You are on page 1of 8

บทบาทของการทำงานของแขนระหว่ างการวิ่งสปริน้ ท์ : 

บทวิเคราะห์ งานวิจัยและการประยุกต์
เพื่อปฏิบัตจิ ริง 
 
บทคัดย่ อ 
ความสำคัญของลักษณะการทำงานของแขนในระหว่างการวิ่งสปริน้ ท์เป็ นข้ อถกเถียงท่ามกลางผู้ฝึกอย่าง
ต่อเนื่อง แม้ วา่ โค้ ชบางท่านเชื่อว่าแขนมีหน้ าที่เพียงแค่ทำให้ เกิดความสมดุลกับโมเมนตัมของขา โค้ ชท่าน
อื่นก็เชื่อว่าแขนมีความสำคัญต่อการวิ่งสปริน้ ท์และยังนำไปสูแ่ รงขับเคลื่อน แม้ วา่ งานวิจยั หลายฉบับได้ รับ
การยอมรับในผลของลักษณะการเคลื่อนไหวของขาและแรงภายนอกที่มีผลต่อประสิทธิภาพของการวิ่งสปริ ้
นท์ บทบาทของการแกว่งแขนยังคงคลุมเครื อ ดังนันจุ ้ ดประสงค์ของบทวิเคราะห์นี ้คือเพื่อพัฒนาความ
เข้ าใจเกี่ยวกับการทำงานของแขนระหว่างการวิ่งสปริน้ ท์และให้ แนวทางในการปฏิบตั ิ  
 
บทนำ 
การแกว่งแขนเป็ นลักษณะเฉพาะของการวิ่งสปริน้ ท์โดยที่แขนทำงานในทิศสลับกับขาเพื่อขับ
เคลื่อนร่างกายไปตามแนวพื ้นราบ เพื่อให้ ได้ ความเร่งและความเร็ วสูงที่สดุ แขนและขาจำเป็ นต้ อง
เคลื่อนไหวประสานกัน (19) จนถึงปั จจุบนั นี ้งานวิจยั หลายฉบับได้ รับการยอมรับในผลของลักษณะการ
เคลื่อนไหวของขาและแรงภายนอกที่มีผลต่อประสิทธิภาพของการวิ่งสปริน้ ท์  (16,20,23,26,27) การ
วิเคราะห์บทความวิจยั อย่างเป็ นระบบทำให้ พบความสัมพันธ์ระหว่างความแข็งแรงของขากับประสิทธิภาพ
ของการวิ่งสปริ น้ ท์ (33) อย่างไรก็ตามบทบาทของการแกว่งแขนและการเสริ มสร้ างความแข็งแรงยังคง
คลุมเครื อและยังไม่ถกู พิสจู น์ เนื่องจากการวิ่งสปริน้ ท์มีระยะต่าง ๆ ที่เป็ นลักษณะเฉพาะ นัน่ คือ ระยะ
ออกตัว ระยะเร่งตัว และระยะความเร็วสูงสุด และตำแหน่งของร่างกายจะแตกต่างกันไปตามระยะเหล่านี ้
จึงค่อนข้ างมีแนวโน้ มว่าบทบาทหน้ าที่ของแขนอาจเปลี่ยนแปลงเพื่อให้ สอดคล้ องกับระยะต่าง ๆ เหล่านี ้ (ภ
าพที่ 1) ยิ่งไปกว่านันในการแข่
้ งขันกีฬาประเภททีม ท่าออกตัวที่แตกต่างกันถูกใช้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพใน
การวิ่งสปริ น้ ท์ ตัวอย่างเช่น ท่า crouch start (ใช้ ในกีฬาอเมริ กนั ฟุตบอลและกรี ฑาประเภทลู่) หรื อ
ท่า standing start (ใช้ ในกีฬาฟุตบอล รักบี ้ยูเนียน และบาสเกตบอล) (36) ภาพที่ 2 ชี ้ให้ เห็นถึงความแตก
ต่างของตำแหน่งของแขนกับลำตัวในท่าบล็อกสตาร์ ท, 2-point contact และ 3-point contact
เนื่องจากหลักฐานมีข้อจำกัดว่าหลักการทำงานของแขนมีผลต่อความเร็ วในการวิ่งและการเล่น
กีฬาอย่างไร การทำความเข้ าใจและปรับปรุงบทบาทการทำงานของแขนในการวิ่งสปริน้ ท์มีความสำคัญ
เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในการวิ่ง ดังนันจุ ้ ดประสงค์ของบทวิเคราะห์นีก้ ็คือเพื่อปรับปรุงและพัฒนาความ
เข้ าใจที่เกี่ยวข้ องกับหลักการทำงานของแขนระหว่างการวิ่งสปริน้ ท์ และให้ แนวทางในการนำข้ อมูลเหล่านี ้
มาปฏิบตั ิ บทความในวารสารที่ได้ รับการตรวจสอบจากผู้เชี่ยวชาญถูกสืบค้ นทางอิเล็กทรอนิกส์ผา่ น
ScienceDirect, Web of Science, PubMed, Google Scholar และ SPORTDiscus databases อีกทังยั ้ ง
สืบค้ นแหล่งข้ อมูลอ้ างอิงที่เกี่ยวข้ องที่เป็ นบทความภาษาอังกฤษเท่านัน้ กระบวนการการสืบค้ นข้ อมูล
ครอบคลุมคำว่า แขน(Arm), กระดูกรยางค์ลา่ ง(Upper limp), การวิ่งสปริน้ ท์(Sprint), วิ่ง(run),
ความเร่ง(Acceleration) และความเร็ว(velocity) สืบค้ นครัง้ สุดท้ ายเมื่อเดือนพฤศจิกายน ปี พ.ศ.2560
บทความที่ถกู กล่าวถึงในบทเคราะห์นี ้ถูกพิจารณาแล้ วว่ามีความเหมาะสม เนื่องจากมีวิจยั ของการวิ่งสปริ ้
นท์น้อย บทความต่าง ๆ ที่ประเมินการเคลื่อนไหวของแขนระหว่างการวิ่งจึงถูกรวมอยูใ่ นการอภิปรายนี ้ด้ วย
งานวิจยั ทังหมด
้ 28 ฉบับผ่านเกณฑ์การคัดเลือกสำหรับบทวิเคราะห์นี ้
บทบาทของแขนระหว่ างการวิ่งและวิ่งสปริน้ ท์
ความสำคัญของแขนระหว่างการวิ่งถูกชี ้ให้ เห็นโดย Egbuobu และคณะ (7) ซึง่ ได้ รายงานถึงการ
ใช้ พลังงานที่เพิ่มขึ ้น 4% ในการวิ่งบนลูว่ ิ่งไฟฟ้าโดยไม่แกว่งแขน(โดยไขว้ แขนไว้ ที่หลัง) ในทำนองเดียวกัน
การวิ่งบนลูว่ ิ่งไฟฟ้าโดยไขว้ แขนไว้ ที่อกเผาผลาญพลังงานได้ เพิ่มขึ ้น 8% เทียบกับการวิ่งโดยแกว่งแขน (2)
ยิ่งไปกว่านันการวิ
้ ่งโดยไม่แกว่งแขนไม่ได้ ทำให้ คา่ เฉลี่ยความกว้ างในการก้ าวเปลี่ยนไป แต่ทำให้ การ
เปลี่ยนแปลงความกว้ างในการก้ าวเพิ่มขึ ้นอย่างเห็นได้ ชดั (9%) และทำให้ ความถี่ของการก้ าวเพิ่มขึ ้น
2.5% เทียบกับการวิ่งโดยแกว่งแขน
บทบาทและความสำคัญของลักษณะการทำงานของแขนระหว่างวิ่งสปริน้ ท์ได้ เป็ นข้ อถกเถียง
ท่ามกลางผู้ทำวิจยั มาอย่างต่อเนื่องเป็ นเวลาหลายสิบปี ตัวอย่างเช่น Bosch และ Klomp (4) เสนอว่าการ
แกว่งแขนระหว่างวิ่งสปริ น้ ท์ชว่ ยรักษาความสมดุลของร่างกาย การแกว่งแขนถูกเชื่อว่าจะทำให้ ความเร็ วใน
การวิ่งเพิ่มขึ ้นโดยพัฒนามาจากแรงผลักในการวิ่งที่มากขึ ้น (4) ซึง่ มีความสำคัญเป็ นอย่างมากกับระยะ
ออกตัวและระยะเร่งตัว เมื่อลำตัวอยูใ่ นลักษณะตรงขณะวิ่งสปริน้ ท์ด้วยความเร็ วสูงสุด Bunn (6) และ Hay
(10) เสนอว่าแขนทังสองข้ ้ างทำหน้ าที่ให้ เกิดความสมดุลกับสะโพก แต่ทว่าระหว่างการวิ่งสปริน้ ท์ Hopper
(15) เสนอว่าประโยชน์หลักของการแกว่งแขนคือช่วยให้ นกั วิ่งลอยตัวจากพื ้นได้ อย่างมีประสิทธิภาพมาก
ขึ ้น Sayers (31) เสนอว่าการแกว่งแขนนันมี ้ จดุ ประสงค์หลักอยู่ 2 อย่าง คือ (ก) เพื่อเพิ่มอัตราความยาว
ของการก้ าวขาและแรงสะท้ อนกลับจากพื ้นโลก และ (ข) เพื่อทำให้ ความสมดุลของจุดหมุนของร่างกายที่
กระดูกเชิงกรานดีขึ ้น
เมื่อพิจารณาถึงมุมมองที่แตกต่างกันของการทำงานของแขนในการวิ่งสปริน้ ท์ ส่วนต่อไปนี ้จะ
พิจารณาระยะออกตัวและระยะเร่งตัวแยกกับระยะความเร็ วสูงสุด

