาชิกถาวรทั้งห้าประเทศ
มีสิทธิ์ ที่จะใช้อ ำนาจยับยั้งการนำไปใช้ แต่ไม่ใช่การยับยั้งมติโดยรวม ส่ วนสมาชิกไม่ถาวรทั้งสิ บ
ประเทศจะอยูใ่ นตำแหน่งคราวละสองปี ซึ่ งได้รับเลือกจากสมัชชาใหญ่โดยใช้เกณฑ์ตามภูมิภาค
ประธานคณะมนตรี ความมัน่ คงแห่งสหประชาชาติจะหมุนเวียนตามตัวอักษรทุกเดือน ซึ่ งขณะนี้
ประเทศที่เป็ นประธานคณะมนตรี ความมัน่ คงแห่งสหประชาชาติ คือ เวียดนาม
เลขาธิการสหประชาชาติ

เลขาธิการทำหน้าที่เป็ นโฆษกและเสมือนเป็ นผูน้ ำขององค์การสหประชาชาติ เลขาธิ การคน


ปั จจุบนั ขององค์การสหประชาชาติ คือ นาย ปัน กี มุน ซึ่ งทำหน้าที่ต่อจากนาย โคฟี อันนัน ในปี  ค.ศ.
2007 โดยมีก ำหนดสิ้ นสุ ดวาระแรกของเขาในปี  ค.ศ. 2011
ตำแหน่งนี้ ซึ่ งแฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์มองว่าเป็ น "ผูด้ ูแลโลก" ถูกนิยามไว้ในกฎบัตร
สหประชาชาติวา่ เป็ น "ผูน้ ำการบริ หารขององค์การ" และกฎบัตรยังได้ระบุวา่ เลขาธิ การสหประชาชาติ
สามารถยก "ปัญหาใด ๆ ที่เขาเห็นว่าอาจส่ งผลกระทบต่อสันติภาพและความมัน่ คงของนานาชาติ" ขึ้น
เพื่อให้คณะมนตรี ความมัน่ คงแห่งสหประชาชาติพิจารณาได้ ทำให้บทบาทของเลขาธิ การ
สหประชาชาติมีขอบเขตกว้างขวางมากขึ้นในเวทีโลก ตำแหน่งเลขาธิ การแห่งสหประชาชาติจึงมีสอง
บทบาท ทั้งผูบ้ ริ หารสหประชาชาติ และนักการทูตหรื อผูไ้ กล่เกลี่ยกรณี พิพาทระหว่างประเทศสมาชิก
และหาข้อยุติให้กบั ประเด็นของโลก http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B8%AB
%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%8A
%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%B4 - cite_note-sgrole-9  เลขาธิ การสหประชาชาติมีหน้าที่ที่จะ
ควบคุมปฏิบตั ิการรักษาสันติภาพ การควบคุมองค์กรสากล การรวบรวมข้อมูลจากข้อตัดสิ นใจของ
คณะมนตรี ความมัน่ คงแห่งสหประชาชาติและพูดคุยกับผูน้ ำรัฐบาลของประเทศต่าง ๆ
เลขาธิการสหประชาชาติถูกแต่งตั้งจากสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ หลังจากที่ได้รับมติมา
จากคณะมนตรี ความมัน่ คงแห่งสหประชาชาติ การเลือกเลขาธิ การสหประชาชาติมีสิทธิ์ ถูกยับยั้งจาก
สมาชิกของคณะมนตรี ความมัน่ คงแห่งสหประชาชาติ และตามทฤษฎีแล้ว สมัชชาใหญ่จะสามารถ
เปลี่ยนการสนับสนุนของคณะมนตรี ความมัน่ คงแห่งสหประชาชาติได้ หากไม่ได้รับคะแนนเสี ยงส่ วน
ใหญ่ แต่กย็ งั ไม่เคยเกิดกรณี เช่นนี้ข้ ึนตำแหน่งเลขาธิ การสหประชาชาติไม่ได้ถูกกำหนดคุณสมบัติ
แน่ชดั แต่เป็ นที่ยอมรับกันว่าอยูใ่ นตำแหน่งวาระละห้าปี ได้หนึ่งหรื อสองวาระ ตำแหน่งควรจะเวียน
ไปตามภูมิภาคของโลก และต้องไม่ได้มาจากประเทศสมาชิกถาวรของคณะมนตรี ความมัน่ คงแห่ง
สหประชาชาติ
สำนักงานโครงการพัฒนาแห่ งสหประชาชาติ 

สำนักงานโครงการพัฒนาแห่ งสหประชาชาติ (อังกฤษ: United Nations Development


Program: UNDP) มีสำนักงานใหญ่ที่ เมืองนิวยอร์ก สหรัฐอเมริ กา เป็ นองค์การพหุภาคี เพื่อช่วยเหลือ
ด้านการพัฒนา และเป็ นหน่วยงานสำคัญในการประสานงานความช่วยเหลือในด้านการพัฒนาของ
สหประชาชาติ โดยเริ่ มจากการขยายการให้ความช่วยเหลือด้านวิชาการ แก่ประเทศกำลังพัฒนา ด้วย
หลักการดำเนินการแบบสากลและเป็ นกลางในทางการเมือง ตามเป้ าหมายการพัฒนาที่ๆสำคัญๆ มี
สมาชิก 170 ประเทศ เพื่อร่ วมมือในการวางแผน และดำเนินโครงการในด้าน
การเกษตร อุตสาหกรรม การศึกษา และสิ่ งแวดล้อม
กองทุนแห่ งสหประชาชาติ

กองทุนประชากรแห่ งสหประชาชาติ (อังกฤษ United Nations Population Fund) เป็ นองค์กรที่ใหญ่


ที่สุดในโลก[ต้องการอ้ างอิง] ด้านการให้ความช่วยเหลือ แก่ประเทศที่ก ำลังพัฒนาในการแก้ปัญหาด้านประชากร
ก่อตั้งขึ้นในปี 1969 (พ.ศ. 2512) ภายใต้ชื่อ "กองทุนสหประชาชาติเพื่อกิจการด้านประชากร" (United
Nations Fund for Population Activities) ต่อมาในปี 1987 (พ.ศ. 2530) สภาเศรษฐกิจและสังคมแห่ง
สหประชาชาติได้มีมติเปลี่ยนชื่อใหม่เป็ น "กองทุนประชากรแห่งสหประชาชาติ" โดยยังคงใช้ชื่อย่อเดิม และ
ถือให้วนั ที่ 11 กรกฎาคมของทุกปี เป็ นวันประชากรโลก
จุดมุ่งหมาย
กองทุนประชากรแห่งสหประชาชาติ มีจุดมุ่งหมายที่จะช่วยเหลือประเทศต่างๆ ในการจัดการแก้
ปั ญหาประชากรและการพัฒนาเพื่อยกระดับชีวิตทั้งในปั จจุบนั และอนาคต มีอ ำนาจหน้าที่ตามที่ได้ก ำหนด
ไว้ ดังนี้

1. เสริ มสร้างสมรรถนะของประเทศด้านการพัฒนาประชากรและการวางแผนครอบครัว
2. ส่ งเสริ มการให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปั ญหาประชากรและพัฒนากลยุทธ์ในการแก้ปัญหา
3. สนับสนุนและช่วยเหลือประเทศกำลังพัฒนาตามคำขอเพื่อจัดการปั ญหาประชากรด้วยรู ปแบบและ
วิธีการที่สอดคล้องกับความต้องการของแต่ละประเทศ
4. มีบทบาทนำในระบบสหประชาชาติในการส่ งเสริ มแผนงานด้านประชากรและประมานงาน
โครงการต่างๆที่ได้รับการสนับสนุนจากกองทุนฯ
กองทุนเพือ่ เด็กแห่ งสหประชาชาติ 
กองทุนเพือ่ เด็กแห่ งสหประชาชาติ หรื อ ยูนิเซฟ (อังกฤษ United Nations Children's Fund -
UNICEF) เป็ นหน่วยงานของสหประชาชาติเพื่อให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม, พัฒนาการ,
สุ ขภาพรวมถึงความเป็ นอยูข่ องเด็กและแม่ในประเทศกำลังพัฒนา ก่อตั้งโดยสมัชชาสามัญแห่ง
สหประชาชาติเมื่อวันที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2489 ด้วยชื่อในขณะนั้นว่า United Nations International
Children's Emergency Fund
กองทุนฉุกเฉินสำหรับเด็กแห่ งสหประชาชาติ
ในวันที่ 7 กันยายน 2549 ทางยูนิเซฟได้ท ำข้อตกลงกับสโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนา โดยเสื้ อของ
สโมสรจะมีสญ ั ลักษณ์ของยูนิเซฟ ซึ่ งเป็ นครั้ งแรกของสโมสรฟุตบอลที่มีโฆษณาหน่วยงานแทนที่โฆษณา
สิ นค้า
องค์ การยูนิเซฟ
ปั จจุบนั จะดูแลงานที่เกี่ยวกับการช่วยเหลือเด็กทัว่ โลก ดูแลพัฒนาการ การศึกษาพื้นฐาน ความเท่า
เทียมกันระหว่างเพศ เช่นการได้รับการศึกษาของเด็กหญิง การปกป้ องเด็กจากความรุ นแรง การทารุ ณทำร้าย
เด็ก การใช้แรงงานเด็ก โรคเอดส์ที่ติดต่อมาถึงเด็ก รวมถึงการพิทกั ษ์สิทธิ ของเด็กด้วย
โครงสร้ างองค์กรและผู้ร่วมงาน
หัวใจหลักในการทำงานของยูนิเซฟ คือ การลงภาคสนามไปกับบรรดาผูอ้ าสามาร่ วมงานด้วยใน
มากกว่า 150 กว่าประเทศ และยังมีสำนักงานตั้งอยูใ่ นประเทศต่างๆ มากกว่า 120 ประเทศ สำหรับของไทย
จะมี คุณอานันท์ ปันยารชุน เป็ นทูตยูนิเซฟประจำประเทศไทย นอกจากนี้ ยงั มี เคน ธีรเดช วงศ์พวั
พันธ์ และ แอน ทองประสม ด้วย
วอชิงตัน ดี.ซี. กองทุนการเงินระหว่างประเทศ
กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (อังกฤษ: International Monetary Fund) หรื อ ไอเอ็มเอฟ (IMF)
เป็ นองค์กรที่รัฐบาลของกลุ่มประเทศพันธมิตรได้ร่วมก่อตั้งขึ้น มีฐานะเป็ นทบวงการชำนาญพิเศษของ
สหประชาชาติ โดยมีขอ้ บังคับว่าประเทศที่จะเป็ นสมาชิกธนาคารโลก และจะต้องเป็ นสมาชิกของ IMF ด้วย
เริ่ มเปิ ดดำเนินการในเดือนมีนาคม ปี ค.ศ. 1947 ประเทศที่สมัครเป็ นสมาชิกกองทุนการเงินฯ จะต้องเป็ น
สมาชิกขององค์การสหประชาชาติอยูก่ ่อนแล้ว ในปั จจุบนั มีสมาชิก 185 ประเทศ (montenegro เป็ นสมาชิก
อันดับที่ 185 เข้าร่ วมเมื่อวันที่ 18 มกราคม ค.ศ. 2007)
วัตถุประสงค์และหน้ าที่
วัตถุประสงค์ของการก่อตั้ง IMF คือ จัดการและควบคุมระบบการเงินของโลกและช่วยเหลือ
ประเทศที่เผชิญกับวิกฤตเศรษฐกิจ โดยจะประสานการทำงานกับกระทรวงการคลัง และแบงก์ชาติของแต่ละ
ประเทศ หน้ าที่หลักของ IMF มีอยู่ 3 ประการคือ

1. จัดระบบการเงินโลก
2. กำกับกติกาทางเศรษฐกิจของโลก เพื่อให้เกิดความมัน่ คงมีเสถียรภาพ
3. สร้างเงินซึ่ งเป็ นเงินสำรองระหว่างประเทศ เป็ นเงินที่เป็ นกลาง ไม่ได้เป็ นเงินของประเทศใด
ประเทศหนึ่ง
World Bank group
ธนาคารเพื่อการบูรณะและพัฒนาระหว่างประเทศ (อังกฤษ: International Bank for Reconstruction
and Development; IBRD) สมาพันธ์การพัฒนาระหว่างประเทศ  (IDA)บรรษัทการเงินระหว่างประเทศ
(IFC)สถาบันประกันการลงทุนแบบพหุภาคี (MIGA)Center for the Settlement of Investment Disputes
(ICSID)
เมืองมอลทรีออล มี 1 องค์กร คือ
องค์ การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ (อังกฤษ: International Civil Aviation Organization -
ICAO) มีสมาชิก 190 ประเทศ สำนักงานใหญ่ต้ งั อยูท่ ี่เมืองมอนทรี ออล ประเทศแคนาดา[1] ส่ วนสำนักงาน
ประจำภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ตั้งอยูท่ ี่ ถนนกำแพงเพชร 3 แขวงลาดยาว เขต
จตุจกั ร กรุ งเทพมหานคร ประเทศไทย
วัตถุประสงค์

1. เพื่อประกันการขยายตัวของการบินพลเรื อนระหว่างประเทศ ให้เป็ นไปด้วยความปลอดภัยและเป็ น


ระเบียบเพื่อส่ งเสริ มศิลปะการออกแบบอากาศยานและการดำเนินการบินให้ไปสู่ จุดมุ่งหมายใน
ทางสันติ
2. เพื่อส่ งเสริ มวิวฒั นาการการบิน ท่าอากาศยานและเครื่ องอำนวยความสะดวกในการเดินอากาศ
สำหรับการบินพลเรื อนระหว่างประเทศ
3. เพื่อสนองความต้องการของชาวโลกในการขนส่ งทางอากาศที่ปลอดภัย มีประสิ ทธิ ภาพ
4. ป้ องกันการสูญเปล่าทางเศรษฐกิจอันเกิดจากการแข่งขันระหว่างบริ ษทั การบิน
5. เพื่อส่ งเสริ มความปลอดภัยในการบินสำหรับการเดินอากาศระหว่างประเทศ
หน้ าที่
องค์กรนี้เป็ นผูจ้ ดั การกำหนดมาตรฐานและวิธีปฏิบตั ิที่ใช้ในกิจการการบินทุกประเภท โดยได้จดั ทำ
ในลักษณะเป็ นข้อตกลงระหว่างนานาประเทศ รวมทั้งออกระเบียบข้อบังคับการเดินอากาศ การออก
ประกาศนียบัตรและการตรวจสอบเครื่ องบิน การกำหนดคุณสมบัติของเจ้าหน้าที่ประจำเครื่ องบินและเจ้า
หน้าที่ฝ่ายช่างเครื่ อง กำหนดลักษณะของท่าอากาศยาน กำหนดมาตรฐานระบบสื่ อสารและวิทยุช่วยบิน
กิจการศุลกากร คนเข้าเมือง ตลอดจนข้อบังคับว่าด้วยสุ ขภาพของผูโ้ ดยสารเครื่ องบิน สิ นค้า และพัสดุ
ลำเลียงโดยทางเครื่ องบิน และทำหน้าที่สอบสวนเมื่อเกิดอุบตั ิเหตุทางเครื่ องบินเกิดขึ้น
ทวีปยุโรป
องค์ การแรงงานระหว่างประเทศ
องค์การแรงงานระหว่างประเทศ หรื อ ไอแอลโอ (อังกฤษ: International Labour Organization;
ILO) องค์การไอแอลโอ ตั้งขึ้นตั้งแต่ยงั ไม่มีองค์การสหประชาชาติ คือเมื่อ พ.ศ. 2462 (ค.ศ. 1919) เป็ น
องค์การชำนาญเฉพาะเรื่ อง องค์การแรกที่เข้าอยูใ่ นเครื อสหประชาชาติ คือเมื่อ พ.ศ. 2489 (ค.ศ. 1946)
องค์การนี้มีอายุได้ 77 ปี ใน พ.ศ. 2539 ในบรรดารัฐสมาชิกสหประชาชาติที่นบั ว่าเป็ นผูร้ ิ เริ่ มก่อตั้ง มี
ประเทศไทยรวมอยูด่ ว้ ย ประเทศอื่นในภาคพื้นเอเชียและแปซิ ฟิก ได้แก่ จีน อินเดีย ญี่ปุ่น และนิวซี แลนด์
ภารกิจหลัก
ภารกิจหลักของไอแอลโอ คือช่วยเหลือผูใ้ ช้แรงงานทัว่ โลกให้ได้รับความยุติธรรมจากสังคม ให้มี
ชีวิต และสภาพการทำงานที่ดีข้ ึน ผลงานขององค์การทำให้ได้รับรางวัลโนเบล เพื่อสันติภาพ เมื่อ พ.ศ.
2512 (ค.ศ. 1969)  ทั้งนี้โดยที่องค์การยึดมัน่ ในหลักการที่วา่ สันติสุขแห่งโลกจะเกิดขึ้นได้และมีความต่อ
เนื่องมัน่ คงก็ดว้ ยการที่มีความยุติธรรมในสังคม มีฐานรากคือ ความเคารพในสิ ทธิ มนุษยชน มีมาตรฐาน
ความเป็ นอยูท่ ี่ดี มีสภาพการทำงานซึ่ งเกื้อกูลความผาสุ กของผูใ้ ช้แรงงาน การมีโอกาสทำงานและมีความ
มัน่ คงทางเศรษฐกิจ
ยุทธศาสตร์ การปฏิบัติงานของไอแอลโอ
ยุทธศาสตร์การปฏิบตั ิงานของไอแอลโอ คือจัดให้มีการเจรจาร่ วมของผูเ้ กี่ยวข้องสามฝ่ าย ได้แก่
ฝ่ ายรัฐบาล ฝ่ ายนายจ้าง และฝ่ ายแรงงาน ในกรณี ที่มีความขัดแย้งและพยายามแก้ไขปั ญหาร่ วมกันโดยมีมติ
เป็ นเอกฉันท์ ภารกิจขององค์การนี้ ในภาคพื้นเอเชียและแปซิ ฟิกมีความหลากหลายและยุง่ ยาก เพราะ
ประเทศต่างๆ มีสภาพเศรษฐกิจและสังคมที่แตกต่างกัน ทั้งในด้านการพัฒนาอุตสาหกรรม โครงสร้าง ราย
ได้และสวัสดิการสังคม การพาณิ ชย์ การลงทุน แรงงาน ปั ญหาด้านสังคมและแรงงาน ความเปลี่ยนแปลง
อย่างรวดเร็ วด้านเศรษฐกิจและสังคม ในประเทศที่เริ่ มเข้าสู่ ยคุ อุตสาหกรรม ก็ได้น ำมาซึ่ งปั ญหาใหม่ๆ อีก
มากมาย
ไอแอลโอ จัดลำดับเรื่ องสำคัญรี บด่วนไว้สามประการ คือ

