You are on page 1of 173

ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 1

บทที่ 1
ภาษากับการสื่อสาร

การสื่อสารของมนุษย์เป็นสิ่งจาเป็นในสังคม เพื่อให้คนในสังคมได้ติดต่อสื่อสารระหว่างกัน เพื่อการ


ดาเนินชีวิตและการประกอบอาชีพต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล สามารถอยู่ร่วมกันได้อย่าง
เข้าใจกันมีความสุขและสันติ การสื่อสารดังกล่าวมนุษย์จะต้องใช้ภาษาเป็นเครื่องมือในการส่งสารไปยังผู้รับสาร
ภาษาจึงเป็นหัวใจสาคัญของกระบวนการสื่อสาร

ความหมายของภาษา
คาว่ า “ภาษา” มาจากค าภาษาสั น สกฤต “ภาษ” แปลว่ า ถ้ อ ยคาหรื อ คาพู ด พจนานุก รมฉบั บ
ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 (2546 น. 822) ได้ให้ความหมายของภาษาไว้ว่า ภาษาหมายถึง ถ้วยคาที่ใช้พูด
หรือเขียนเพื่อสื่อความหมายของชนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง เช่น ภาษาไทย ภาษาจีน หรือเพื่อสื่อความเฉพาะการ
เช่น ภาษาราชการ ภาษากฎหมาย ภาษาธรรม หรือ หมายถึง เสียง ตัวหนังสือ หรือกิริยาอาการที่สื่อความ
ได้ เช่น ภาษาพูด ภาษาเขียน ภาษาท่าทาง ภาษามือ ภาษาจะมีหลายตระกูล ได้แก่ ภาษาคาควบกลามาก
พยางค์ ภาษาคาโดด ภาษาคาติดต่อ และภาษามีวิภัตติปัจจัย
ภาษาตามความหมายในนิ รุ กติศาสตร์ คือ วิธีที่มนุษย์แสดงความในใจเพื่อให้ ผู้อื่นรู้ จะเป็นเรื่องที่
ต้องการบอกความในใจที่นึ ก ไว้ หรื อเป็ น เรื่ องที่อั ดอันอยู่ให้ ไ ปปรากฏออกมาภายนอก โดยใช้ เสี ยงพูดที่ มี
ความหมายที่ได้ตกลงใช้และรับรู้ร่วมกัน
ภาษาเป็นเครื่องมือใช้สื่อสารถ่ายทอดความคิดจากบุคคลหนึ่งไปยังอีกบุคคลหนึ่ง ความคิดจะถ่ายทอด
กันได้ ก็โดยที่ผู้ส่งสารและผู้รับสารรู้ระบบของภาษาที่เรียกว่าไวยากรณ์ ไวยากรณ์ไม่ว่าภาษาใดควรจะทาให้ผู้ส่ง
สารใช้ถ้อยคาได้เหมาะสมกับจุดมุ่งหมายของผู้ส่งสาร เรื่องราวที่ส่งสาร และความรู้ของผู้รับสาร เราจึงต้องใช้
ภาษาให้ถูกระบบ เพื่อจะลื่อความคิดให้ได้ผลตามจุดมุ่งหมายของผู้ส่งสาร (นววรรณ พันธุเมธา, ม.ป.ป. : บทนา)
จากนิยามจะเห็นได้ว่า ภาษาคือ เครื่องมือที่ใช้ในการสื่อสารทาความเข้าใจกันระหว่างมนุษย์ เพื่อให้เกิด
การรับรู้และความเข้าใจร่วมกันโดยการสร้างระบบสัญลักษณ์ ข้อตกลงของกลุ่มสังคมในการกาหนดความหมาย
ของสิ่งต่าง ๆ

ประเภทของภาษาที่ใช้ในการสื่อสาร
นักวิชาการทางภาษาหลายท่านได้แบ่งประเภทของภาษาไว้ ดังนี
เอมอร ชิตตะโสภณ (2549 : 6-11) กล่าวว่า ภาษาแบ่งประเภทตามลักษณะการใช้และตามโครงสร้าง
ดังนี
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 2

1. แบ่งตามลักษณะการใช้ภาษา ได้แก่ ลักษณะทั่วไปและลักษณะที่ใช้สื่อสารในชีวิตประจาวัน มี


รายละเอียดดังนี
1.1 ลักษณะทั่วไป ได้แก่ วัจนภาษา และอวัจนภาษา
1.1.1 วัจนภาษา (วัด-จะ-นะ-ภาษา) หมายถึง ภาษาพูดหรือภาษาที่ออกเสียงเป็นถ้อยคา
หรือประโยคที่มีความหมายสามารถเข้าใจได้ เช่น คาพูด คาสนทนา คาทักทาย เป็นต้น
1.1.2 อวั จ นภาษา (อะ-วั ด -จะ-นะ-ภาษา) คือ กิ ริย าอาการต่ าง ๆ ที่ ป รากฏออกมาทาง
ร่างกายของมนุษย์ เป็นส่วนใหญ่ และสามารถสื่อความหมายได้ จึงมีผู้เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า กายภาษา ( Body
Language) สารที่ปรากฏออกมาทางอวัจนภาษา ส่วนใหญ่บ่งบอกถึงความรู้สึก และบุคลิกลักษณะของผู้นัน
อวัจนภาษาแบ่งออกเป็น 7 ประเภท สรุปได้ดังนี (สวนิต ยมาภัย, 2552 : 32-37 ; สิริชัย วงษ์สาธิตศาสตร์
และคณะ, 2552 : 63-64)
1) เทศภาษา (Proxemics) (เท-สะ-ภาษา) หมายถึง ภาษาที่ปรากฏขึนจากลักษณะ
ของสถานที่ที่บุคคลทาการสื่อสารกันอยู่ รวมทังจากช่วงระยะที่บุคคลทาการสื่อสารอยู่ห่างจากกัน ทังสถานที่และ
ช่วงระยะ จะแสดงให้เห็นความหมายบางประการที่อยู่ในจิตสานึกของบุคคลผู้กาลังสื่อสารกันนัน ได้ชัดเจน
พอสมควรทีเดียว
ตัวอย่างเช่น เมื่อบุคคลสองคน ต่างเพศกัน นั่งอยู่บนม้านั่งตัวเดียวกัน (สถานที่) ชิด
กันประมาณหนึ่งคืบ หรือน้อยกว่านัน (ช่วงระยะ) ย่อมเป็นที่เข้าใจได้ว่า บุคคลทังสองมีความสัมพันธ์เป็นพิเศษ
มิใช่ผู้ที่รู้จักกันธรรมดา หรือการจัดลาดับที่นั่งของพระพิธีกรรมของพระสงฆ์ทรงสมณศักดิ์ การยืน การนั่งพูดคุย
กันระหว่างเพื่อน ญาติพี่น้องซึ่งมีระยะใกล้หรือห่างกัน ในบางครั ง ก็แสดงให้เห็นความใกล้ชิดสนิทสนมกันได้
เช่นกัน
2) กาลภาษา (Chronemics) (กา-ละ-ภาษา) หมายถึง การใช้เวลา เป็นอีกวิธีหนึ่งของ
การสื่อสารเชิงอวัจนะ เพื่อแสดงเจตนาของผู้ส่งสาร ที่จะก่อให้เกิดความหมายเป็นพิเศษอย่างใดอย่างหนึ่งแก่
ผู้รับสาร ในภาษาไทย จะมีวลีว่า “ผิดเวลา” หรือ “ไม่รู้จักเวล่าเวลา” หรือ “ได้เวลาแล้ว” เหล่านี แสดงให้
เห็นว่า เวลา หรือกาละ เป็นอวัจนสาร ที่มีความสาคัญอย่างหนึ่ง
ตัวอย่างเช่น การยืนเคารพธงชาติในเวลา 8.00 น. และ 18.00 น. การเข้าชันเรียน
การตอกบัตรเข้าทางาน การเข้าคิวซือตั๋ว การให้ของขวัญในวันขึนปีใหม่ เป็นต้น
3) เนตรภาษา (Oculesics) (เนต-ตระ-ภาษา) หมายถึงภาษาที่เกิดจากการใช้ดวงตา
หรือสายตา เพื่อสื่อสารอารมณ์ความรู้สึกนึกคิด ความประสงค์ และทัศนคติบางประการในตัวผู้ส่งสาร เช่น การ
มอง การจ้อง การชาเลื อง และการใช้รหัสทางสายตา เพื่อให้ทราบความหมายอะไรบางอย่าง ซึ่งใช้ได้ทัง
อารมณ์รัก ดีใจ โกรธ เกลียด เศร้าหมอง เป็นต้น
4) สัมผัสภาษา (Haptics) หมายถึง ภาษาที่เกิดจากการใช้อาการสัมผัสแสดงการ
สัมผัสทางกาย เพื่อสื่อสารความรู้สึก และอารมณ์ ตลอดจนความปรารถนาที่ฝังลึกอยู่ในใจของผู้ส่งสาร ไปยัง
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 3

ผู้รับสาร เป็นต้นว่า การโอบกอด, การจับมือกัน, การคล้องแขน หรือเดินจูงมือกันในสวนสาธารณะ ซึ่งสื่อสาร


ว่าเป็นการผูกไมตรีจิตกัน การแสดงความรักต่อกัน เป็นต้น
5) อาการภาษา (Kinesics) หมายถึง ภาษาที่อยู่ในรูปของการเคลื่อนไหวร่างกายเพื่อ
สื่อสาร ได้แก่ การเคลื่อนไหวศีรษะ แขน ขา ลาตัว การชีนิว เป็นต้น อาการภาษามักเกี่ยวข้องกับสังคม
วัฒนธรรม เช่น การไหว้ การโค้งคานับ เป็นต้น
6) วัตถุภาษา (Objectics) หมายถึง ภาษาที่เกิดจากการใช้และการเลือกวัตถุ มาใช้
เพื่อแสดงความหมายบางประการให้ปรากฏ วัตถุในที่นี หมายถึง สิ่งของทุกขนาด ทุกลักษณะที่สามารถใช้ส่ง
สารบางประการได้ รวมทังเครื่องแต่งกาย ได้แก่ เสือผ้า เครื่องประดับ และของใช้ติดตัว หรือการประดับธง
ชาติในวันชาติ เป็นต้น
7) ปริภาษา (Vocalie หรือ Paralanguage) คาว่า “ปริ” แปลว่าอยู่โดยรอบ ปริภาษา
หมายถึง อวัจนภาษาที่เกิดจากการใช้นาเสียงประกอบถ้อยคาที่บุคคลกล่าวออกไป แต่นาเสียงนันไม่ใช่ถ้อยคา
นาเสียงที่เปล่งออกไปจะแนบสนิทอยู่โดยถ้อยคาจนยากที่จะแยกออกจากถ้อยคาได้ ตามปกติในการสื่อสาร
ระหว่างบุคคลนาเสียงจะมีความสาคัญมากในการสื่อความหมาย เช่น นาเสียงเชือเชิญเข้าร่วมงาน นาเสียงออก
คาสั่งให้เข้าห้องเรียน เป็นต้น
1.2 แบ่งภาษาตามลักษณะที่ใช้สื่อสารในชีวิตประจาวัน ได้แก่ ภาษาถิ่น ภาษามาตรฐาน ภาษา
เฉพาะวงการ และภาษาเฉพาะกลุ่ม (วิไลวรรณ ขนิษฐานันท์ 2521 : 33-34) สรุปได้ดังนี
1.2.1 ภาษาถิ่น หมายถึง ภาษาเฉพาะของท้องถิ่นใดท้องถิ่นหนึ่ง ที่มีรูปลักษณะเฉพาะตัว
ทังถ้อยคาและสาเนียง เป็นต้น (พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542, 2546 : 822) อาจกล่าวได้ว่า
ภาษาถิ่น ที่นามาใช้กนั แพร่หลาย เช่น แซบอีหลี, ม่วนแต๊, ซวด ฮักหลาย โลด เป็นต้น
1.2.2 ภาษามาตรฐาน หมายถึง ภาษาที่ใช้ในราชการ โรงเรียน หรืออาจกล่าวว่าสาเนียง
สานวนภาษาที่คนซึ่งได้รับการศึกษาจากโรงเรียนจานวนมากใช้คล้ายคลึงกันและไม่รังเกียจว่าผิด หรือแปลกหู
ภาษามาตรฐานนีใช้เป็นภาษากลางสาหรับติดต่อสื่อสารกันระหว่างคนในชาติ (ส่วนภาษาที่ไม่เป็นมาตรฐาน ก็คือ
สาเนียงสานวนภาษาที่คนจานวนมากรังเกียจ ไม่ยกย่อง)
1.2.3 ภาษาเฉพาะวงการ หมายถึง ภาษาเฉพาะในวงการ แต่คนภายนอกสามารถเข้าใจได้
อาจกล่าวได้ว่า ภาษาเฉพาะวงการ เป็นภาษาย่อยที่เกิดจากการใช้ภาษาตามตาแหน่งหน้าที่การงานของกลุ่มชน
ผู้ใช้ภาษา เช่น ภาษาราชการ ภาษาวิชาการ ภาษาโฆษณา ภาษาธุรกิจ ภาษาหนังสือพิมพ์ และภาษา
การเมือง เป็นต้น
1.2.4 ภาษาเฉพาะกลุ่ม เป็นภาษาย่อยที่เกิดจากการใช้ภาษาในสังคม กล่าวคือ เป็นภาษา
ที่ใช้ในกลุ่มจริง ๆ โดยมิได้หวังที่ขยายไปสู่วงนอก เช่น ภาษาสแลง ภาษาวัยรุ่น หรือบุคคลบางกลุ่ม เช่น ลูก
ประดู่ หมายถึง ทหารเรือ ตลาดโต้รุ่ง ฟิน (เป็นที่พอใจมาก) เป็นต้น
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 4

