You are on page 1of 2

นาย.ณัฎฐกานต์ ชาเคน เลขที่2 ม.

4/11

Leonhard Euler
เลอ็อนฮาร์ ท อ็อยเลอร์  (เยอรมัน: Leonhard Euler; 15 เมษายน ค.ศ. 1707 – 18 กันยายน ค.ศ. 1783) เป็ นนัก
คณิตศาสตร์ และนักฟิ สิกส์ชาวสวิส ได้ ชื่อว่าเป็ นนักคณิตศาสตร์ ที่ยิ่งใหญ่ที่สดุ คนหนึง่ ของโลก อ็อยเลอร์ เป็ นบุคคลแรกที่เริ่ มใช้
คำว่า "ฟั งก์ชนั " ในแวดวงคณิตศาสตร์ (ตามคำนิยามของไลบ์นิทซ์ใน ค.ศ. 1694) ในการบรรยายถึงความสัมพันธ์ที่เกี่ยวข้ อง
กับตัวแปร เช่น y = f(x) นอกจากนี ้ เขายังเป็ นคนแรกที่นำแคลคูลสั เข้ าไปประยุกต์ในศาสตร์ ฟิสิกส์
อ็อยเลอร์ เกิดและโตในเมืองบาเซิล เขาเป็ นเด็กที่มีความเป็ นอัจฉริ ยะทางคณิตศาสตร์ เขาเป็ นศาสตราจารย์สอนวิชา
คณิตศาสตร์ ที่เซนต์ปีเตอส์เบิร์ก และต่อมาก็สอนที่เบอร์ ลิน และกลับไปอยู่ที่เซนต์ปีเตอส์เบิร์กจวบจนวาระสุดท้ ายของชีวิต เขา
เป็ นนักคณิตศาสตร์ มีผลงานมากมายที่สดุ คนหนึง่ ผลงานทังหมดของเขารวบรวมได้
้ ถึง 75 เล่ม ผลงานเหล่านี ้มีอิทธิพลอย่าง
มากต่อการพัฒนาของคณิตศาสตร์ ในคริ สต์ศตวรรษที่ 18 อ็อยเลอร์ สญ ู เสียการมองเห็นและตาบอดสนิทตลอด 17 ปี สุดท้ าย
ในชีวิตของเขา ถึงกระนัน้ ในช่วงนี ้เองที่เขาสามารถผลิตผลงานได้ มากถึงครึ่งหนึง่ ของผลงานทังหมดที
้ ่เขาผลิตขึ ้นมา
ดาวเคราะห์น้อย 2002 อ็อยเลอร์  ตังชื
้ ่อเพื่อเป็ นเกียรติแก่เขา
ผลงาน
การตีความหมายเชิงเรขาคณิตของสูตรของอ็อยเลอร์
อ็อยเลอร์ มีผลงานในแทบทุกสาขาของวิชาคณิตศาสตร์ เช่น เรขาคณิต แคลคูลสั  ตรี โกณมิติ พีชคณิต ทฤษฎีจำนวน เป็ นต้ น
เช่นเดียวกับแวดวงฟิ สิกส์ เช่น ผลงานเรื่ องกลศาสตร์ ความต่อเนื่อง ทฤษฎีการเคลื่อนที่ของดวงจันทร์  เป็ นต้ น อ็อยเลอร์ ถือว่า
เป็ นบุคคลสำคัญคนหนึง่ ในประวัติศาสตร์ แห่งคณิตศาสตร์
อ็อยเลอร์ ได้ รับการตังเป็
้ นชื่อของจำนวน 2 จำนวน อันได้ แก่ จำนวนของอ็อยเลอร์  (e) ซึง่ มีคา่ ประมาณ 2.71828 และค่าคงตัว
อ็อยเลอร์ -มัสเกโรนี (γ) มีคา่ ประมาณ 0.57721

 — สูตรของอ็อยเลอร์  : สมการแสดงความสัมพันธ์ระหว่างฟั งก์ชน


ั ตรี โกณมิติกบั ฟั งก์ชนั เลขชี ้กำลังเชิงซ้ อน

 — เอกลักษณ์ของอ็อยเลอร์  : เป็ นกรณีหนึง่ ของสูตรอ็อยเลอร์ ( ) โดยแสดงค่าคงตัวทางคณิตศาสตร์ ถึง