1. การจัดให้มีงานทำและขจัดความยากจน

2. การคุม้ ครองผูใ้ ช้แรงงาน

3. ส่ งเสริ มประชาธิปไตยและสิ ทธิแห่ งมนุษยชน


ในข้อแรกไอแอลโอ ช่วยเหลือประเทศต่างๆ ในการฝึ กอบรมผูใ้ ช้แรงงานให้มีประสิ ทธิ ภาพ ในข้อ
ที่สอง ไอแอลโอ ช่วยประเทศต่างๆ ให้เพิ่มพูนประสิ ทธิ ภาพในการคุม้ ครองผูใ้ ช้แรงงานให้ได้รับความ
ปลอดภัย และให้ตระหนักถึงภัยที่เกิดจากการทำงานในโรงงาน ในข้อที่สามไอแอลโอช่วยเหลือในการออก
กฎหมายเกี่ยวกับแรงงาน และอุตสาหกรรมสัมพันธ์ระหว่างแรงงานกับนายจ้าง สนับสนุนองค์การของผูใ้ ช้
แรงงาน ได้ก ำหนดมาตรฐานสากลเกี่ยวกับแรงงาน ซึ่ งช่วยในการสร้างเสริ มประชาธิ ปไตยและคุม้ ครอง
สิ ทธิ มนุษยชน
สำนักงานประจำภาคพืน้ เอเชียและแปซิฟิก
องค์การไอแอลโอ มีสำนักงานภูมิภาคและสำนักงานประจำประเทศหลายแห่งในภาคพื้นเอเชียและ
แปซิ ฟิก ให้ความช่วยเหลือทางด้านวิชาการ จัดการฝึ กอบรม ทำการศึกษาวิจยั เพื่อส่ งเสริ มสัมพันธภาพ
ระหว่างรัฐบาล แรงงานและนายจ้าง ในระดับประเทศ สำนักงานภาคพื้นเอเชียและแปซิ ฟิกตั้งอยูใ่ น
กรุ งเทพมหานคร
สหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ
สหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ (อังกฤษ: International Telecommunication Union - ชื่อย่อ:
ITU) เป็ นองค์การชำนัญพิเศษของสหประชาชาติ ซึ่ งนับเป็ นองค์การสากลที่เก่าแก่มากที่สุดอันดับสอง ที่ยงั
คงดำเนินการอยู่ โดยในระยะแรกเริ่ ม ใช้ชื่อว่า สหภาพโทรเลขระหว่ างประเทศ (อังกฤษ: International
Telegraph Union) จัดตั้งขึ้นที่กรุ งปารี ส ประเทศฝรั่งเศส เมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม ค.ศ. 1865 (พ.ศ. 2408)
ปั จจุบนั มีสำนักงานใหญ่ต้ งั อยูท่ ี่ นครเจนีวา ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ ใกล้กบั สำนักงานสหประชาชาติ
สหภาพโทรคมนาคมระหว่ างประเทศ มีหน้าที่ในการพัฒนามาตรฐาน และกฎระเบียบ สำหรับการ
สื่ อสารวิทยุ และโทรคมนาคมระหว่างประเทศ การกำหนดแถบคลื่นความถี่วิทยุ (อังกฤษ: Allocation of the
Radio Spectrum) และบริ หารจัดการ กรณี ที่จ ำเป็ นสำหรับการเชื่อมโยงโครงข่ายระหว่างประเทศ เช่น
บริ การโทรศัพท์ระหว่างประเทศ อันเป็ นภารกิจในเชิงโทรคมนาคม ในลักษณะเดียวกับการปฏิบตั ิงานของ
สหภาพสากลไปรษณี ย ์ ในกรณี ของงานบริ การไปรษณี ย ์
องค์ ประกอบสหภาพ
สหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ จะมีสำนักเลขาธิ การใหญ่ ซึ่ งมีเลขาธิ การ (อังกฤษ: Secretary
General) เป็ นผูบ้ ริ หารสูงสุ ด ในการบริ หารจัดการงานรายวันของสหภาพฯ และภาคส่ วนต่างๆ ซึ่ งประกอบ
ด้วย 4 ภาคส่ วน ในภารกิจด้านต่างๆ ดังนี้

1. ภาคการสื่อสารวิทยุ (ITU-R, Radiocommunication Sector) - มีหน้าที่บริ หารแถบคลื่น


ความถี่วิทยุระหว่างประเทศ และทรัพยากรต่างๆ สำหรับการโคจรของดาวเทียม ITU-R มีสำนักเลขาธิ การ
เรี ยกว่า สำนักการสื่ อสารวิทยุ (Radiocommunication Bureau, BR) ซึ่ งก่อนปี  ค.ศ. 1992 เป็ นคณะกรรมการที่
ปรึ กษาการวิทยุระหว่างประเทศ (International Radio Consultative Committee, CCIR)

2. ภาคการกำหนดมาตรฐานโทรคมนาคม (ITU-T, Telecommunication Standardization Sector) -


การกำหนดมาตรฐานโทรคมนาคม เป็ นกิจกรรมที่มีมาช้านานของสหภาพฯ และเป็ นภารกิจที่รู้จกั กันเป็ น
อย่างดี ในระดับสากล ITU-T มีสำนักเลขาธิการเรี ยกว่า สำนักมาตรฐานโทรคมนาคม (Telecommunication
Standardization Bureau, TSB) ซึ่ งก่อนปี ค.ศ. 1992 เป็ นคณะกรรมการที่ปรึ กษาโทรเลขและโทรศัพท์
ระหว่างประเทศ (International Telephone and Telegraph Consultative Committee, CCITT)
3. ภาคการพัฒนาโทรคมนาคม (ITU-D, Telecommunication Development Sector) - จัดตั้งขึ้นเมื่อ
ปี ค.ศ. 1992 เพื่อส่ งเสริ มการเข้าถึงสารสนเทศ และเทคโนโลยีสารสนเทศในนานาประเทศ อย่างเท่าเทียม
พอเพียง และด้วยค่าใช้จ่ายที่ยอมรับได้ ITU-D มีสำนักเลขาธิ การเรี ยกว่า สำนักพัฒนา
โทรคมนาคม (Telecommunication Development Bureau, BDT)

4. ภาคการจัดงาน ไอทียู เทเลคอม (ITU TELECOM) - เป็ นการจัดงานแสดงสิ นค้า การประชุม และ


นิทรรศการระหว่างประเทศ โดยนำเทคโนโลยีช้ นั นำ จากอุตสาหกรรมไอซี ทีมาจัดแสดง รวมทั้งเชิญ
รัฐมนตรี  ผูบ้ ริ หารระดับสูงของหน่วยงาน และผูก้ ำกับดูแลกิจการโทรคมนาคมของประเทศต่างๆ มาร่ วม
การประชุม เพื่อนำเสนอ และอภิปรายปัญหาการสื่ อสารในระดับโลกด้วย
ทวีปเอเชีย
เบรุ ต
กรุ งกาซา
กรุ งเทพมหานคร
ESCAP แอสแคป (Economic And Social Commission For Asia And The Pacific) คณะกรรมการ
เศรษฐกิจและสังคมแห่งเอเชียและแปซิ ฟิค ก่อตั้งขึ้นเมื่อ วันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2490 (ค.ศ.1947) ณ นคร
เซี่ ยงไฮ้ สาธารณรัฐประชาชนจีน เมื่อแรกก่อตั้ง เรี ยกว่า ECAFE คณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่ ง
เอเชียแปซิ ฟิค (Economic Commission For Asia And The Far East) มีภาระกิจคือ ให้ความช่วยเหลือ
เศรษฐกิจหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ในปี พ.ศ. 2517 (ค.ศ.1974) ได้เปลี่ยนชื่อองค์กรเป็ น คณะกรรมการ
เศรษฐกิจและสังคม แห่งเอชียและแปซิฟิค ดังในปั จจุบนั และเพื่อการพัฒนา ESCAP ได้ขยายการครอบคลุม
ไปยังประเทศในมหาสมุทรแปซิฟิก และโอเชียเนีย ESCAP มีส่วนในการก่อตั้ง ธนาคารเพื่อการพัฒนา
เอเชีย (Asian Development Bank) หรื อ ADB และถนนสายเอเชีย หรื อ เครื อข่ายทางหลวงแห่งเอเชีย (Asian
Highway Network) ตลอดถึง คณะกรรมการพัฒนาแม่น ้ำโขง (The Mekhong River Commission) เมื่อแรก
ตั้ง มีสำนักงานอยู่ ณ นครเซี่ยงไฮ้ ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน และใน ปี พ.ศ. 2492 ได้ยา้ ย สำนักงาน
อยู่ ณ ถนนราชดำเนิน กรุ งเทพมหานครประเทศไทย
องค์ กรระหว่ างประเทศและความร่ วมมือทางเศรษฐกิจ
(International Organization & Economic Integration)
องค์ กรระหว่ างประเทศ (1)
ธนาคารโลก (World Bank)
- ตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ.2487 ปัจจุบนั มีสมาชิก 184 ประเทศ
- ฐานะเดิม The International Bank for reconstruction and Development (IBRD) ธนาคาร
ระหว่างประเทศเพื่อบูรณะและพัฒนา
- มีวตั ถุประสงค์เริ่ มแรกเพื่อบูรณะและฟื้ นฟูเศรษฐกิจของประเทศในกลุ่มยุโรปตะวันตกหลัง
สงครามโลกครั้งที่ 2
- ต่อมาเปลี่ยนไปเป็ นการเน้นให้ความช่วยเหลือกับประเทศกำลังพัฒนา เพื่อยกระดับมาตรฐาน
การครองชีพและความเป็ นอยูข่ องประชาชนให้ดีข้ ึน
ธนาคารโลก (World Bank)
World Bank group
- ธนาคารระหว่างประเทศเพื่อบูรณะและพัฒนา (Bank for Reconstruction and Development:
IBRD)
- สมาพันธ์การพัฒนาระหว่างประเทศ (International Development Association: IDA)
- บรรษัทการเงินระหว่างประเทศ (The International Finance Corperation: IFC)
- สถาบันประกันการลงทุนแบบพหุภาคี (The Multilateral Investment Guarantee Agency:
MIGA)
- Center for the Settlement of Investment Disputes (ICSID)
องค์ กรระหว่ างประเทศ (2)
กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (International Monetary Fund, IMF)
- จัดตั้งขึ้นในปี พ.ศ.2488
- ปัจจุบนั มีสมาชิก 184 ประเทศ
- โดยมีวตั ถุประสงค์หลัก เพื่อให้ความสนับสนุนทางการเงินแก่ประเทศสมาชิกที่ประสบปั ญหา
ดุลการชำระเงิน ในขณะเดียวกันก็คอยติดตามดูแลไม่ให้ปัญหาดุลการชำระเงินกลายเป็ นปั จจัย
ที่สร้างแรงกดดันต่อเสถียรภาพของอัตราแลกเปลี่ยนของสมาชิก รวมทั้งป้ องกันวิกฤตการณ์
ทางระบบการเงินระหว่างประเทศ
องค์ กรระหว่ างประเทศ (3)
GATT (General Agreement on Tariffs and Trade)
- ความตกลงทัว่ ไปว่าด้วยภาษีศุลกากรและการค้า
- จัดขึ้นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ.2490 ประกอบด้วยประเทศสมาชิกเริ่ มแรก 23 ประเทศ ประเทศไทย
เข้าร่ วมเป็ นสมาชิกลำดับที่ 88 เมื่อปี พ.ศ.2525
- วัตถุประสงค์เพื่อส่ งเสริ มการค้าของโลกให้ด ำเนินไปได้โดยเสรี และตั้งอยูบ่ นพื้นฐานที่มนั่ คง
ส่ งเสริ มการเจริ ญเติบโตทางเศรษฐกิจ พัฒนา และยกระดับมาตรฐานความเป็ นอยูข่ องประชากร
ทัว่ โลก
- GATT มีบทบาทที่สำคัญในการจัดให้มีการเจรจาระหว่างประเทศสมาชิกทั้งหลาย เพื่อลด
อุปสรรค หรื อมาตรฐานกีดกันทางการค้าระหว่างกัน
หลักการของ GATT
หลักการปฏิบตั ิเยีย่ งคนเชื่อชาติได้รับความอนุเคราะห์ยิง่ (Most Favored Nation Treatment: MFN)
หมายถึง การค้าระหว่างประเทศโดยปราศจากการเลือกปฏิบตั ิ (Non-Discrimination)
หลักการคุม้ กันโดยใช้มาตรการด้านภาษีศุลกากรเท่านั้น กล่าวคือประเทศภาคีจะต้องคุม้ ครอง
อุตสาหกรรมภายในประเทศโดยใช้มาตรการด้านภาษีศุลกากร (Tariff Barriers) เท่านั้น
เป็ นเวทียตุ ิขอ้ พิพาททางการค้า (Trade Dispute Settlement) เพื่อป้ องกันความเสี ยหายที่อาจเกิดขึ้น
จากการที่ประเทศต่างๆ จะใช้มาตรการการตอบโต้ขอ้ พิพาทกันเอง
องค์ กรระหว่ างประเทศ (4)
องค์การการค้าโลก (World Trade Organization, WTO)
- เกิดขึ้นภายหลังจากการมีการจัดทำ “ข้อตกลงทัว่ ไปว่าด้วยภาษีศุลกากรและการค้า” (General
Agreement and Tariffs and Trade: GATT) ในการประชุมรอบอุรุกวัยโดยมีเป้ าหมายว่าหากข้อ
ตกลงของ GATT ได้รับการยอมรับ และมีประเทศต่างๆ ถือปฏิบตั ิมากขึ้นแล้วจะนำมาจัดตั้ง
องค์การการค้าโลกได้ในที่สุด
- วัตถุประสงค์เพื่อเป็ นผูป้ ระสานประโยชน์ของชนชาติต่างๆ ในโลก โดยใช้เวลากว่า 45 ปี จึงจะ
จัดตั้งสำเร็ จ
- หลักการสำคัญของ WTO เป็ นหลักการเดียวกับหลักการของ GATT ที่ได้ถือปฏิบตั ิต่อเนื่องกัน
มากว่า 50 ปี
- ประเทศไทยเป็ นสมาชิกลำดับที่ 59 และมีสถานะเป็ นสมาชิกผูก้ ่อตั้ง เมื่อวันที่ 1 มกรคม 2538
โดย WTO มีสมาชิกทั้งหมด 150 ประเทศ (ณ ม.ค. 2550)
องค์ การการค้าโลก (World Trade Organization, WTO)
วัตถุประสงค์
- เป็ นเวทีในการเจรจาลดอุปสรรและข้อกีดกันทางการค้า และมีกฎระเบียบการค้าระหว่าง
ประเทศ เพื่อสนับสนุนให้การค้ามีความเสรี ยิง่ ขึ้น โดยอยูบ่ นพื้นฐานของการแข่งขันที่เป็ น
ธรรม
- สร้างความเข้มแข็งให้แก่กระบวนการยุติขอ้ พิพาททางการค้าระหว่างประเทศ
- เป็ นกลไกตรวจสอบและทบทวนนโยบายการค้าของประเทศสมาชิก
องค์ การการค้าโลก (World Trade Organization, WTO)
ความตกลงที่สำคัญภายใต้ WTO
- ความตกลงพหุภาคีวา่ ด้วยการค้าสิ นค้า (Multilateral Agreement on Trade in Goods) หรื อ
GATT เดิม
- ความตกลงทัว่ ไปว่าด้วยการค้าบริ การ (General Agreement on trade in Services: GATS)
- ความตกลงว่าด้วยสิ ทธิในทรัพย์สินทางปั ญญาที่เกี่ยวกับการค้า (Agreement on Trade-Related
Aspect of Intellectual Property Rights: TRIPS)
- มาตรการการลงทุนที่เกี่ยวข้องกับการค้า (Trade-Related investment measures: TRIMS)
หลักการของ WTO
การไม่เลือกปฏิบตั ิ (Non-discrimination) คือ การปฏิบตั ิต่อสิ นค้านำเข้าจากทุกประเทศสมาชิกโดย
เท่าเทียมกันและการปฏิบตั ิต่อสิ นค้านำเข้าเท่าเทียมกันสิ นค้าภายในประเทศ
ความโปร่ งใส (Transparency) คือ การกำหนดให้ประเทศสมาชิกเผยแพร่ กฎระเบียบเกี่ยวกับ
มาตรการทางการค้าแก่สาธารณะชน
การคุม้ ครองผูผ้ ลิตภายในด้วยภาษีศุลกากรเท่านั้น (Tariff-only Protection) คือ การห้ามใช้มาตรการ
กำจัดการนำเข้าทุกชนิด
การแข่งขันทางการค้าที่เป็ นธรรม (Fair Competition) คือ การห้ามการทุ่มตลาดและการอุดหนุน
สิ นค้าส่ งออกไปยังประเทศสมาชิก
การรวมกลุ่มทางการค้าระดับภูมิภาค (Regional Trade Arrangement) คือ การให้ประเทศสมาชิก
สามารถตกลงรวมกลุ่มเพื่อวัตถุประสงค์ที่จะขยายการค้าระหว่างกันได้ แต่ตอ้ งไม่ใช้เพื่อกีดกันการค้าจาก
ประเทศนอกกลุ่ม
การมีกระบวนการยุติขอ้ พิพาททางการค้าให้คู่กรณี (Trade Dispute Settlement Mechanism)
การปฏิบตั ิเป็ นกรณี พิเศษแตกต่างสำหรับประเทศกำลังพัฒนา (Special and Differential Treatment)
องค์ กรระหว่ างประเทศ (5)
ธนาคารเพื่อการพัฒนาเอเชีย (Asian Development Bank: ADB)
- องค์การความร่ วมมือกันทางด้านการเงินระหว่างประเทศ เพื่อวัตถุประสงค์ในการลดความ
ยากจนของประเทศในเอเชียและแปซิ ฟิก จัดตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ.1966 หรื อ พ.ศ.2509
- มีเป้ าหมายในการให้ความช่วยเหลือด้านความยากจน การส่ งเสริ มการเจริ ญเติบโตทางเศรษฐกิจ
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การปรับปรุ งสถานะของสตรี และการปกป้ องสิ่ งแวดล้อม โดย
เฉพาะประเทศในเอเชียและแปซิ ฟิก
- ปัจจุบนั
ไทยกับประเทศเพื่อนบ้ าน : กรณีความสัมพันธ์ ไทย-กัมพูชา

