You are on page 1of 3

ข่ าวสารวิชาการ

หน่ วยทะเบียนและพัฒนาวิชาการ งานบริการการศึกษาและพัฒนาคุณภาพนักศึกษา


คณะเภสั ชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ประจำเดือนเมษายน 2556

การสอนโดยใช้ สถานการณ์ จำลอง(Simulation)


รศ.ยุพิน บุญชูวงศ์
คณะครุ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต

ความหมาย
วิธีการสอนโดยใช้สถานการณ์จ ำลอง คือ การสอนที่จ ำลองสถานการณ์จริ งในไว้ในชั้นเรี ยน โดยพยายามทำให้เหมือนจริ งที่สุด
มีการกำหนดกติกาหรื อเงื่อนไข แล้วแบ่งผูเ้ รี ยนเป็ นกลุ่มให้เข้าไปในสถานการณ์จ ำลองนั้นๆ ด้วยกิจกรรมนี้ ผูเ้ รี ยนจะเกิดการเรี ยนรู้จาก
การเผชิญกับปัญหา ซึ่งจะต้องมีการตัดสิ นและใช้ไหวพริ บ
จุดมุ่งหมาย
เพื่อให้ผเู้ รี ยนได้เข้าไปมีปฏิสมั พันธ์ก บั สถานการณ์จ ำลองจนเกิดความเข้าใจสถานการณ์ต ่างๆ ได้อย่างถ่องแท้ สถานการณ์ที่
จำลองขึ้นจะต้องใกล้เคียงกับความเป็ นจริ ง ผูเ้ รี ยนที่เข้าไปมีปฏิสมั พันธ์ก บั สถานการณ์น้ นั จะต้องทำการตัดสิ นใจแก้ไขปัญหาต่างๆ ส่ วน
ผลการตัดสิ นใจก็จะจำลองให้เกิดขึ้นต่อผูเ้ รี ยนในลักษณะเดียวกับที่เกิดขึ้นในสถานการณ์จริ ง
วิธีการสอนโดยใช้ สถานการณ์ จำลอง มีดงั นี้
1. ขั้นเตรี ยม ผูส้ อนจัดเตรี ยมสถานการณ์จ ำลอง โดยกำหนดจุดมุ่งหมายของการสอน แล้วเลือกรู ปแบบที่เหมาะสม ตลอด
จนเขียนรายละเอียดเนื้ อหาและอุปกรณ์ที่ตอ้ งใช้
2. ขั้นดำเนินงาน ผูส้ อนอธิบายบทบาท กติกา วิธีการเล่น และวิธีการให้คะแนน แล้วแบ่งกลุ่มผูเ้ รี ยนเพื่อปฏิบตั ิภารกิจที่
กำหนด โดยมีผสู้ อนคอยให้ขอ้ แนะนำและดูแลการปฏิบตั ิในสถานการณ์จ ำลองของผูเ้ รี ยนด้วยการสังเกต จดบันทึก และ
ให้คะแนนผูเ้ รี ยนเป็ นรายบุคคล
3. ขั้นสรุ ปผล ผูส้ อนจะช่วยสรุ ปผลของสถานการณ์จ ำลอง โดยวิเคราะห์กระบวนการแก้ปัญหาที่ผเู้ รี ยนใช้ เปรี ยบเทียบผล
ของสถานการณ์จ ำลองกับโลกแห่งความเป็ นจริ ง หรื อเชื่อมโยงกิจกรรมที่ปฏิบตั ิไปแล้วกับเนื้ อหาวิชาที่เรี ยน
ข้ อควรคำนึงของการสอนโดยใช้ สถานการณ์ จำลอง มีดงั นี้
1. ถ้าผูส้ อนขาดความรู้ความเข้าใจในการสร้างสถานการณ์จ ำลอง อาจสร้างผิดไปจากจุดมุ่งหมายได้
2. สถานการณ์จ ำลองที่ยากเกินไปจะทำให้ผเู้ รี ยนไม่เข้าใจ
3. เป็ นการยากที่จะประเมินผูเ้ รี ยนเป็ นรายบุคคลได้

ข้อมูลจาก http://www.myfirstbrain.com/teacher_view.aspx?ID=88620
เมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2556

วิธีสอนโดยใช้ สถานการณ์ จำลอง (Simulation Method)