ระยะออกตัวและระยะเร่ งตัว
ในระหว่างระยะออกตัวของการวิ่งสปริน้ ท์ จุดศูนย์กลางมวลของร่างกายจะโน้ มไปด้ านหน้ าซึง่
โมเมนตัมที่เกี่ยวข้ องของแรงแนวระดับของแขนทังสองข้ ้ างอาจไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ (28) Schnier (32)
และ Embling (8) เสนอว่าการแกว่งแขนที่กระฉับกระเฉงจะช่วยขับเคลื่อนร่างกายในระยะออกตัวของการวิ่
งสปริ น้ ท์ อาจดูเหมือนว่าในระยะออกตัวและตอนเริ่ มระยะเร่งตัว ความเข้ าใจในความสำคัญของการ
ทำงานของแขนจะมีประโยชน์แก่ประสิทธิภาพในการวิ่งสปริน้ ท์
ในการเริ่มต้ นของระยะขับดับระหว่างการวิ่งสปริน้ ท์ 10 เมตรจากบล็อกสตาร์ ท ความเร็ วเชิงมุมข้ อ
ต่อของไหล่หลังเกี่ยวข้ องกับการเคลื่อนไหวในการเหยียดขาที่สว่ นใหญ่เกี่ยวข้ องการยกตัวของทรวงอก
(35) มันถูกเข้ าใจว่ามือกก็กระทำกับพื ้นซึง่ เกี่ยวข้ องกับความเร็ วเชิงมุมของหัวไหล่เนื่องมาจากการ
เคลื่อนไหวในการเหยียดขาที่กล่าวไป (35) หลังจากออกตัวจากบล็อกสตาร์ ท Lockie และคณะ (19) ได้
รายงานถึงพิสยั การเคลื่อนไหว (Range of motion หรื อ ROM) ในการงอและเหยียดหัวไหล่ (45.6-52.5°
และ 46.4-55.0° ก้ าวที่หนึง่ และสองตามลำดับ) และข้ อศอก (53.8-66.3° และ 56.9-67.3° ก้ าวที่หนึง่ และ
สองตามลำดับ) สำหรับผู้เล่นกีฬาฟุตบอลที่ถกู บันทึกถึงการงอหัวไหล่เพียงเล็กน้ อย (<30°) อาจบ่งบอกถึง
การบกพร่องเทคนิคการวิ่งสปริ น้ ท์ที่เหมาะสม ระหว่างการเริ่ มระยะเร่งตัวของการวิ่งสปริน้ ท์ ความเร็ ว
เชิงมุมการงอและเหยียดข้ อต่อฮิวเมอโรโธราสิก(homerothoracic joint)จะสูง (ประมาณ 700°/วินาที) (35)
ซึง่ บ่งชี ้ว่าพิสยั การเคลื่อนไหวของข้ อต่อสกาพูโลโธราสิก(scapulothoracic joint)นันสำคั
้ ญในระหว่างการวิ่
งสปริ น้ ท์ Slawinski และคณะ (35) รายงานว่าความผันผวนของค่าความเร็ วเชิงมุมถูกพบในแขนมากกว่า
ขาซึง่ อาจเกี่ยวข้ องกับคุณสมบัติทางสันฐานวิทยาและเทคนิคการออกตัวของแต่ละบุคคลด้ วย
ความสำคัญของพิสยั พิสยั การเคลื่อนไหวของข้ อต่อสกาพูโลโธราสิก(scapulothoracic joint)นัน้
เห็นได้ ชดั เมื่อการเคลื่อนไหวของแขนถูกจำกัดโดยจำกัดการเคลื่อนไหวของกระดูกสะบักด้ วยการแปะเทป
ระยะความยาวการก้ าว (-4.6%) และตำแหน่งเอนลำตัว (-3.9%) ระหว่างก้ าวแรกลดลงอย่างเห็นได้ ชดั ต่อ
มาความเร็ วในการวิ่งสปริ น้ ท์ก็ลดลง (-3.2%) (28) นอกจากนี ้ Otsuka และคณะ (28) พบว่าตำแหน่งการ
เอนไปข้ างหน้ าของจุดศูนย์กลางมวล (-3.9%) และพิสยั การเคลื่อนไหวของข้ อต่อฮิวเมอโรโธรา
สิก(homerothoracic joint) (5.2%) ค่อย ๆ ลดลงอย่างเห็นได้ ชดั ความเปลี่ยนแปลงของการเอนไปข้ าง
หน้ าเป็ นที่สนใจ เมื่อพิจารณาวิจยั ของ Kugler และ Janshen ที่ระบุวา่ ความเร่งในแนวระดับที่สงู ขึ ้นเกิด
จากการเอนตัวไปข้ างหน้ าที่มากขึ ้นที่จดุ ออกตัว ซึง่ บ่งชี ้ว่าท่าการเอนตัวไปข้ างหน้ าของจุดศูนย์กลางมวลที่