อดีตและปั จจุบันของความสัมพันธ์ ไทยกับเพื่อนบ้ าน


หากพิจารณากรณีตวั อย่างที่เป็ น “ประเด็น” ในความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับเพื่อนบ้ าน 3 ประเทศ
คือ กัมพูชา ลาว และเวียดนาม ในช่วงระยะ 2-3 ปี ที่ผา่ นมาจนปั จจุบนั เราจะเห็นลักษณะปั ญหาพื ้นฐาน
และพัฒนาการในสัมพันธภาพดังกล่าวของไทยได้ อย่างน่าสนใจไม่น้อย กรณีที่เราอาจจะหยิบยกขึ ้นมาเป็ น
ตัวอย่างได้ คือ การเผาสถานเอกอัครราชทูตไทย ณ กรุงพนมเปญ เมื่อวันที่ 29 มกราคม 2003 กรณีการ
แสดงท่าทีไม่พอใจของทางการลาวต่อภาพยนตร์ เรื่ อง “หมากเตะ” โดยผู้สร้ างภาพยนตร์ ไทย และไม่
ต้ องการให้ มีการนำภาพยนตร์ เรื่ องนี ้ออกฉาย และกรณีความสนใจ (หรื อแม้ กระทัง่ เป็ นความวิตกกังวล)
ของคนไทยบางส่วนว่า เวียดนามกำลังจะ “แซงหน้ า” เราไป กรณีสดุ ท้ ายนี ้แม้ จะมิได้ เป็ นประเด็นปั ญหาใน
ความสัมพันธ์ไทย-เวียดนาม แต่ก็เป็ นการแสดงถึง “พัฒนาการ” อย่างหนึง่ ในความสัมพันธ์ของไทยกับ
เพื่อนบ้ านชาตินี ้

ประเทศที่เป็ นเพื่อนบ้ านกันทัง้ 4 ประเทศมีประสบการณ์ในอดีตที่ยงั มีผลกระทบสำคัญต่อความ


สัมพันธ์ตอ่ กันในฐานะเพื่อนบ้ านมาจนทุกวันนี ้ สงคราม การรุกราน การแทรกแซง การครอบงำ ตลอดจน
การยึดและผนวกดินแดน โดยมีลาวและกัมพูชาเป็ นชาติที่ได้ รับเคราะห์กรรมจากปฏิบตั ิการในลักษณะ
ต่างๆ เหล่านี ้มากที่สดุ ทำให้ ความสัมพันธ์ระหว่างเพื่อนบ้ านทังสี
้ ่เต็มไปด้ วยความขมขื่นหวาดระแวง และ
ความขัดแย้ งแข่งขันมาโดยตลอด ลาวและกัมพูชามีประสบการณ์ของการถูกรุกราน แทรกแซง และ “กลืน
กิน” ดินแดนโดยไทยและเวียดนาม ในขณะที่ไทยและเวียดนามก็มีประสบการณ์ของสงครามและการ
แข่งขันทางอำนาจ โดยเฉพาะเพื่อเข้ าไปมีอิทธิพลเหนือเพื่อนบ้ านที่ออ่ นแอกว่าทังสอง
้ ในช่วงหลัง
สงครามโลกครัง้ ที่ 2 เมื่อสงครามเย็นขยายตัวมาถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ไทยและเพื่อนบ้ านทังสามก็
้ ถกู
ดึงเข้ าไปในความขัดแย้ งทางการเมืองและอุดมการณ์ของมหาอำนาจที่มีสว่ นอย่างสำคัญในการตอกย้ำ
ประสบการณ์ของอดีต โดยเฉพาะความขมขื่นหวาดระแวงและไม่ไว้ วางใจกันที่มีมาแต่เดิมได้ กลายมา
เป็ นการเผชิญหน้ ากันโดยตรง

เมื่อสงครามเย็นยุติลง โดยเฉพาะเมื่อมีความตกลงในปั ญหาความขัดแย้ งในกัมพูชาเมื่อเดือน


ตุลาคม 1991 ความสัมพันธ์ระหว่างไทยและเพื่อนบ้ านทังสามได้
้ คลี่คลายไปในทิศทางของการสร้ างความ
เข้ าใจและร่วมมือกันมากขึ ้น ไทยและเวียดนามสามารถตกลงทำความเข้ าใจกันได้ ในหลายเรื่ อง รวมทัง้
ปั ญหาชาวเวียดนามอพยพในประเทศไทย ทำให้ ความบาดหมางในอดีตแม้ จะยังมิได้ หมดไปโดยสิ ้นเชิง แต่
ก็ลบเลือนไปมากแล้ ว บรรยากาศของการเมืองระหว่างประเทศยุคหลังสงครามเย็น ตลอดจนพัฒนาการ
ของภูมิภาคนิยมที่มงุ่ เสริ มสร้ างความเป็ นอันหนึง่ อันเดียวกันในภูมิภาคภายในกรอบอาเซียน ก็มีสว่ นอย่าง
มากในการเกื ้อหนุนสัมพันธภาพที่มงุ่ ไปในแนวทางการสร้ างความเข้ าใจและความร่วมมือดังกล่าว ความ
ขัดแย้ งแข่งขันระหว่างไทยและเวียดนามในอดีตได้ พฒ ั นามาเป็ นการแข่งขันด้ านการค้ าและกีฬาเป็ นสำคัญ
ความสัมพันธ์ในลักษณะเช่นนี ้เป็ นพัฒนาการที่ถือได้ วา่ เป็ นนิมิตหมายที่ดีเป็ นอย่างยิ่ง เพราะเป็ น
แบบแผนของความสัมพันธ์ระหว่างชาติตา่ งๆ โดยทัว่ ไปนัน่ เอง

กระนันก็ ้ ตาม มรดกของความขัดแย้ งในอดีตก็ยงั มิได้ หมดความสำคัญลงไป โดยเฉพาะในกรณี


ของไทยกับเพื่อนบ้ านอีก 2 ชาติ คือ ลาวและกัมพูชา ที่มิได้ มีปัญหาที่เป็ นกรณีพิพาทรุนแรงใดๆ ในปั จจุบนั
แต่ความสัมพันธ์ก็ดจู ะอยูใ่ นสภาพเปราะบางและอ่อนไหลอย่างยิ่ง จึงควรจะได้ รับความสนใจในแง่ของการ
พิจารณาทบทวนว่า ต้ นตอของปั ญหาเป็ นอย่างไร และควรจะได้ รับการเสริ มสร้ างให้ เกิดความเข้ าใจกัน
มากยิ่งขึ ้นได้ อย่างไร โดยเฉพาะอย่างยิ่ง จะพัฒนาหรื อยกระดับให้ ใกล้ เคียงกับกรณีความสัมพันธ์ไทย-
เวียดนามได้ อย่างไร ในที่นี ้เราจะศึกษากรณีความสัมพันธ์ไทย-กัมพูชาเท่านัน้

ภูมิหลังความสัมพันธ์ ไทย-กัมพูชา
ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับกัมพูชาถูกำหนดด้ วยปั จจัยหลากหลาย ตังแต่้ ภมู ิหลังและ
ประสบการณ์จากอดีต สภาพการเมืองภายในของแต่ละประเทศ ไปจนถึงบรรยากาศของการเมืองระหว่าง
ประเทศทังในภู
้ มิภาคและในโลก ความเกี่ยวข้ องหรื อน้ำหนักความสัมพันธ์ของปั จจัยบางประการอาจจะ
ผันแปรไปตามสถานการณ์หรื อยุคสมัยที่เปลี่ยนไป ตัวอย่างที่คอ่ นข้ างชัดเจนก็คือ เมื่อปลอดจากความขัด
แย้ งของมหาอำนาจในสงครามเย็น บรรยากาศระหว่างประเทศก็เปลี่ยนไปในทางเสริ มสร้ างมากกว่าจะ
เป็ นอุปสรรคในความสัมพันธ์ระหว่างประเทศทังสอง ้ แต่ก็มีปัจจัยบางอย่างที่มกั จะเปลี่ยนแปลงยากแม้
เวลาจะเปลี่ยนไป โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับทัศนคติและความเข้ าใจของประชาชนที่มีตอ่ กัน อันเป็ นสิ่งที่ถกู ปลูก
ฝั งหรื อหล่อหลอมสืบทอดกันมาเป็ นเวลายาวนาน ตัวอย่างเช่น ชาวกัมพูชาจะได้ รับรู้เรื่ องราวในตำนาน
หรื อนิทานพื ้นบ้ านที่สะท้ อนประสบการณ์อนั ขมขื่นของกัมพูชาต่อไทยมาแต่วยั เด็ก หรื อในบางคราวก็มี
การนำเรื่ องราวเช่นนันกลั
้ บมาสร้ างเป็ นภาพยนตร์ เป็ นต้ น
เราต้ องเข้ าใจภาพรวมของปั จจัยต่างๆ เหล่านี ้เพื่อเข้ าใจสถานภาพของความสัมพันธ์ ณ ช่วงเวลา
ใดก็ตาม อย่างไรก็ดี ในที่นี ้ความสนใจหลักจะมุง่ ไปที่ภมู ิหลังทางประวัติศาสตร์ ที่ยงั คงมีน ้ำหนักความ
สำคัญอย่างมากแม้ ในปั จจุบนั โดยเฉพาะในแง่ที่เป็ นต้ นตอสำคัญของท่าทีและความเข้ าใจของเพื่อนบ้ าน
ทังสองที
้ ่มีตอ่ กัน ไม่วา่ จะเป็ นความหวาดระแวง ไม่ไว้ ใจ หรื อแม้ กระทัง่ ไม่เป็ นมิตร
ประสบการณ์ของกัมพูชาดูจะเป็ นความขมขื่นที่เกิดจากการดิ ้นรนเพื่อความอยูร่ อดก่อนที่จะตกไป
เป็ นรัฐในอารักขาของฝรั่งเศสใน ค.ศ. 1863 การถูกรุกรานโดยตรงหลายต่อหลายครัง้ รวมทังการรุ
้ กราน (ทิ ้ง
ระเบิด) โดยสหรัฐอเมริกาในระหว่างสงครามอินโดจีน และโดยเวียดนามในช่วงปลาย ค.ศ. 1978 ตลอดจน
การสูญเสียดินแดนให้ แก่ไทยและเวียดนาม เป็ นความขมขื่นที่คงยากจะเลือนหายไปจากความทรงจำของ
ชาวกัมพูชา1

ประสบการณ์เหล่านี ้เมื่อประกอบกับการรับรู้เกี่ยวกับอดีตที่เคยยิ่งใหญ่ ก็ได้ หล่อหลอมความรู้สกึ


ชาตินิยมรุนแรงซึง่ แสดงออกมาในช่วงสมัยต่างๆ โดยทังโดยผู ้ ้ นำกัมพูชายุคใหม่ในหลายลักษณะด้ วยกัน
เช่น การเน้ นที่ความยิ่งใหญ่ในอดีต โดยผู้นำตังแต่
้ สมเด็จพระนโรดมสีหนุ นายพลลอนนอล ไปจนถึงพลพต
ต่างก็มีสำนึกและจินตภาพความยิ่งใหญ่ในอดีตของชาติตน นอกจากนัน้ ประสบการณ์เกี่ยวกับการถูก
รุกรานและแทรกแซง ก็ทำให้ ผ้ นู ำกัมพูชาแสดงท่าทีที่สะท้ อนความปรารถนาที่จะเป็ นตัวของตัวเองอย่างยิ่ง
เช่น ในนโยบายไม่ฝักใฝ่ ฝ่ ายใดของสมเด็พระนโรดมสีหนุและนโยบายอยูโ่ ดดเดี่ยวแบบตัดขาดจากโลก
ภายนอกของเขมรแดง ความรู้สกึ เช่นเดียวกันนี ้ยังได้ แสดงออกในลักษณะของความอ่อนไหวเป็ นพิเศษ
เกี่ยวกับเรื่ องบูรภาพทางดินแดน ซึง่ เชื่อมโยงไปถึงปั ญหาพรมแดนต่างๆ โดยเฉพาะกับไทยและเวียดนาม
ตลอดจนความหวาดระแวงหรื อหรื อแม้ กระทัง่ เกลียดชังต่างชาติ

ในส่วนของไทยนัน้ จากการที่เคยปกครองหรื ออย่างน้ อยเคย “อุปถัมภ์” ราชสำนักกัมพูชา ท่าทีของ


ผู้นำหรื อชนชันนำไทยในปั
้ จจุบนั แม้ จะไม่แสดงออกมาตรงๆ ก็ดจู ะสะท้ อนความต้ องการมีอิทธิพลเหนือ
และ/หรื อความรู้สกึ ว่าตนเหนือกว่าเพื่อนบ้ านชาตินี ้ ท่าทีเช่นนี ้จะเห็นได้ ในช่วงที่เกิดจลาจลเผาสถาน
เอกอัครราชทูตไทย ณ กรุงพนมเปญ ผู้นำไทยไม่เพียงแต่แสดงท่าทีแข็งกร้ าว อันเป็ นเรื่ องปกติในกรณีเช่นนี ้
หากแต่เตรี ยมการที่จะจัดการกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ ้นด้ วยการนำกำลังทหารเข้ าไปในกรุงพนมเปญด้ วย

ท่าทีและความรู้สกึ ของแต่ละฝ่ ายที่มีตอ่ กันเหล่านี ้ยังคงมีอยู่ แม้ เวลาจะผ่านไป ท่าทีที่เห็นได้ คอ่ น


ข้ างชัดเจนคือ ความหวาดระแวงไม่ไว้ วางใจของฝ่ ายกัมพูชาที่มีตอ่ ไทย ไม่วา่ จะเกี่ยวกับการพยายามเข้ าไป
มีอิทธิพลของไทยในกัมพูชาไม่วา่ จะในลักษณะใด หรื อการแสวงเข้ าไปแสวงหาผลประโยชน์จากทรัพยากร
ของกัมพูชา

1
แน่นอน เราไม่ควรจะขยายความเรื่ องนี ้จนเป็ นอุปสรรคต่อความสัมพันธ์อนั ดีระหว่างกันในด้ าน
ต่างๆ โดยเฉพาะในยุคสมัยที่ต้องมีความร่วมมือและพึง่ พาอาศัยซึง่ กันและกันมากขึ ้นเช่นในปั จจุบนั ดังเช่น
ที่ นายกรัฐมนตรี ฮนุ เซนเอง ก็ได้ กล่าวไว้ เมื่อ ค.ศ. 1998 ว่า ถึงเวลาแล้ วที่จะ “dig a hole and bury the past”
แต่ก็กลับปรากฏว่า ในเหตุการณ์ความรุนแรงเมื่อเดือนมกราคม 2003 เขาเองมีสว่ นอย่างสำคัญในการ
ทำให้ สถานการณ์ลกุ ลามถึงระดับนัน้ ซึง่ จะกล่าวถึงต่อไป

กรณีเผาสถานเอกอัครราชทูต
การบุกเผาสถานเอกอัครราชทูตไทย ณ กรุงพนมเปญ เมื่อเดือนมกราคม 2003 นับเป็ นเหตุการณ์ที่
คาดไม่ถึงในแง่ของความรุนแรง2 แต่สิ่งที่คาดหมายได้ อย่างหนึง่ คือ ความอ่อนไหวของชาวกัมพูชาใน
ประเด็นเกี่ยวกับเชื ้อชาติ ดินแดน และสิ่งที่เป็ นสัญลักษณ์สำคัญของชาติ เช่น นครวัด (สัญลักษณ์นี ้ปรากฏ
ในธงชาติกมั พูชามาทุกยุคทุกสมัยรวมทังในช่้ วงที่เขมรแดงปกครองประเทศ)
กรณีที่กระตุ้นความรู้สกึ อ่อนไหวของชาวกัมพูชาจนกระทัง่ กลายเป็ นความรุนแรงในครัง้ นี ้ก็คือ ข่าว
ลือที่แพร่กระจายมานานนับเดือนแล้ ว ก่อนที่จะมีการตีพิมพ์โดยหนังสือพิมพ์ Rasamei Angkor ซึง่ อยูข่ ้ าง
รัฐบาล เมื่อวันที่ 18 มกราคม 2003 ข่าวลือดังกล่าวเกี่ยวกับการให้ สมั ภาษณ์ของดาราสาวไทย สุวนันท์ คง
ยิ่ง (ชาวกัมพูชารู้จกั เธอในนาม “ผกายพฤกษ์ ” หรื อ “ดาวพระศุกร์ ” อันเป็ นชื่อละครโทรทัศน์ที่สร้ างชื่อเสียง
ให้ แก่ดาราสาวผู้นี ้) ว่า เธอจะยอมรับเชิญให้ มาแสดงที่ประเทศกัมพูชาก็ตอ่ เมื่อนครวัดคืนกลับมาเป็ นของ
ไทย นอกจากนัน้ ตามข่าวลือซึง่ มีการนำมาตีพิมพ์เผยแพร่โดยหนังสือพิมพ์ฉบับดังกล่าว เธอยังแสดงการดู
หมิ่นชาวกัมพูชาด้ วยการกล่าวว่า หากเธอได้ เกิดใหม่ เธออยากจะเป็ นสุนขั มากกว่าจะเป็ นชาวกัมพูชา 3

จริ งอยู่ เป็ นที่ประจักษ์ ชดั ในเวลาต่อมาว่า นักการเมืองกัมพูชามีสว่ นสำคัญในการสร้ างกระแสต่อ


ต้ านไทยครัง้ นี ้ ไม่เพียงแต่หนังสือพิมพ์ Rasamei Angkor จะใกล้ ชิดกับฝ่ ายรัฐบาลเท่านัน้ แต่นายกรัฐมนตรี
ฮุนเซนเอง ก็ได้ ออกมาให้ สมั ภาษณ์ทางโทรทัศน์ เมื่อวันที่ 27 มกราคม 2003 เรี ยกดาราสาวไทยว่า “ดาว
โจร” (Thief Star) แทน “ดาวพระศุกร์ ” (Morning Star) โดยเห็นว่า เธอมีคา่ น้ อยกว่า “ใบหญ้ า” ที่นครวัดเสีย
อีก พร้ อมกันนัน้ ผู้นำกัมพูชายังเรี ยกร้ องให้ โทรทัศน์ในกัมพูชาลดหรื อยุติการนำเอาภาพยนตร์ หรื อละคร
โทรทัศน์ไทยออกเผยแพร่ โดยเฉพาะที่มีดาราสาวผู้นี ้เป็ นผู้แสดง แม้ วา่ ดาราสาว สุวนันท์ คงยิ่ง จะได้ ออก
มาแถลงปฏิเสธว่าได้ เคยให้ สมั ภาษณ์เช่นนัน้ แต่ก็ดจู ะไม่มีผลใดๆ ต่อสถานการณ์ 4