แนวคิด
               การสอนโดยใช้สถานการณ์จ ำลองเป็ นการสอนที่อาศัยการจำลองสถานการณ์จริ งมากที่สุดโดยการยกสถานการณ์น้ ันมาไว้ในชั้น
เรี ยน เพื่อให้ผเู้ รี ยนมีความรู้และความเข้าใจว่าในความเป็ นจริ งเรื่ องๆ นั้นเป็ นอย่างไร
ลักษณะสำคัญ
               การสอนโดยใช้สถานการณ์จ ำลองเป็ นการจัดสภาพแวดล้อมเลียนแบบของจริ งหรื อให้ใกล้เคียงกับสภาพของจริ ง แล้วให้ผเู้ รี ยน
ได้เข้าไปอยูใ่ นสถานการณ์น้ นั จริ งๆ เพื่อฝึ กแก้ปัญหาและการตัดสิ นใจ
วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้ผเู้ รี ยนได้เรี ยนรู้การแก้ปัญหาในสถานการณ์ใกล้เคียงของจริ งมากที่สุด
2. เพื่อให้ผเู้ รี ยนได้เข้าใจว่าในสถานการณ์จริ งๆ นั้นเป็ นอย่างไร และเข้าใจในสถานการณ์เหล่านั้นหากเกิดขึ้นในชีวิตจริ ง
จำนวนผู้เรียน
               การสอนโดยใช้สถานการณ์จ ำลองนั้นจะใช้กบั ผูเ้ รี ยนจำนวนเท่าใดก็ได้ ตามสถานการณ์หรื อเหตุการณ์ที่ก ำหนดขึ้น ทั้งนี้ข้ ึนอยู่
กับจุดมุ่งหมายของบทเรี ยนและเวลาที่มีอยู่ ซึ่งถ้าผูเ้ รี ยนมีมากก็ควรจะกำหนดว่านักเรี ยนกลุ่มใดจะเป็ นผูเ้ ข้าสู่ สถานการณ์จ ำลอง กลุ่มที่
เหลือก็เป็ นผูส้ งั เกตการณ์และผูด้ ู
ระยะเวลา
               การสอนโดยใช้สถานการณ์จ ำลองจะใช้ระยะเวลาเท่าใดอยูท่ ี่เนื้ อหาและวัตถุประสงค์ของบทเรี ยน
ลักษณะห้ องเรียน
               การสอนโดยสถานการณ์จ ำลองจะแตกต่างจากบทบาทสมมติ เพราะบทบาทสมมติเป็ นเพียงบทบาทของผูแ้ สดง แต่สถานการณ์
จำลองต้องมีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมเหมือนของจริ งมากที่สุดดังนั้นอาจจะต้องสร้างสถานการณ์ เหตุการณ์ สถานที่และจำลองให้
ใกล้เคียงของจริ ง อาจจะต้องดัดแปลงห้องเรี ยนให้เป็ นสถานการณ์ที่ตอ้ งการ
ลักษณะเนือ้ หา
               การสอนแบบสถานการณ์จ ำลอง สามารถใช้จดั กิจกรรมได้ทุกวิชา
บทบาทผู้สอน
1. เป็ นผูเ้ ตรี ยมการสอนสถานการณ์จ ำลอง โดยสร้างขึ้นให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของบทเรี ยน
2. ผูส้ อนกับผูเ้ รี ยนอาจจะร่ วมกันกำหนดสถานการณ์ที่เกิดขึ้น โดยการพูดคุย ผูส้ อนกับผูเ้ รี ยนอาจจะร่ วมกันกำหนดซักถาม
อภิปราย
3. ผูส้ อนกำหนดขั้นตอนและบทบาทของผูแ้ สดงทั้งหมด และอาจจะต้องซักซ้อม ทำความเข้าใจกับผูแ้ สดงก่อนการสร้าง
สถานการณ์จ ำลอง
บทบาทผู้เรียน
1. ผูเ้ รี ยนอาจจะร่ วมกับผูส้ อนเป็ นผูก้ ำหนดสถานการณ์จ ำลองและกำหนดบทบาทของผูเ้ รี ยนแต่ละคน
2. ร่ วมกันสร้างและแสดงบทบาทในสถานการณ์จ ำลองนั้น
3. ผูเ้ รี ยนเป็ นผูว้ เิ คราะห์สถานการณ์จ ำลอง สรุ ปข้อคิดและสิ่ งที่ได้จากสถานการณ์จ ำลองนั้น 