5 อย่าง (ได้ แก่ e, i, π, 1, 0)
สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์
อ็อยเลอร์ เสนอเครื่ องหมายทางคณิตศาสตร์ จำนวนมากผ่านผลงานตำราของเขาที่ได้ รับการเผยแพร่ไปกว้ างขวาง จนเป็ นที่
นิยมใช้ กนั อย่างแพร่หลาย ตัวอย่างที่เด่นชัดที่สดุ คือ เขาเป็ นผู้เสนอความคิดรวบยอดเรื่ องฟั งก์ชนั [1] และใช้ สญ ั ลักษณ์ f(x)
เป็ นครัง้ แรก ซึง่ มีความหมายว่า ฟั งก์ชนั  f ใด ๆ ที่ใช้ เข้ ากับตัวแปร (อาร์ กิวเมนต์) x นอกจากนี ้ อ็อยเลอร์ ยงั คิดค้ นเครื่ องหมาย
ตรี โกณมิติที่ใช้ กนั อย่างแพร่หลายในปั จจุบนั ใช้ อกั ษร e แทนฐานของลอการิ ทมึ ธรรมชาติ (ในปั จจุบนั  e มีชื่อว่าจำนวนขอ
งอ็อยเลอร์ ) ใช้ อกั ษรกรี ก Σ (ซิกมา) แทนสัญกรณ์ ผลรวมจากการบวกของเซตจำนวน และใช้ อกั ษร i แทนหน่วยจินตภาพ
 เป็ นต้ น นอกจากนี ้ อ็อยเลอร์ ยงั ใช้ อกั ษรกรี ก  π ที่แสดงถึงอัตราส่วนระหว่างเส้ นรอบวงต่อเส้ นผ่านศูนย์กลางของวงกลมใด ๆ
ซึง่ เป็ นผลให้ เกิดความนิยมใช้ กนั อย่างแพร่หลาย แม้ วา่ ผู้ริเริ่ มใช้ สญ
ั ลักษณ์  π คนแรกคือ วิลเลียม โจนส์ นักคณิตศาสตร์ ชาว
เวลส์ก็ตาม
อ็อยเลอร์ เสนอค่าคงตัวต่อไปนี ้
ซึง่ ในปั จจุบนั เราเรี ยกว่า ค่าคงตัวของอ็อยเลอร์  หรื อ ค่าคงตัวอ็อยเลอร์ -มัสเกโรนี นอกจากนี ้อ็อยเลอร์ ยงั ศึกษาค่าคงตัวนี ้และ
ความเกี่ยวข้ องกับอนุกรมฮาร์ มอนิก ฟั งก์ชนั แกมมา และค่าของฟั งก์ชนั ซีตาของรี มนั บางค่าอีกด้ วย
ทฤษฎีกราฟ

แผนที่ของเมืองเคอนิชส์แบร์ คในยุคสมัยเดียวกับอ็อยเลอร์ ชี ้ให้ เห็นตำแหน่งของสะพานทังเจ็


้ ดซึง่ ระบายสีเน้ น
ในปี ค.ศ. 1735 อ็อยเลอร์ ได้ เสนอคำตอบของข้ อปั ญหาที่ปัจจุบนั รู้จกั กันในชื่อสะพานทังเจ็ ้ ดแห่งเมืองเคอนิชส์แบร์ ค[7] เคอ
นิชส์แบร์ คเป็ นเมืองในปรัสเซียซึง่ มีแม่น้ำเพรเกิลไหลผ่าน ทำให้ เกิดเกาะขนาดใหญ่สองเกาะกลางแม่น้ำ มีสะพานเชื่อมเกาะ
และฝั่ งทังหมดเจ็
้ ดสะพาน ข้ อปั ญหาถามว่าเป็ นไปได้ หรื อไม่ที่จะเดินจากจุดเริ่ มต้ นแล้ วข้ ามทุกสะพานเพียงครัง้ เดียวเท่านัน้
และสามารถกลับมาจุดเริ่ มต้ นได้ อ็อยเลอร์ พิสจู น์ได้ วา่ เป็ นไปไม่ได้ เพราะไม่มี วงจรอ็อยเลอร์  บทพิสจู น์ข้อปั ญหาดังกล่าวถือว่า
เป็ นทฤษฎีบทแรกของทฤษฎีกราฟ

You might also like