2
3
4
ข้ อสงสัยเกี่ยวกับการอยูเ่ บื ้องหลังของฝ่ ายรัฐบาลน่าฟั งขึ ้น เมื่อปรากฏว่า ในวันเกิดเหตุ เจ้ าหน้ าที่
กัมพูชาดูจะมิได้ ใส่ใจระงับเหตุอย่างจริงจัง จึงทำให้ กลายเป็ นความรุนแรงอย่างคาดไม่ถึงดังกล่าว เป็ นไป
ได้ วา่ นักการเมืองกัมพูชา โดยเฉพาะที่เป็ นฝ่ ายรัฐบาลเองดังกล่าว ที่น่าจะอยูเ่ บื ้องหลังเหตุการณ์ครัง้ นี ้ ก็
คงคาดไม่ถึงว่า ระดับความรุนแรงจะลุกลามขึ ้นไปถึงระดับนัน้ (นอกจากการบุกเผาสถานเอกอัครราชทูต
ไทยแล้ ว ยังมีบริษัทและกิจการของไทย รวมทังของนายกรั้ ฐมนตรี ทกั ษิ ณ ชินวัตร ถูกบุกทำลายด้ วย)

มูลเหตุจงู ใจสำคัญของนายกรัฐมนตรี ฮนุ เซนและพรรค CPP ของเขาในการสร้ างกระแสที่นำไปสู่


ความรุนแรงครัง้ นี ้น่าจะเกี่ยวข้ องกับการเมืองภายในกัมพูชาที่กำลังจะมีการเลือกตังในเดื้ อนกรกฎาคม
2003 ฝ่ ายรัฐดูจะต้ องการที่จะหันเหความสนใจของประชาชนกัมพูชาไปจากปั ญหาพรมแดนกับเวียดนามที่
กลายเป็ นประเด็นขัดแย้ งขึ ้นมาในขณะนัน้ รวมทังต้ ้ องการแสดงถึงการมีคณ ุ สมบัติในเรื่ องชาตินิยม
(นักการเมืองและพรรคการเมืองกัมพูชาดูจะมีความจำเป็ นต้ องแสดงให้ ประชาชนเห็นคุณสมบัติประการนี ้
ตลอดมา) และส่งสัญญาณถึงรัฐบาลไทยเกี่ยวกับปั ญหาพรมแดนทังทางบกและทางทะเลที
้ ่ก ำลังเป็ น
ประเด็นอยูใ่ นขณะนันเช่้ นเดียวกัน นอกจากนัน้ ก็ยงั เป็ นได้ ด้วยว่า เป็ นวิธีการอย่างหนึง่ ของรัฐบาลกัมพูชา
ในการทางจัดการกับฝ่ ายค้ านและผู้ตอ่ ต้ านรัฐบาล5

กระนันก็
้ ตาม สิ่งที่เราจะต้ องยอมรับก็คือ ความรู้สกึ ต่อต้ านไทยในเหตุการณ์ครัง้ นี ้ มิใช่เพียงการ
แสดงความรู้สกึ ชาตินิยมโดยปกติ หากแต่เป็ นการปะทุของความรู้สกึ อ่อนไหวเกี่ยวกับเกี่ยวกับศักดิ ์ศรี และ
เกียรติภมู ิของชาติ ในปั จจุบนั ความแตกต่างด้ านระดับการพัฒนามีผลในแง่ของการตอกย้ำความเหลื่อมล้ำ
ทางอำนาจในอดีตที่ก่อให้ เกิดการรุกราน แทรกแซง และครอบงำดังกล่าวแล้ ว ดังนัน้ เมื่อประกอบกับท่าที
ของคนไทยที่ชอบดูถกู เพื่อนบ้ านที่ตนเห็นว่าด้ อยกว่า (ดังจะเห็นได้ จากการนำเอาเพื่อนบ้ านมาสร้ างเรื่ อง
ราวขบขัน เช่น ภาพยนตร์ เรื่ อง “หมากเตะ”) ย่อมเป็ นธรรมดาอยูเ่ องที่เพื่อนบ้ านไทย ไม่วา่ จะเป็ นชาว
กัมพูชาหรื อลาว ที่จะรู้สกึ ถูกเหยียบย่ำจนเป็ นความโกรธแค้ นขมขื่น

ดังนัน้ แม้ วา่ เหตุการณ์ความรุนแรงครัง้ นี ้จะมีนกั การเมืองอยูเ่ บื ้องหลังอย่างแน่นอนก็ตาม แต่หาก


ไม่มีทา่ ทีความรู้สกึ อ่อนไหวเกี่ยวกับศักดิ์ศรี และเกียรติภมู ิของชาติเป็ นพื ้นฐานอยูแ่ ล้ ว การสร้ างกระแสโดย
นักการเมืองก็ไม่น่าจะมีผลในลักษณะที่เกิดขึ ้นครัง้ นัน้ นักการเมืองต่างหากที่ต้องเป็ นฝ่ ายจับ “กระแส”
มวลชนเพื่อฉกฉวยแสวงหาประโยชน์
5
การเมืองวัฒนธรรมในความสัมพันธ์ ไทยกับเพื่อนบ้ าน?
ในบรรยากาศยุคหลังสงครามเย็น ที่ประเด็นด้ านการเมืองและอุดมการณ์เสื่อมคลายความสำคัญ
ลงไป ประเด็นด้ านวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้ องกับอัตลักษณ์หรื อตัวตน ที่เชื่อมโยงไปถึงเรื่ องของศักดิ ์ศรี และ
เกียรติภมู ิของชาติ ก็มีความเด่นชัดในความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมากขึ ้น ในกรณีของไทยกับเพื่อนบ้ าน
โดยเฉพาะลาวกับกัมพูชานัน้ การแสดงออกเรื่ องศักดิ์ศรี และเกียรติภมู ิของชาติ นับเป็ นการแสดงออกอย่าง
ใหม่ของความขมขื่นไม่ไว้ วางใจที่เคยมีอยูใ่ นอดีต ที่น่าสังเกตคือ นี่มิใช่เป็ น “การปะทะทางวัฒนธรรม”
(clashes of civilisations) เพราะการทีไ่ ทยกับเพือ่ นบ้านลาวและกัมพูชามี ความใกล้ชิดทางวัฒนธรรม กลับ
เป็ นมูลเหตุสำคัญทีท่ ำให้เพือ่ นบ้านใกล้ชิดทัง้ สองไม่ตอ้ งการทีจ่ ะถูกครอบงำทางวัฒนธรรม ไม่ว่าจะโดย
ทางสือ่ หรื ออืน่ ๆ จากประเทศไทย

ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับเพื่อนบ้ านจึงเป็ นเรื่ องละเอียดอ่อนยิ่งนัก แม้ กระทัง่ (หรื อโดยเฉพาะ)


กับชาติที่มีความใกล้ ชิดทางวัฒนธรรมและชาติพนั ธุ์ (รวมทังความใกล้
้ ชิดทางภูมิศาสตร์ ) ความใกล้ ชิดดัง
กล่าวมิได้ เป็ นหลักประกันความร่วมมือและความเข้ าใจระหว่างกันหรื อแม้ กระทัง่ ในการดำเนินความ
สัมพันธ์ตามปกติ แน่นอน เราคงไม่ได้ สิ ้นหวังที่จะหาทางส่งเสริ มความสัมพันธ์ฉนั ท์เพื่อนบ้ านที่ดี
ศาสตราจารย์ ดร. เขียน ธีระวิทย์ และสุนยั ผาสุก มีข้อคิดและข้ อเสนอแนะที่น่าสนใจยิ่งดังนี ้

ทัศนคติความเป็ นปฏิปักษ์ ตอ่ กันระหว่างคนไทยและเขมรนันมี ้ ทงเหตุ


ั ้ ผลผสมอารมณ์
คงจะลบเลือนไปไม่ได้ งา่ ยนัก อย่างไรก็ตาม ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐในยุคหลังสงคราม
เย็น และการปฏิสมั พันธ์ของคนทังสองประเทศ
้ มีสาระใหม่เป็ นอันมากที่ไม่ซ ้ำของเก่า
เลี่ยงไม่พ้นที่จะมีทงของดี
ั้ และเลว ถ้ าคนรุ่นใหม่พยายามเข้ าใจตรรกะของบรรพบุรุษของ
ตัว และคบกันตามครรลองของคำสอนของศาสนาพุทธ คนสองชาตินี ้ก็มีโอกาสที่จะเป็ น
มิตรกันได้ 6

6
ความสั มพันธ์ ไทย - ลาวจากอดีตถึงอนาคต

ความสัมพันธ์ ไทย – ลาวจากอดีตถึงอนาคต


ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับลาวพัฒนาไปในทางที่ดีข้ ึนเป็ นลำดับ นับตั้งแต่ท้ งั สองฝ่ ายได้ยตุ ิการเผชิญ
หน้าด้วยกำลังทหารในกรณี ความขัดแย้งเกี่ยวกับเขตแดนกรณี บา้ นร่ มเกล้าในปลายปี  2530 ต่อต้นปี  2531 แ
ละได้มีการทำข้อตกลงหยุดยิงเมื่อ 17 กุมภาพันธ์ 2531 
   ความสัมพันธ์ไทย-ลาว ได้รับการส่ งเสริ มเกื้อกูลจากปั จจัยหลายประการ ได้แก่ ความใกล้ชิดทาง
ภูมิศาสตร์และวัฒนธรรม สภาวะแวดล้อมทางการเมืองและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ นโยบายที่ต่อเนื่อง
ของไทยที่เน้นเสริ มสร้างความสัมพันธ์กบั ประเทศเพื่อนบ้าน การแลกเปลี่ยนการเยือนระดับสู งอย่าง
สม่ำเสมอ การที่ลาวเปิ ดประเทศมากขึ้น โดยได้เริ่ มปฏิรูประบบเศรษฐกิจไปสู่ ระบบเศรษฐกิจการตลาด
ในปี  2529 ตลอดจนการที่ลาวเข้าเป็ นสมาชิกอาเซี ยน เมื่อกรกฎาคม 2540 นอกจากนี้ ไทยและลาว ได้จดั ทำ
สนธิ สญ ั ญามิตรภาพและความร่ วมมือระหว่างกัน (Treaty of Amity and Cooperation)เมื่อ
กุมภาพันธ์ 2535 เพื่อยืนยันว่าจะเคารพในเอกราชและไม่แทรกแซงกิจการภายในของกันและกัน รวมทั้ง
ตกลงจะระงับข้อขัดแย้งโดยสันติวิธี 
    การแก้ไขปัญหาบุคคลผูไ้ ม่หวังดีต่อความสัมพันธ์ไทย-ลาว หรื อ 
    เป็ นประเด็นสำคัญที่ฝ่ายลาวยังคงหวาดระแวงไทย โดยฝ่ ายลาวได้หยิบยกขึ้ นในหลายโอกาสว่าปั จจุบนั
ยังมีบุคคลหรื อกลุ่มบุคคลผูไ้ ม่หวังดีต่อความสัมพันธ์ไทย-ลาวใช้ไทยเป็ นฐานหรื อทางผ่านเข้าไปก่อความ
ไม่สงบในลาว ดังเช่นกรณี เหตุการณ์ด่านช่องเม็ก-วังเต่าเมื่อกรกฎาคม 2543 หรื อกรณี ชาวม้งจากที่พกั สงฆ์
ถ้ำกระบอกมีส่วนเกี่ยวข้องกับการก่อความไม่สงบในลาวหลายครั้งทางการไทยได้ด ำเนินการอย่างจริ งจัง
เพื่อแก้ไขปั ญหาดังกล่าวและได้ยนื ยันกับลาวในทุกโอกาสว่า รัฐบาลไทยมีนโยบายชัดเจนที่จะไม่ยนิ ยอมให้
กลุ่มหรื อบุคคลใดใช้ดินแดนไทยเป็ นฐานหรื อทางผ่านเข้าไปก่อความไม่สงบในประเทศเพื่อนบ้าน โดย
คณะรัฐมนตรี ได้มีมติเมื่อวันที่ 16 กันยายน 2546 เห็นชอบตามที่นายกรัฐมนตรี เสนอให้หน่วยงานที่
เกี่ยวข้องกำหนดแนวทางดำเนินการ และจัดทำบัญชีรายชื่อบุคคลผูต้ อ้ งห้ามเข้าราชอาณาจักร (blacklist) เพื่อ
ใช้เป็ นฐานข้อมูลประกอบการตรวจสอบและอนุญาตให้บุคคลต่างด้าวเข้าเมือง สำหรับกรณี เหตุการณ์ด่าน
ช่องเม็ก-วังเต่าซึ่ งรัฐบาลลาวมีค ำขอให้รัฐบาลไทยพิจารณาส่ งตัวผูก้ ่อการเป็ นผูร้ ้ายข้ามแดนเมื่อสิ้ นสุ ด
กระบวนการยุติธรรมของไทยนั้น ทางการไทยได้ด ำเนินการโดยอาศัยอำนาจตามพระราชบัญญัติคนเข้าเมือง
พ.ศ. 2522 ผลักดันกลุ่มบุคคลสัญชาติลาวจำนวน 16 คนออกนอกราชอาณาจักรเมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม 2547 
สำหรับกรณี ชาวม้งในที่พกั สงฆ์ถ ำกระบอกทางการสหรัฐอเมริ กาได้ประกาศเมื่อวันที่ 18 ธันวาคม 2546 ยิน
ดีรับชาวม้งในที่พกั สงฆ์ถ ้ำกระบอกซึ่ งมีจ ำนวน 15,639 คน ไปตั้งถิ่นฐานในสหรัฐอเมริ กา ทั้งนี้
ตั้งแต่ 16 มิถุนายน 2547-กลางตุลาคม 2547 ได้ส่งชาวม้งไปสหรัฐอเมริ กาแล้วประมาณ 6,000 คน คาดว่าจะ
สามารถดำเนินการได้เสร็ จสิ้ นภายในเดือนเมษายน 2548 พัฒนาการในเชิงบวกต่าง ๆ ดังกล่าวส่ งผลให้ฝ่าย
ลาวมีทศั นคติที่ดีต่อไทยมากยิง่ ขึ้น
    ด้ านเศรษฐกิจ
    ปั จจัยพื้นฐานที่สำคัญที่เอื้ออำนวยต่อการขยายการค้าและการลงทุนระหว่างไทย-ลาว ได้แก่ การที่ไทย
และลาวมีพรมแดนติดต่อกันถึง 1,810 กิโลเมตร (ทางบก 702 กิโลเมตร ทางน้ำ 1,108 กิโลเมตร)ความ
คล้ายคลึงด้านภาษาและวัฒนธรรม การติดต่อไปมาหาสู่ และค้าขายระหว่างประชาชนทั้งสองประเทศตาม
บริ เวณชายแดน และการที่ลาวจำเป็ นต้องอาศัยไทยเป็ นเส้นทางออกทะเลเพื่อค้าขายกับประเทศภายนอก 
    ความร่ วมมือด้ านคมนาคมขนส่ ง
    การที่ลาวเป็ นประเทศที่ไม่มีทางออกทะเลจึงจำเป็ นต้องพึ่งพาประเทศเพื่อนบ้านในการลำเลียงขนส่ ง
สิ นค้าและการสัญจร ฝ่ ายลาวได้ต่อว่าไทยในหลายโอกาสว่าการขนส่ งสิ นค้าผ่านไทยไม่สะดวกเท่าที่ควร
ทำให้ค่าขนส่ งสิ นค้ามีอตั ราสูง ที่ประชุมคณะกรรมาธิ การร่ วมว่าด้วยความร่ วมมือไทย-ลาว ครั้งที่ 12 เมื่อวัน
ที่ 27-28 พฤศจิกายน 2546 ณ เกาะสมุย จังหวัดสุ ราษฎร์ธานี จึงมีมติให้แก้ไขความไม่สะดวกในการสัญจร
ของประชาชนและยานพาหนะ
    การท่ องเที่ยว
    การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) กับองค์การท่องเที่ยวแห่งชาติลาว ได้ท ำความตกลงว่าด้วยความ
ร่ วมมือด้านการท่องเที่ยวแห่งชาติลาว เมื่อ 19 กุมภาพันธ์ 2535 และได้จดั ทำบันทึกการประชุมว่าด้วยความ
ร่ วมมือด้านการท่องเที่ยวระหว่างกันเมื่อ 19 มกราคม 2539 และ 30 มกราคม 2540 
    ความร่ วมมือด้ านสังคมและวัฒนธรรม
    ไทยได้มอบร่ างความตกลงว่าด้วยความร่ วมมือด้านวัฒนธรรมให้ฝ่ายลาวพิจารณาเมื่อกันยายน 2539 เพื่อ
ใช้เป็ นกรอบและแนวทางในการร่ วมมือทางวัฒนธรรมระหว่างกัน ปั จจุบนั อยูร่ ะหว่างการพิจารณาของฝ่ าย
ลาว อย่างไรก็ตาม แม้จะไม่มีความตกลงระหว่างกัน ไทย-ลาว ก็มีโครงการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมอยู่
อย่างสม่ำเสมอ
    ความร่ วมมือด้ านแรงงาน 
    ไทยและลาวได้ลงนามในบันทึกความเข้าใจว่าด้วยความร่ วมมือด้านการจ้างแรงงานเมื่อ 18 ตุลาคม 2545 
ทั้งสองฝ่ ายได้หารื อในระดับนโยบายและระดับเจ้าหน้าที่อย่างต่อเนื่องเพื่อกำหนดแนวทางร่ วมมือในการ
แก้ไขปั ญหาแรงงานต่างด้าวหลบหนีเข้าเมือง กำหนดขั้นตอนการจ้างแรงงาน และให้การคุม้ ครองแรงงาน
สัญชาติของแต่ละฝ่ ายอย่างเหมาะสม ทั้งนี้ ในการประชุมระดับเจ้าหน้าที่อาวุโส ครั้ ง
ที่2 เมื่อ 22 เมษายน 2547 ณ ชะอำ จังหวัดเพชรบุรี ทั้งสองฝ่ ายได้หารื อเกี่ยวกับขั้นตอนการดำเนินการเพื่อ
ปรับเปลี่ยนสถานะแรงงานต่างด้าวหลบหนีเข้าเมืองสัญชาติลาวให้ถูกต้องตามกฎหมาย ทั้งนี้ ในการเปิ ดให้
แรงงานต่างด้าวมาขึ้นทะเบียนขอผ่อนผันทำงานในประเทศไทย ครั้งล่าสุ ด ระหว่างวันที่ 1-
31 กรกฎาคม 2547 มีแรงงานลาวมาขึ้นทะเบียนจำนวน 181,614 คนโดยฝ่ ายลาวจะจัดส่ งคณะเจ้าหน้าที่มา
ประเทศไทยเพื่อพิสูจน์สญั ชาติแรงงานลาวดังกล่าวเพื่อการปรับเปลี่ยนสถานะให้ถูกต้องตามกฎหมายและ
ได้รับการคุม้ ครองตามบันทึกความเข้าใจว่าด้วยการจ้างแรงงาน ฯ ต่อไป
                สำหรับในปัจจุบนั นี้ ในสมัยของรัฐบาลนาย อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นั้นทางด้านรัฐมนตรี ประจำ
กระทรวงมหาดไทยเป็ นประธานในการเปิ ดงานหนังสื อคู่มือสื่ อของไทยและลาว โดยมีเป้ าหมายเพื่อช่วย
ให้การนำเสนอข่าวของสื่ อมวลชนทั้งไทยและลาวเป็ นไปในแนวทางที่สร้างสรรค์และมีประสิ ทธิ ภาพ รวม
ทั้งสร้างความเข้าใจอันดีระหว่างประชาชนของทั้งสองประเทศ และเป็ นกรอบการทำงานสำหรับนักข่าวให้
สามารถสื่ อสารได้ตรงกัน  หนังสื อเล่มนี้ได้รับการสนับสนุนอย่างดีจากสมาคมไทย-ลาวเพื่อมิตรภาพและ
สถานทูตไทย ณ กรุ งเวียงจันทน์ เนื่องจากได้เห็นความสำคัญของสื่ อในการที่จะเป็ นตัวกลางขององค์กรภาค
ประชาชน เป็ นตัวเชื่อมเป็ นส่ วนสำคัญในการสร้างและให้ความรู ้ ความเข้าใจที่ดีและถูกต้อง ที่ส ำคัญยัง
เป็ นการเสริ มสร้างองค์ความรู้ร่วมกัน ช่วยลดช่องว่าง ซึ่ งรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี จะ
ผลักดันให้สร้างสังคมความรู้ (Knowledge Society) รู ้รากเหง้า รู ้ประวัติศาสตร์ที่มาจากรากฐานใกล้เคียง
หรื อที่เดียวกัน ซึ่ งความสัมพันธ์ไทยลาวเข้าใจได้ถึงคุณค่าของความใกล้ชิดกันอยูใ่ นตัวแล้ว โดยนายกฯ
อภิสิทธิ์ จะไปเยือนประเทศลาวเป็ นประเทศแรกในภูมิภาคอาเซี ยน ที่เน้นความสัมพันธ์เสมอภาค ช่วยเหลือ
ซึ่ งกัน และกัน ทั้งในกรอบทวิภาคีและอาเซียน จะเห็นได้วา่ ความสัมพันธ์ของไทยและลาวในอนาคตข้าง
หน้านั้นจะมีความสัมพันธ์ที่แน่นแฟ้ น ต่อไป เพราะการให้ความสำคัญของฝ่ ายบริ หารนั้นได้เน้นความ
สัมพันธ์กบั ประเทศเพื่อนบ้านเป็ นอย่างยิง่ และหนึ่งในนั้นก็คือ ประเทศลาวเพื่อนบ้านของไทยที่มีความ
สัมพันธ์กนั อย่างยาวนานทางประวัติศาสตร์และจนถึงปั จจุบนั นี้ อีกประเทศหนึ่ง
ความสั มพันธ์ ไทย-พม่า