2. แบ่งตามโครงสร้าง การแบ่งภาษาตามโครงสร้าง แบ่งได้เป็น 2 ชนิด ดังนี


2.1 ภาษาพู ด หมายถึง ภาษาที่ใ ช้ติดต่อ สื่ อสารด้ว ยการพูด ในชีวิ ตประจาวันเป็นภาษาที่ไ ม่
เคร่ งครั ด ทั งในเรื่ องของการใช้คา หรื อการเรียงค าเป็นประโยค ทังนีเพราะมิได้เน้นถึงความถูกต้องตาม
ความหมายของคา หรือหลักไวยากรณ์ หากแต่จะเน้นเพียงเพื่อสื่อให้เกิดความเข้าใจในสารเท่านัน
2.2 ภาษาเขียน หมายถึง ภาษาที่มีลักษณะเป็นเครื่องหมายให้ผู้ส่งและผู้รับทราบความหมาย
หรือความมุ่งหมายของกันและกันได้ (กาชัย ทองหล่อ, 2555 : 10) ในสายตาของนักภาษาศาสตร์ ภาษาเขียน
ไม่ใช่ตัวภาษาที่แท้จริง แต่เป็นเพียงสัญลักษณ์ที่มนุษย์ได้ ประดิษฐ์ขึนมาเพื่อเป็นตัวแทนของภาษาพูดเท่านัน...
ถึงแม้ภาษาเขียนจะเป็นเพียงตัวแทนของภาษาพูด แต่เนื่องจากภาษาเขียนจะต้องทาหน้าที่แทนตัวผู้พูด ซึ่งไม่
ปรากฏตัว อยู่ ในที่นั นด้ ว ย ภาษาเขี ย นจ าเป็ นต้ องกระชับ และชั ดเจน ดัง นันผู้ ใ ช้ภ าษาเขีย นจึ งต้ องมีค วาม
ระมัดระวัง และพิถีพิถันในการเขียนมากกว่าการพูด ภาษาเขียนจึงมีลักษณะเป็นทางการมากว่าภาษาพูด (วิไล
วรรณ ขนิษฐนันท์, 2521 : 39)
จะเห็นว่าการสื่อสารของมนุษย์นัน จะต้องใช้ทังภาษาถ้อยคา (วัจนภาษา) และภาษาที่ไม่ใช้ถ้อยคา
(อวัจนภาษา) ควบคู่กันไปให้เกิดประสิทธิภ าพ แต่ผู้ส่งสารจะต้องคานึงถึงระดับของภาษาที่ใช้ในการสื่อสารให้
เหมาะสมด้วย ภาษามีระดับการใช้ให้เหมาะสมกับบุคคล โอกาสและสถานที่ ดังต่อไปนี

ระดับของภาษาในการสื่อสาร
การใช้ภาษาในการสื่อสารจะต้องคานึงถึงวัฒนธรรมในการใช้ภาษาของแต่ละชาติ สาหรับภาษาไทยมี
วัฒนธรรมในการใช้ภาษาให้เหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล เมื่อใช้ภาษาต่างฐานะบุคคล ต่างโอกาส ต่าง
สถานที่ ต้องเลือกสรรใช้ถ้อยคาต่างกัน ทังที่ต้องการให้มีความหมายอย่างเดียวกัน นักวิชาการได้แบ่งภาษาเป็น
ระดับต่างๆ ได้หลายวิธี ในเอกสารเล่มนี จะแบ่งเป็น 3 ระดั บ คือ ภาษาปาก ภาษากึ่งแบบแผน และภาษา
แบบแผน พอสรุปได้ดังนี
1. ภาษาปาก หรื อ ภาษาไม่ เ ป็ น ทางการ (vulgarism) หมายถึ ง ภาษาที่ ส่ ว นใหญ่ ใ ช้ ใ นการพู ด
ชีวิตประจาวันกับบุคคลที่สนิทสนมคุ้นเคย มิได้คานึงถึงแบบแผนของภาษา เน้นที่สื่อความหมายให้เข้าใจกันได้
และเน้นการแสดงความรู้สึกเท่านัน ภาษาปากมีภาษาย่อยหลายลักษณะ หากจาแนกโดยพิจารณาพืนที่เป็น
เกณฑ์ คือ จาแนกเป็นภาษาถิ่นต่าง ๆ ภาษาเหล่านีมีลักษณะแตกต่างเฉพาะด้านเสียงของคาและวงศัพท์เท่านัน
ระบบไวยากรณ์คงเป็นแนวเดียวกันนอกจากนีถ้าจาแนกโดยพิจารณาสภาพทางเศรษฐกิจ การศึกษา เพศ วัย
และองค์ประกอบอื่น ๆ ได้ดังนี ภาษาชาวบ้านทั่วไป ภาษาชาวกรุง หรือภาษาชาวเมืองใหญ่ ภาษาผู้หญิง
ภาษาผู้ชาย ภาษาผู้มีการศึกษา ภาษาผู้ไร้การศึกษา ภาษาเด็ก ภาษาผู้ใหญ่ ภาษาคนมั่งมี ภาษาผู้ยากไร้
และภาษาบุคคลแต่ละอาชีพ
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 5

นอกจากนี ภาษาปากยัง หมายถึงการใช้ภาษาในกรณีส นทนากันระหว่างผู้ คุ้นเคยสนิทสนมกันมาก


ภาษาที่ใช้เขียนบทสนทนาในนวนิยาย เรื่องสัน บทล้อเล่นเสียดสี ประชดประชัน บันทึกอนุทิน จดหมาย
ส่วนตัว การโฆษณา ประชาสัมพันธ์ และการหาเสียง เป็นต้น
หลักควรสังเกตภาษาปาก
1) ผู้ส่งสารและผู้รับสารมีความใกล้ชิด และเป็นกันเองมาก
2) สารที่ส่งไม่มีขอบเขตจากัด อาจเป็นคาที่ใช้กันเฉพาะกลุ่มหรืออาจเป็นภาษาถิ่น
3) การส่งสารเป็นคาพูดมากกว่าการเขียน
4) ไม่นิยมบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร เพราะถือว่าเป็นภาษาที่ไม่เป็นทางการ
ตัวอย่างข้อเขียนที่ใช้ภาษาปาก
: - หร่อยจังฮู้ (ภาษา หมายถึง อร่อยมาก)
: - แซบหลายเด้อ (ภาษาอีสาน หมายถึง อร่อย)
: - ราแต้ ๆ (ภาษาเหนือ หมายถึง อร่อย)
: - ฉันไปตลาดอากาศร้อนมาก เหงื่อท่วมตัวเลย
: - บ้านลุงมั่นวิดบ่อได้ปลาเยอะแยะเลย
: - วันนีแม่พาพวกเราไปไหว้พระวัดโพธิ์ วัดแจ้งและวัดพระแก้ว สนุกมากๆ
: - สวัสดีครับ พ่อแม่พี่น้องที่เคารพรักทุกคน เสียงที่ได้ยินได้ฟังอยู่นีเป็นเสียงของหน่วยโฆษกงาน
ปิดทองฝังลูกนิมิตของวัดสามง่าม ขอเชิญญาติโยมที่ใจบุญใจกุศลร่วมปิดทองหลวงพ่อกัน ในเทศกาลตรุษจีนปีนี
โดยถ้วนหน้า เฮง เฮงกันทุกคน
: - ทางการให้งบมาตัดถนนเข้าหมู่บ้าน แหมดีแท้ ๆ และถนนที่ตัดจากสายใหญ่ก็ปรับพืนที่ตัดตรง
มายังวัด ท้องไร่กว้างไกลสุดลุกหูลูกตา ซึ่งลงข้าวโพดไว้เกือบหมดทุกแปลง ดูเหมือนกับจะต้อนรับเทศกาล
ทาบุญสุนทานสร้างโบสถ์ สร้างบุญกุศลกันทั่วทังหมู่บ้าน
2. ภาษากึ่งแบบแผน หรือภาษากึ่งทางการ หมายถึง ภาษาที่มีลักษณะกากึ่งกันระหว่างภาษาปาก
กับภาษาแบบแผน คือ มีความประณีต สละสลวยมากกว่าภาษาปาก ภาษากึ่งแบบแผนเหมาะสาหรับการใช้
ภาษาในกรณีการสนทนาระหว่างผู้ที่ไม่คุ้นเคยกันหรือสุภาพบุรุษสนทนากับสุภาพสตรี การพูดในที่ประชุม การใช้
ภาษาในสื่อมวลชนประเภทต่าง ๆ โดยเฉาะในการรายงานข่าวการโฆษณา การประชาสั มพันธ์ การเขียน
จดหมายธุรกิจ จดหมายส่วนตัว การบรรยายหรือการพรรณนาความในหนังสือบันเทิงสารคดีทั่วไป
หลักสังเกตภาษากึ่งแบบแผน
1) ผู้ส่งสารและผู้รับสารมีการโต้ตอบ หรือแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันได้เป็นระยะ ๆ
2) เนือหาของสารเป็นเรื่องเกี่ยวกับความรู้ทั่วไป การแสดงความคิดเห็นเชิงวิชาการหรือการดาเนิน
ชีวิต หรือเป็นเรื่องเกี่ยวกับธุรกิจ
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 6

3) การใช้สานวนภาษาในสาร ทาให้ผู้รับสารรู้สึกคุ้นเคยมากขึน
4) การส่งสารประเภทนี มุ่งให้ผู้รับสารสามารถรับสารได้ถูกต้องตรงตามจุดประสงค์ของการส่งสาร
จึงใช้ศัพท์วิชาการเท่าที่จาเป็นเท่านัน
ตัวอย่างข้อเขียนที่ใช้ภาษากึ่งแบบแผน
: - คุณศุภมิตร น้อยคาสิน วิศวกรชลประทาน ปฏิบัติการโครงการประตูระบายนาคลองลัดโพธิ์
เล่าถึงความเป็นมาของโครงการว่าเนื่องจากแม่นาเจ้าพระยาบริเวณตาบลบางกระเจ้า อาเภอพระประแดง
จ. สมุทรปราการ มีลักษณะคดเคียวคล้ายกระเพาะหมู และมีความยาวถึง 18 กิโลเมตร ทาให้การระบายนา
ในพืนที่กรุงเทพฯ ชันใน ทาได้ช้าเมื่อบวกกับนาทะเลหนุน จึงเกิดนาท่วมเป็นวงกว้าง (ชีวจิต, 2557 : 30)
: - ยามาชิตะ เคนิ ผู้จัดการร้านโอชากา โอโซ ประจาประเทศไทย ร้านเกี๊ยวซ่า ต้นตารับมานาน
กว่า 40 ปี จากประเทศญี่ปุ่นร่วมกับบัตรเครดิตเจซีบี โดยมาซาโกะ ทาเคดะ มอบสิทธิพิเศษสาหรับลูกค้าที่
ชาระด้วยบัตรเครดิต เจซีบี รับทันทีเกี๊ยวซ่า 1 จานฟรี (สกุลไทยฉบับที่ 3082, 2556 : 120)
: - “การกินหมากเป็นเอกลักษณ์อย่างหนึ่งของชาวพม่า ซึ่งแน่นอนว่าสมุนไพรชนิดสาคัญที่ต้องมี
อยู่คู่การกินหมาก คือ “ใบพลู” พลูในภาษาพม่าเรียกว่า “Kuu” พลูเป็นไม้เลือยเนือแข็ง มีกลิ่นหอม รสชาติ
เผ็ด เจือขมและหวานเล็กน้อย มีสรรพคุณแก้อาการเจ็บคอ ไอ เสียงแหบ และโรคหืดผสมนาคันใบสดกับ
นาตาล จิบแก้อาการท้องเสีย”
3. ภาษาแบบแผน หรือภาษาทางการ (Formal Language) หมายถึง ภาษาที่ใช้อย่างเป็นทางการ
ถูกต้องตามระเบียบแบบแผนของภาษาทังด้านการใช้คาประโยค สานวน ภาษาแบบแผนเหมาะสาหรับการใช้
ภาษาในกรณีการกล่าวสุนทรพจน์โอกาสต่างๆ เช่น กล่าวรายงาน กล่าวเปิด -ปิดงาน กล่าวให้โอวาท การเขียน
บทความวิชาการ การเขียนตาราทางวิชาการ วิทยานิพนธ์การเขียนเอกสารทางราชการ การเขียนตอบข้อสอบ
การเขียนบทบรรณาธิการในหนังสือพิมพ์ บทความสารคดีทางราชการ และการเขียนประกาศเกียรติคุณ เป็นต้น
หลักควรสังเกตภาษาแบบแผน
1. ผู้ส่งสารและผู้รับสารเป็นบุคคลในสถาบันพระมหากษัตริย์และสถาบันศาสนา
2. ผู้ส่งสารและผู้รับสารจะเป็นบุคคลสาคัญหรือมีตาแหน่งสูงในวงการนัน หรือมีหน้ าที่และภารกิจ
โดยตรงเกี่ยวกับธุรกิจ
3. ผู้ส่งสารและผู้รับสารมีสัมพันธภาพกันอย่างเป็นทางการ
4. ลักษณะของสารจะเป็นพิธีรีตอง เป็นทางการ มีความจริงใจ ถ้อยคาที่ใช้มีลักษณะตรงไปตรงมา
เลือกสรรมาอย่างถูกต้องเหมาะสมและไพเราะสละสลวยก่อให้เกิดความรู้ ความจรรโลงใจ
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 7

ตัวอย่างข้อเขียนภาษาแบบแผน
: - บทความ คือ ความเรียงประเภทหนึ่ง ซึ่งมีจุดประสงค์หลายลักษณะ เช่น เพื่อแสดงความรู้
เสนอข้อเท็จจริง ความคิดเห็น ตังข้อสังเกต วิเคราะห์วิจารณ์ ประเมินค่าในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง การเขียนบทความ
ต้องเขียนอย่างมีหลักฐาน มีเหตุผลน่าเชื่อถือหากมีข้อเสนอแนะใด ๆ ต้องเป็นไปในทางสร้างสรรค์
: - งานประเพณีลอยกระทง เผาเทียนเล่นไฟ เป็นเทศกาลที่มีความสาคัญเป็นอย่างมากต่อจังหวัด
สุโขทัย นอกจากจะเป็นโอกาสดีที่ชาวสุโขทัยจะได้แสดงถึงศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณีเก่าแก่ที่สืบทอดมาจาก
อดีตถึงปัจจุบันอย่างน่าภาคภูมิใจแล้วยังนับเป็นอีกงานหนึ่งที่คนไทยทุกคนจะได้ทาพิธีขอขมาต่อพระแม่คงคา”
(สกุลไทย ฉบับที่ 3082, 2556 : 8)
: - “ประเทศไทยนอกจากจะมีพระสยามเทวาธิราชผู้อภิบาลเมืองไทยให้อุดมสมบูรณ์ด้วยทรัพย์ใน
ดินสินในนา และมีพระมหากษัตริย์ที่ทรงบุญญาธิการปกเกล้าปกกระหม่อมอาณาประชาราษฏร์ให้อยู่เย็นเป็นสุข
แล้ ว ประเทศไทยยั ง มี พ ระบรมราชิ นี น าถถึ ง สองพระองค์ คื อ สมเด็ จ พระนางเจ้ า เสาวภาผ่ อ งศรี
พระบรมราชินีน าถในพระบาทสมเด็จพระจุ ล จอมเกล้ าเจ้าอยู่หั วรัช กาลที่ 5 และสมเด็จพระนางเจ้าสิ ริกิติ์
พระบรมราชินีนาถในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชรัชกาลปัจจุบัน”
ความแตกต่างของภาษาแต่ละระดับ
สัมพันธภาพ
ระดับภาษา บุคคลและโอกาสที่ใช้ (กาลเทศะ) ลักษณะของสาร
ระหว่างผู้พูด
แบบแผน/ - ใช้ ใ น ง า น พิ ธี กา ร ข อ ง ส ถ า บั น - เป็นทางการ - มีลักษณะเป็นพิธีรีตอง
ทางการ พระมหากษัตริย์และสถาบันศาสนา - เป็ น ผู้ อ ยู่ ใ นวงการ - ถ้อยคาเลือกเฟ้นอย่างไพเราะ
สมเด็จ พระสั งฆราชและพระภิ กษุ หรื อ อาชี พ เดี ย วกั น มักเตรียมบทหรือวาทนิพนธ์
สงฆ์ เช่น พิธีฉัตรมงคล พิธีจรด ติ ด ต่ อ กั น ทางด้ า น มาล่วงหน้า
พระนั ง คั ล พิ ธี ถ วายพระพรชั ย ธุรกิจและการทางาน - เจาะจงทางด้านธุรกิจ
มงคล ฯลฯ - ใช้ ถ้ อ ยค าตรงไปตรงมามุ่ ง สู่
- ใช้ ใ นที่ ป ระชุ ม ที่ จั ด ขึ นอย่ า งเป็ น จุดประสงค์อย่างรวดเร็วมักมี
ทางการ เช่น การเปิดประชุม การ ศั พ ท์ ท างเทคนิ ค หรื อ ศั พ ท์
กล่าวอวยพร การกล่าวคาปราศรัย วิชาการ
การปาฐกถา การให้โอวาท ฯลฯ
- ใช้ ใ นการบรรยายหรื อ อภิ ป ราย
อย่ า งเป็ น ทางการ เช่ น หนั ง สื อ
ราชการ หนังสือวงการธุรกิจ ฯลฯ
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 8