ขั้นตอนการสอน
1. ขั้นเตรี ยม ผูส้ อนแจ้งวัตถุประสงค์ให้ผเู้ รี ยนได้ทราบและช่วยกันกำหนดประเด็นและสถานการณ์ที่จะจำลองขึ้น กำหนด
กิจกรรมที่จะปฏิบตั ิ พร้อมทั้งกำหนดบทบาทของผูเ้ รี ยนทั้งหมด          
2. ขั้นนำเสนอ ผูเ้ รี ยนจะเข้าสู่สถานการณ์และกิจกรรมตามที่ก ำหนดไว้ โดยมีผสู้ อนคอยควบคุมดูแลทั้งนี้ให้ผเู้ รี ยนอยูใ่ น
กติกาตามที่ก ำหนดไว้ ในขณะที่ด ำเนินกิจกรรมก็ตอ้ งมีการบันทึกสถานการณ์ไว้ตลอดเวลา
3. ขั้นสรุ ป ผูส้ อนและผูเ้ รี ยนช่วยกันสรุ ปสิ่ งที่ได้จากสถานการณ์จ ำลองนั้น โดยการวิเคราะห์เหตุการณ์วเิ คราะห์กระบวนการ
และแนวคิดที่ได้ พร้อมกับสรุ ปว่าจะนำไปใช้ชีวิตจริ งต่อไปได้อย่างไร
สื่ อการสอนเมื่อใช้ สถานการณ์ จำลอง
การสอนแบบสถานการณ์จ ำลองนั้นอาจจะต้องใช้สื่อหลากหลายชนิดด้วยกัน เช่น ผูแ้ สดงของจริ ง ของจำลองอื่นๆ ที่ใช้ใน
การสร้างสถานการณ์จ ำลองนั้น
การวัดและประเมินผล
การสร้างสถานการณ์จ ำลองนั้น ผูส้ อนจำเป็ นที่จะต้องวัดและประเมินว่ากิจกรรมที่ด ำเนินไปบรรลุผลเพียงใด ผูเ้ รี ยนมีส่วน
ร่ วมมากน้อยเพียงใด ผูเ้ รี ยนได้อะไร ในขั้นวิเคราะห์และสรุ ปนั้นผลออกมาเป็ นอย่างไร
ข้ อดีและข้ อจำกัด
ข้ อดี
1. เป็ นกระบวนการที่ท ำให้ผเู้ รี ยนได้เรี ยนรู้สถานการณ์จริ งๆ ได้มากที่สุด
2
2. เป็ นการสอนที่เปิ ดโอกาสให้ผเู้ รี ยนมีส่วนร่ วมและได้กระทำ รวมทั้งได้รับประสบการณ์ที่หลากหลายด้วย
3. ทำให้ผเู้ รี ยนได้ใช้ทกั ษะหลายๆ ทางและทำงานร่ วมกันผูอ้ ื่นได้
4. สร้างบรรยากาศสนุกสนาน ทำให้ผเู้ รี ยนเพลิดเพลิน
ข้ อจำกัด
1. การสอนโดยใช้สถานการณ์จ ำลองจะต้องเตรี ยมการเป็ นอย่างดี หากขาดการเตรี ยมการจะทำให้กิจกรรมมีอุปสรรค
2. บางครั้งการสอนโดยใช้สถานการณ์จ ำลองต้องใช้เวลามาก   
3. ผูส้ อนต้องมีประสบการณ์ในสถานการณ์จ ำลองนั้นมาก เพราะหากผูส้ อนขาดประสบการณ์ เมื่อเกิดปัญหาขึ้นจะไม่
สามารถแก้ปัญหาได้หรื อจะได้ผลไม่ตรงกับวัตถุประสงค์ที่ก ำหนด
4. การสอนโดยใช้สถานการณ์จ ำลอง จะต้องได้รับความร่ วมมือจากผูเ้ รี ยน หากผูเ้ รี ยนไม่ร่วมมือก็จะทำให้กิจกรรมติดขัด
ไม่บรรลุผลตามที่วางไว้
การปรับใช้ การสอนโดยใช้ สถานการณ์ จำลองเพือ่ เน้ นผู้เรียนเป็ นสำคัญ
1. ในการทำกิจกรรมสถานการณ์จ ำลองนั้น ยิง่ ให้ผเู้ รี ยนมีส่วนร่ วมมากเท่าใดก็ตรงกับแนวคิดการสอนโดยยึดผูเ้ รี ยนเป็ น
สำคัญ
2. การเตรี ยมการดีกจ็ ะส่ งผลให้กิจกรรมสถานการณ์จ ำลองบรรลุผลดี
3. ในขั้นวิเคราะห์และขั้นสรุ ป เป็ นขั้นที่สำคัญที่สุด ในกิจกรรมส่ วนนี้ควรให้ผเู้ รี ยนมี
บทบาทมากที่สุด ทำให้ผเู้ รี ยนได้ประสบการณ์มากยิง่ ขึ้น

ข้อมูลจาก http://www.lamptech.ac.th/webprg/karnson/index2.php?action=ac&no_ar=60&file_ar=a52995430.%A1%D2%C3%E3%AA
%E9%CA%B6%D2%B9%A1%D2%C3%B3%EC%A8%D3%C5%CD%A7%20(Simulation%20Method).doc
เมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2556

You might also like