จุดออกตัวมีความสำคัญสำหรับการเพิ่มความเร็ วในการวิ่งสปริน้ ท์และแน่นอนว่าแขนมีสว่ นช่วยในท่านี ้
อย่างไม่ต้องสงสัย
Bhowmick และ Bhattacharyya (3) เสนอว่าความเร่งในแนวระดับในการแกว่งแขนอาจช่วยเพิ่ม
ความยาวในการก้ าว ยิ่งไปกว่านันผู ้ ้ จดั ทำได้ เสนอว่าในระหว่างระยะเริ่ มออกตัวของการวิ่งสปริน้ ท์ การ
แกว่งแขนอาจเพิ่มแรงขับดันของขาเมื่อขาถึงพื ้น และช่วยเพิ่มความเร็ วในการก้ าวไปข้ างหน้ าของการ
เคลื่อนไหวหลักในทางอ้ อม (3) เหมือนกับที่ถกู ถึงก่อนหน้ าที่โดย Lockie และคณะ (19) การทำงานร่วมกัน
ของแขนและขาจำเป็ นในการเพิ่มประสิทธิภาพของการวิ่งสปริน้ ท์ ข้ อเสนอนี ้ยังถูกสนับสนุนโดย Slawinski
และคณะ (35) ผู้ที่รายงานว่าในกลุม่ นักวิ่งสปริน้ ท์ การประสานการทำงานของแขนและขาช่วยเพิ่ม
ประสิทธิภาพของการดันบล็อกสตาร์ ทที่จดุ ออกตัว ในระหว่างการวิ่งสปริน้ ท์ 10 เมตรจากบล็อกสตาร์ ท ถูก
พบว่าถึงแม้ ขาและร่างกายส่วนบนจะให้ พลังงานจลน์ที่มากที่สดุ ของทังร่้ างกาย แต่แขนก็ยงั คงให้ 22%
ของพลังงานจลน์ทงร่ ั ้ างกายซึง่ บ่งบอกถึงความสำคัญของส่วนแขนในระหว่างระยะขับดับจากบล็อกสตาร์ ท
(35) Slawinski และคณะ (34) ได้ พิจารณาสองขันหลั ้ งจากออกตัวจากบล็อกสตาร์ ทและพบว่านักกีฬาวิ่งส
ปริ น้ ท์มีความสามารถในการย้ ายจุดศูนย์กลางมวลไปข้ างหน้ า มากกว่าคนวิ่งสปริน้ ท์ที่ถกู ฝึ กมาบางส่วน
เนื่องมาจากการเคลื่อนไหวแขนของพวกเขา
แม้ วา่ บล็อกสตาร์ ทถูกใช้ ในความยาวในการวิ่งสปริน้ ท์จนถึง 400 เมตร บ่อยครัง้ นักวิ่งก็ฝึกโดย
ออกตัวด้ วยท่าสแตนด์ดิ่ง แต่ทว่าในกีฬาประเภททีมนักกีฬาต้ องวิ่งสปริน้ ท์จากท่าอัพไรท์ แม้ วา่ การวิจยั ได้
ตรวจสอบประสิทธิภาพการเร่งความเร็วจากจุดเริ่ มต้ นแล้ ว แต่ไม่มีผ้ จู ดั ทำที่ตรวจสอบบทบาทการทำงาน
ของแขนในตำแหน่งเริ่มต้ นและข้ อแตกต่างจากการเริ่ มด้ วยบล็อกสตาร์ ท Salo และ Bezodis (30) พบว่า
ในการใช้ ทา่ spilt-stance standing ในการออกตัวสามารถช่วยเพิ่มความเร่งในระยะเริ่ มต้ นของการวิ่งสปริ ้
นท์ให้ มากกว่าท่าบล็อกสตาร์ ท ในท่าแสตนด์ดิ่งระยะทางระหว่างเท้ าหน้ าและเท้ าหลังจะยาวเป็ นธรรมชาติ
ซึง่ จะทำให้ นกั วิ่งก้ าวเท้ าหน้ าไปได้ ไกลขึ ้นเมื่อเท้ าหลังก้ าวจากพื ้น (30) Majumdar และ Robergs (21)
บันทึกว่าในระหว่างระยะเร่งตัว มันเป็ นเรื่ องสำคัญที่จะต้ องปรับทิศทางองศาของลำตัวเพื่อให้ จดุ ศูนย์กลาง
มวลของร่างกายและจุดศูนย์กลางของแรงโน้ มถ่วงไปข้ างหน้ ามากที่สดุ เท่าที่จะทำได้ เพื่อให้ เกิดความเร่งไป
ทิศข้ างหน้ ามากที่สดุ ในเรื่ องของการเปลี่ยนแปลงทิศทางองศาของลำตัวในระหว่างเข้ าสูร่ ะยะเร่งตัว การ
วิจยั ในอนาคตจำเป็ นต้ องศึกษาถึงการเปลี่ยนแปลงการทำงานของแขนจากท่าแสตนด์ดิ่งว่าสามารถเพิ่ม
ประสิทธิภาพของระยะออกตัวและระยะเร่งตัวได้ อย่างไร