สัมพันธภาพ
ระดับภาษา บุคคลและโอกาสที่ใช้ (กาลเทศะ) ลักษณะของสาร
ระหว่างผู้พูด
กึ่ ง แ บ บ ใช้ ใ นการประชุ ม กลุ่ ม เล็ ก การ ผู้ พุ ด คุ้ น เ ค ย กั น เนื อหาเกี่ ย วกั บ ความรู้ ทั่ ว ไป
แผน/ บรรยายในห้ อ งเรี ย น ข่ า วและ มากกว่าระดับทางการ การแสดงคว ามคิ ด เห็ น เชิ ง
กึ่งทางการ บทความในหนังสือพิมพ์ วิชาการเรื่องเกี่ยวกับธุรกิจ
ปาก/ไม่เป็น - ใช้ใ นการสนทนาไม่เ กิน 4-5 คน - คุ้ น เคยแต่ ไ ม่ ถึ ง กั บ - เ ป็ น เ รื่ อ ง ทั่ ว ๆ ไ ป ใ น
ทางการ ในกาลเทศะที่ ไ ม่ เ ป็ น การส่ ว นตั ว เป็นเพื่อนสนิท ชีวิตประจาวันไม่จากัดอยู่ใน
การเขี ย นจดหมายระหว่ า งเพื่ อ น - คุ้นเคยสนิทสนมกัน เรื่องวิชาการ
การรายงานข่ า วและการเสนอ มาก - อาจมี ถ้ อ ยค าที่ ใ ช้ กั น เฉพาะ
บทความในหนังสือพิมพ์ กลุ่ม
- ใช้ กัน ภายในครอบครั ว ระหว่ า ง - ไม่มีขอบเขตจากัด
เพื่ อ นสนิ ท สถานที่ ใ ช้ มั ก เป็ น ที่ - ไม่นิยมบันทึกเป็นลายลักษณ์
ส่วนตัว อักษร อาจมีคาคะนอง

ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับการสื่อสาร
ภาคภูมิ หรรนภา (2554: 18) ได้กล่าวไว้ว่าในการสื่อสารนันภาษาคือ พาหนะให้เนือหาของสารเกาะ
เกี่ยวกับผู้ส่งสารไปสู่ผู้รับสาร ผู้ผลิตภาษาคือ ผู้ส่งสาร ภาษาที่ออกมาจะดีหรือไม่อยู่ที่ทักษะในการสื่อสารของผู้
ส่งสาร แต่ทังนีต้องขึนอยู่ กับผู้ รับสารด้วย เพราะผู้ส่งสารเลือกใช้ภาษาในการนาเสนอที่เหมาะกับผู้รับสาร
เหมาะสมกับความรู้และทักษะการใช้ภาษาของผู้รับสาร
สวนิต ยมาภัย (2526 : 66) อธิบายภาษาเพื่อการสื่อสาร คือ การที่ผู้ส่งมีเจตนาที่จะถ่ายทอดความคิด
และวัตถุประสงค์ภายในใจไปยังผู้รับ เป้าหมายที่แน่นอนแล้วต้องการให้ผู้รับสารเกิดปฏิกิริยาตอบสนอง เกิด
ความเข้าใจใกล้เคียงกับความตังใจของผู้ส่งสาร
แบบจาลองการสื่อสาร

ผู้ส่งสาร สาร สื่ อ/ช่องทาง ผู้รับ ผลตอบ


สาร กลับกลับ

ภาษา
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 9

แบบจาลองการสื่อสารของ ฮาโรลด์ ลาสเวลล์ (Harold D.Laswell, 1948 : 37-51) นักวิชาการด้าน


สังคมศาสตร์ ผู้สนใจการสื่อสารจากโฆษณาชวนเชื่อ (propaganda) และการแสดงให้เห็นว่าภาษาอยู่ตรงไหนใน
แบบจาลอง (สวนิต ยมาภัยและระวีวรรณ ประกอบผล, 2537 :19) จากแนวคิดของลาสเวลล์
สรุปได้ว่า องค์ประกอบของการสื่อสารได้แก่ ใคร คือ ผู้ส่งสาร กล่าวอะไรคือสารในช่องทางใด คือ สื่อ
หรือช่องทางการติดต่อ, แก่ใคร คือผู้รับสาร และด้วยผลอะไร คือ ผลที่เกิดขึนจากการสื่อสาร ในกระบวนการ
สื่อสารดังกล่าว จะเกิดประสิทธิภาพประสิทธิผล ก็ต่อเมื่อองค์ประกอบทุกองค์ประกอบมีประสิทธิภาพสูงสุด
หรือมีคุณลักษณะดังต่อไปนี (คณะกรรมการวิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ศูนย์วิชาบูรณาการ หมวดวิชาการ
ศึกษาทั่วไป, 2556 : 10-22)
1. ผู้ ส่ งสาร (sender) หมายถึ ง บุ ค คลหรื อ กลุ่ ม บุค คลที่ มีจุ ด ประสงค์เ พื่ อถ่ า ยทอดข้ อมู ล ข่ า วสาร
ความรู้สึกนึกคิดความเชื่อ ประสบการณ์ ฯลฯ ไปยังผู้รับสารเพื่อก่อให้เกิดผลอย่างใดอย่างหนึ่งต่อผู้รับสาร ผู้ส่ง
สารที่สามารถทาให้การสื่อสารสัมฤทธิผลควรมีความน่าเชื่อถือ (แมครอสกี Me Craskey J.C., 1987 : 28 อ้างถึงใน)
5 ประการดังนี
1.1 มีความรู้ความเข้าใจอย่างถูกต้องในสารและความสามารถในการสื่อสาร (Competence)
1.2 ลักษณะหรือรูปลักษณ์ (Character or appearance) มีบุคลิกภาพที่ดีทังภายนอกและ
ภายใน มีความเฉลียวฉลาดไหวพริบที่ดีในการตัดสินใจทาสิ่งต่างๆ อย่างถูกต้องเหมาะสม
1.3 ความสุขุมและความคล่องแคล่วในการสื่อสาร (Composure) หมายถึง ความสามารถในการ
ควบคุมอารมณ์ไม่ให้มีความประหม่า ตื่นเต้นหรือหวาดกลัว
1.4 การเป็ น ที่ย อมรั บ ของสั งคม (socialbility) หมายถึง การที่ผู้ ส่ งสารเป็ นที่นิ ยม ชื่นชอบ มี
ชื่อเสียง หรือเป็นที่ยอมรับของสังคมโดยทั่วไป ย่อมทาให้ผู้รับสารสนใจและรู้สึกดีต่อผู้ส่งสาร
1.5 การเป็นคนเปิดเผย (extroversion) หมายถึง การที่ผู้ส่งสารให้ข้อมูลที่เพียงพอ ไม่ปิดบังข้อมูล
แก่ผู้ส่งสาร รวมทังผู้ส่งสารและผู้รับสารมีความเหมือนกันด้านคุณลักษณะทางกายภาพ ได้แก่ เพศ อายุ ระดับ
การศึกษา ความเชื่อ ค่านิยม และมาจากภูมิลาเนาเดียวกันก็จะทาให้เกิดความรู้สึกสนิทสนมไว้วางใจมากขึน
1.6 คณะกรรมการวิชาภาษาไทยเพื่อการสื่ อสาร (2556 : 11) ได้เพิ่มเติมว่าผู้ ส่งสารที่ดีควรมี
ความรู้เกี่ยวกับจิตวิทยา และต้องตระหนักด้วยว่ามนุษย์มีความแตกต่างกันทังในด้านสติปัญญา ความคิด ความ
สนใจ แนวคิด ระดับการศึกษา อาชีพ ฯลฯ ต้องปรับวิธีการส่งสารและการยกตัวอย่างที่สอดคล้องกับผู้รับสาร
โดยรวมด้วย
2. ผู้รับสาร (receiver) ผู้รับสารมีบทบาทในการกาหนดรู้ความหมายของเรื่องราวที่ผู้ส่ง สารผ่านสื่อ
อย่างใดอย่างหนึ่งมาถึงตน และมีปฏิกิริยาสนองตอบต่อผู้ส่งสาร ผู้รับสารควรมีคุณสมบัติดังนี พยายามรับรู้
เรื่องราวข่าวสารต่าง ๆ อยู่เป็นนิจจากการฟังและการอ่านด้วยความตังใจ สนใจ และจับใจความได้อ ย่างถูกต้อง
ครบถ้วน นาไปใช้ประโยชน์ได้
3. สาร (message) สารจะประกอบด้วยส่วนสาคัญ 2 ส่วน คือ เนือหา และภาษาที่ใช้ ในการสื่อสาร
เนือหาของสารมี 2 ประเภท คือ ข้อเท็จจริง และข้อคิดเห็น มีลักษณะดังนี
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 10

1) ข้อเท็จจริง คือ สารที่รายงานให้ทราบถึงความเป็นจริงต่างๆ ของสิ่งที่มีอยู่ในโลก เกี่ยวข้อง


กับบุคคล สัตว์ วัตถุ สิ่งของ เหตุการณ์ สถานที่ ทรัพยากรธรรมชาติ ฯลฯ
2) ข้อคิดเห็น เป็นสิ่งที่เกิดขึนในจิตใจของผู้ส่งสาร อาทิ ความคิดแนวคิด ความรู้สึก ความเชื่อที่
ผู้ส่งสารมีต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น ข้อคิดเห็นเชิงประเมินค่า เชิงตังข้อสังเกต เชิงโน้มน้าว เชิงตัดสินใจ เชิงแสดง
อารมณ์
นอกจากนีเรายังสามารถแบ่งสารตามวัตถุประสงค์ของการสื่อสารได้ 3 ประเภท ได้แก่ สารประเภทให้
ความรู้ สารประเภทโน้มน้าวใจ และสารประเภทจรรโลงใจ
ผู้ส่งสารควรผลิตสารที่มีความถูกต้องชัดเจน เข้าใจง่าย มีตัวอย่างประกอบ และมีการใช้ภาษาถ่ายทอด
ได้อย่างเหมาะสมกับบุคคล โอกาส สถานที่ด้วย
4. สื่อ (medium) หรือ ช่องทางติดต่อ (channels) สื่อทาหน้าที่เป็นตัวกลางที่เชื่อมโยงรับผู้ส่งสารกับ
ผู้รับสารให้ติดต่อกันได้ สารที่ถ่ายทอดไปยังผู้รับโดยสื่อจะเข้าไปสู่ระบบรับรู้ของผู้รับสาร หรือเป็นทางติดต่อที่ทา
ให้สารเคลื่อนผ่านประสาทสัมผัสทางใดทางหนึ่ง ได้แก่ ประสาทหู ตา จมูก ลิน กาย สื่อที่มนุษย์ใช้ในการ
สื่อสาร มีหลายประเภทได้แก่
1) สื่อธรรมชาติ ได้แก่ บรรยากาศที่อยู่รอบตัวมนุษย์ เกิดขึนเองหรือมีอยู่โดยธรรมชาติ
2) สื่อมนุษย์ เช่น คนนาสาร นักเล่านิทาน โฆษก ผู้ดาเนินรายการ ฯลฯ
3) สื่อสิ่งพิมพ์ เช่น หนังสือ วารสาร นิตยสาร หนังสือพิมพ์ จดหมาย แผ่นปลิว แผ่นพับ ข่าวแจก ฯลฯ
4) สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น วิทยุ โทรทัศน์ โทรศัพท์ เครื่องบันทึกเสียง วีดิทัศน์ มัลติมีเดีย ฯลฯ
5) สื่อระคน ได้แก่ ป้ายโฆษณาตามสถานที่ต่างๆ ศิลาจารึกสื่อพืนบ้าน ฯลฯ
5. ผลที่เกิดขึนจากการสื่อสารหรือปฏิกิริยาตอบสนอง (Effect หรือFeedback) คือ การตอบสนองจาก
ผู้รับสารในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง เช่ น การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมตามที่ผู้ส่งสารต้องการหรือการยอมกระทา
ตามข้อเสนอแนะ เกิดความพอใจและเห็นประโยชน์แล้วนาไปปฏิบัติตามวัตถุประสงค์ที่ตังไว้ ซึ่งจะเป็นสิ่งที่
ประเมินว่าการสื่อสารสัมฤทธิผลหรือไม่ เพื่อเป็นข้อมูลการวิเคราะห์ปัญหา อุปสรรค ที่ทาให้การสื่ อสารไม่
สัมฤทธิผล เพื่อปรับปรุงแก้ไขพัฒนาให้ดีขึน

วัตถุประสงค์ของการสื่อสาร
1. วัตถุประสงค์ของการส่งสาร ได้แก่ เพื่อแจ้งให้ทราบบอกให้รู้ สอนหรือให้ความรู้ชักจูงหรือโน้มน้าวใจ
สร้างความพอใจหรือให้ความบันเทิง สอบถาม ขอร้องขอความช่วยเหลื อรักษาสั มพันธไมตรีทางสั งคมหรือ
มารยาททางสังคมอันดีงาม
2. วัตถุประสงค์ของการรับสาร ได้แก่ เพื่อรับทราบศึกษาเรียนรู้หรือทาความเข้าใจ การตอบคาถาม
การกระทาหรือตัดสินใจ เพื่อความพอใจหรือความรื่นเริง
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 11