๑. สถานภาพของพม่ าในปัจจุบนั
พม่ามีพ้ืนที่ ๖๗๖,๕๗๗ ตาราง กม. หรื อ ๑.๒ เท่าของประเทศไทย มีประชากร ๔๘.๓ ล้านคน ได้
เอกราชจากอังกฤษเมื่อ ๔ มกราคม ๒๔๙๑ พม่าแบ่งเขตการปกครองออกเป็ น ๗ รัฐ (STATE) กับอีก ๗ ภาค
(REGION) พม่ามีป่าไม้และแร่ ธาตุอุดมสมบูรณ์ซ่ ึ งยังไม่ได้พฒั นาและนำมาใช้ประโยชน์มากนัก ตะกัว่ ซึ่ งมี
มากเป็ นอันดับ ๖ ของโลกมีมากในรัฐฉาน น้ำมันมีมากทางตอนกลางของประเทศ พื้นที่ป่าไม้มีประมาณ
๕๕% ของประเทศ
เศรษฐกิจของพม่าในปัจจุบนั อยูใ่ นสภาพไม่เข้มแข็ง ผลิตผลรวม ๓๕ พันล้านดอลลาร์ (ไทย ๔๕๔ พันล้าน
ดอลลาร์) ประชาชนมีรายได้เฉลี่ยคนละ ๘๙๐ ดอลลาร์ต่อปี (ไทย ๒,๗๙๐ ดอลลาร์) อัตราเพิ่มประชากร
๒.๑% อัตราผูร้ ู้หนังสื อ ๘๒% ประชากรอยูใ่ นเมือง ๒๖% ภาคเกษตรมีสดั ส่ วน ๓๘.๓% ส่ วนภาค
อุตสาหกรรมมีสดั ส่ วน ๘.๙% เศรษฐกิจของพม่าอยูใ่ นมือรัฐบาลเป็ นส่ วนใหญ่ คือ ๕๒.๖% ประเทศคูค่ า้
สำคัญด้านการส่ งออก คือ สิ งคโปร์ จีน ไทย ญี่ปุ่น และฮ่องกง ตลาดนำเข้าได้แก่ ญี่ปุ่น จีน ไทย สิ งคโปร์
และมาเลเซี ย การท่องเที่ยวเป็ นธุรกิจสาขาหนึ่งที่รัฐบาลพม่าให้ความสำคัญเป็ นพิเศษ ในด้านการ ลงทุนจาก
ต่างประเทศ พม่าอนุญาตให้ชาวต่างประเทศเข้าไปลงทุนได้เกือบทุกชนิด และรัฐบาลให้ประกันว่ากิจการที่
ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุนจะไม่ถูกโอนกิจการเป็ นของรัฐ ในทางการเมือง กล่าวโดยสรุ ปได้วา่ พม่าใน
ปั จจุบนั อยูใ่ นยุคที่ ๓ คือ ยุคคณะกรรมการฟื้ นฟูความสงบเรี ยบร้อย (STATE LAW AND ORDER
RESTORATION COUNCIL) โดยยุคแรกระหว่างปี พ.ศ. ๒๔๙๑-๒๕๐๕ รวม ๑๔ ปี เป็ นยุคของอูนุ ซึ่ งรับ
ช่วงอำนาจมาจากอูอองซาน ในยุคนั้น ในทางการเมืองระหว่างประเทศ พม่าวางตัวเป็ นกลาง ไม่เข้ากับทั้ง
ฝ่ ายโลกเสรี และฝ่ ายคอมมิวนิสต์ ส่ วนทางด้านภายใน อำนาจเป็ นของกลุ่มทหารและพลเรื อนที่ภกั ดีต่ออูนุ
ในยุคที่สอง ระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๐๕-๒๕๓๑ เป็ นยุคของพลเอกเนวิน ซึ่ งทำรัฐประหารล้มรัฐบาลอูนุ
เป็ นการสิ้ นสุ ดของประชาธิปไตยระบอบรัฐสภาที่ด ำเนินมาหลังจากได้เอกราชรวม ๑๔ ปี  เนวินให้ค ำมัน่ ว่า
จะสถาปนาระบอบสังคมนิยมแบบพม่าขึ้น แต่ผลปรากฏว่าเศรษฐกิจของประเทศทรุ ดโทรมลงมาก ในยุค
ของเนวินนี้เองพม่าปฏิเสธคำเชิญชวนของอาเซี ยน สำหรับไทยนั้นมีความสัมพันธ์ทางการทูตปกติกบั พม่า
ตลอดมานับตั้งแต่พม่าได้เอกราชเมื่อ ๕๐ ปี ที่ผา่ นมา
๒. ความสัมพันธ์ ในด้ านต่ าง ๆ
๒.๑ ด้ านการเมือง เมื่อพม่ามีรัฐบาลทหารในปี ๒๕๓๑ แล้ว ความสัมพันธ์ไทย-พม่า ดำเนินไปด้วย
ดีและขยายการติดต่อออกไปทุกด้าน ไทยใช้นโยบายที่เรี ยกว่า "ความเกี่ยวพันเชิงสร้างสรรค์"
(CONSTRUCTIVE ENGAGEMENT) และต่อมาประเทศกลุ่มอาเซี ยนก็ใช้นโยบายในลักษณะนี้ ดว้ ย ความ
มุ่งหมายก็เพื่อสร้างสะพานเชื่อมระหว่างพม่ากับประเทศภายนอก ไม่ตอ้ งการให้พม่าอยูอ่ ย่างโดดเดี่ยว
ต้องการให้พม่าได้รับรู้ดว้ ยตนเองว่าโลกภายนอกเปลี่ยนแปลงไปมากแล้ว ขณะเดียวกันโลกภายนอกที่ตอ้ ง
รับรู ้ถึงสภาพความเป็ นจริ งที่ด ำรงอยูภ่ ายในพม่าด้วย พม่าอยูใ่ นฐานะต้องพึ่งพาไทยทางการเมือง แต่กย็ งั คง
หวาดระแวงไทยในปัญหาการสนับสนุนชนกลุ่มน้อยและกลุ่มต่อต้านรัฐบาลพม่า ความสัมพันธ์เริ่ มมีปัญหา
เมื่อผูน้ ำชนกลุ่มน้อยลักลอบเดินทางผ่านไทยไปประเทศตะวันตก และการที่ผไู ้ ด้รับรางวัลสันติภาพเดินทาง
เข้ามาในไทยและไปพบปะกับชนกลุ่ม-น้อยบริ เวณชายแดน รัฐบาลพม่าตอบโต้รัฐบาลไทยด้วยการประกาศ
เมื่อกลางเดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๓๖ ยุติการให้สมั ปทานเอกชนไทยทำไม้ชายแดนพม่า ระงับการแลกเปลี่ยน
การเยือนของเจ้าหน้าที่ระดับสูง รวมทั้งเข้มงวดการจับกุมเรื อและลงโทษลูกเรื อประมงไทยอย่างรุ นแรง
ความสัมพันธ์กระเตื้องขึ้นเมื่อเจ้าหน้าที่ของไทยเดินทางไปเยือนพม่าอย่างต่อเนื่องจนสามารถจัด
ประชุมคณะกรรมการร่ วมไทย-พม่าครั้งที่ ๑ ขึ้น ที่กรุ งย่างกุง้ ระหว่างวันที่ ๑๖-๑๘ กันยายน ๒๕๓๖ ใน
โอกาสนั้น รัฐมนตรี ต่างประเทศของไทยได้พบปะกับประธานสลอร์ก (SLORC) และรัฐมนตรี ต่างประเทศ
พม่า ทำให้พม่าผ่อนปรนเรื่ องการประมงและการทำไม้ ต่อมามีการเยือนระดับรัฐมนตรี และนายทหารชั้น
ผูใ้ หญ่อีกหลายครั้ง กลางปี ๒๕๔๐ นายกรัฐมนตรี พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ ก็เดินทางไปเยือนพม่า
ทางการพม่าพอใจในการที่รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงการต่างประเทศพม่าได้รับเชิญให้เข้าร่ วมประชุม
รัฐมนตรี ต่างประเทศอาเซียนเมื่อ ๒๒-๒๓ กรกฎาคม ๒๕๓๗ ที่กรุ งเทพ ฯ และพอใจมากที่ไทยช่วยให้
ประเทศสมาชิกอาเซียนมีฉนั ทามติในเรื่ องนี้ และการที่ไทยยืนหยัดต่อการกดดันของประเทศตะวันตก การ
ประชุมครั้งนี้มีความสำคัญต่อพม่าในแง่ที่วา่ เป็ นครั้งแรกที่พม่าประชุมเป็ นทางการกับอาเซี ยน เป็ นการวาง
รากฐานให้พม่าได้เข้าองค์การความร่ วมมือในภูมิภาค
๒.๒ ด้ านเศรษฐกิจ ไทยกับพม่ามีโครงการความร่ วมมือทางเศรษฐกิจที่สำคัญ ดังนี้
๒.๒.๑ การพัฒนาโครงการไฟฟ้ าพลังน้ำ โครงการที่จดั ทำแล้ว ๒ โครงการ คือ (๑) โครงการคลอง
กระบุรี อำเภอเมือง จังหวัดระนอง และ (๒) โครงการน้ำรวก อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย และได้ก ำหนด
แผน ที่จะหารื อกันต่อไปเพื่อจัดทำโครงการแม่น ้ำสาละวิน โครงการแม่น ้ำเมย และโครงการแม่น้ำกก
๒.๒.๒ การทำไม้ ประมง และเหมืองแร่ ขณะนี้บริ ษทั เอกชนไทยรวม ๔๐ บริ ษทั รับสัมปทานทำไม้
๕๒ สัมปทานตั้งแต่ปลายปี ๒๕๓๑ เป็ นต้นมา มีการเปิ ดจุดผ่านแดนชัว่ คราวเพื่อนำไม้เข้าไทยไม่นอ้ ยกว่า
๓ ล้านลบ.ม. ตั้งแต่สิ้นปี ๒๕๓๖ เป็ นต้นมา พม่ายกเลิกสัมปทานไม้ท้ งั หมด ส่ วนด้านการประมง พม่าให้
สัมปทานประมงแก่เอกชนไทยหลายราย แต่ต่อมาก็ระงับเสี ย โดยอ้างว่าผูป้ ระกอบการไม่ปฏิบตั ิตาม
ระเบียบ ในด้านเหมืองแร่ พม่าให้สมั ปทานดูดแร่ ดีบุกในพื้นที่ ๒๐๐,๐๐๐ ไร่ ที่เมืองมะริ ด
 
๒.๒.๓ การก่อสร้างสะพานมิตรภาพ เมื่อ ๑๗ ตุลาคม ๒๕๓๗ ไทยและพม่าได้ลงนามในความ
ตกลงที่จะก่อสร้างสะพานมิตรภาพไทย-พม่าขึ้นที่อ ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก กับอำเภอ เมียวดี จังหวัดผาอัน
ต่อมาได้วางศิลาฤกษ์เมื่อ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๓๗ และการก่อสร้างเสร็ จเมื่อวันที่ ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๔๐
ระหว่างการก่อสร้างมีปัญหาอยูบ่ า้ ง โดยเฉพาะพม่าขอให้ระงับการก่อสร้างหลายครั้ง แม้เมื่อสร้างเสร็ จแล้ว
ก็ยงั ไม่สามารถเปิ ดใช้ได้ เพราะตกลงกันไม่ได้ในเรื่ องอธิ ปไตยเหนือสะพาน แล้ว จะได้ก ำหนดวันเปิ ดต่อ
ไป (ปั จจุบนั ได้ท ำพิธิเปิ ดสะพานแล้ว เมื่อวันที่ ๑๕ สิ งหาคม ๒๕๔๐) สะพานนี้จะช่วยให้การเดินทางและ
การค้าขายระหว่างสองประเทศสะดวกขึ้นมาก สะพานซึ่ งสร้างด้วยเงินไทยทั้งสิ้ นแห่งนี้ นอกจากจะทำให้
การคมนาคมระหว่างตากกับเมืองใหญ่ ๆ ในพม่าเป็ นไปโดยสะดวกและรวดเร็ วแล้ว จะทำให้สามารถเดิน
ทางจากพม่า ผ่านตาก ผ่านพิษณุโลก ตัดไปทางตะวันออก ผ่านมุกดาหาร เข้าลาวแล้วออกทะเลที่เวียดนาม
ได้ ขณะเดียวกันก็มีเส้นทางจากสิ งคโปร์ ผ่าน มาเลเซี ย ผ่านไทย ผ่านลาว แล้วไปสิ้ นสุ ดที่ยนู นานของจีน
เส้นทางสองสายนี้ จะตัดกันที่พิษณุโลก ทำให้ "พิษณุโลก" เป็ น "สี่ แยกอินโดจีน" โดยแท้จริ ง
๒.๒.๔ การซื้ อขายก๊าซธรรมชาติ เมื่อวันที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๘ ผูแ้ ทนไทยและพม่าลงนามในข้อ
ตกลงซื้ อขายก๊าซธรรม-ชาติของพม่าจากแหล่งยาดานา ในอ่าวเมาะตะมะเป็ นเวลา ๓๐ ปี (๒๕๔๑-๒๕๗๑)
ในปริ มาณวันละ ๕๒๕ ล้านลบ.ฟุต มูลค่าปี ละ ๑๐,๐๐๐ ล้านบาท พม่าจะเริ่ มส่ งก๊าซให้ต้ งั แต่เดือน
กรกฎาคม ๒๕๔๑ ในการนี้ พม่าจะวางท่อจากแหล่งก๊าซขึ้นฝั่งในเขตพม่าระยะทาง ๓๕๐ กม. แล้ววางท่อ
ทางบกอีก ๖๓ กม. ถึงจุดส่ งก๊าซให้ไทยที่บา้ นอีต่อง อ.ทองผาภูมิ จ.กาญจนบุรี ส่ วนไทยจะวางท่อจากจุดนั้น
ไปยังโรงไฟฟ้ าที่จงั หวัดราชบุรี เป็ นระยะทาง ๒๖๐ กม. การวางท่อของฝ่ ายไทยในความรับผิดชอบของ
ปตท. ซึ่ งใช้งบประมาณ ๑๖,๕๐๐ ล้านบาทจะต้องดำเนินการให้แล้วเสร็ จในกำหนด (กรกฎาคม ๒๕๔๑) มิ
ฉะนั้นจะถูกพม่าปรับเป็ นเงินก้อนใหญ่ในอัตราก้าวหน้า คือล่าช้า ๒ เดือนปรับ ๑๒๕ ล้านบาท ล่าช้า ๕
เดือนปรับ ๑,๕๖๗ ล้านบาท นอกจากนั้นแล้ว ในปี ๒๕๔๓ ไทยจะรับซื้ อก๊าซจากพม่าเพิม่ ขึ้นอีกวันละ
๒๐๐ ล้าน ลบ.ฟุต จากแหล่งเยตากุนในอ่าวเมาะตะมะ ซึ่ งปริ มาณสำรองอยู่ ๑.๑ ล้านล้าน (ทริ ลเลี่ยน)
ลบ.ฟุต ตั้งอยูใ่ กล้เคียงกับแหล่งยาดานา ห่างฝั่งน้อยกว่า คือ ๒๑๐ กม. จุดส่ งก๊าซจากแห่งใหม่ใช้ที่เดิมคือ
บ้านอีต่อง การส่ งก๊าซจากทั้งสองแหล่งที่บา้ นอีต่องนี้เป็ นสิ่ งที่พม่ากำหนด เช่น การส่ งตรงไปยังราชบุรี
เป็ นต้น การเจรจากับพม่าใช้เวลา ๒ ปี การวางท่อก๊าซจากชายแดนติดพม่าไปยังโรงไฟฟ้ านั้น ได้มีการ
พิจารณาผลกระทบด้านสิ่ งแวดล้อมแล้ว และจะผ่านพื้นที่หลายลักษณะ คือ แนวถนนขนแร่ เก่า เหมืองร้าง
พื้นที่โล่ง และแนวสันเขา ส่ วนที่ผา่ นป่ าสมบูรณ์มีระยะทาง ๖ กม. ประชาชนในจังหวัดกาญจนบุรีจ ำนวน
หนึ่ง ร่ วมกับกลุ่มอนุรักษ์ได้เคลื่อนไหวคัดค้านและเรี ยกร้องให้เปลี่ยนเส้นทางโดยอ้างว่าจะเป็ นการทำลาย
ลุ่มน้ำ ทรัพยากรป่ าไม้ และทรัพยากรสัตว์ป่า เรื่ องนี้ ทาง ปตท. ยืนยันว่าจะไม่เป็ นการสู ญเสี ยมากดังที่กล่าว
อ้าง หรื อเป็ นอันตรายแต่อย่างใด ทั้งจะได้ฟ้ื นฟูและชดเชยด้วย และเมื่อวันที่ ๖ มิถุนายน ๒๕๔๐ นี้ คณะ
กำนันและผูใ้ หญ่บา้ นในอำเภอพื้นที่กเ็ ดินทางมาเรี ยกร้องให้ด ำเนินการก่อสร้างต่อไป
 