ระยะความเร็วสูงสุด
ในระหว่างระยะความเร็วสูงสุด ลำตัวจะตังตรง ้ โมเมนตัมในแนวระดับของแขนไม่ได้ มีสว่ น
เกี่ยวข้ องโดยตรงกับจุดศูนย์กลางมวลของร่างกายเนื่องจากเมื่อแขนแกว่งไปข้ างหน้ าและข้ างหลังซึง่ เป็ น
ทิศทางตรงกันข้ ามกัน โมเมนตัมจะหักล้ างกันเอง (11, 14) การวิจยั เชิงปริ มาณแบบสองมิติซงึ่ จัดทำโดย
Mann (22) และ Herman (23) พบว่ากล้ ามเนื ้อบริ เวณไหล่และศอกมีผลเพียงเล็กน้ อยในระหว่างระยะ
ความเร็ วสูงสุดของการวิ่งสปริ น้ ท์ Mann และ Herman (23) ได้ เปรี ยบเทียบประสิทธิภาพในการวิ่งระหว่าง
นักวิ่งสปริ น้ ท์ลำดับที่หนึง่ กับลำดับที่แปดระหว่างระยะความเร็ วสูงสุดของการแข่งวิ่งสปริน้ ท์ประเภท 200
เมตร นักวิ่งสปริ น้ ท์ที่เร็วกว่ามีการเคลื่อนไหวของไหล่ (135° ต่อ 118°) และข้ อศอก (84° ต่อ 67°) มากกว่า
และมีความเร็วเฉลี่ยจากไหล่มากกว่า (525°/วินาที ต่อ 490°/วินาที) (23) จากการวิเคราะห์ความสำคัญ
ของกล้ ามเนื ้อจากนักวิ่งสปริ น้ ท์ 15 คนตังแต่ ้ ระดับวิทยาลัยจนถึงระดับโลก Mann (22) เสนอว่าการทำงาน
ของหัวไหล่มีสว่ นเกี่ยงข้ องกับการรักษาสมดุลของร่างกาย และการทำงานของข้ อศอกบ่งชี ้ถึงจุดประสงค์ใน
การรักษาปลายแขนให้ อยูใ่ นลักษณะงอ อย่างไรก็ตามตำแหน่งที่เหมาะสมที่สดุ ยังไม่ถกู วิจยั นอกจากนี ้ก็
ยังมีข้อเสนอแนะว่าไม่มีความสัมพันธ์ใด ๆ ระหว่างการเคลื่อนไหวแขนกับการวิ่งสปริน้ ท์ (22) ดังนันคณะผู ้ ้
จัดทำจึงเสนอว่าบทบาทของแขนระหว่างการวิ่งสปริน้ ท์คือการรักษาสมดุล (22, 23) อย่างไรก็ตาม
เนื่องจากจำนวนของอาสาสมัครที่จำกัดและความแตกต่างของประสบการณ์ในการวิ่งสปริน้ ท์ของพวกเขา
ความเข้ าใจในการทำงานของแขนระหว่างระยะความเร็ วสูงสุดจึงจำเป็ นต้ องมีงานวิจยั เพิ่มเติมอย่างเห็นได้
ชัด
นักวิจยั ที่ได้ วิเคราะห์ผลของการแกว่งแขนขณะวิ่งบนลูว่ ิ่งด้ วยการวิเคราะห์การเคลื่อนที่ในสามมิติ
พบว่าพิสยั การเคลื่อนไหวในแนวดิ่งของจุดศูนย์กลางมวลของร่างกายเพิ่มขึ ้น 5-10% เนื่องจากการแกว่ง
แขน (14) คณะผู้จดั ทำเสนอว่ากลไลการยกน้ำหนักเกิดขึ ้นในช่วง mid-contact phase ด้ วยเหตุนี ้ความเร่ง
ที่เหนือจากแขนที่เกี่ยวพันกับลำตัวจะทำให้ แรงกระตุ้นในแนวตังต่ ้ อร่างกายทุกส่วน (14) การยกน้ำหนักที่
เกิดจากแขนช่วยเพิ่มความเร็วในการวิ่ง ดังนันมั ้ นจึงทำให้ เห็นถึงความสำคัญเมื่อต้ องการให้ ความเร็ วในกา
รวิ่งสปริ น้ ท์สงู ขึ ้น งานวิจยั นี ้อาจมีความสำคัญในระยะออกตัวดังที่ Young และคณะ (38) ได้ บนั ทึกไว้ วา่
เมื่อร่างกายเอนไปข้ างหน้ า น้ำหนักในแนวดิ่งที่เกิดจากแขนมีผลต่อการเคลื่อนที่จากแรงในแนวนอน
Hinrichs และคณะ (13) บันทึกว่าแขนมีสว่ นเกี่ยวข้ องกับการลดโมเมนตัมเชิงมุมของทังร่้ างกายตามแกน
ในแนวดิ่งโดยผ่านจุดศูนย์กลางมวลของร่างกายเมื่อวิ่งในท่าลำตัวตังตรง ้ อย่างไรก็ตาม Hinrichs (12) ได้
บันทึกว่าการทำงานของแขนช่วยชดเชยทังความไม่ ้ สมดุลของแขนอีกข้ างหนึง่ เองและส่วนอื่น ๆ ของ
ร่างกายระหว่างวิ่งบนลูว่ ิ่ง Bunn (6) เสนอว่าการแกว่งแขนไปด้ านหลังอย่างกระฉับกระเฉงเป็ นเหตุให้ การ
ก้ าวขายาวขึ ้นและช่วยรักษาระดับความเร็วไว้ เมื่อขาอ่อนล้ า บทบาทของการทำงานของแขนระหว่างระยะ
ความเร็ วสูงสุดจำเป็ นต้ องได้ รับการวิจยั ที่มากกว่านี ้ควบคูไ่ ปกับความเข้ าใจในการเปลี่ยนแปลงเพื่อเข้ าสู่
ระยะต่าง ๆ ในการวิ่งสปริ น้ ท์