การใช้ภาษาเพื่อสัมฤทธิผลทางการสื่อสาร
การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพนัน จาเป็นต้องอาศัยหลักการสื่อสาร การเลือกใช้ภาษาและรูปแบบของการ
สื่อสารได้อย่างถูกต้อง สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตังไว้ หลักการดังกล่าวเรียกว่า “หลัก 7 ประการเพื่อการ
สื่อสารที่สัมฤทธิผล” (สิริชัย วงษ์สาธิตศาสตร์และคณะ, 2552 : 109-114) ประกอบด้วยข้อควรปฏิ บัติเบืองต้น
ที่ผู้สื่อสารควรยึดถือเป็นหลักประจาใจในการสื่อสาร ซึ่งสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการสื่อสารทุกรูปแบบ ไม่ว่า
จะเป็นการสื่อสารแบบเผชิญหน้า หรือการสื่อสารผ่านสื่อต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นการสื่อสารที่เป็นทางการหรือไม่เป็น
ทางการ ไม่ว่าจะเป็นการสื่อสารด้วยภาษาพูดหรือภาษาเขียน หรือไม่ว่าจะเป็นการสื่อสารในวงวิชาชีพใด ๆ ก็ตาม
ล้วนแล้วแต่จาเป็นต้องอาศัยแนวทางพืนฐานของการสื่อสารที่สัมฤทธิผลดังกล่าวทังสิน
หลัก 7 ประการในการใช้ภาษาเพื่อสัมฤทธิผลทางการสื่อสารในประเด็นต่าง ๆ มีดังนี
1. ความสมบูรณ์ครบถ้วน ข่าวสารจะมีความสมบูรณ์ต่อเมื่อได้ครอบคลุมถึงเนือหาและข้อเท็จจริง
อย่างครบถ้วน เพียงพอที่จะทาให้ผู้รับรับสารตอบสนองต่อข่าวสารที่ถูกส่งไป การคานึงถึงความสมบูรณ์ครบถ้วน
ของข่าวสาร ย่อมก่อให้เกิดประโยชน์ในการสื่อสาร เช่น ทาให้ได้รับผลตอบสนองตามที่ต้องการ ทาให้เกิด
ความรู้ สึ กที่ดีขึ นภายหลั งสิ นสุ ดการสื่ อสาร เป็นต้น แนวทางส าคัญในการสร้ างความสมบู รณ์ครบถ้ว นนั น
ประกอบด้วยเทคนิคต่าง ๆ ได้แก่ ด้วยการให้ข้อมูลที่จาเป็นอย่างครบถ้วน ตอบทุก ๆ คาถาม ให้ข้อมูลพิเศษ
เมื่อเป็นที่ต้องการ
2. ความกะทัดรัด หมายถึง การสื่อสารโดยสื่อเฉพาะเนือหาสารในส่วนที่จาเป็นรวมถึงการใช้ถ้อยคา
ทังภาษาพูดหรือภาษาเขียนอย่างมีประสิทธิภาพ กล่าวคือ ใช้ในปริมาณที่น้อยที่สุด ตราบเท่าที่ข่าวสารยังคง
ความสมบูรณ์ของคุณภาพในการสื่อสาร และเนือหาใจความครบถ้วน ความกะทัดรัดในการใช้ถ้อยคา ทาให้การ
สื่อสารนันประหยัดทังเวลาและค่าใช้จ่ าย โดยอาศัยเทคนิค 3 ประการ คือ ขจัดคาที่ไม่จาเป็น เนือหาต้อง
ครอบคลุมเฉพาะเรื่องที่เกี่ยวข้อง และหลีกเลี่ยงการยาข้อมูลที่ไม่จาเป็น เพราะจะทาให้เนือหาเยิ่นเย้อ ขาดความ
กะทัดรัด
3. การพิจารณาไตร่ตรอง เป็นการพิจารณาถึงความรู้สึกของคู่สื่อสารในฐานะผู้รับสาร ว่าเนือหาที่
ส่งไปนันจะเกิดผลกระทบอย่างไรกับผู้รับ กล่าวคือ เป็นการใช้เทคนิคของ “การเอาใจเขามาใส่ใจเรา” โดยให้
ลองว่า ผู้รับสารนัน เมื่อได้รับข่าวสารแล้วมีปฏิกิริยาตอบสนองอย่างไร เช่น มีอารมณ์หรือไม่ เข้าใจอย่างเเจ่ม
แจ้งหรือไม่ ภาษาที่ใช้เป็นที่เข้ าใจหรือไม่ ซึ่งจะช่วยให้ผู้ส่งสารสามารถแก้ไขปรับปรุงการสื่อสารของตนได้โดย
อาศัยเทคนิค 3 ประการ คือ เน้น “คุณ” มากกว่า “ฉัน” หรือ “เรา” คือ การทาให้เนือหารข่าวสาร เน้นหรือ
มุ่งความสนใจไปที่ตัวผู้รับโดยตรง อาจแสดงให้เห็นถึงผลประโยชน์ที่ผู้รับสารจะได้รับ และเน้นในเชิงบวกเสมอ
(เน้นสารที่สร้างความพึงพอใจและความรู้สึกที่ดี หลีกเลี่ยงถ้อยคาในเชิงลบต่าง ๆ)
4. ความเป็นรูปธรรม การสื่อสารควรจะมีความชัดเจน เฉพาะเจาะจง ไม่มีลักษณะทั่วไปแบบกว้าง ๆ
หรือมีลักษณะคลุมเครือ ไม่แน่นอน เนือหาต้องไม่สามารถตีความไปในทิศทางอื่น เทคนิคที่ช่วยให้การสื่อสาร
นันมีความชัดเจนเป็นรูปธรรม 3 วิธี ได้แก่ พยายามใช้ตัวเลข และข้อเท็จจริงที่จาเพาะเจาะจง (เช่น นักศึกษา
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 12

คนนีเคยได้เกรดเฉลี่ยถึง 4.00 ในระดับปริญญาตรี) พยายามสื่ อสารด้วยข้อความที่มีประธานเป็นผู้แสดงกิริยา


(เช่น อาจารย์ตรวจรายงานของนักศึกษา) และพยายามเลือกใช้คาที่มีความหมายชัดเจน เห็นจริง อาจใช้ถ้อยคา
เปรียบเทียบเพื่อให้เห็นภาพพจน์ (เช่น เขาใจกล้าประดุจแม่นาเจ้าพระยา)
5. ความชัดแจ้ง การสื่อสารที่มักพบเห็นในชีวิตประจาวัน มีวัตถุประสงค์หลักประการหนึ่ง คือ สร้าง
ความเข้าใจในข่าวสาร ความหมายของข้อมูลจากผู้ส่ง ที่ส่งไปให้ผู้รับ จะต้องเป็นที่เข้าใจอย่างถูกต้อง ความไม่
รอบคอบ หรือระวังจะทาให้การสื่อสารล้มเหลวได้ อาจใช้เทคนิค 2 ประการดังต่อไปนี เพื่อช่วยให้เกิดความชัด
แจ้งขึนด้วยการ 1) เลือกใช้ถ้อยคาที่ถูกต้องชัดเจน เป็นรูปธรรม และมีความคุ้นเคย การใช้คาที่ง่าย สัน
เป็ น ที่ คุ้ น เคยจะท าให้ ผู้ รั บ ข่ า วสารสามารถรับ และเข้ า ใจอย่ า งรวดเร็ ว และ 2) สร้ า งประโยคข้ อ ความที่ มี
ประสิทธิภาพ โดยคานึงถึงความกะทัดรัด ไม่เยิ่นเย้อมีเนือหาที่แสดงความคิดหลักเด่นชัด ไม่ว่าประโยคจะมี
ความซับซ้อนอย่างไร ก็มีการเน้นยาส่วนที่สาคัญๆ รวมถึงการใช้อวัจนภาษาในการเน้น เช่น นาเสียง (ในกรณีที่
สื่อสารด้วยวาจา) หรือในกรณีสื่อสารด้วยลายลักษณ์อักษร ควรคานึงการจัดเรียงถ้อยคาที่ถูกต้องชัดเจน
6. ความสุภาพอ่อนน้อม หลักการนี มิได้หมายเพียงการพิจารณาความเหมาะสมและความสุภาพต่อ
ผู้รับข่าวสารด้วยการใช้ถ้อยคาทั่วไป เช่น “ขอบคุณ” หรือ “กรุณา” เท่านัน แต่หมายความรวมถึงทัศนคติใน
ทางบวก วิธีการปฏิบัติอย่างมีมารยาททางสังคมและการให้ความเคารพ ตลอดจนการคานึงถึงบุคคลอื่นด้วย อาจ
อาศัยเทคนิคโดยการใช้ความแนบเนียน ไตร่ตรอง และคาชื่นชม (บางกรณีอาจใช้ภาษาท่าทาง ซึ่งต้องพิจารณา
ถึงวัฒนธรรมประเพณีของคู่สื่อสารด้วย และควรเลือกใช้ถ้อยคาที่แสดงถึงความเคารพแสดงถึงการให้เกียรติและ
เคารพต่อผู้อื่นเสมอ หลีกเลี่ยงถ้อยคาที่ก้าวร้าว เช่น ขอให้คุณตอบความเป็นจริงเท่านัน คุณทางานแย่มาก ฯลฯ
7. ความถูกต้อง สิ่งสาคัญของความถูกต้อง คือ การใช้ไวยากรณ์ หลักภาษาที่มีคาสะกด หรือสานวน
ที่ถูกต้องเหมาะสม อย่างไรก็ดี บางครังข้อความที่ถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ก็มิได้หมายถึง ว่า การสื่อสารจะมี
ประสิทธิภาพ ข้อความที่ใช้นันต้องเป็นเชิงธุรกิจที่คานึงถึงหลักที่ควรคานึง คือ ใช้ระดับภาษาที่ถูกต้อง เหมาะสม
กับสถานการณ์ และต้องตรวจสอบความถูกต้องของตัวเลขและข้อเท็จจริง หลีกเลี่ยงการคาดเดา หากขาดความ
รอบคอบในการตรวจสอบความถูกต้อง จะทาให้ผู้รับข่าวสารไม่เชื่อถือตัวผู้ส่งข่าวหรือข่าวสารอื่น ๆ อีกด้วย

อุปสรรคของการสื่อสารและวิธีแก้ไข
การสื่อสารในแต่ละครัง ใช่ว่าจะประสบความสาเร็จเสมอไป บางครังอาจไม่บรรลุความประสงค์ก็ได้
เราทุกคนย่อมต้องการสื่อสารเพื่อให้เกิดการเข้าใจกันอย่างแท้จริ งเราจาต้องพยายามลดอุปสรรคให้น้อยลงที่สุด
เท่าที่จะเป็นไปได้ วิธีหนึ่งที่จะลดอุปสรรคของการสื่อสารให้น้อยลงก็คือ จะต้องพิจารณาดูที่องค์ประกอบแต่ละ
ส่วนของกระบวนการสื่อสารดังที่กล่าวมาแล้ว รวมทังเงื่อนไขอื่น ๆ ด้วยว่าในแต่ละส่วนนัน อาจเกิดอุปสรรคขึน
ได้อย่างไรบ้าง ซึ่งสามารถสรุปได้ดังนี
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 13

องค์ประกอบ ลักษณะที่เป็นอุปสรรค
ผู้ส่งสาร 1. เกิดความไม่พร้อมทังร่างกายและจิตใจ
2. ขาดความรู้ ความเข้าใจในเนือหาที่ถูกต้อง
3. ขาดความสนใจและความรู้สึกที่ดีต่อประเด็นที่จะสื่อสารและตัวผู้รับสาร
4. ขาดความสันทัดในการใช้ภาษา
5. ขาดประสบการณ์ทาให้ไม่มีความเชื่อมั่นในตนเอง
6. ไม่มีการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูล
ตัวสาร 1. มีการสะกดคาไม่ถูกต้องตามหลักการเขียนการอ่าน
2. เนือหาของสารยากเกินไป มีความซับซ้อนลึกซึงเกินสติปัญญาของผู้รับสาร
3. เนือหาวกวน ไม่เป็นลาดับขันตอน
4. การใช้คามีความหมายไม่ถูกต้องตามที่ต้องการสื่อสาร
ภาษา 1. ใช้ภาษาไม่ถูกต้อง
2. ใช้ภาษาไม่เหมาะสมกับประเภทของสารและวัตถุประสงค์
3. ใช้สานวนภาษาที่ไม่ตรงตามเนือหา เรียงลาดับคาสับสน
4. การใช้ภาษาพูดปะปนกับภาษาเขียน
5. ใช้ภาษาผิดหลักไวยากรณ์ภาษาไทย
6. ใช้ภาษาไม่เหมาะสมกับวัฒนธรรมไทย
ผู้รับสาร 1. ไม่มีความพร้อมในการรับสาร
2. ไม่สามารถรับรู้และจับใจความได้
3. ไม่สามารถแปลความ ตีความ วิเคราะห์ความได้
4. ไม่มีผลการรับสารที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
5. มีอคติและทัศนคติที่ไม่พึงประสงค์ต่อผู้ส่งสาร
6. การจดจาไม่คงทน
สื่อ 1. อยู่ในสภาพที่ไม่เหมาะสม
2. สื่อไม่ครบถ้วยตามความต้องการของผู้ส่งสาร ไม่ชัดเจนและไม่สอดคล้องกับเนือหา
3. สื่อไม่มีประสิทธิภาพและล้าสมัย
กาลเทศะและ 1. อยู่ในกาลเทศะที่ไม่เหมาะสม เช่น ชักชวนเพื่อให้เล่นกับเราในขณะที่เขากาลังดูหนัง สือ
สภาพแวดล้อม เตรียมสอบ
2. อยู่ในสภาพที่ไม่เหมาะสม เช่น สนทนากันในบริเวณที่มีเสียงดังมาก ๆ ทาให้สื่อสารกันไม่รู้เรื่อง
3. รายงานหน้าชันเรียนด้วยการแต่งกายที่ไม่เหมาะสมและพูดเสียงดังไม่ทั่วถึงทังห้อง เพราะ
ไม่มีไมโครโฟน
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 14