ในสถานการณ์ปัจจุบนั และอนาคต การนำก๊าซจากพม่ามาใช้ผลิตกระแสไฟฟ้ าเป็ นสิ่ งจำเป็ นที่มิอาจหลีก
เลี่ยงได้ เพราะปริ มาณความต้องการเพิ่มขึ้นปี ละ ๑,๔๐๐เมกะวัตต์ หรื อกว่า ๗% การใช้ก๊าซธรรมชาติผลิต
กระแสไฟฟ้ าสามารถทำได้โดยมีประสิ ทธิภาพสู งที่สุดในสถานการณ์ปัจจุบนั ขณะนี้การวางท่อก๊าซเริ่ มขึ้น
แล้ว ก้าวหน้าไป ๑๒% คาดหมายว่าจะแล้วเสร็ จทันตามกำหนด ในเดือนกรกฎาคม ๒๕๔๑ ก็จะมีการผลิต
ไฟฟ้ าโดยใช้ก๊าซจากพม่า
 
๒.๓ ด้ านสั งคมจิตวิทยา มีการร่ วมมือกันดังนี้
๒.๓.๑ การแลกเปลี่ยนศิลปวัฒนธรรม รัฐบาลพม่าส่ ง นาฏศิลป์ และเจ้าหน้าที่ดา้ นศิลปวัฒนธรรม
มาแสดงในไทย ฝ่ ายไทยเสนอให้มีการแลกเปลี่ยนนักศึกษาระหว่างไทย-พม่า ซึ่ งฝ่ ายพม่ารับไว้พิจารณา 
๒.๓.๒ การส่ งเสริ มการท่องเที่ยว ทั้งสองฝ่ ายเห็นชอบจัดให้มีโครงการส่ งเสริ มการท่องเที่ยวร่ วม
กันระหว่างจังหวัดเชียงใหม่ และเมืองตองยีของพม่า
๒.๓.๓ การป้ องกันและปราบปรามยาเสพติด ทั้งสองฝ่ าย ตกลงจะร่ วมมือกันในการป้ องกันและ
ปราบปรามยาเสพติด และแลกเปลี่ยนข่าวสารเกี่ยวกับยาเสพติดบริ เวณชายแดน นอกจากนั้นไทยให้ทุนเจ้า
หน้าที่ฝ่ายพม่ามาฝึ กอบรม ศึกษา และดูงานในประเทศไทย
 
๒.๔ ด้ านการทหาร นับตั้งแต่รัฐบาลทหารของพม่าชุดปั จจุบนั เข้าบริ หารประเทศเป็ นต้นมา ความสัมพันธ์
ระดับผูใ้ หญ่ของกองทัพไทยและพม่าดำเนินไปด้วยดี มีการแลกเปลี่ยนการเยือนกันอย่างต่อเนื่อง การเจรจา
แก้ปัญหาระหว่างกันคืบหน้าไปมาก โดยเฉพาะใน 2 เรื่ องต่อไปนี้
๒.๔.๑ การปราบปรามการลักลอบค้าอาวุธ ฝ่ ายไทยได้ช่วยสกัดกั้นการลักลอบค้าอาวุธที่จะเข้าไป
ให้กลุ่มต่อต้านในพม่า ส่ วนหนึ่งของอาวุธออกมาจากกัมพูชา ผ่านไทยทางพรมแดนไทย-กัมพูชา
๒.๔.๒ ทหารพม่าจะเปิ ดดินแดน ฝ่ ายพม่าเคยให้ค ำมัน่ ว่าจะไม่รุกล้ำเข้ามาในเขตไทย จะป้ องกันไม่
ให้กระสุ นตกในไทย ขณะเดียวกันฝ่ ายไทยก็จะไม่ยนิ ยอมให้กองกำลังของกลุ่มต่อต้านใช้ดินแดนไทยเป็ น
ฐานปฏิบตั ิการเพื่อสู้รบกับทางการพม่า อย่างไรก็ตาม ก็เคยมีที่ฝ่ายพม่ามิได้ปฏิบตั ิตามที่เคยตกลงไว้ ไทย
เคยยิงโต้ตอบพม่า แต่กเ็ คยปลดอาวุธกองกำลังกะเหรี่ ยงที่ถืออาวุธหนีเข้ามาในไทย เมื่อปลดอาวุธแล้วก็
ส่ งตัวกลับออกไป มิได้ส่งตัวให้ทางการพม่า
 
๓. ปัญหาเส้ นเขตแดน ไทยมีพรมแดนติดต่อกับพม่าทั้งทางบกและทางน้ำยาวถึง ๒,๔๐๑ กม. นับว่ายาวกว่า
ประเทศรอบบ้านอื่น ๆ (ลาว ๑,๘๑๐ กม.,กัมพูชา ๗๘๙ กม. และมาเลเซี ย ๖๔๖.๕ กม.) จังหวัดที่มีแนว
พรมแดนติดต่อกับพม่ารวม ๑๐ จังหวัด เริ่ มตั้งแต่เชียงรายจนถึงระนอง สนธิ สญ ั ญาเกี่ยวกับเส้นเขตแดนที่ใช้
อยูเ่ ป็ นสนธิ สญ
ั ญาที่ไทยทำกับอังกฤษรวม ๗ ฉบับ พม่าสื บสิ ทธิ ตามสนธิ สญ ั ญาเมื่อได้เอกราชในปี ๒๔๙๑
สาเหตุที่ท ำให้เส้นเขตแดนระหว่างไทยกับพม่ามีปัญหาก็เพราะ (๑) แนวพรมแดนที่เป็ นแม่น ้ำเปลี่ยนแปลง
ตามสภาพตามธรรมชาติ (๒) การกำหนดเส้นเขตแดน โดยใช้สนั เขาหรื อสันปันน้ำโดยไม่ถูกต้องตรงกับ
ความเป็ นจริ งตามธรรมชาติ (๓) กำหนดแนวพรมแดนไว้คลุมเครื อ (๔) ตีความสนธิ สญ ั ญาหรื อใช้สนธิ
สัญญาแตกต่างกัน (๕) แผนที่ต่อท้ายสัญญาไม่ชดั เจนหรื ออ่านแผนที่แตกต่างกัน และ (๖) มีการดัดแปลง
แนวพรมแดนให้ผดิ จากแนวธรรมชาติ เกี่ยวกับปั ญหาเส้นเขตแดนนี้ มีประเด็นที่น่าสนใจอยู ่ 3 เรื่ อง ดังต่อ
ไปนี้
๓.๑ เส้ นเขตแดนที่ตกลงกันได้ แล้ว มีอยู่ ๑ จุด คือ แม่น ้ำสาย-แม่น้ำรวก ยาวทั้งสิ้ น ๓๘ กม. อยูใ่ นอำเภอ
แม่สายจังหวัดเชียงราย เส้นเขตแดนตามสนธิ สญ ั ญา คือ ร่ องน้ำลึก แต่ปรากฏกระแสน้ำเปลี่ยนทางเดิน บาง
ตอนเข้ามาในเขตไทย และบางตอนเข้าไปในเขตพม่า แต่โดยรวมแล้วเข้าไปในพม่ามากกว่า (คือ ไทยได้ดิน
แดนเพิ่ม) ทำให้เกิดปัญหากระทบกระทัง่ ระหว่างราษฎรในพื้นที่บ่อยครั้ง ทั้งสองฝ่ ายเจรจาแก้ปัญหากัน
ตั้งแต่ปี ๒๕๑๑ และสามารถตกลงกันได้ โดยใช้หลักการเส้นเขตแดนคงที่ (FIXED BOUNDARY) และลง
นามในบันทึกช่วยจำเมื่อ ๑๘ มิถุนายน ๒๕๓๔ และมีผลเมื่อรัฐสภาให้สตั ยาบันตามรัฐธรรมนูญเมื่อ ๑๒
มีนาคม ๒๕๓๕ หลักการที่ท ำความตกลงกับพม่าในเรื่ องเส้นเขตแดนคงที่กค็ ือ กำหนดให้ก่ ึงกลางลำน้ำเป็ น
เส้นเขตแดนตามสนธิสญ ั ญาเดิม แต่ก ำหนดแนวไว้แน่นอนด้วยหลักอ้างอิงที่ปักไว้บนสองฝั่ง ไม่วา่ ลำน้ำจะ
เปลี่ยนไปอย่างใด เส้นเขตแดนก็จะยังอยูเ่ ช่นเดิมไม่เปลี่ยนแปลงไปตามการเปลี่ยนแปลงของแม่น ้ำ
ดังนั้น ในการทำความตกลง จึงได้ก ำหนด ๔ เรื่ องต่อไปนี้ไว้ดว้ ยคือ (๑) สิ ทธิ ในการเดินเรื อ (๒) การใช้น ้ำ
อย่างเป็ นธรรม (๓) การบำรุ งรักษา และการอนุรักษ์ทางเดินปั จจุบนั ของแม่น ้ำ และ (๔) การบำรุ งรักษาหลัก
อ้างอิงเขตแดน ปัญหาที่เกิดขึ้นในปัจจุบนั ก็คือ กระแสน้ำที่รุนแรงในฤดูน ้ำหลากทำให้หลักอ้างอิงเขตแดน
ซึ่ งมีอยูท่ ้ งั สิ้ น ๔๙๒ หลักสูญหายไป ๓๑๐ หลัก เหลืออยูเ่ พียง ๑๘๒ ในปี ๒๕๓๗ และบัดนี้ เหลืออยูไ่ ม่ถึง
๑๐๐ หลัก ไทยได้เรี ยกร้องให้แต่ละฝ่ ายจัดทำหลักอ้างอิงเขตแดนขึ้นใหม่เป็ นการทดแทนโดยให้อีกฝ่ ายหนึ่ง
ตรวจสอบความถูกต้อง แต่ฝ่ายพม่ายังไม่ตอบสนอง อย่างไรก็ตาม ก็กล่าวได้วา่ แนวเส้นเขตแดน ณ จุดนี้
สามารถทำความตกลงกันเป็ นที่เรี ยบร้อย ปัญหาที่มีอยูเ่ ป็ นปั ญหาในทางปฏิบตั ิ
 
๓.๒ เส้ นเขตแดนที่ยงั เป็ นปัญหา มีอยู่ ๖ จุด ดังนี้ คือ
๓.๒.๑ ดอยลาง จ.เชียงใหม่ พื้นที่ขดั แย้ง ๓๐ ตร.กม. ปั ญหา คือ เส้นแบ่งเขตแดนที่ถูกต้องอยูแ่ นว
ใด ไทยเห็นว่าเส้นเขตแดนควรเป็ นไปตามสันดอยห้วยฮะ ซึ่ งลึกเข้าไปในเขตพม่า
๓.๒.๒ ดอยถ้ำผาจม จ.เชียงราย หลักหมุดเขตแดนที่เคยปั กไว้สูญหายไป ทำให้ต่างฝ่ ายต่างถือ
แผนที่ต่างฉบับกันอ้างเขตแดนต่างแนวกัน เป็ นพื้นที่เหลื่อมกันอยู่ ๑ ตร.กม. พม่าเคยเข้ามาสร้างวัดในพื้นที่
ที่อา้ งเมื่อปี ๒๕๓๖ ทำให้ต่างก็ส่งกำลังเข้าไปตรึ งกัน แต่ในที่สุดตกลงถอนทหารออกไป
๓.๒.๓ เจดียส์ ามองค์ จ.กาญจนบุรี หาจุดอ้างอิงที่ก ำหนดไว้ตามสนธิ สญ ั ญาเมื่อ ๘ กุมภาพันธ์ ค.ศ.
๑๘๖๘ ยังไม่ได้ พม่าเคยใช้ก ำลังเข้ามาในเขตที่ไทยถือว่าเป็ นของไทย โดยอ้างว่าเป็ นการกวาดล้างกะเหรี่ ยง
และมอญอิสระเมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๗
 
๓.๒.๔ แม่น ้ำปากจัน่ จ.ระนอง สนธิ สญ ั ญาที่ท ำกันไว้ไม่ได้บอกพิกดั ทางภูมิศาสตร์ ตำบล และชื่อ
เกาะซึ่ งมีขนาดเล็กไว้ ต่างฝ่ ายต่างก็อา้ งกรรมสิ ทธิ์ ใน ๓ เกาะ คือ เกาะหลาม (๑๕๐ ไร่ ) เกาะคัน (๔ ไร่ ) และ
เกาะขี้นก (๑ ไร่ )
๓.๒.๕ เนิน ๔๙๑ จ.ชุมพร เนินนี้อยูบ่ นสันปั นน้ำ ต่างอ้างว่าอยูใ่ นเขตของตน พม่าเคยส่ งกำลังเข้า
มายึดเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๓๕ เพื่อประโยชน์ในการปราบปรามกองกำลังของกะเหรี่ ยง แต่หลังจาก
เจรจากันแล้ว พม่ายอมถอนทหารออกไป
๓.๒.๖ บริ เวณแม่น ้ำเมย อ.แม่สอด จ.ตาก แม่น ้ำเมยยาว ๓๙๐ กม. อยูร่ ะหว่างอำเภอแม่สอด จังหวัด
ตาก กับเมืองเมียวดี รัฐกะเหรี่ ยงของพม่า ตามสนธิ สญ ั ญาปี ค.ศ. ๑๘๖๘ ระหว่างไทยกับอังกฤษ กำหนดให้
เส้นเขตแดนสิ้ นสุ ดลงแค่ฝั่งของแต่ละฝ่ ายเท่านั้น ไม่ได้กล่าวถึงสิ ทธิ เหนือลำน้ำ เมื่อครั้งไทยลงนามทำความ
ตกลงเรื่ องเส้นเขตแดนคงที่ที่แม่น ้ำสาย-แม่น้ำรวกเมื่อปี ๒๕๓๔ ไทยเคยเสนอให้ท ำความตกลงเสี ยใหม่ ใช้
ร่ องน้ำลึกเป็ นเส้นเขตแดน ฝ่ ายพม่าขอให้ศึกษาและสำรวจตลอดลำน้ำเสี ยก่อน ปั ญหาจึงค้างคาอยู่ นับแต่ปี
๒๕๒๐ เป็ นต้นมา ทั้งไทยและพม่า สนใจกรณี ตลิ่งพังมากขึ้น ทำให้เกิดกรณี ขดั แย้งกันขึ้น ตัวอย่างความขัด
แย้ง คือ 
(๑) การสร้างหลักรอ เมื่อปี ๒๕๒๔ พม่าสร้างหลักรอขึ้นทางฝั่งพม่า ทำให้กระแสน้ำเซาะตลิ่งฝั่ง
ไทย เสี ยเนื้ อที่ไป ๑๘๗.๕ ไร่ ฝ่ ายไทยจึงสร้างหลักรอในบริ เวณนั้นบ้าง ในที่สุดทั้งสองฝ่ ายยุติการสร้างหลัก
รอ ตามผลของการประชุมกรรมการชายแดนส่ วนภูมิภาคเมื่อปี ๒๕๓๔
(๒) การถมหินบริ เวณตอม่อสะพานมิตรภาพ เมื่อปี ๒๕๓๘ ฝ่ ายไทยนำหิ นไปถมบริ เวณตอม่อ
สะพานมิตรภาพไทย-พม่า ซึ่ งอยูร่ ะหว่างก่อสร้าง และปลูกอาคารร้านค้าขึ้น พม่าเกรงว่าจะทำให้กระแสน้ำ
เปลี่ยน จนเกาะอยูต่ ิดกับแผ่นดินฝั่งไทย จึงเรี ยกร้องให้ร้ื อถอนหิ นและร้านค้า พร้อมกับขอให้ระงับการ
ก่อสร้างสะพานด้วย
(๓) กระแสน้ำเปลี่ยนทางเดิน ทำให้แผ่นดินที่เคยอยูฝ่ ั่งหนึ่งเปลี่ยนไปอยูอ่ ีกฝั่งหนึ่ง กรณี เช่นนี้เคย
เกิดขึ้นเมื่อปี ๒๕๒๓ ครั้งหนึ่ง ในครั้งนั้นพม่าอ้างอธิ ปไตยเหนือดินแดนที่เป็ นของไทย ๕๐ ไร่ ไทยไม่
ยินยอม เพราะครั้งนั้นกระแสน้ำเปลี่ยนกะทันหัน เป็ นข้อยกเว้นตามหลักกฎหมายระหว่างประเทศ เรื่ องยัง
ไม่เป็ นที่ ตกลงกัน อีกกรณี หนึ่งเกิดขึ้นเมื่อปี ๒๕๓๗ แต่กรณี กลับกัน คือ แผ่นดินเนื้อที่ประมาณ ๑๐๐ ไร่
กลับมาอยูต่ ิดกับฝั่งไทย เมื่อวันที่ ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๔๐ นี้ ฝ่ ายพม่านำรถเข้ามาเพื่อจะขุดร่ องน้ำเพื่อให้น ้ำ
ซึ่ งเปลี่ยนทางเดินไปแล้ว กลับมาไหลในร่ องที่ขดุ ใหม่ ฝ่ ายไทยไม่ยนิ ยอม ถึงขั้นส่ งกำลังทหารเข้าเผชิญหน้า
กัน แต่ในที่สุดสามารถระงับปัญหากันได้ โดยจะมีการตรวจสอบทางเทคนิคกันต่อไป