กระบวนการฝึ กการแกว่ งแขน


แม้ วา่ โค้ ชบางคนเชื่อว่าแขนมีบทบาทสำคัญต่อการวิ่งสปริน้ ท์ (17,37) กระบวนการฝึ กเพื่อที่จะ
พัฒนาการทำงานของแขนสำหรับการวิ่งสปริน้ ท์ก็ยงั ไม่ได้ รับการวิจยั Young และคณะ (38) เสนอว่ากล้ าม
เนื ้อที่ขบั เคลื่อนแขนอาจสำคัญมากกว่าในการวิ่งสปริน้ ท์ระยะสัน้ อย่างไรก็ตามแม้ การฝึ กการแกว่งแขนใน
ท่านัง่ และยืนเป็ นการออกกำลังกายที่นกั วิ่งต้ องทำเพื่อให้ นกั วิ่งสามารถจดจ่ออยูก่ บั การทำงานของรยางค์
บนยูแ่ ล้ ว มีเพียงนักวิจยั จำนวนน้ อยที่ทำการวิจยั โยเฉพาะเจาะจงกับผลของการฝึ กการทำงานของแขน
สำหรับการวิ่งสปริ น้ ท์ ในส่วนนี ้จะกล่าวถึงงานวิจยั ต่าง ๆ ของหัวข้ อนี ้ที่เกี่ยวข้ องกับระยะออกตัว ระยะเร่ง
ตัว และระยะความเร็วสูงสุด

ระยะออกตัวและระยะเร่ งตัว
มีการตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงเข้ าสูร่ ะยะหนึง่ แบบเฉียบพลันในระหว่างการวิ่งสปริน้ ท์บนพื ้นดิน
ระยะ 40 เมตร โดยใช้ อปุ กรณ์ที่มีแรงต้ าน 0.5 กิโลกรัมใส่บนแขนแต่ละข้ างของผู้ชาย 10 คนึง่ เป็ นนักกีฬาที่
ฝึ กเป็ นประจำจากชมรมกีฬาสนาม (25) ไม่พบความแตกต่างอย่างมีนยั สำคัญในระยะออกตัวเปรี ยบเทียบ
ระหว่างมีน้ำหนักต้ านและไม่มีน้ำหนักต้ านในระยะ 10 เมตรซึง่ ทำเวลาได้ ที่ดีที่สดุ (-0.4%) กับระยะ 10
เมตรทำเวลาตามปกติ (-1%) ด้ วยขนาดของผลกระทบโคเฮน (Cohen effect sizes) เล็กน้ อย (<0.2)
สำหรับการเปลี่ยนแปลงทังคู ้ ่ (25) อุปกรณ์แรงต้ านถูกติดบนบริ เวณส่วนหลังของปลายแขนโดยยึดไว้ ที่แขน
ด้ วยปลอกแขนที่มีความยืดหยุน่ ยาวจากข้ อมือขนถึงบนข้ อศอกและทำให้ มนั่ คงด้ วยสายรัดตีนตุ๊กแก มวล
ร่างกายของกลุม่ ทดลองไม่ได้ ถกู บันทึกไว้ ดังนันจึ ้ งไม่ทราบขนาดของอุปกรณ์แรงต้ านเทียบเป็ นเปอร์ เซ็นต์
ของมวลร่างกาย McNaughton และ Kelly (25) เสนอว่าไม่มีผลกระทบที่เป็ นอันตรายในการฝึ กนี ้ แขนท่อน
ล่างอาจทำให้ เกิดการกระตุ้นเพื่อออกแรงต้ านน้ำหนักเกิดพิกดั ที่เหมาะสมระหว่างการฝึ กทำความเร็ วโดย
ไม่สง่ ผลเสียต่อเทคนิคหรื อประสิทธิภาพในการวิ่ง การวิจยั ก่อนหน้ านี ้ที่ใช้ นกั เรี ยนพลศึกษาเพศชาย 24 คน
โดยให้ ถือแท่งตะกัว่ 0.2, 0.4 และ 0.6 กิโลกรัมไว้ ในมือที่จะข้ างแล้ ววิ่งสปริน้ ท์ระยะ 30 เมตร
ในทำนองเดียวกัน Ropret และคณะ (29) ได้ บนั ทึกว่าไม่มีการเปลี่ยนแปลงใด ๆ ที่เกิดขึ ้นกับ
ความเร็ ว อัตราการก้ าว และความยาวในการก้ าว ถึงแม้ นหั วิ่งจะถือแท่งตะกัว่ เพิ่มในระยะ 15 เมตรแรก
เทียบกับการวิ่งสปริ น้ ท์ที่ไม่ต้องใช้ แท่งตะกัว่ เลย จากงานวิจยั นี ้อาจสรุปได้ วา่ (ก) แขนที่ใส่น้ำหนักเพิ่ม
≤0.6 กิโลกรัมไม่ได้ มีผลกระทบกับค่าใด ๆ (ข) ตำแหน่งของแท่งตะกัว่ จะต้ องอยูบ่ ริ เวณส่วนล่างของแขน
ซึง่ จะช่วยเพิ่มแรงเฉื่อยในการหมุนแต่น้ำหนักจะต้ องไม่โดนมือ ซึง่ อาจเป็ นเหตุให้ แขนและไหล่เกิดอาการตึง
และ (ค) มันอาจเป็ นไปได้ วา่ ขนาดของน้ำหนักที่ใช้ ในการวิจยั ดังกล่าวอาจไม่เพียงพอที่จะส่งผลกระทบต่อ
การทำงานของแขนในระยะ 15 เมตรแรก และงานวิจยั ในอนาคตจำเป็ นต้ องศึกษาโดยเพิ่มน้ำหนักอุปกรณ์
แรงต้ านให้ มากขึ ้น
เมื่อวิ่งสปริ น้ ท์พร้ อมลากน้ำหนักต้ าน ลำตัวของนักกีฬาจะถูกบังคับให้ อยู่ในท่าที่เอนไปข้ างหน้ า
เรื่ อย ๆ (19,24) ดังนัน้ Lookie และคณะ (19) จึงรายงานว่าการแกว่งแขนของนักกีฬาจะทำให้ หวั ไหล่กว้ าง
ขึ ้นในระยะ 2 ก้ าวแรก (~2-3º) หลังจากการวิจยั การฝึ กด้ วยการลากน้ำหนักเป็ นระยะเวลา 8 สัปดาห์ เมื่อ
นักกีฬาเริ่ มออกตัวระหว่างวิ่งสปริ น้ ท์ การวิ่งสปริน้ ท์พร้ อมลากน้ำหนัก 20% ของมวลร่างกายทำให้ มมุ ของ
ลำตัวเมื่อออกตัวจากบล็อกสตาร์ ทโน้ มลงมากขึ ้น 9% (24) ดังนันท่ ้ าโน้ มลำตัวไปข้ างหน้ าที่ทำได้ ด้วยการ
ฝึ กวิ่งสปริ น้ ท์พร้ อมลากน้ำหนักสะท้ อนให้ เห็นถึงความสำคัญต่อระยะออกตัวของการวิ่งสปริน้ ท์และอาจ
เป็ นวิธีฝึกที่มีประสิทธิภาพสำหรับผู้ฝึกที่กำลังมองหาการเปลี่ยนแปลงจลศาสตร์ การเคลื่อนไหวของแขน ไม่
ว่าจะเป็ นกรณีนี ้ที่แขนไม่ได้ รับน้ำหนักมากเกินไปโดยตรงหรื อกรณีอื่นจำเป็ นต้ องได้ รับการวิจยั เพิ่มเติม