วิธีแก้ไขอุปสรรค
การเข้าใจถึงอุปสรรคของการสื่ อสาร จะช่วยให้แลเห็นวิถีทางแก้ไขอุปสรรคได้เป็นอย่างดี แนวทางใน
การแก้ไขอุปสรรคของการสื่อสารอย่างกว้างๆ ซึ่งเกิดจากองค์ประกอบของการสื่อสารมีดังนี
1. ผู้รับสาร – ผู้ส่งสาร เมื่อการสื่อสารเกิดอุปสรรค ผู้รับสารและผู้ส่งสาร ควรสงบจิตใจ ทาใจเป็น
กลาง พิจารณาสาเหตุที่แท้โดยไม่ด่วนสรุปเข้าข้างตนเอง ในกรณีการสื่อสารทางเดียว การอ่าน หรือดู ผู้รับสาร
ควรพิจารณาตนเอง เมื่อเห็นว่าตนเป็นต้นเหตุแห่งอุปสรรค ก็ควรพิจารณาปรับปรุงแก้ไข
2. ตัวสาร ควรเลือกวิธีนาเสนอสารที่ไม่ทาให้เกิดอุปสรรคหรือเกิดน้อยที่สุดสารบางอย่างเหมาะสมแก่
การเสนอด้วยวาจา บางอย่างเหมาะแก่การเสนอเป็นลายลักษณ์หรือทังสองวิธี
3. ภาษาที่ใช้ในการสื่อสาร ควรพิถีพิถันเลือกใช้ถ้อยคาและประโยคที่สื่อความหมายชัดเจน การใช้
ภาษาเขียน ควรระมัดระวังมากกว่าภาษาพูด
4. สื่อ แม้สื่อบางอย่างที่เป็นอุปสรรคต่อการสื่อสาร ไม่อยู่ในวิสัยที่จะหลีกเลี่ยงได้ เช่น โทรศัพท์
เครื่องรับวิทยุหรือโทรทัศน์ แต่ก็มีสื่อหลายชนิดที่อาจพิจารณาแก้ไขได้เอง เช่น การเลือกสถานที่ประชุม การ
เลือกใช้แผ่นใส หรือเอกสารประกอบตามความเหมาะสม
5. กาลเทศะและสภาพแวดล้อม ในการสื่อสารควรคานึงถึงการใช้เวลามากน้อยหรือ โอกาสควรไม่ควร
ตลอดจนความเหมาะสมของสถานที่ และสถานการณ์ เรื่องบางเรื่องควรใช้เวลาน้อย บางเรื่องควรใช้เวลามาก
ในโอกาสหรือสถานที่หนึ่ง ๆ ควรพูดและไม่ควรพูดบางเรื่อง
นอกจากวิธีแก้ไขอุปสรรคดังกล่าวแล้ว การแก้ไขอุปสรรที่ควรแก้ด้วยการพูดควรมีลักษณะดังต่อไปนี
1. การพูดด้วยความจริงใจและเชื่อมั่นทัง 2 ฝ่าย เพราะการจริงใจจะช่วยให้ แก้ปัญหาต่าง ๆ ได้เป็น
อย่างดี สามารถสร้างความร่วมมือได้อย่างรวดเร็ว
2. การพูดในลักษณะธุรกิจ คือ พูดให้ผู้ฟังได้ทราบว่า ตนจะได้ประโยชน์จากการให้ความร่วมมือนัน ๆ
บ้าง และจะเสียประโยชน์อะไรบ้าง หากไม่ให้ความร่วมมือ
3. การพูดให้เห็นภาพที่ชัดเจนว่ามีความประสงค์อย่างไร มีความต้องการให้ปฏิบัติตนไปในทางไหน
จะต้องมีการติดตามผลอย่างไร หากพูดให้ได้เป็นข้อ ๆ ได้ ก็จะเป็นการดี
4. การพูดติดต่อสื่อสารระหว่างหน่วยงาน ควรให้ดาเนินไปด้วยความรวดเร็วทันต่อเหตุการณ์

กล่าวโดยสรุป แม้ว่าการติดต่อสื่อสารจะมีอุปสรรคมากมาย ทังที่เกิดจากด้านตัวบุคคล คือผู้ส่งสารและ


ผู้รับสาร หากคู่สื่อสารมีความพร้อมในการรับสาร มีการวิเคราะห์ผู้ฟังผู้อ่านว่าเป็นใคร เพศใด วันใด มีความรู้
ระดับใด เพื่อจะเลือกสารได้เหมาะสมกับผู้รับตลอดจนถ้าผู้ส่งสารรู้จักเลือกใช้ถ้อยคาตรงความหมาย เรียงลาดับ
คาไม่สับสน ผู้รับก็จะเข้าใจชัดเจน และสภาพแวดลอมที่เหมาะสมมีส่วนช่วยให้การสื่อสารเป็นไปอย่างราบรื่นมี
ประสิทธิภาพและสาเร็จด้วยดี
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 15

บทที่ 2
การใช้ภาษาไทยเพื่อสือ่ ความหมายอย่างถูกต้องและเหมาะสม

ภาษาไทยมีความสาคัญยิ่งต่อคนไทยเนื่องจากเป็นภาษาประจาชาติและเป็นภาษาที่ใช้สื่อสารกันในสังคม
โดยภาษาเป็นเครื่องมือในการสื่อความหมายที่ใช้ถ่ายทอดความคิด ความรู้สึก ความต้องการของตนให้ผู้อื่นทราบ
การใช้ภาษาไทยเพื่อสื่อความหมายอย่างถูกต้องและเหมาะสมจึงมีความสาคัญอย่างยิ่งต่อผู้ใช้ภาษาไทย เนื่องจาก
ทาให้การสื่อสารบรรลุเป้าหมาย มีความเข้าใจตรงกันทังผู้ส่งสารและผู้รับสาร นอกจากนีผู้ที่ใช้ภาษาไทยได้อย่าง
ถูกต้องและเหมาะสม จึงนับเป็นผู้ที่ดารงความมีมาตรฐานในการใช้ภาษาไทย

การใช้คา
การพูดและการเขียนภาษาไทย ถือว่าการใช้คามีความสาคัญมาก เนื่องจากผู้ใช้ภาษาไทยต้องนาคาไปใช้
ในการสื่อสารจึงควรเข้าใจถึงความรู้เกี่ยวกับคาและหลักการใช้คาให้ถูกต้อง ดังนี
1. ลักษณะของคา
คาถือเป็นหน่วยทางภาษาที่เล็กที่สุดมีความหมาย พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554
(2556: 258 ) ได้ให้ความหมายของคาไว้ว่า “เสียงพูด , เสียงที่เปล่งออกมาครังหนึ่งๆ, เสียงพูดหรือลายลักษณ์
อักษรที่เขียนหรือพิมพ์ขึนเพื่อแสดงความคิด โดยปรกติถือว่าเป็นหน่วยเล็กที่สุดซึ่งมีความหมายในตัว”
ปราณี กุลละวณิชย์ (2537: 92) ได้กล่าวถึงลักษณะของคาว่า “ เมื่อเราพูดว่าภาษาประกอบขึนด้วย
เสียงและความหมาย หน่วยที่ผู้พูดภาษาโดยทั่วไปถือว่าเป็นหน่วยเล็กที่สุดที่ประกอบขึนด้วยเสียงและความหมาย
คือคา”
ลักษณะของคาสามารถสรุปได้ว่า คาคือเสียงพูดเข้าใจกันด้วยการเปล่งเสียงพูดจาเรียกว่าการสื่อสารด้วย
ภาษาพูดหรือการใช้อักษรเป็ น สัญลั กษณ์เรี ยกว่าการสื่อสารด้ว ยภาษาเขียนเป็นหน่ว ยเล็ กที่สุ ดในภาษาไทย
คาประกอบด้วยพยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์ คาไม่จากัดพยางค์ มีอย่างน้อยตังแต่หนึ่งพยางค์ขึนไปสาคัญอยู่ที่
คาแต่ละคาต้องมีความหมายและสื่อสารเข้าใจกันได้ชัดเจน คาทุกคาจึงมีความหมายทังสิน ซึ่งอาจจะมีความหมาย
ตรงและมีความหมายโดยนัยดังนี
1.1 คาที่มีความหมายตรง หมายถึง คาที่มีความหมายอันเป็นคุณสมบัติประจาของคา ไม่เกี่ยวข้อง
กับปัจจัยว่าผู้พูดเป็นใคร และ ผู้ฟังเป็นใคร คาประเภทนีบางคนเรียกว่า คาที่มี ความหมายประจารูป หรือ คาที่มี
ความหมายตรงตัว
1.2 คาที่มีความหมายโดยนั ย หมายถึง คาที่มีความหมายไม่ตรงตามความหมายโดยตรงหรื อ
ความหมายประจารูป แต่มีความหมายอีกอย่างหนึ่ง ซึ่งผู้ส่งสารมีเจตนาส่งไปยังผู้รับเพื่อตีความหมายเปรียบเทียบเอง
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 16

คาที่มีความหมายตรงกับความหมายโดยนัยสามารถแสดงตัวอย่างได้ดังนี
คา ความหมายตรง ความหมายโดยนัย
กล้วย ผลไม้ชนิดหนึ่ง ผลสุก เนือนุ่ม รับประทานได้ ง่ายมาก
หิน ของแข็งที่ประกอบด้วยแร่รวมตัวกันอยู่ตามธรรมชาติ ยากมาก
เก้าอี ที่สาหรับนั่ง มีขา ยกย้ายไปมาได้มีหลายชนิด ตาแหน่ง
เทพ เทวดา เก่งมาก

2. ประเภทของคา
การจาแนกประเภทของคาพระยาอุปกิตศิลปสาร ได้แบ่งคาออกเป็น 7 ประเภท ได้แก่ คานาม คาสรรพนาม
คากริยา คาวิเศษณ์ คาบุพบท คาสันธาน และคาอุทาน ดังนี
2.1 คานาม หมายถึง คาบอกชื่อ คน สัตว์ สิ่งของ เป็นคาที่ใช้เรียกคาพวกหนึ่ง ที่บอกชื่อของ
สิ่งที่มีรูป เช่น คน สัตว์ บ้านเมือง เป็นต้น หรือของสิ่งที่ไม่มีรูป เช่น เวลา อายุ อานาจ เป็นต้น และได้
แบ่งคานามออกเป็น 5 ชนิด ได้แก่
(1) สามานยนาม หมายถึง คานามทั่วไป เช่น คน บ้าน เมือง ใจ ลม เวลา เป็นต้น
(2) วิสามานยนาม หมายถึง คานามที่เป็นชื่อเฉพาะ เช่น ประเทศไทย อุดรธานี เป็นต้น
(3) สมุหนาม หมายถึง คานามที่เป็นชื่อคน สัตว์ และสิ่งของที่มีจานวนมากรวมอยู่ด้วยกัน
เช่น ฝูงปลา คณะกรรมการ สมาคนสตรีไทย ชมรมรักการอ่าน เป็นต้น
(4) ลักษณนาม หมายถึง คานามที่บอกลักษณะของบุคคล สัตว์ สิ่งของ เช่น คน ตัว รูป
ใบ เล่ม เลา เครื่อง คานามบอกลักษณะนีมีชนิดที่ซารูปคานามเรียกว่า ลักษณนามซาชื่อด้วย เช่น ประเทศ
สองประเทศ เมืองสองเมือง คนสามคน เป็นต้น
(5) อาการนาม หมายถึง คานามที่เกิดจากการเติมคา การ ความ หน้าคากริยา การ จะ
นาหน้าคากริยาที่เป็นรูปธรรม เช่น การกิน การเดิน การออกกาลังกาย ส่วน ความ จะใช้นาหน้าคากริยาที่
เป็นนามธรรม เช่น ความดี ความงาม ความสุข ความรู้
2.2 คาสรรพนาม หมายถึง คาใช้แทนนาม แทนชื่อคน สัตว์ สิ่งของเช่น ผม ฉัน เธอ มัน เป็นต้น
คาสรรพนามแบ่งออกเป็น 6 ชนิด ดังนี
(1) บุ ร ษสรรพนาม คือ คา สรรพนามที่ใช้แ ทนผู้ พูด แบ่ งเป็นชนิด ย่อยได้ 3 ชนิด คื อ
สรรพนามบุรุษที่ 1 ใช้แทนตัวผู้พูด เช่น ผม ฉัน ดิฉัน กระผม ข้าพเจ้า กู เรา ข้าพระพุทธเจ้า อาตมา หม่อมฉัน
เกล้ากระหม่อม สรรพนามบุรุษที่ 2 ใช้แทนผู้ฟัง หรือผู้ที่เราพูดด้วย เช่น คุณ เธอ ใต้เท้า ท่าน ใต้ฝ่าละอองธุลี
พระบาท ฝ่าพระบาท พระคุณเจ้า สรรพนามบุรุษที่ 3 ใช้แทนผู้ที่กล่าวถึง เขา มัน ท่าน พระองค์
(2) ประพันธสรรพนาม คือ คาสรรพนามที่ใช้แทนคานามและใช้เชื่อมประโยคทาหน้าที่เชื่อม
ประโยคให้มีความสัมพันธ์กัน ได้แก่คาว่า ที่ ซึ่ง อัน ผู้
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 17

(3) นิยมสรรพนาม คือ สรรพนามที่ใช้แทนนามชีเฉพาะเจาะจงหรือบอกกาหนดความให้ผู้


พูดกับผู้ฟังเข้าใจกัน ได้แก่คาว่า นี่ นั่น โน่น
(4) อนิยมสรรนาม คือ สรรพนามใช้แทนนามบอกความไม่ชีเฉพาะเจาะจงที่แน่นอนลงไป
ได้แก่คาว่า อะไร ใคร ไหน ได บางครังก็เป็นคาซา ๆ เช่น ใคร ๆ อะไร ๆ ไหน ๆ
(5) วิภ าคสรรพนาม คือ สรรพนามที่ใช้ แทนคานาม ซึ่ งแสดงให้ เห็ นว่ านามนั นจาแนก
ออกเป็นหลายส่วน ได้แก่คาว่า ต่าง บ้าง กัน เช่น
(6) ปฤจฉาสรรพนาม คือ สรรพนามที่ใช้แทนนามที่เป็นคาถาม ได้แก่คาว่า อะไร ใคร ไหน
ผู้ใด สิ่งใด ผู้ใด ฯลฯ
2.3 คากริยา หมายถึง คาแสดงอาการของคานาม หรือคาสรรพนาม คากริยาแบ่งออกเป็น 4 ชนิด
ได้แก่
(1) อกรรมกริยา เป็นคากริยาที่มีใจความครบบริบูรณ์ไม่ต้องมีคาที่เป็นกรรมตามหลัง เช่น
นอน บิน เป็นต้น
(2) สกรรมกริยา เป็นคากริยาที่แสดงเนือความไม่บริบูรณ์ในตัว ต้องมีคาที่เป็นกรรมตามหลัง
เพื่อให้ได้เนือความครบสมบูรณ์เช่น กิน ดื่ม ขับ ชอบ เป็นต้น
(3) วิกตรรถกริยา เป็นคากริยาที่ไม่มีเนือความในตัวต้องอาศัยเนือความของคาอื่นที่อยู่ข้าง
ท้ายเข้าช่วย จึงจะได้ความครบ ได้แก่ เช่น เหมือน คล้าย เท่า เป็นต้น
(4) กริยานุเคราะห์ เป็นคากริยาที่ช่วยกริยาหลักให้ได้ความครบถ้วนในเรื่องของ กาล มาลา
วาจก อาจใช้ประกอบข้างหน้า หรือข้างหลังคากริยาหลัก เช่น กาลัง เคย แล้ว อาจ เป็นต้น
2.4 คาวิเศษณ์ เป็นคาที่ใช้ขยายคานาม คาสรรพนาม คากริยา หรือคาวิเศษณ์เช่น แดง เร็ว
หวาน สวย เป็นต้น
2.5 คาบุพบท คาเชื่อมที่ใช้วางหน้าคานาม เพื่อแสดงให้เห็นว่าคานามที่ตามมาสัมพันธ์กับคานาม
หรือคากริยาข้างหน้าในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง เช่น ของ ใน นอก บน ใต้ เป็นต้น
2.6 คาสันธาน เป็นคาที่ใช้สาหรับเชื่อมประโยค หรือเชื่อมข้อความ แบ่งเป็น 4 ชนิด ได้แก่
(1) เชื่อมความคล้อยตามกัน เช่น ครัน ก็ พอ… ก็ เป็นต้น
(2) เชื่อมความที่แย้งกันเช่น แต่ ทว่า แม้ว่า เป็นต้น
(3) เชื่อมความที่เป็นเหตุเป็นผลกันเช่น เพราะ เพราะ…จึง เนื่องจาก… จึง เป็นต้น
(4) เชื่อมความให้เลือกเอาอย่างใดอย่างหนึ่ง ได้แก่ หรือ เป็นต้น
2.7 คาอุทาน เป็นคาที่แสดงความรู้สึก ดีใจ ตื่นเต้น เสียใจ หรือเป็นคาที่เสริมคาพูด คาอุทาน
ในภาษาไทยแบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ
(1) คาอุทานบอกอาการ เช่น โอ้โฮ! อ้อ! โอ๊ย ! เป็นต้น
(2) คาอุทานเสริมบท เป็นคาอุทานที่ใช้เพิ่มเติมถ้อยคา หรือเสริมคาไม่ให้ฟังแล้วห้วน เช่น
ไม่องไม่เอาแล้ว กินข้าวกินปลา เป็นต้น
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 18