๓.๓ กลไกการแก้ไขปัญหาเส้ นเขตแดน ขณะนี้มีเครื่ องมือที่ใช้ในการแก้ไขปั ญหาเส้นเขตแดนอยู่ ๓ กลุ่ม


คือ 
๓.๓.๑ นโยบายระดับชาติ มีคณะกรรมการเขตแดนของสภาความมัน่ คงแห่งชาติ รับผิดชอบในการกำหนด
นโยบายเป็ นการ ทัว่ ไป นโยบายที่ก ำหนดขึ้นนี้ ครม. ให้ความเห็นชอบด้วย และมีการปรับปรุ งเป็ นระยะ ๆ
๓.๓.๒ คณะกรรมการร่ วมไทย - พม่า รัฐบาลของทั้งสองประเทศทำความตกลงจัดตั้งคณะกรรมการร่ วมขึ้น
เพื่อพิจารณาหาทางแก้ไขปัญหาร่ วมกัน มี ๓ ระดับ คือ (๑) คณะกรรมการร่ วมไทย-พม่า มีรัฐมนตรี วา่ การ
กระทรวงการต่างประเทศของทั้ง ๒ ฝ่ าย เป็ นประธาน (๒) คณะกรรมการพิจารณาปั ญหาเขตแดนไทย -
พม่า มีรัฐมนตรี ช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศเป็ นประธาน (๓) คณะกรรมการชายแดนส่ วนภูมิภาค มี
แม่ทพั กองทัพภาคที่ ๑ หรื อ ๒ หรื อ ๓ แล้วแต่กรณี และผูบ้ งั คับบัญชาทหารในพม่าในพื้นที่ตรงข้ามเป็ น
ประธาน
๓.๓.๓ คณะกรรมการอำนวยการปฏิบตั ินโยบายชายแดนไทย - พม่า เป็ นกรรมการของฝ่ ายไทย รับผิดชอบ
ในการปฏิบตั ิตามนโยบายที่กรรมการต่าง ๆ ที่กล่าวแล้วกำหนดขึ้น ผูบ้ ญั ชาการทหารสู งสุ ดเป็ นผูอ้ ำนวยการ
๓.๔ นโยบายการแก้ไขปัญหาเส้ นเขตแดน ในการดำเนินการแก้ไขปั ญหาเกี่ยวกับเส้นเขตแดนนั้น
ทางราชการได้ก ำหนดนโยบายขึ้นไว้ เพื่อเป็ นกรอบและทิศทางในการปฏิบตั ิให้ประสานสอดคล้องกับทุก
ส่ วนราชการทั้งฝ่ ายทหารและพลเรื อน และใช้กบั ทุกประเทศที่มีปัญหาเส้นเขตแดนกับไทย แบ่งเป็ น ๒
ส่ วน คือ วัตถุประสงค์ส่วนหนึ่ง และนโยบายอีกส่ วนหนึ่ง มีสาระสำคัญ ดังนี้ 
๓.๔.๑ วัตถุประสงค์ มี ๓ ประการ คือ (๑) เจรจากันโดยสันติวิธี (๒) ดำเนินการโดยมีเอกภาพและ
(๓) ป้ องกันรักษาเส้นเขตแดน และสิ ทธิประโยชน์ของราษฎร
๓.๔.๒ นโยบาย คือ วิธีปฏิบตั ิเพื่อบรรลุวตั ถุประสงค์ขา้ งต้น กำหนดไว้ ๘ ประการ ดังนี้
(๑) มีการเจรจาโดยสันติวธิ ีในกรณี มีปัญหาขัดแย้ง หลีกเลี่ยงการใช้ก ำลัง (๒) ในขั้นแรก ใช้กลไกระดับท้อง
ถิ่น ในกรณี ไม่สามารถหาข้อยุติได้ในระดับท้องถิ่นให้ยกระดับการเจรจาขึ้นเป็ นระดับชาติ (๓) เร่ งเจรจา
แก้ไขปั ญหาในระหว่างที่มีความสัมพันธ์อนั ดี (๔) ศึกษาค้นคว้าหาหลักฐานไว้ล่วงหน้าเพื่อใช้ประกอบการ
เจรจา (๕) กำหนดท่าทีเกี่ยวกับการอ้างอิงหลักฐานให้เป็ นหลักการเดียวกัน (๖) หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนิน
การประชา-สัมพันธ์ และชี้แจงข้อเท็จจริ งไปในทิศทางเดียวกัน (๗) ให้จงั หวัดที่มีแม่น ้ำเป็ นเส้นเขตแดน
ระหว่างประเทศศึกษาตรวจสอบ และป้ องกันตลิ่งพัง และการเปลี่ยนทางเดินของลำน้ำ (๘) รักษาสิ ทธิ
ประโยชน์ของราษฎรในพื้นที่ไว้ในกรณี ที่ราษฎรเข้าทำมาหากินอยูใ่ นพื้นที่ที่เป็ นปัญหาข้อพิพาท

๔. ปัญหาสถานการณ์ บริเวณชายแดน นอกจากปั ญหาเส้นเขตแดนตามที่กล่าวในข้อ ๓ แล้ว ยังมีสถานการณ์


ที่เป็ นปัญหาระหว่างไทย-พม่า อีก ๕ เรื่ อง ดังนี้
  ๔.๑ ปัญหาชนกลุ่มน้อยสัญชาติพม่า ตลอดแนวพรมแดนไทย-พม่า ตั้งแต่เชียงรายจดระนอง มีชนก
ลุ่มน้อยอาศัยอยูห่ ลายกลุ่ม ที่สำคัญได้แก่ กะเหรี่ ยง มอญ คะยา และไทยใหญ่ ชนกลุ่มน้อยเหล่านี้ตอ้ งการ
แยกเป็ นอิสระ และต่างก็ปฏิบตั ิการเป็ นปฏิปักษ์กบั รัฐบาลพม่าอย่างรุ นแรง จึงเกิดการสู ้รบขึ้นกับทหาร
รัฐบาลพม่าอยูเ่ สมอชนกลุ่มน้อยที่อาศัยอยูบ่ ริ เวณชายแดน หรื อที่หลบหนีการปราบปรามของทหารพม่าเข้า
มาในเขตไทย ก่อปัญหาแก่ไทย ๔ ประการ คือ (๑) รัฐบาลพม่าระแวงว่าไทยให้การสนับสนุน ทำให้
บรรยากาศของความสัมพันธ์ไม่สู้ราบรื่ น (๒) ละเมิดอธิ ปไตยเพราะชนกลุ่มน้อยมีลกั ษณะเป็ นกองกำลังถือ
อาวุธ หลบหนีเข้ามาอยูใ่ นเขตไทย ในพื้นที่ที่เจ้าหน้าที่ฝ่ายไทยไม่สามารถเข้าถึงได้ (๓)ก่อปั ญหาความไม่
สงบเรี ยบร้อย บางครั้งชนกลุ่มน้อยถืออาวุธเหล่านั้นต่อสู ้กนั เอง เพราะขัดแย้งในเรื่ องผลประโยชน์กนั ทำให้
ทรัพย์สินบ้านเรื อนของราษฎรไทยเสี ยหาย หรื อในกรณี ที่ทหารพม่ากับกองกำลังของชนกลุ่มน้อยสู ้รบกันก็
ทำความเสี ยหายแก่บา้ นเรื อน และทรัพย์สินของคนไทยเช่นเดียวกัน และ (๔) ลักลอบค้ายาเสพติด บริ เวณ
สามเหลี่ยมทองคำ นอกเขตไทยเป็ นแหล่งปลูกฝิ่ น ผลิตมอร์ฟีน และเฮโรอีน กับเป็ นทางผ่านยาเสพติดเข้า
มายังไทย ทั้งมีการย้ายแหล่งผลิตไปมาในเขตแดนไทย-พม่าเสมอ
๔.๒ ปัญหาผูห้ ลบหนีเข้าเมืองสัญชาติพม่า ประกอบด้วยบุคคล ๔ กลุ่ม คือ (๑) ผูพ้ ลัดถิ่นสัญชาติ
พม่า คือผูท้ ี่เข้ามาก่อน ๙ มีนาคม ๒๕๑๙ (๒)ผูห้ ลบหนีจากการสู ้รบในพม่าในช่วงปี  ๒๕๒๗-๒๕๓๕ ซึ่ งมี
ประมาณ ๕๕,๐๐๐ คน (๓) ผูล้ กั ลอบเข้ามาทำงาน จำนวนไม่แน่นอน อาจถึง ๕๖๐,๐๐๐ คน และ (๔)
นักศึกษาพม่า ซึ่ งหลบหนีการปราบปรามของรัฐบาลทหารพม่า สำหรับผูล้ กั ลอบเข้ามาหางานทำนั้น ขณะนี้
กระจายไปอยูต่ ามที่ต่าง ๆ เกือบทัว่ ประเทศ ทางราชการได้ผอ่ นปรนให้ท ำงานได้ ๔ ประเภท คือ งานขนส่ ง
งานก่อสร้าง งานเกษตร และ งานบ้าน แต่ตอ้ งจดทะเบียนเป็ นหลักฐาน ปรากฏว่าเพียงจำนวนหนึ่งเท่านั้นที่
ปฏิบตั ิตามระเบียบ ส่ วนนักศึกษามีการเคลื่อนไหวเป็ นปฏิปักษ์ต่อทางการพม่าอย่างเปิ ดเผย เช่น การ
ประท้วงหน้าสถานเอกอัครราชฑูตพม่า ทางราชการจึงต้องกำหนดสถานที่ให้เข้าไปอยู่ คือ ศูนย์นกั ศึกษา
พม่าที่บา้ นมณี ลอย แต่กเ็ ข้าไปอยูเ่ พียงจำนวนหนึ่งเท่านั้น และมักก่อปั ญหาอยูเ่ สมอ
๔.๓ ปัญหาการลักลอบค้า สิ นค้าไทยที่มีการลักลอบนำไปขายในเขตพม่า ได้แก่ น้ำมันเชื้อเพลิง
เครื่ องเวชภัณฑ์ และเสื้ อผ้า ส่ วนสิ นค้าที่ลกั ลอบนำเข้ามาขายในเขตไทย ได้แก่ อัญมณี แร่ และปศุสตั ว์
พ่อค้าที่เข้ามาซื้ อสิ นค้าจากฝั่งไทย และข้ามเข้าไปในเขตพม่าจะถูกกองกำลังของชนกลุ่มน้อยสัญชาติพม่า
เรี ยกเก็บภาษี ทำให้เจ้าหน้าที่ไม่พอใจโดยกล่าวหาว่าไทยจัดตั้งชุมชนขึ้นในเขตไทยเป็ นการช่วยเหลือชนก
ลุ่มน้อยสัญชาติพม่า
๔.๔ ปัญหาการทำไม้ในพม่า ในช่วงก่อนปี ๒๕๓๖ รัฐบาลพม่าให้สมั ปทานทำไม้แก่
ความสั มพันธ์ ระหว่ างไทยกับมาเลเซีย

1. ด้ านการทูต
ไทยสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตกับมาเลเซี ยเมื่อวันที่ 31 สิ งหาคม 2500 เอกอัครราชทูต ณ กรุ ง
กัวลาลัมเปอร์คนปัจจุบนั คือ นายปิ ยวัชร นิยมฤกษ์ ซึ่ งเข้ารับตำแหน่งเมื่อเดือนมีนาคม 2550 นอกจากนี้ ไทย
ยังมีสถานกงสุ ลใหญ่ในมาเลเซีย 2 แห่ง (สถานกงสุ ลใหญ่ ณ เมืองปี นัง และสถานกงสุ ลใหญ่ ณ เมือง
โกตาบารู ) และมีสถานกงสุ ลประจำเกาะลังกาวี (ซึ่ งมีดาโต๊ะ ชาซรี ล เอสเคย์ บิน อับดุลลาห์ กงสุ ล
กิตติมศักดิ์เป็ นหัวหน้าสำนักงาน) สำหรับหน่วยงานของส่ วนราชการต่าง ๆ ซึ่ งตั้งสำนักงานอยูภ่ ายใต้สถาน
เอกอัครราชทูตฯ ได้แก่ สำนักงานผูช้ ่วยทูตฝ่ ายทหาร สำนักงานส่ งเสริ มการค้าในต่างประเทศ สำนักงาน
แรงงาน ส่ วนหน่วยงานของไทยอื่นๆ ที่ต้ งั สำนักงานในมาเลเซี ยคือการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย บริ ษทั
การบินไทย สำหรับหน่วยงานของมาเลเซียในไทยได้แก่ สถานเอกอัครราชทูตมาเลเซี ย (เอกอัครราชทูต
มาเลเซี ยคนปัจจุบนั คือ ดาโต๊ะ ชารานี บิน อิบราฮิม ) และสถานกงสุ ลใหญ่มาเลเซี ยประจำจังหวัดสงขลา
2. ด้ านการเมือง
ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับมาเลเซี ยได้พฒั นาแน่นแฟ้ นจนมีความใกล้ชิดกันมาก เนื่องจากทั้ง
สองประเทศมีผลประโยชน์ร่วมกันหลายประการ การแลกเปลี่ยนการเยือนในระดับต่าง ๆ ทั้งระดับพระ
ราชวงศ์ช้ นั สู ง รัฐบาล และเจ้าหน้าที่ ทั้งอย่างเป็ นทางการและไม่เป็ นทางการ เป็ นไปอย่างสม่ำเสมอ แต่
แม้วา่ สองฝ่ ายจะมีความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดกัน ก็ยงั คงมีประเด็นปั ญหาในความสัมพันธ์ ซึ่ งต้องร่ วมมือกัน
แก้ไข อาทิ การปักปันเขตแดนทางบก บุคคลสองสัญชาติ การก่อความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้
เป็ นต้น
นโยบายของไทยต่อมาเลเซียเน้นมุ่งส่ งเสริ มความไว้เนื้ อเชื่อใจระหว่างกัน และสร้างพื้นฐานที่เข้ม
แข็งให้ความสัมพันธ์ทุกระดับงอกงามอยูบ่ นพื้นฐานของการใช้เหตุผล เคารพซึ่ งกันและกันในฐานะประเทศ
เพื่อนบ้านที่ดี เพราะเหตุการณ์ในประเทศหนึ่งย่อมจะส่ งผลเกื้อหนุนหรื อกระทบต่ออีกประเทศหนึ่งอย่าง
หลีกเลี่ยงไม่ได้