ระยะความเร็วสูงสุด
ในระหว่างระยะความเร็วสูงสุด การวิ่งสปริน้ ท์พร้ อมกับใส่น้ำหนัก 0.5 กิโลกรัมที่แขนแต่ละข้ าง
ไม่มีผลกระทบที่มีนยั สำคัญต่อการวิ่งสปริ น้ ท์ 40 เมตรที่ทำเวลาได้ ดที ี่สดุ (-0.2%) และ 40 เมตรที่ทำเวลา
ปกติ (-0.2%) และมีขนาดของผลกระทบโคเฮน (Cohen effect sizes) เล็กน้ อย (<0.04) สำหรับการ
เปลี่ยนแปลงทังคู
้ ่ (25) ยิ่งไปกว่านันไม่
้ มีผลกระทบที่มีนยั สำคัญกับค่าเฉลี่ยความเร็ ว (-0.5%, ขนาดของ
ผลกระทบ = 0.08) (25) Ropret และคณะ (29) รายงานว่าไม่มีผลกระทบต่อประสิทธิภาพของการวิ่งสปริ ้
นท์ในระยะ 15-30 เมตรโดยการใส่น้ำหนัก (0.6 กิโลกรัม, 0.9% ของมวลร่างกาย) มีผลให้ ความเร็ วลดลง
1% เปรี ยบเทียบไม่ใส่น้ำหนักกับถือน้ำหนักไว้ ที่มือ ไม่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมีนยั สำคัญของความถี่ของ
การก้ าวหรื อความยาวในการก้ าวในระหว่างระยะความเร็ วสูงสุด แม้ วา่ ความยาวในการก้ าวจะลดลง ~3
เซนติเมตร เมื่อใส่น้ำหนัก 0.6 กิโลกรัม (29) ความขาดแคลนการวิจยั เชิงปริ มาณเกี่ยวข้ องกับการทำงานที่
เหมาะสมของแขนระหว่างการวิ่งสปริ น้ ท์ ยิ่งไปกว่านันจากการวิ
้ จยั เชิงคุณภาพ โค้ ชหลายท่านเชื่อว่าการ
ทำงานของแขนแตกต่างกันในระยะความเร็วสูงสุดและระยะก่อนหน้ าในการวิ่งสปริน้ ท์ โค้ ชระบุวา่ แขนช่วย
ในการทำให้ ลำตัวมัน่ คงและทำงานคูก่ บั ขาเพื่อคงความมัน่ คงและความสมดุลของร่างกายเมื่อตัวนักกีฬา
ตังตรง
้ และช่วยรักษาความเร็วสูงสุดไว้ (17)

การประยุกต์ มาปฏิบัติ
ถึงแม้ วา่ โค้ ชหลายท่านรู้ถึงความสำคัญของการแกว่งแขนในการวิ่งสปริน้ ท์ บทบาทของการทำงาน
ของแขนระหว่างระยะต่าง ๆ ของการวิ่งสปริน้ ท์และการฝึ กแขนยังไม่ถกู ทำให้ เป็ นรายละเอียดชัดเจน บท
วิเคราะห์นี ้พยายามที่จะสังเคราะห์ข้อมูลที่มีอยูโ่ ดยการเสริ มสร้ างความเข้ าใจในบทบาทของการทำงาน
ของแขนในระยะออกตัว ระยะเร่งตัว เทียบกับระยะความเร็ วสูงสุดในการวิ่งสปริน้ ท์ โดยการทำความเข้ าใจ
ในบทบาทที่แตกต่างกันของกลไกการทำงานเหล่านี ้ การจัดวิธีการฝึ กจำเป็ นต้ องมีความชัดเจนมากกว่านี ้
ในส่วนต่อไปนี ้จะอธิบายถึงการเลือกออกกำลังกายที่อาจช่วยผู้ฝึกในการฝึ กแขนที่เฉพาะเจาะจงถึงระยะ
ต่าง ๆ ของการวิ่งสปริ น้ ท์