3. การใช้คาในภาษาไทยได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
การเลือกใช้คาให้ถูกต้องตามความหมายและถูกต้องตามบริบทในการพูดและการเขียน เพื่อจะให้การพูด
และการเขียนนันดาเนินไปสู่จุดมุ่งหมาย ถ้าหากไม่รู้จักเลือกใช้ถ้อยคาให้ถูกต้องตามความหมายและถูกต้องตาม
บริบท ขาดความรู้ ความรอบคอบในเรื่องเอกลักษณ์ของภาษาแล้วจะนาไปสู่ปัญ หาทังตัวผู้พูด ผู้เขียน และส่งผล
ไปยัง ผู้ฟังและผู้อ่านด้วย การใช้คาในภาษาไทยได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมจึงต้องเข้าใจหลักการใช้ดังต่อไปนี
3.1 ใช้คาให้ตรงความหมาย
คาบางคามีความหมายคล้ายคลึงหรือใกล้เคียงกันผู้ใช้ภาษาจาเป็นต้องเลือกใช้คาให้ตรงความหมาย
เฉพาะคานันๆจึงจะทาให้สามารถสื่อความหมายได้ถูกต้องชัดเจน เช่น คาว่า “มาก ” มีหลายคาที่มีความหมาย
ใกล้เคียงกัน เช่น ชุก ชุม ชุกชุม คลาคล่า สลอน และยัวเยีย เป็นต้น แต่ละคามีความหมายโดยตรงและใช้เฉพาะ
ความหมายคานันได้แก่
(1) ชุกใช้กับฝนและ ผลไม้ เช่น ปีนีฝนชุก หน้านีมะม่วงชุก เป็นต้น
(2) ชุม, ชุกชุม ใช้กับโจร ยุง และเสือ เช่น หมู่บ้านนีมีโจรชุกชุม พอใกล้ค่ายุงเริ่มชุม เป็นต้น
(3) คลาคล่าใช้กับปลาและฝูงชน เช่น ในนาคลาคล่าไปด้วยฝูงปลา มีผู้ชุมนุมคลาคล่าอยู่บน
ถนน เป็นต้น
(4) สลอนใช้กับหน้าตา และจานวนที่มา เช่น เด็ก ๆ ยืนรออยู่หน้าสลอน เป็นต้น
3.2 ใช้คาให้คงที่และมีระดับเดียวกัน
คาบางคาถึงแม้มีความหมายตรงกันแต่ระดับต่างกัน บางคาใช้คาบาลีสันสกฤตซึ่งถูกยกย่องให้เป็นคา
ระดับสูงเพราะเดิมใช้เกี่ยวกับศาสนา ดังนันถ้าจะใช้คาบาลี สันสกฤตก็ควรใช้ให้คงที่เพราะมีระดับเดียวกันหรือถ้า
ใช้คาไทยก็ควรใช้คาไทยด้วยกัน เช่น
(1) สตรีกล้าหาญไม่แพ้ผู้ชาย แก้เป็น สตรีกล้าหาญไม่แพ้บุรุษ หรือ ผู้หญิงกล้าหาญไม่แพ้
ผู้ชาย
(2) เกษตรกรนิยมเลียงสุกร ควาย เป็นอาชีพเสริม แก้เป็น เกษตรกรนิยมเลียงหมู ควาย
เป็นอาชีพเสริม หรือ เกษตรกรนิยมเลียงสุกร กระบือ เป็นอาชีพเสริม
(3) ครอบครัวนีมีบิดา มารดา ลูก แก้เป็น ครอบครัวนีมีบิดา มารดา บุตร หรือ ครอบครัวนี
มีพ่อ แม่ ลูก
3.3 ใช้คาลักษณนามให้ถูกต้อง
คาลักษณนามเป็นคานามที่บอกลักษณะและปรากฏหลังจานวนนับของบุคคล สัต ว์ สิ่งของ แสดง
รูปลักษณะนามนันให้ชัดเจนยิ่งขึน เช่น ดินสอ มีใช้ลักษณนามว่า ด้าม เลื่อย ใช้ลักษณนามว่า ปื้น เทวดาใช้
ลักษณนามว่า ตน ตารวจ ใช้ลักษณนามว่า นาย เป็นต้น
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 19

3.4 ใช้คาอาการนามให้ถูกต้อง
คาอาการนามเป็นคานามที่เกิดจากการเติมคา “การ” และ “ความ” หน้าคากริยา “การ” ใช้นาหน้า
คากริยาที่เป็นรูปธรรม ส่วน ความจะใช้นาหน้าคากริยาที่เป็นนามธรรม เมื่อนามาใช้ต้องใช้ให้ถูกต้อง เช่น การกิน
ไม่ใช่ ความกิน ความดี ไม่ใช่ การดี เป็นต้น
3.5 ใช้คาบุพบทให้ถูกต้อง
คาบุพบทเป็นคาเชื่อมที่ใช้วางหน้าคานาม เพื่อแสดงให้เห็นว่าคานามที่ตามมาสัมพันธ์กับคานามหรือ
คากริยาข้างหน้าในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง ได้แก่
(1) แสดงความเป็นเจ้าของ เช่น ของ แห่ง เป็นต้น ดังตัวอย่าง หนังสือเล่มนี ของฉัน การ
รถไฟแห่งประเทศไทย เป็นต้น
(2) แสดงที่อยู่ เช่น ใน นอก บน ใต้ ที่ เป็นต้น ดังตัวอย่าง ปากกาบนโต๊ะ อาจารย์กั๊กนั่งนอก
ห้อง แม่นั่งใต้ต้นไม้ เป็นต้น
(3) แสดงความเป็นผู้รับ เช่น กับ แก่ แด่ ต่อ
- กับ ใช้เมื่อสองฝ่ายกระทากริยาร่วมกัน เช่น อาจารย์วิไปกินข้าวกับอาจารย์นิว
- แก่ ใช้กับผู้รับโดยทั่วไป เช่น ครูมอบทุนแก่นักเรียน
- แด่ ใช้กับ ผู้ รั บ ที่มี ฐ านะสู งกว่ า หรือ เป็น ที่เคารพ เช่น ชาวบ้า นถวายภัตตาหารแด่
พระสงฆ์
- ต่อ ใช้เมื่อผู้ให้และผู้รับต้องติดต่อกันหรือเกี่ยวข้องกัน เช่น ชัยยื่นใบสมัครต่อเจ้าหน้าที่
(4) แสดงสิ่งที่ใช้ทากริยา เช่น ด้วย กับ ดังตัวอย่าง อาจารย์อ้อนตรวจงานด้วยปากกาแดง
เป็นต้น
3.6 ใช้คาให้เหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล
การเลือกใช้คาให้เหมาะสมกับกาลเทศะและเหมาะสมกับบุคคล ได้แก่ โอกาสที่เป็นทางการ โอกาสที่
เป็นกันเอง หรือโอกาสที่เป็นภาษาเขียน หากใช้ไม่ถูกต้องย่อมทาให้การสื่อความหมายไม่เหมาะสม เช่น ถ้าใน
โอกาสที่เป็นภาษาเขียน “ ข้าพเจ้าไม่ทราบว่าท่านจะคิด ยังไง” คาว่า “ยังไง” เป็นภาษาพูด ถ้าเป็นภาษาเขียน
ควรใช้ “อย่างไร ” หรือ ถ้าใช้กับผู้ชาย “เมื่อสามารถเห็นรูปก็โกรธกระฟัดกระเฟียดมาก” ควรใช้ “โกรธปึงปัง”
เพราะกระฟัดกระเฟียดใช้กับผู้หญิง
3.7 ใช้คาไทยหลีกเลี่ยงคาต่างประเทศ
เนื่องจากปัจจุบันภาษาไทยรับวัฒนธรรมและเทคโนโลยีมาจากต่างประเทศส่ งผลให้มีการรับเอา
ภาษาต่างประเทศมาใช้ในภาษาไทยเป็นจานวนมากโดยเฉพาะภาษาอังกฤษ ซึ่งในกรณีที่ใช้ภาษาอังกฤษเมื่อมีคา
แปลหรือได้บัญญัติศัพท์เป็นภาษาไทยแล้วก็ควรใช้ภาษาไทย เช่น
เท่าที่เธอคอมเมนต์ฟังแล้วซีเรียสขาดไอเดียและวิชั่นเมื่อพิจารณาแบ็คกราวด์เธอยังบกพร่องเรื่อง
ระบบซิเนียร์ริตี้ไม่รู้จักเสิร์ฟและเทคแคร์ผู้คนเธอควรรู้จักล็อบบีเ้ พื่อสร้างอิมเมจให้ดีขึน
ควรแก้เป็น
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 20

เท่าที่เธอตั้ งข้อสังเกตฟังแล้วเคร่งเครียดขาดความคิดและวิสัยทัศน์เมื่อพิจารณาภูมิหลังเธอยัง
บกพร่องเรื่องระบบอาวุโสไม่รู้จักบริการและเอาใจใส่ผู้คนเธอควรรู้จักสนับสนุนเพื่อสร้างภาพลักษณ์ให้ดีขึน
3.8 ใช้คาราชาศัพท์ให้ถูกต้อง
คาราชาศัพท์เป็นคาที่ใช้กับพระมหากษัตริย์และเชือพระวงศ์เ มื่อนามาใช้ในการสื่อความต้องใช้ให้
ถูกต้องและเหมาะสมกับศักดิ์ นิตยา กาญจนะวรรณ (2547: 109-115) ได้แนะนาวิธีการใช้ราชาศัพท์ ไว้ดังนี
(1) คากริยาที่เป็นคาราชาศัพท์อยู่แล้ว ไม่ต้องใช้คาว่า “ทรง” นาหน้า เช่น เสวย (กิน) โปรด
(พอใจ ชอบ) บรรทม (นอน) เสด็จ ไป) เป็นต้น
(2) คากริยาธรรมดาใช้“ทรง” นาหน้าได้ เช่น ฟัง ทรงวิ่ง ทรงชุบเลียง เป็นต้น
(3) คานามที่ใช้เป็นชื่อของสิ่งสามัญทั่วไปที่ไม่ถือว่าสาคัญและไม่ประสงค์จะแยกให้เห็นว่าเป็น
นามใช้เฉพาะกับพระมหากษัตริย์ ให้ใช้คาว่า “พระ” นาหน้า เช่น พระกร พระเก้าอี พระโรค ฯลฯ
(4) ใช้“ทรง” นาหน้านามราชาศัพท์ให้เป็นกริยาได้ เช่น ทรงพระกรุณา ทรงพระประชวร แต่
คาที่ตามหลังคาว่า “มี” กับ “เป็น” ถ้ามีคาว่า “พระ” แสดงราชาศัพท์อยู่แล้วก็ไม่ต้องใช้ “ทรง” อีก เช่นใช้ว่า
ทรงพระมหากรุณา หรือ มีพระมหากรุณา
คาราชาศัพท์ที่มักใช้ผิด
- ถวายการต้อนรับ ควรใช้ว่า เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท
- ถวายเลียง ควรใช้ว่า ถวายพระกระยาหาร
- แสดงหน้าพระพักตร์ ควรใช้ว่า แสดงหน้าที่นั่ง แสดงเฉพาะพระพักตร์
- กาหนดการ ควรใช้ว่า หมายกาหนดการ
- อาคันตุกะ ควรใช้ว่า พระราชอาคันตุกะ (กรณีที่ผู้มาเยือนเป็นพระมหากษัตริย์หรือ
พระบรมราชินี และกรณีที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเด็จพระ
ราชดาเนินไปเยื อนประเทศที่มีพระมหากษัตริย์ ห รือพระบรม
ราชินีเป็นประมุข)
ราชคันตุกะ ( กรณีที่ผู้มาเยือนเป็นสามัญชน)
อาคันตุกะ (กรณีที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เด็จพระราช
ดาเนินไปเยือนประเทศที่มี ประธานาธิบดีเป็นสามัญชน)

การใช้ประโยค
การใช้ประโยคในภาษาไทยมีความจาเป็นอย่างยิ่ง หากผู้ใช้ภาษาไทยใช้ประโยคไม่ถูกต้องย่อมส่งผลให้
การสื่อสารไม่บรรลุเป้าหมายตามที่ต้องการได้ การใช้ประโยคเพื่อสื่อความหมายอย่างถูกต้องและเหมาะสมจึงเป็น
สิ่งที่ผู้ใช้ภาษาไทยควรตระหนักไว้
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 21

1. ลักษณะของประโยค
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 (2556: 711) ได้ให้ความหมายของประโยคไว้ว่า “คาพูด
หรือข้อความที่ได้ความบริบูรณ์ตอนหนึ่ง ๆ”
ปราณี กุลละวณิชย์ (2537: 98) ได้กล่าวถึงลักษณะของประโยคว่า “ภาษาทุกภาษามีหลักเกณฑ์ควบคุม
การปรากฏของคาประเภทต่างๆอย่างชัดเจน ประโยคแต่ละประโยคมีคากริยาเป็นแกนกลาง คานามที่ปรากฏใน
ประโยคอาจทาหน้าที่ต่าง ๆ กัน เป็นประธานของประโยคก็ได้ หรือเป็นกรรมก็ได้”
ลักษณะของประโยคสามารถสรุปได้ว่า ประโยค หมายถึงคาหรือกลุ่มคาที่สามารถสื่อสารให้เข้าใจได้
ประโยคพืนฐานในภาษาไทยประกอบด้วย ประธาน และกริยาเรียงกันตามลาดับเช่น พ่อเดิน น้องทางาน เป็นต้น
และบางประโยคอาจมีส่วนกรรมของประโยคด้วยเช่น น้องกินข้าว พี่ขับรถยนต์ เป็นต้น นอกจากนีประโยคยั ง
ประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ มากขึนส่วนประกอบของประโยคหนึ่ง ๆ จะต้องมีภาคประธานและภาคแสดงเป็นหลัก
และอาจมีคาขยายส่วนต่าง ๆ ได้ ภาคประธาน คือ คาหรือกลุ่มคาที่ทาหน้าที่เป็นผู้กระทา ผู้แสดงซึ่งเป็นส่วน
สาคัญของประโยค ภาคประธานนี อาจมีบทขยายซึ่งเป็นคาหรือกลุ่มคามาประกอบ เพื่อทาให้มีใจความชัดเจน
ยิ่งขึน ส่วนภาคแสดงในประโยค คือ คาหรือกลุ่มคาที่ประกอบไปด้วยบทกริยา บทกรรมและส่วนเติมเต็ม บท
กรรมทาหน้าที่เป็นตัวกระทาหรือตัวแสดงของประธาน ส่วนบทกรรมทาหน้าที่เป็นผู้ถูกกระทา และส่วนเติมเต็มทา
หน้าที่เสริมใจความของประโยคให้สมบูรณ์ คือทาหน้าที่คล้ายบทกรรม แต่ไม่ใช้กรรม เพราะมิได้ถูกกระทา เช่น