3. ด้ านเศรษฐกิจ
• ด้ านการค้ า ในปี  2549 การค้าไทย-มาเลเซียมีมูลค่า 14,962.9 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยไทยขาด
ดุลการค้า 1,730.1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ มาเลเซี ยเป็ นคู่คา้ ลำดับที่ 4 ของไทย สิ นค้าส่ งออกของไทยที่สำคัญ
ได้แก่ เครื่ องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่ วนประกอบ ยางพารา สิ นค้านำเข้าจากมาเลเซี ยที่สำคัญ ได้แก่
น้ำมันดิบ เครื่ องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่ วนประกอบ 
• ด้ านการลงทุน ในปี  2549 นักลงทุนมาเลเซี ยได้รับอนุมตั ิจาก BOI จำนวน 35 โครงการ (จาก 40 โครงการ
ที่ยนื่ ขอ) คิดเป็ นมูลค่า 5,368.1 ล้านบาท ลดลงจากปี ก่อนร้อยละ 73.7 ส่ วนใหญ่เป็ นการลงทุนด้านอุปกรณ์
และชิ้นส่ วนอิเล็กทรอนิกส์
• ด้ านการท่ องเที่ยว ในปี  2549 นักท่องเที่ยวมาเลเซี ยมาไทย 1.59 ล้านคน และในช่วงมกราคม-มิถุนายนของ
ปี เดียวกันมีนกั ท่องเที่ยวไทยไปมาเลเซีย 460,000 คน 
• ความร่ วมมือในกรอบ JDS 
เมื่อวันที่ 16 มกราคม 2547 นายกรัฐมนตรี ไทยและมาเลเซี ยได้เห็นชอบให้มีการจัดตั้งคณะกรรมการว่าด้วย
ยุทธศาสตร์การพัฒนาร่ วมสำหรับพื้นที่ชายแดนไทย-มาเลเซี ย (Thailand-Malaysia Committee on Joint
Development Strategy for border areas – JDS) โดยมีจุดมุ่งหมายหลักคือการพัฒนาความกินดีอยูด่ ีของ
ประชาชนในพื้นที่ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ (สงขลา ยะลา สตูล ปั ตตานี และนราธิวาส) กับ 4 รัฐภาคเหนือ
ของมาเลเซี ย (ปะลิส เกดะห์ กลันตัน และเประ เฉพาะอำเภอเปิ งกาลันฮูลู) โดยมีโครงการความร่ วมมือหลาย
สาขา อาทิ การพัฒนาโครงการพื้นฐานและการเชื่อมโยงเส้นทางคมนาคม การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การ
ท่องเที่ยว การเกษตร ประมง และปศุสตั ว์ เป็ นต้น ความร่ วมมือในกรอบ JDS จะสนับสนุนความร่ วมมือใน
กรอบการพัฒนาเขตเศรษฐกิจสามฝ่ ายอินโดนีเซี ย-มาเลเซี ย-ไทย (Indonesia-Malaysia-Thailand Growth
Triangle: IMT-GT) ที่ริเริ่ มขึ้นเมื่อปี  2536
4. สั งคมและวัฒนธรรม
• ด้ านสั งคม ไทยกับมาเลเซียมีความใกล้ชิดกันในระดับท้องถิ่น โดยเฉพาะอย่างยิง่ มีการไปมาหาสู่ กันใน
ฐานะเครื อญาติและเพื่อนฝูง ซึ่ งนำไปสู่ ความร่ วมมือกันทั้งในด้านการค้าและด้านอื่น ๆ ทั้งสองประเทศมี
โครงการเชื่อมโยงเส้นทางคมนาคมระหว่างกัน รวมทั้งความร่ วมมือด้านการบริ หารจัดการสัญจรข้ามแดน
เพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนในพื้นที่และส่ งเสริ มการติดต่อด้านการค้าและการท่องเที่ยว
นอกจากนี้ ทั้งสองฝ่ ายยังอนุญาตให้คนถือสัญชาติของอีกฝ่ ายหนึ่งที่อาศัยอยูใ่ นพื้นที่ชายแดนใช้บตั รผ่าน
แดนซึ่ งออกให้โดยหน่วยงานปกครองท้องถิ่นของแต่ละฝ่ ายแทนการใช้หนังสื อเดินทางเพื่อผ่านด่าน
พรมแดนระหว่างกันได้
• ด้ านศาสนาและวัฒนธรรม มีการแลกเปลี่ยนการเยือนของผูน้ ำศาสนาอิสลาม ทั้งในระดับจุฬาราชมนตรี
และผูน้ ำศาสนา ทั้งจากส่ วนกลางและในพื้นที่จงั หวัดชายแดนภาคใต้ และการแลกเปลี่ยนข้อมูลด้านการ
บริ หาร จัดการโรงเรี ยนสอนศาสนาอิสลามและวิทยาลัยอิหม่าม เพื่อส่ งเสริ มความร่ วมมือด้านกิจการศาสนา
อิสลาม
• ด้ านวิชาการ ทั้งสองประเทศมีการประชุมความร่ วมมือทางวิชาการระหว่างกันเพื่อทบทวนและติดตามผล
การดำเนินงานของทั้ง 2 ประเทศ ซึ่ งมีสำนักงานความร่ วมมือเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศ และ Economic
Planning Unit (EPU) ของมาเลเซียเป็ นหน่วยงานหลักในการประสานงาน ความร่ วมมือในกรอบทวิภาคีที่
ฝ่ ายไทยให้แก่ฝ่ายมาเลเซีย ได้แก่ การจัดหลักสู ตรประจำปี (Annual International Training Course: AITC) 
หลักสู ตรศึกษานานาชาติ (Thai International Postgraduate Programme: TIPP) ความร่ วมมือทางวิชาการ
ระหว่างประเทศกำลังพัฒนา (Technical Cooperation Among Development Country: TCDC) และยังร่ วม
กันจัดการฝึ กอบรมให้กบั ประเทศที่สาม (Third Country Training Programme: TCTP) ส่ วนมาเลเซี ยได้แจ้ง
รายละเอียดเกี่ยวกับการให้ทุนฝึ กอบรมประจำปี ภายใต้โครงการ Malaysia Technical Cooperation
Programme (MTCP) ในสาขาต่าง ๆ ให้แก่ประเทศไทย เพื่อให้คดั เลือกผูไ้ ปรับการฝึ กอบรมที่มาเลเซี ย โดย
ในช่วง พ.ศ. 2540-2548 มีชาวไทยได้รับทุนดังกล่าวรวม 165 ทุน
5. ความตกลงที่สำคัญกับไทย มีอาทิ
1. ความตกลงว่าด้วยการส่ งผูร้ ้ายข้ามแดนระหว่างกรุ งสยาม-อังกฤษ (ลงนามเมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2454) 
2. ความตกลงว่าด้วยการอำนวยความสะดวกของการเดินรถไฟ (ลงนามเมื่อปี  2465)
3. ความตกลงว่าด้วยการจราจรข้ามแดน (ลงนามเมื่อปี  2483)
4. ความตกลงว่าด้วยการคมนาคมและขนส่ งทางบก (ลงนามเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2497)
5. ความตกลงว่าด้วยการเดินรถไฟร่ วม (ลงนามเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2497)
6. ความตกลงว่าด้วยการยกเว้นการตรวจลงตราหนังสื อเดินทางทูตและราชการ (ลงนามเมื่อวัน
ที่ 24 ตุลาคม 2505)
7. ความตกลงว่าด้วยการบริ การเดินอากาศ (ลงนามเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2509)
8. ความตกลงว่าด้วยการศุลกากร (ลงนามเมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม 2511)
9. ความตกลงว่าด้วยการยกเว้นการตรวจลงตรา (ลงนามเมื่อวันที่ 12 มกราคม 2513)
10. ความตกลงว่าด้วยความร่ วมมือทางการประมง (ลงนามเมื่อวันที่ 16 มกราคม 2514)
11. ความตกลงว่าด้วยการสำรวจและปักปันเขตแดน (ลงนามเมื่อวันที่ 8 กันยายน 2515)
12. ความตกลงว่าด้วยการจัดตั้งองค์กรร่ วมมาเลเซี ย - ไทย (ลงนามเมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2522)
13. ความตกลงว่าด้วยความร่ วมมือทางการเกษตร (ลงนามเมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2522)
14. ความตกลงว่าด้วยการแบ่งเขตทางทะเล / ทะเลอาณาเขต (ลงนามเมื่อวันที่ 24 ตุลาคม 2522)
15. ความตกลงว่าด้วยการแบ่งเขตไหล่ทวีป (ลงนามเมื่อวันที่ 24 ตุลาคม 2522)
16. บันทึกความเข้าใจว่าด้วยการขนส่ งสิ นค้าเน่าเสี ยง่ายผ่านแดนมาเลเซี ยไปยังสิ งคโปร์  (ลงนามเมื่อวันที่ 2
4 พฤศจิกายน 2522)
17. ความตกลงว่าด้วยการขนส่ งสิ นค้าไป-กลับระหว่างฝั่งตะวันออกกับฝั่งตะวันตกของมาเลเซี ยผ่านแดน
ไทยโดยการรถไฟแห่งประเทศไทย (ลงนามเมื่อวันที่ 19 เมษายน 2523)
18. ความตกลงว่าด้วยการยกเว้นการเก็บภาษีซอ้ น (ลงนามเมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2525)
19. บันทึกความเข้าใจว่าด้วยการศึกษาความเป็ นไปได้ในการพัฒนาลุ่มน้ำโก-ลก (ลงนามเมื่อเดือน
พฤษภาคม 2526)
20. ความตกลงว่าด้วยการจัดตั้งคณะกรรมาธิ การร่ วมไทย-มาเลเซี ย (ลงนามเมื่อวันที่ 29 มิถุนายน 2530)
21. ความตกลงว่าด้วยการเดินเรื อข้ามฟากบริ เวณปากแม่น ้ำโก-ลก (ลงนามเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม 2533)
22. บันทึกความเข้าใจว่าด้วยความร่ วมมือด้านการศึกษา (ลงนามเมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2536)
23. ความตกลงว่าด้วยการส่ งเสริ มและคุม้ ครองการลงทุน (ลงนามเมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2538)
24. บันทึกความเข้าใจว่าด้วยความร่ วมมือด้านยางพารา (ลงนามเมื่อวันที่ 17 กันยายน 2542)
25. ความตกลงว่าด้วยความร่ วมมือชายแดน (ลงนามเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม 2543)
26. ความตกลงว่าด้วยการค้าทวิภาคี (ลงนามเมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2543)
27. บันทึกความเข้าใจว่าด้วยการจัดทำ Bilateral Payment Arrangement (Account Trade) (ลงนามเมื่อวัน
ที่27 กรกฎาคม 2544) 
28. บันทึกความเข้าใจว่าด้วยความร่ วมมือ 3 ฝ่ าย ด้านยางพารา อินโดนีเซี ย - มาเลเซี ย – ไทย (ลงนามเมื่อวัน
ที่ 8 สิ งหาคม 2545)
29. บันทึกความเข้าใจเพื่ออำนวยความสะดวกด้านพิธีการในการเคลื่อนย้ายสิ นค้า (ลงนามเมื่อวันที่ 28 กรกฎ
าคม 2546)
30. บันทึกความเข้าใจว่าด้วยความร่ วมมือระหว่างตลาดหลักทรัพย์ไทยกับมาเลเซี ย (ลงนามเมื่อวันที่ 28 กรก
ฎาคม 2546)
31. ความตกลงโครงการก่อสร้างสะพานข้ามแม่น ้ำโก-ลกแห่งที่ 2 เชื่อมบ้านบูเก๊ะตา 
อ.แว้ง จ.นราธิวาส กับบ้านบูกิตบุหงา รัฐกลันตัน (ลงนามเมื่อวันที่ 14 ตุลาคม 2547) 
32. บันทึกความเข้าใจว่าด้วยความร่ วมมือทางการศึกษา (ลงนามเมื่อวันที่ 21 สิ งหาคม 2550)
6. การเยือนของผู้นำระดับสู ง
ฝ่ ายไทย
พระราชวงศ์
- เมื่อวันที่ 8 กันยายน 2544 สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ ากัลยาณิ วฒั นาฯ 
กรมหลวงนราธิวาสราชนคริ นทร์ เสด็จเยือนมาเลเซี ย
- เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2547 สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถเสด็จฯ เยือนรัฐกลันตันอย่างเป็ น
ทางการ ตามคำกราบบังคมทูลเชิญของสุ ลต่านแห่งรัฐกลันตัน เพื่อทรงร่ วมเสวยพระกระยาหารค่ำใน
วโรกาสที่สุลต่านแห่งรัฐกลันตันทรงครองราชย์ครบ 25 ปี
- เมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 2547 สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถเสด็จฯ เยือน
รัฐกลันตันเพื่อทรงร่ วมงานเลี้ยงพระกระยาหารค่ำในวโรกาสพิธีอภิเษกสมรสของมกุฏราชกุมารรัฐกลันตัน
กับ น.ส.กังสดาล พิพิธภักดี (สตรี ไทยที่มีภูมิล ำเนาที่ จ.ปั ตตานี)
- เมื่อวันที่ 30 สิ งหาคม - 1 กันยายน 2550 สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จฯ แทน
พระองค์ พร้อมด้วยพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรี รัศมิ์ พระวรชายาในสมเด็จพระบรมโอรสาธิ ราชฯ
สยามมกุฎราชกุมาร และพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติ เพื่อทรงร่ วมพิธีฉลอง 50 ปี การได้
รับเอกราชของมาเลเซีย
รัฐบาล
- เมื่อวันที่ 24-25 เมษายน 2544 นายกรัฐมนตรี เยือนมาเลเซี ยอย่างเป็ นทางการ 
- เมื่อวันที่ 8 กันยายน 2544 นายกรัฐมนตรี เยือนมาเลเซี ยเพื่อร่ วมพิธีเปิ ด SEA GAMES
- เมื่อวันที่ 8-9 มีนาคม 2544 รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงการต่างประเทศเยือนมาเลเซี ยอย่างเป็ นทางการ 
- เมื่อวันที่ 27 -28 กรกฎาคม 2546 นายกรัฐมนตรี เยือนเกาะลังกาวีเพื่อประชุมหารื อประจำปี (Annual
Consultation) ครั้งที่ 1 
- เมื่อวันที่ 6 มีนาคม 2547 รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงการต่างประเทศเยือนมาเลเซี ยในฐานะผูแ้ ทนพิเศษของ
นายกรัฐมนตรี
- เมื่อวันที่ 12 เมษายน 2547 นายกรัฐมนตรี เยือนมาเลเซี ย
- เมื่อวันที่ 9-12 มิถุนายน 2548 รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงการต่างประเทศเยือนมาเลเซี ยอย่างเป็ นทางการ
- เมื่อวันที่ 9-10 สิ งหาคม 2548 รองนายกรัฐมนตรี (นายสุ รเกียรติ์ เสถียรไทย) เดินทางเยือนมาเลเซี ยใน
ฐานะผูแ้ ทนพิเศษ (Special Envoy) ของนายกรัฐมนตรี เพื่อหารื อเรื่ องความร่ วมมือด้านความมัน่ คง 
- เมื่อวันที่ 20 ตุลาคม 2548 รองนายกรัฐมนตรี (นายสุ รเกียรติ์ เสถียรไทย) เยือนมาเลเซี ยในฐานะผูแ้ ทน
พิเศษ (Special Envoy) ของนายกรัฐมนตรี เพื่อเข้าร่ วมพิธีศพภริ ยานายกรัฐมนตรี มาเลเซี ย
- เมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 2548 รองนายกรัฐมนตรี (พลตำรวจเอกชิดชัย วรรณสถิตย์) เดินทางเยือนมาเลเซี ย
- เมื่อวันที่ 18 ตุลาคม 2549 นายกรัฐมนตรี (พลเอก สุ รยุทธ์ จุลานนท์) เยือนมาเลเซี ยอย่างเป็ นทางการ 
- เมื่อวันที่ 5 สิ งหาคม 2550 นายกรัฐมนตรี  (พลเอก สุ รยุทธ์ จุลานนท์) เข้าร่ วมการประชุม Langkawi
International Dialogue ครั้งที่ 8 ณ เกาะลังกาวี
- เมื่อวันที่ 20-22 สิ งหาคม 2550 นายกรัฐมนตรี (พลเอก สุ รยุทธ์ จุลานนท์) เยือนอย่างเป็ นทางการ และเข้า
ร่ วมการประชุมหารื อประจำปี (Annual Consultation) ครั้งที่ 3 ณ เกาะปี นัง
- เมื่อวันที่ 30 สิ งหาคม - 1 กันยายน 2550 นายกรัฐมนตรี (พลเอก สุ รยุทธ์ จุลานนท์) เข้าร่ วมพิธีฉลอง 50 ปี
การได้รับเอกราชของมาเลเซีย
ฝ่ ายมาเลเซี ย
พระราชวงศ์
- เมื่อวันที่ 27-30 มีนาคม 2543 สมเด็จพระราชาธิ บดีและสมเด็จพระราชินีแห่งมาเลเซี ย เสด็จฯ เยือนไทย
อย่างเป็ นทางการในฐานะพระราชอาคันตุกะของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั และสมเด็จพระนางเจ้าฯ
พระบรมราชินีนาถ
- เมื่อวันที่ 11-14 มิถุนายน 2549 สมเด็จพระราชาธิ บดีและสมเด็จพระราชินีแห่งมาเลเซี ยเสด็จฯ เยือนไทย
เพื่อทรงร่ วมงานฉลองสิ ริราชสมบัติครบ 60 ปี ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั
รัฐบาล
- เมื่อวันที่ 5-7 กรกฎาคม 2545 นายกรัฐมนตรี มาเลเซี ย (ดาโต๊ะ ซรี ดร. มหาธีร์ บิน โมฮัมหมัด) เดินทาง
เยือนไทยอย่างเป็ นทางการ
- เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2545 ไทยเป็ นเจ้าภาพจัดการประชุมคณะรัฐมนตรี ร่วมไทย – มาเลเซี ย จังหวัดสงขลา
- เมื่อวันที่ 16 มกราคม 2547 ดาโต๊ะ ซรี อับดุลลาห์ อาหมัด บาดาวี นายกรัฐมนตรี มาเลเซี ยเยือนไทยอย่าง
เป็ นทางการในโอกาสเข้ารับตำแหน่ง
- เมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม 2547 ดาโต๊ะ ซรี นาจิบ ราซัค รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรี
ว่าการกระทรวงกลาโหมมาเลเซียเยือนไทย
- เมื่อวันที่ 5 สิ งหาคม 2547 ดาโต๊ะ ซรี ไซด์ ฮามิด อัลบาร์ รัฐมนตรี วา่ การกระทรวง
การต่างประเทศมาเลเซียเยือนไทยเพื่อเป็ นประธานร่ วมในการประชุมคณะกรรมการว่าด้วยยุทธศาสตร์การ
พัฒนาร่ วมสำหรับพื้นที่ชายแดนไทย-มาเลเซี ย (Thailand-Malaysia Committee on Joint Development
Strategy for border areas – JDS) ครั้งที่ 1 ที่กระทรวงการต่างประเทศ 
- เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม 2547 นายกรัฐมนตรี มาเลเซี ยเยือนไทยเพื่อร่ วมการประชุมหารื อประจำปี (Annual
Consultation) กับนายกรัฐมนตรี ที่จงั หวัดภูเก็ต และเป็ นประธานร่ วมในพิธีวางศิลาฤกษ์ โครงการก่อสร้าง
สะพานดังกล่าวทั้งในฝั่งไทยและฝั่งมาเลเซียเมื่อวันที่ 14 ตุลาคม 2547
- เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2548 ดาโต๊ะ ซรี ดร. จามาลุดดีน จาร์จิส รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี และนวัตกรรมมาเลเซียเยือนไทยณ จังหวัดภูเก็ต เพื่อร่ วมการประชุมว่าด้วยความร่ วมมือใน
ภูมิภาคเกี่ยวกับการจัดการเพื่อเตือนภัยล่วงหน้าในกรณี คลื่นยักษ์
- เมื่อวันที่ 17-19 มีนาคม 2548 ดาโต๊ะ ซรี ราฟี ดาห์ อาซิ ซ รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงการค้าระหว่างประเทศ
และอุตสาหกรรมมาเลเซียเยือนไทยเพื่อกระชับความสัมพันธ์ดา้ นการค้าและการลงทุน
- เมื่อวันที่ 21-22 พฤศจิกายน 2548 ตุน ดร.มหาธี ร์ โมฮัมหมัด อดีตนายกรัฐมนตรี มาเลเซี ยและภริ ยา เยือน
ไทยในฐานะแขกของรัฐบาล
- เมื่อวันที่ 13-14 กรกฎาคม 2549 ดาโต๊ะ ซรี นาจิบ ราซัค รองนายกรัฐมนตรี /รัฐมนตรี วา่ การกระทรวง
กลาโหมมาเลเซียเยือนไทยเพื่อเข้าร่ วมการประชุมคณะกรรมการชายแดนทัว่ ไปไทย-มาเลเซี ยที่มีรัฐมนตรี
ว่าการกระทรวงกลาโหมของทั้งสองประเทศเป็ นประธาน
- เมื่อวันที่ 11-13 กุมภาพันธ์ 2550 ดาโต๊ะ ซรี อับดุลลาห์ อาหมัด บาดาวี นายกรัฐมนตรี มาเลเซี ยเยือนไทย
อย่างเป็ นทางการ
- เมื่อวันที่ 28-29 มิถุนายน 2550 ดาโต๊ะ ซรี ไซด์ ฮามิด อัลบาร์ รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงการต่างประเทศ
มาเลเซี ยเยือนไทยเพื่อเป็ นประธานร่ วมการประชุมคณะกรรมาธิ การร่ วมว่าด้วยความร่ วมมือทวิภาคีไทย-
มาเลเซี ย ครั้งที่ 10 จัดที่กระทรวงการต่างประเทศ

You might also like