ระยะออกตัวและระยะเร่ งตัว
สองงานวิจยั ก่อนหน้ านี ้เรื่ องการวิ่งสปริน้ ท์ที่ใช้ น้ำหนักติดกับแขนหรื อมือพบว่าไม่ได้ มีผลกระทบ
ต่อตัวแปรเชิงเวลาและพื ้นที่มากเกินไป ดังนันการวิ ้ ่งด้ วยการใส่ปลอกแขนเพิ่มแรงต้ าน (ภาพที่ 3) อาจเป็ น
ตัวกระตุ้นที่เหมาะสมในการฝึ กโดยไม่มีผลต่อการเคลื่อนไหวในระยะออกตัวและระยะเร่งตัวซึง่ อาจนำไปสู่
การปรับตัวในเชิงที่ดี ปลอกแขนเพิ่มแรงต้ านที่ใส่อยูท่ ี่ปลายแขนอาจสร้ างแรงขับเคลื่อนในแนวนอนในช่วง
ออกตัวเนื่องมาจากแรงเฉื่อยในการหมุนที่มากขึ ้นจากการรับน้ำหนักที่ปลายแขน
เนื่องจากการวางแนวของร่างกาย (ซึง่ ก็คือการเอนในแนวนอนที่มากขึ ้น) ระหว่างระยะออกตัว การ
ยกน้ำหนักในแนวดิ่งที่เกิดจากการแกว่งแขนมีแรงขับเคลื่อนตามแนวพื ้นราบ ดังนันการปรั ้ บการทำงานของ
แขนให้ เหมาะสมอาจทำให้ เกิดแรงขับเคลื่อนตามแนวพื ้นราบที่มากขึ ้น ที่จดุ เริ่ มต้ นของการวิ่งสปริน้ ท์ มี
ความสำคัญทางเทคนิคสำหรับนักกีฬาเพื่อให้ ออกตัวตามแนวพพื ้นราบมากขึ ้น ยิ่งไปกว่านันการวิ ้ จยั พบ
ว่าการเอนตัวไปข้ างหน้ าของจุดศูนย์กลางมวลเวลาออกตัวมีความสำคัญสำหรับการเพิ่มความเร็ วในการวิ่
งสปริ น้ ท์ ดังนันการฝึ
้ กวิ่งสปริ น้ ท์พร้ อมลากน้ำหนัก (ภาพที่ 4) เป็ นวิธีหนึง่ ที่จะช่วยคงตำแหน่งของร่างกาย
ซึง่ ส่งผลให้ เกิดการแกว่งแขนที่มากขึ ้นจากพิสยั การเคลื่อนไหวของหัวไหล่ แม้ วา่ จะไม่มีการใส่น้ำหนักที่
มากเกินพิกดั ที่แขนโดยตรง การวางแนวของร่างกายอาจช่วยกระตุ้นการฝึ กความเร็ วแขนที่มากขึ ้นและการ
ทำงานประสานกันของแขนกับส่วนอื่น ๆ นอกจากนี ้หากใส่ปลอกแขนเพิ่มแรงต้ าน (ภาพที่ 4) การใส่น้ำ
หนักที่แขนเกินพิกดั ก็อาจสามารถทำได้ อย่างไรก็ตามข้ อเสนอแนะนี ้เป็ นเพียงการคาดเดาและจำเป็ นต้ องมี
การวิจยั ในอนาคตเพื่อทำให้ แน่ใจว่าการฝึ กแบบนี ้มีผลต่อการเคลื่อนไหวของแขนและการวิ่งสปริน้ ท์หรื อไม่
การวิจยั ในอนาคตจำเป็ นต้ องหาขนาดของแรงต้ านที่เหมาะสม เพราะการใส่น้ำหนักที่มากเกินไปอาจก่อให้
เกิดผลเสียต่อแขนเนื่องจากนักกีฬาอาจต้ องฝื นเพื่อรักษาการแกว่งแขนที่มีความเร็ วสูง เมื่อพิจารณาถึง
ความสำคัญของการแกว่งแขนระหว่างระยะเร่งตัว ผู้ฝึกควรจะจดจ่อกับทำงานประสานกันของขาและแขน
นอกจากนี ้ในการฝึ กวิ่งสปริ น้ ท์แบบปกติและแบบใส่แรงต้ าน ชุดการออกกำลังกายที่ใช้ โดยโค้ ชเพื่อ
พัฒนาการแกว่งแขนและการทำงานประสานกันระหว่างขาและแขนระหว่างระยะออกตัวและระยะเร่งตัว มี
ภาพประกอบ ภาพที่5-7 การออกตัวโดยถือลูกบอลออกกำลังกาย (ภาพที่ 5) เป็ นการฝึ กให้ แขนรับน้ำหนัก
ซึง่ อาจใช้ เพื่อเสริ มการเคลื่อนไหวเมื่อแกว่งแขนและแรงขับเคลื่อนที่จำเป็ นในการออกตัวในก้ าวแรก อาจ
แผ่นเหล็กที่ใช้ ในท่า overhead step (ภาพที่ 6) ใช้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการแกว่งแขนเพื่อช่วยในการทำ
นประสานกันของขาและแขนและแรงขับเคลื่อนตามนอนโดยการรับน้ำหนักที่ข้อศอกและหัวไหล่และรยางค์
ล่าง โค้ ชอาจนำท่ายืนพร้ อมแกว่งแขน (ภานที่ 7) มาใช้ เพื่อพัฒนาเทคนิคในการแกว่งแขนและจังหวะของ
อัตราในการลอยตัวผ่านการเปลี่ยนจากระยะออกตัวสูร่ ะยะความเร็ วสูงสุดโดยการประสานเวลาของแขน
และการเปลี่ยนแปลงการวางแนวของร่างกายจากที่เอนไปข้ างหน้ ามาเป็ นลำตัวตังตรง ้ ผู้อา่ นจำเป็ นต้ องรู้
ว่าอาจมีข้อจำกัดในการออกกำลังกายเหล่านี ้เนื่องจาก (ก) การถือลูกบอลออกกำลังกายและแผ่นเหล็กขึ ้น
อาจส่งผลต่อการขยายทรวงอก (ข) การออกกำลังกายเหล่านี ้ทำให้ การออกแรงในแนวดิ่งเปลี่ยนและ (ค)
ไม่มีการทำให้ แขนอีกข้ างหนึง่ สมดุล