บท บทขยาย บทขยาย บทขยาย


ประโยค บทกริยา บทกรรม
ประธาน ประธาน กริยา กรรม
ฝนตก ฝน - ตก - - -
ฝนหลวงตก ฝน หลวง ตก - - -
ฝนหลวงกาลังตกหนัก ฝน หลวง กาลังตก หนัก - -
หมากัดแมว หมา - กัด - แมว -
หมาใหญ่กัดแมวสีขาว หมา ใหญ่ กัด - แมว สีขาว
หมาใหญ่ต้องกัดแมวสีขาวรุนแรงมาก หมา ใหญ่ ต้องกัด รุนแรงมาก แมว สีขาว

2. ประเภทของประโยค
ประโยคในภาษาไทยแบ่งเป็น 3 ชนิด ตามโครงสร้างการสื่อสารดังนี
2.1 ประโยคความเดียว คือ ประโยคที่มีข้อความหรือใจความเดียว ซึ่งเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า อกรรถ
ประโยค เป็นประโยคที่มีภาคประโยคเพียงบทเดียว และมีภาคแสดงหรือกริยาสาคัญเพียงบทเดียว หากภาค
ประธานและภาคแสดงเพิ่มบทขยายเข้าไป ประโยคความเดียวนันก็จะเป็นประโยคความเดียวที่ซับซ้อนยิ่งขึ น
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 22

2.2 ประโยคความรวม คือ ประโยคที่รวมเอาโครงสร้างประโยคความเดียวตังแต่ 2 ประโยคขึนไป


เข้าไว้ในประโยคเดียวกัน โดยมีคาเชื่อมหรือสันธานทาหน้าที่เชื่อมประโยคเหล่านันเข้าด้วยกัน ประโยคความรวม
เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า อเนกกรรถประโยค ประโยคความรวมแบ่งใจความออกเป็น 4 ประเภท ดังนี
(1) ประโยคที่มีความคล้อยตามกัน ประโยคความรวมชนิดนีประกอบด้วยประโยคเล็กตังแต่ 2
ประโยคขึนไป มีเนือความคล้อยตามกันในแง่ของความเป็นอยู่ เวลา และการกระทาตัวอย่าง
• ทรัพย์ และ สินเป็นลูกชายของพ่อค้าร้านสรรพพาณิชย์
• ทัง ทรัพย์ และ สินเป็นนักเรียนโรงเรียนอาทรพิทยาคม
• ทรัพย์เรียนจบโรงเรียนมัธยม แล้ว ก็ไปเรียนต่อที่วิทยาลัยอาชีวศึกษา
• พอ สินเรียนจบโรงเรียนมัธยม แล้ว ก็ มาช่วยพ่อค้าขาย
(2) ประโยคที่มีความขัดแย้งกัน ประโยคความรวมชนิดนี ประกอบด้ว ยประโยคเล็ ก 2
ประโยค มีเนือความที่แย้งกันหรือแตกต่างกันในการกระทา หรือผลที่เกิดขึน ตัวอย่าง
• พี่ตีฆ้อง แต่ น้องตีตะโพน
• ฉันเตือนเขาแล้ว แต่ เขาไม่เชื่อ
(3) ประโยคที่มีความให้เลือก ประโยคความรวมชนิดนี ประกอบด้วยประโยคเล็ก 2 ประโยค
และกาหนดให้เลือกอย่างใดอย่างหนึ่งตัวอย่าง
• ไปบอกนายกิจ หรือ นายก้องให้มานี่คนหนึ่ง
• คุณชอบดนตรีไทย หรือ ดนตรีสากล
(4) ประโยคที่มีความเป็นเหตุเป็นผลแก่กัน ประโยคความรวมชนิดนีประกอบด้วยประโยคเล็ก
2 ประโยค ประโยคแรกเป็นเหตุประโยคหลังเป็นผลตัวอย่าง
• เขามีความเพียรมาก เพราะฉะนัน เขา จึง ประสบความสาเร็จ
• คุณสุดาไม่อิจฉาใคร เธอ จึง มีความสุขเสมอ
2.3 ประโยคความซ้อน คือ ประโยคที่มีใจความสาคัญเพียงใจความเดียว ประกอบด้วยประโยค
ความเดียวที่มีใจความสาคัญ เป็นประโยคหลัก (มุขยประโยค) และมีประโยคความเดียวที่มีใจความเป็นส่วนขยาย
ส่วนใดส่วนหนึ่งของประโยคหลัก เป็นประโยคย่อยซ้อนอยู่ในประโยคหลัก (อนุประโยค) โดยทาหน้าที่แต่งหรือ
ประกอบประโยคหลัก ประโยคความซ้อนนีเดิม เรียกว่า สังกรประโยค อนุประโยคหรือประโยคย่อยมี 3 ชนิด ทา
หน้าที่ต่างกัน ดังต่อไปนี
(1) ประโยคย่อยที่ทาหน้าที่แทนนาม (นามานุประโยค) อาจใช้เป็นบทประธานหรือบทกรรม
หรือส่วนเติมเต็มก็ได้ ประโยคย่อยนีเป็นประโยคความเดียวซ้อนอยู่ในประโยคหลักไม่ต้องอาศัยบทเชื่อมหรือ
คาเชื่อมตัวอย่างประโยคความซ้อนที่เป็นประโยคย่อยทาหน้าที่แทนนาม
• คนทาดีย่อมได้รับผลดี
คน...ย่อมได้รับผลดี : ประโยคหลัก
คนทาดี : ประโยคย่อยทาหน้าที่เป็นบทประธาน
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 23

• ครูดุนักเรียนไม่ทาการบ้าน
ดุนักเรียน : ประโยคหลัก
นักเรียนไม่ทาการบ้าน : ประโยคย่อยทาหน้าที่เป็นบทกรรม
(2) ประโยคย่อยที่ทาหน้าที่เป็นบทขยายประธานหรือบทขยายกรรมหรือบทขยายส่วนเติมเต็ม
(คุณานุประโยค) แล้วแต่กรณี มีประพั นธสรรพนาม (ที่ ซึ่ง อัน ผู้) เชื่อมระหว่างประโยคหลักกับประโยคย่อย
ตัวอย่างประโยคความซ้อนที่ประโยคย่อยทาหน้าที่เป็นบทขยาย
• คนที่ประพฤติดีย่อยมีความเจริญในชีวิต
ที่ประพฤติ ขยายประธาน คน
คน...ย่อมมีความเจริญในชีวิต : ประโยคหลัก
(คน) ประพฤติดี : ประโยคย่อย
(3) ประโยคย่ อยที่ทาหน้าที่เป็นบทขยายคากริยา หรือบทขยายคาวิเศษณ์ในประโยคหลั ก
(วิเศษณานุประโยค) มีคาเชื่อม (เช่น เมื่อ จน เพราะ ตาม ให้ ฯลฯ) ซึ่งเชื่อมระหว่างประโยคหลักกับประโยคย่อย
ตัวอย่างประโยคความซ้อนที่ประโยคย่อยทาหน้าที่เป็นบทกริยาหรือบทขยายวิเศษณ์
• เขาเรียนเก่งเพราะเขาตังใจเรียน
เขาเรียนเก่ง : ประโยคหลัก
(เขา) ตังใจเรียน : ประโยคย่อยขยายกริยา
3. การใช้ประโยคในภาษาไทยได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
3.1 ไม่ใช้คากากวมในประโยค คือ การใช้คาที่มีหลายความหมายคิดได้หลายทาง เช่น
ครูเมตตาให้อาหารกลางเด็กยากจน ประโยคนีกากวมเนื่องจากสามารถคิดได้ว่าครูชื่อ
เมตตา หรือครูมีความเมตตา
ควรแก้เป็น ครูมีความเมตตาให้อาหารกลางวันแก่เด็กยากจน
3.2 ไม่ใช้คาฟุ่มเฟือย ทาให้ประโยคยาวแต่เยิ่นเย้อ เช่น
เมื่อเช้าตารวจพบศพคนถูกยิงตายข้างถนน
ควรแก้เป็น เมื่อเช้าตารวจพบศพคนถูกยิงข้างถนน
3.3 ไม่ใช้สานวนภาษาต่างประเทศ ทาให้การเรียงลาดับคาของภาษาไทยผิดแปลกไป เช่น
มันเป็นอะไรที่ดีมาก ๆ เลยหนังสือเล่มนี
ควรแก้เป็น หนังสือเล่มนีดีมาก ๆ
วันนีพี่เบิร์ดจะมาในเพลงอยู่คนเดียว
ควรแก้เป็น วันนีพี่เบิร์ดจะร้องเพลงชื่ออยู่คนดียว
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 24

3.4 การใช้จานวนนับนาหน้าประโยคไม่ใช้ลักษณนาม การสร้างประโยคแบบนีพบเห็นมากในภาษา


สื่อมวลชน ไม่ควรนามาใช้ในภาษาเขียนทั่ว ๆ ไป เช่น
สามโจรบุกธนาคารฉกเงินกว่า 3 ล้าน
ควรแก้เป็น โจร 3 คนปล้นธนาคารได้เงินไป 3 ล้านบาท
3.5 การใช้คาผิดความหมายหรือใช้คาไม่เหมาะสม ทาให้ประโยคนันสื่อความหมายผิดไป เช่น
วิทยาลัยมีหมายกาหนดการวันไหว้ครูเรียบร้อยแล้ว หมายกาหนดการ สานักพระราชวังจะ
เป็นผู้ใช้เท่านัน คนทั่วไปควรใช้ กาหนดการ
ควรแก้เป็น วิทยาลัยมีกาหนดการวันไหว้ครูเรียบร้อยแล้ว
3.6 การใช้คาที่มีความหมายขัดแย้งกัน ทาให้สื่อความหมายได้ไม่ชัดเจน เช่น
ผู้ร้ายรัวกระสุนใส่เจ้าของร้านทองหนึ่งนัด
ควรแก้เป็น ผู้ร้ายยิงเจ้าของร้านทองหนึ่งนัด
3.7 การใช้ประโยคผิ ดไวยากรณ์ คือ อาจมีภ าคประธานภาคแสดงไม่ครบถ้ว นหรือเรียงคาผิ ด
ตาแหน่ง เช่น
บัณฑิตทุกคนล้วนใบหน้าสดชื่นแจ่มใส (ขาดกริยา)
ควรแก้เป็น บัณฑิตทุกคนล้วนมีใบหน้าสดชื่นแจ่มใส
เรื่องของฉันงานหนัก ๆ ชอบทา (เรียงคาผิดตาแหน่ง)
ควรแก้เป็น เรื่องของฉัน ชอบทางานหนัก ๆ
3.8 การใช้ประโยคไม่ครบใจความ ในประโยคความซ้อนอาจมีส่วนขยายที่ ยาวมากเพื่อให้ใจความ
ครบสมบูรณ์ ถ้าขาดส่วนหนึ่งส่วนใดก็จะไม่ได้ความตามที่ควรจะเป็น เช่น
ถ้าทุกคนช่วยกันรักษาความสะอาดหน้าบ้านของตน
ควรแก้เป็น ถ้าทุกคนช่วยกันรักษาความสะอาดหน้าบ้านของตนบ้านเมืองก็จะสะอาด
3.9 การใช้ประโยคไม่สละลวย ทาให้อ่านติดขัด ไม่ราบรื่น เช่น
เมื่อก่อนผมไม่พูด
ควรแก้เป็น เมื่อก่อนผมเป็นคนไม่ค่อยพูด
3.10 ประโยคที่ใช้เนือหาไม่สัมพันธ์กัน ทาให้ข้อความขาดหายหรือไม่สมเหตุสมผล เช่น
คนไม่มีความรู้และความสามารถทาประโยชน์แก่บ้านเมืองได้มาก
ควรแก้เป็น คนมีความรู้และความสามารถทาคุณประโยชน์แก่บ้านเมืองได้มาก
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 25