ระยะความเร็วสูงสุด
ในระหว่างระยะความเร็วสูงสุดของการวิ่งสปริน้ ท์ ร่างกายจะตังตรง
้ เมื่อวิ่งสปริน้ ท์ในท่าลำตัวตัง้
ตรงนี ้ แขนจะนำไปสูแ่ รงในการขับเคลื่อนในแนวดิ่งทังหมด
้ ดังนันการปรั
้ บการทำงานของแขนให้ สมมาตร
กับขาควรเป็ นข้ อพิจารณาสำหรับการวางแผนการฝึ ก นักกีฬาควรฝึ กซ้ อมเพื่อให้ แกว่งแขนได้ อย่างมี
ประสิทธิภาพซึง่ เกิดจากการที่ไหล่มีการยืดและหดตัวของกล้ ามเนื ้อบริ เวณที่หวั ไหล่และข้ อศอกที่มีการเกิด
การยืดและหดตัวซึง่ เกิดขึ ้นที่ไหล่และสะโพกด้ านเดียวกัน การออกกำลังกายท่า Double-arm pillar press
(ภาพที่ 8) และการทำด้ วยแขนเดียว (ภาพที่ 9) สามารถใช้ เพื่อเสริ มสร้ างความแข็งแรงของไหล่และกล้ าม
เนื ้อต้ นแขนส่วนหลัง (ไตรเซป) นอกจากนี ้การออกกำลังกายที่คล้ ายกับท่าที่แสดงในภาพที่ 8 และ 9 อาจ
นำมาใช้ เพื่อเสริ มสร้ างความสมบูรณ์ของการทรงตัวและการทำงานประสานกันของขาและแขน
มันอาจเป็ นข้ อถกเถียงกันอยูว่ า่ การออกกำลังกายเฉพาะในแนวดิ่งดังภาพที่ 8 และ 9 นันยั้ งไม่ไดรับการ
อภิปรายในเรื่ องบทบาทของร่างกายส่วนบนต่อระยะความเร็ วสูงสุดของการวิ่งสปริน้ ท์ จากข้ อถกเกียงดัง
กล่าวการใช้ ประโยชน์จากการฝึ กจัดท่าวิ่งเพื่อฝึ กการทำงานประสานกันของแขน ลำตัว และสะโพกควรได้
รับการพิจารณาเพื่อช่วยระบุความต้ องการในการฝึ ก ตัวอย่างเช่น การฝึ กจัดท่าแขนแบบตังตรง ้ (ภาพที่
10) สามารถแสดงให้ เห็นถึงการปรับความไม่สมดุลจากสะโพกถึงไหล่ให้ ดีขึ ้น ในตัวอย่างนี ้ ภาพที่ 10B
แสดงให้ เห็นชัดเจนถึงผลกระทบที่เกิดจากการทำงานของไหล่ซ้ายที่แย่ซงึ่ สามารถเกิดขึ ้นที่ลำตัว(ด้ าน
ข้ าง)และกระดูกเชิงกราน(บริเวณจุดหมุนด้ านหน้ าซ้ าย) ในทำนองเดียวกันสิ่งนี ้อาจนำไปสูก่ ารฝึ กการ
เคลื่อนไหวของลำตัวและการหมุนของหัวไหล่ซงึ่ มีจดุ ประสงค์เพื่อปรับปรุงความฝื ดสัมพันท์ระหว่างไหล่
และสะโพก

ข้ อสรุ ป
บทบาทของการเคลื่อนไหวของแขนยังคงเป็ นข้ อถกเถียงกันในหมูโ่ ค้ ชและในสื่อที่ตีพิมพ์ ถึงแม้ จะดู
เหมือนว่าแขนทำให้ เกิดการถ่วงดุลโมเมนตัมแบบหมุนของขาระหว่างวิ่งสปริน้ ท์ แต่ก็ดเู หมือนว่าแขนอาจมี
บทบาทสำคัญในระยะออกตัวและระยะแรกของระยะเร่งตัวของการวิ่งสปริน้ ท์ แม้ วา่ ความสามารถในการ
บังคับการเคลื่อนไหวในแนวนอนของแขนจะจำกัดมาก เนื่องจากการแกว่งแขนไปด้ านหน้ า-ด้ านหลังพร้ อม
กันเมื่อลำตัวของนักกีฬาตังตรงและเนื
้ ่องจากการเอนตัวไปข้ างหน้ าตอนออกตัว โมเมนตัมของแขนทังสอง ้
ข้ างอาจไม่เกิดขึ ้น ยิ่งไปกว่านันแขนอาจมี
้ สว่ นร่วมถึง 10% ของแรงขับเคลื่อนตามแนวดิ่งทังหมดที
้ ่นกั กีฬา
นำไปใช้ (14) ซึง่ เน้ นให้ เห็นถึงความสำคํยของการเคลื่อนไหวของแขนอย่างมีประสิทธิภาพ นักวิ่งสปริน้ ท์
ระดับต้ น ๆ ประสานการทำงานของแขนและขาซึง่ เพิ่มประสิทธิภาพในการดันบล็อก ดังนันการเพิ ้ ่ม
ประสิทธิภาพในการทำงานของแขนร่วมกับขาควรมีการพิจารณาการวางแผนในการฝึ ก
ความสำคัญของการทำงานประสานกันของแขนและขาได้ รับการสนับสนุนในการวิจยั ด้ านประสาทวิทยาที่
Frigon และคณะ (9) แสดงให้ เห็นว่าจังหวะการเคลื่อนไหวของแขนมีผลต่อกล้ ามเนื ้อขาโดยไม่ขึ ้นกับท่า
ของแขน ยิ่งไปกว่านันความถี
้ ่ของการแกว่งยไม่ได้ ควบคุมเพียงแค่ปฏิสมั พันธ์ของสะโพกกับไหล่ที่ความถี่
ต่ำ แต่รวมถึงการประสานการทำงานของข้ อเท้ ากับหัวไหล่ที่ความถี่สงู แสดงให้ เห็นถึงความสัมพันธ์
ระหว่างการแกว่งแขนและการทรงตัว (1) แม้ วา่ จะไม่เกี่ยวข้ องโดยตรงกับการวิ่งสปริน้ ท์ แต่ควรวิจยั เพิ่ม
เติมเกี่ยวกับการทำงานประสานกันระหว่างแขนกับขาและผลของการฝึ กแขนเพียงอย่างเดียวเพื่อประเมิน
การเปลี่ยนแปลงของประสิทธิภาพในการวิ่งสปริน้ ท์

You might also like