การใช้สานวน
ภาษาไทยมีความสาคัญยิ่งต่อคนไทยเนื่องจากเป็นภาษาประจาชาติและเป็นภาษาที่ใช้สื่อสารกันในสังคม
ซึ่งภาษาเป็นเครื่องมือในการสื่อความหมายที่ใช้ถ่ายทอดความคิด ความรู้สึก ความต้องการของตนให้ผู้อื่นทราบ
การใช้ภาษาไทยจึงมีวิธีการใช้ภาษาหลายวิธีทังการใช้สานวน การใช้โวหาร ภาพพจน์ และการใช้คาต้องห้ามเพื่อ
วัตถุประสงค์ต่าง ๆ และเพื่อให้เกิดความน่าสนใจ
1. ลักษณะของสานวน
สานวนเป็ นปรากฏการณ์ทางภาษาอย่างหนึ่งที่ ใช้ในภาษาไทย เนื่องจากคนไทยนิยมใช้ถ้อยคามาใช้
เปรียบเทียบ ไม่กล่าวออกมาตรงๆ ซึ่งมักจะเป็นคาที่คมคาย ลึกซึง การนาสานวนมาใช้ในภาษาไทยจึงเป็นการ
แสดงถ้อยคาที่ไม่ได้บ อกความหมายให้ ผู้ ฟังทราบโดยตรง แต่จะบอกความเป็นนัยให้ ผู้ ฟังต้องคิดเพื่อทราบ
จุดประสงค์ของผู้พูด ว่าต้องการสื่ออะไร แสดงให้เห็นถึงภูมิปัญญาในการใช้ภาษา ได้มีผู้ให้ความหมายของสานวน
ไว้ดังนี
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 (2556: 1227) ได้ให้ความหมายของสานวนไว้ว่า
“ถ้อยคาที่เรียบเรียง โวหาร บางทีใช้คาว่า สานวน โวหาร ถ้อยคาหรือข้อความที่กล่าว สืบ ต่อกันมานานแล้ว มี
ความหมายไม่ตรงตามตัว หรือมีความหมายอื่นแฝงอยู่”
ไขสิริ ปราโมช ณ อยุธยา (2537: 4) ได้กล่าวถึงสานวนว่า “เป็นถ้อยคาที่มิได้มีความหมายตรงไปตรงมา
ตามตัวอักษร หรือแปลตามรากศัพท์ แต่มีถ้อยคาที่มีความหมายเป็นอย่างอื่นเป็นชันเชิงชวนให้คิด ซึ่งอาจเป็นใน
เชิงเปรียบเทียบ หรืออุปมาอุปไมย”
จากความหมายข้างต้นสรุปได้ว่า สานวน หมายถึงคาพูดที่ไม่ได้มีความหมายตรงตามที่พูด เป็นคาพูดที่มี
ความหมายแฝง ไม่บอกออกมาตรง ๆ ต้องอาศัยการตีความ และสามารถเกิดขึนใหม่ได้
2. ประเภทของสานวน
สานวนเป็นวิธีคิดค้นคาขึนมาใช้ในการสื่อสารเพื่อแสดงภูมิปัญญา ความคมคาย ลึกซึงซ่อนความหมายที่
แท้จริงตามเจตนาของผู้ส่งสารเอาไว้ และเรียบเรียงถ้อยคานันขึนมาใหม่โดยไม่คานึงถึงกฎเกณฑ์ทางไวยากรณ์
ลักษณะของสานวนจึงมีความพิเศษสามารถแบ่งได้ตามโครงสร้างของคา 4 ลักษณะดังนี
(1) สานวนที่เป็นคามูลพยางค์เดียว เป็นคาพยางค์เดียวที่มีความหมายโดยนัย เช่น ดาว หิน กล้วย
กิ๊ก เป็นต้น
(2) สานวนที่เป็นคาประสม ประกอบด้วยคาเดี่ยว 2 คามารวมกัน เกิดเป็นสานวน เช่น คอแข็ง
แพแตก อ่อนข้อ เป็นต้น
(3) สานวนที่เป็นกลุ่มคา ประกอบด้วยส่วนประกอบที่เป็นคาหลักและคาที่เป็นส่วนขยาย ทังที่เป็น
คาใหม่หรือคาซา โดยแบ่งย่อยเป็น 2 ลักษณะ คือกลุ่มคาที่มีเสียงสัมผัสสระ และกลุ่มคาที่ไม่มีเสียงสัมผัสสระ ดัง
ตัวอย่าง กลุ่มคาที่มีเสียงสัมผัสสระ เช่น ไก่แก่แม่ปลาช่อน คดในข้องอในกระดูก เป็นต้น กลุ่มคาที่ไม่มี เสียงสัมผัส
สระ เช่น คลุมถุงชน คงเส้นคงวา เป็นต้น
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 26

(4) ส านวนที่เ ป็ น ประโยค เป็ นส านวนที่มีลั กษณะเป็ นประโยคทังที่ เป็น ประโยคสมบูร ณ์และ
ประโยคไม่สมบูรณ์ เช่น คบคนให้ดูหน้าซือผ้าให้ดูเนือ รักยาวให้บั่นรักสันให้ต่อ เป็นต้น
สานวนที่ใช้ในภาษาไทยมีอยู่มากทังที่มีมาแต่เดิมและเกิด ขึนมาใหม่ สานวนจึงแบ่งได้ตามลักษณะที่มา
ของสานวนได้อีกเป็น 2 ลักษณะ ได้แก่ สานวนเดิม หมายถึง สานวนที่มีมาแต่เดิมคนทั่วไปรู้จักและรู้ความหมาย
กันดีอยู่แล้ว และ สานวนใหม่หมายถึง สานวนที่เกิดขึนใหม่ (ดวงใจ ไทยอุบุญ, 2543 : 241-242 ) สานวนที่
เกิดขึนใหม่จะเกิดขึนมาตามยุคสมัยบางสานวนเป็นที่นิยมเฉพาะกลุ่ม บางสานวนเป็นที่นิยมทั่วไป บางสานวนใช้
เพื่อเปรียบเทียบในด้านบวก บางสานวนใช้เพื่อเปรียบเทียบในด้านลบขึนอยู่กับวัตถุประสงค์ที่นาไปใช้
นอกจากนีสานวนยังแบ่งได้ตามมูลเหตุการณ์เกิด แบ่งได้ 6 ประเภท
1. หมวดทีเ่ กิดจากธรรมชาติ เช่น ตื่นแต่ไก่โห่ ปลากระดี่ได้นา แมวไม่อยู่หนูร่าเริง ไก่แก่แม่ปลาช่อน
2. หมวดที่เกิดจากการกระทา เช่น ไกลปืนเที่ยงสาวไส้ให้กากิน ชักใบให้เรือเสีย ปิดทองหลังพระ
สี่เท้ายังรู้พลาด นักปราชญ์ยังรู้พลัง
3. หมวดที่เกิด จากสภาพแวดแวดล้ อ ม เช่ น ตี วัว กระทบคราด ใกล้ เกลื อ กินด่ าง ฆ่ าควายอย่ า
เสียดายพริก
4. หมวดที่เกิดจากอุบัติเหตุ เช่น ตกนาไม่ไหล ตกไฟไม่ไหม้ นาเชี่ยวอย่าขวางเรือ
5. หมวดที่เกิดจากระเบียบแบบแผนประเพณีความเชื่อ เช่น กงเกวียนกาเกวียน คู่แล้วไม่แคล้วกัน
ปลูกเรือนตามใจผู้อยู่
6. หมวดที่เกิดจากความประพฤติ เช่น หงิมหงิมหยิบชินปลามัน ตักนาใส่กะโหลกชะโงกดูเงา
คบคนดูหน้าซือผ้าดูเนือ ขีเกียจสันหลังยาว
ตัวอย่างสานวนเดิม
กบในกะลาครอบ - ผู้มีประสบการณ์และความรู้น้อย แต่สาคัญตนว่ามีความรู้มาก
ไก่เห็นตีนงู งูเห็นนมไก่ - ต่างฝ่ายต่างรู้ความลับของกันและกัน
จับปลาสองมือ - ทาสิ่งใดที่ยากพร้อมๆกันทาให้ล้มเหลวทังสองสิ่ง
เขียนเสือให้วัวกลัว - ทาอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อให้อีกฝ่ายหนึ่งเสียขวัญหรือเกรงขาม
กิงก่าได้ทอง - อวดดี หยิ่งผยอง ลืมฐานะของตนเอง
ราไม่ดีโทษปี่โทษกลอง - ทาไม่ดีหรือทาผิดแล้วไม่รับผิด กลับโทษผู้อื่น
ทานาบนหลังคน - หาผลประโยชน์ใส่ตนโดยขูดรีดผู้อื่น
ไก่งามเพราะขนคนงามเพราะแต่ง - คนเราจะสวยได้ด้วยการรู้จักแต่งตัว
ขว้างงูไม่พ้นคอ - ทาอะไรแล้วผลร้ายกลับมาสู่ตัวเอง
คางคกขึนวอ - คนที่มีฐานะต่าต้อย พอได้ดิบได้ดีก็มักแสดงกิริยาอวดดีลืมตัว
งมเข็มในมหาสมุทร - ทาในสิ่งที่เป็นไปได้ยาก
จับเสือมือเปล่า - การทาประโยชน์ใดๆโดยไม่ต้องลงทุน
กินบนเรือนขีบนหลังคา - เนรคุณ ไม่รู้จักบุญคุณของผู้อื่น
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 27

ตัวอย่างสานวนที่เกิดขึนใหม่
กินเกาเหลา - ขัดแย้งทะเลาะกัน ไม่ถูกกัน
ดานา - เดาสุ่ม
ชอบเบียว - คดโกง ไม่ซื่อสัตย์
ดองงาน - ไม่รับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย
ไปไม่ถึงดวงดาว - ไม่สาเร็จ ไม่บรรลุวัตถุประสงค์ตามที่คิดไว้
ภาษาดอกไม้ - คาพูดที่ไพเราะ รื่นหู พูดไป ทางที่ดี
แจ้งเกิด - เริ่มมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักหรือเป็นที่ยอมรับในวงการนัน ๆ
น็อตหลุด - ยังไม่อยู่ พูดโพล่งออกมาหรือแสดงอารมณ์อย่างไม่สมควร
3. การใช้สานวนให้ถูกต้อง
สานวนที่ใช้ในภาษาไทย ปัจจุบันนันมีอยู่มากมายทังที่มีมาแต่เดิมและเกิดขึนมาใหม่ บางสานวนก็ไม่ นิยม
ใช้แล้ว บางสานวนผู้ใช้อาจเข้าใจความหมายผิด เขียนผิด หรือเกิดความบกพร่องเมื่อนามาใช้ในบริบทของถ้อยคา
หรือประโยค ดังนัน จึงควรทาความรู้จักหลักการใช้สานวนให้ถูกต้อง ซึ่ง ดวงใจ ไทยอุบุญ (2543 : 241-252) ได้
กล่าวไว้ 3 ข้อ สรุปได้ดังนี
3.1 ใช้คาให้ถูกความหมาย เช่น
“เขาเป็นคนหน้าตาดี แต่งตัวเรียบร้อย ท่าทางเป็นสุภาพบุรุษ แต่ดุร้าย ใจดาอามหิต สามารถ
ฆ่าคนได้ คนประเภทนีเรียกว่า คนหน้าซื่อใจคด”
สานวนในข้อความนี ควรใช้คาว่า หน้าเนือใจเสือ
“ข้อความวิชาภาษาไทยง่ายเหมือนเส้นผมบังภูเขา”
สานวนในข้อความนีควรใช้คาว่า ปอกกล้วยเข้าปาก
3.2 ควรใช้ให้เข้ากับเรื่องสานวนที่นามาใช้ควรเข้ากับเนือหาซึ่งจะทาให้ข้อความนันเข้าใจง่าย และ
ผู้รับสารตีความหมายได้ถูกต้อง เช่น
“สองคนนันเข้ากันได้ดีทุกเรื่องกิ่งทองใบหยก” ควรใช้คาว่า
“สองคนนันเข้ากันได้ดีทุกเรื่องเหมือนเป็นปี่เป็นขลุ่ย”
3.3 ควรใช้สานวนให้ถูกต้อง สานวนที่เขียนในปัจจุบัน ปรากฏว่ามีการเขียนผิดอยู่เสมอโดยเฉพาะ
กลุ่มคนรุ่นใหม่ที่ไม่คุ้นเคยกับสานวนนัน ๆ มีการจดจาเสียงหรือศัพท์สานวนมาผิด ๆ ดังนันจึงควรตรวจสอบให้
ถูกต้องก่อนนาไปใช้ ตัวอย่างเช่น
ทานาบนหัวคน ที่ถูกคือ ทานาบนหลังคน
สลักหักพัง ที่ถูกคือ ปรักหักพัง
คาหลังคาเขา ที่ถูกคือ คาหนังคาเขา
คนล้มอย่าทับ ที่ถูกคือ คนล้มอย่าข้าม
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 28

3.4 อย่าใช้สานวนในข้อเขียนมากเกินไป ควรใช้ให้พอเหมาะ ถูกกาลเทศะ การใช้ซาบ่อย ๆ จะทา


ให้ผู้รับสารเกิดความราคาญได้ เช่น
“คนเราเกิดมาต้องรู้จักพึ่งพาตนเอง ไม่ใช่ยืมจมูกของคนอื่นมาหายใจ อีกทังการวางตัวก็เป็น
สิ่งสาคัญ อย่าทาตัวหยิ่งผยอง ให้รู้จักความอ่อนน้อมถ่อมตนจึงจะดี พยายามอย่าไปยุ่งกับเรื่องของผู้อื่น เหมือน
เอามือไปซุกหีบ จะทาให้ตนเองเดือดร้อน ควรเร่งหาทางทามาหากินด้วยความบากบั่นอดทน อย่าคอยแต่หวังนา
บ่อหน้าจะกลายเป็นหนีเสือปะจระเข้”

การใช้โวหาร
ในการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารนัน ผู้พูดหรือผู้เขียนจะต้องคิดค้นหาวิธีการเพื่อที่จะสื่อความคิดให้ผู้ฟังหรือ
ผู้อ่านเข้าใจเจตนาหรือจุดประสงค์ของตัวเองให้ได้ผลดีที่สุด หมายถึง มีความรับผิดชอบ แจ่มแจ้ง มีความลึกซึง
สามารถถ่ายทอดอารมณ์ ความรู้สึกได้เป็นอย่างดี
1. ลักษณะของโวหาร
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2554 (2556: 1134 )ให้ความหมายของโวหาร ไว้ว่า ชันเชิง
หรือสานวนแต่งหนังสือหรือพูด
ชานาญ รอดเหตุภัย (2519: 85) กล่าวว่า โวหาร หมายถึง กลวิธีในการใช้ภาษาเพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่วางไว้
วาสนา เกตุภาค (ม.ป.ป.: 20) กล่าวว่า โวหาร หมายถึง ศิลปะอย่างหนึ่งของการใช้ภาษาสื่อสารเพื่อให้
กระทบอารมณ์ของผู้อ่าน ผู้ฟัง ช่วยให้เกิดจินตภาพได้ชัดเจนกว่าการใช้ถ้อยคาอย่างตรงไปตรงมา
กล่าวโดยสรุป โวหาร หมายถึง กลวิธีการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารให้บรรลุ วัตถุประสงค์ของผู้พูดหรือ
ผู้เขียนมากที่สุด เพื่อให้ผู้อ่านหรือผู้ฟังเกิดความเข้าใจแจ่มแจ้ง ทังทางด้าน รูป เสียง และอารมณ์ ความรู้สึก
2. ประเภทของโวหาร
โวหารที่ใช้ในการพูดหรือเขียน จัดแบ่งได้ 5 ประเภท คือ บรรยายโวหาร พรรณนาโวหาร อุปมาโวหาร
เทศนาโวหาร และสาธกโวหาร
2.1 บรรยายโวหาร หมายถึง การอธิบายหรือบรรยายเหตุการณ์ที่เป็นข้อเท็จจริง ความสาคัญ
ชัดเจน ตรงไปตรงมา ไม่อ้อมค้อม หรือใช้คาฟุ่มเฟือย มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ผู้รับสารเกิดความรู้ ความเข้าใจ ดังนัน
จึงควรใช้ภาษาให้กระชับรัดกุม ตรงเป้าหมาย และเข้าใจง่าย
2.2 พรรณนาโวหาร หมายถึง การสื่อสารที่สอดแทรกอารมณ์ความรู้สึกของผู้ส่งสาร เพื่อให้ผู้รับ
สารเกิดความซาบซึง เพลิดเพลิน ประทับใจ มีความรู้สึกคล้อยตามไปกับสารที่ได้รับ ซึ่งผู้ส่งสารควรเลือกสาร
ถ้อยคาให้เหมาะสม มุ่งให้เกิดอารมณ์ ภาพพจน์ จินตนาการ
2.3 อุปมาโวหาร หมายถึง วิธีการใช้สานวนเปรียบเทียบ เพื่อให้ผู้อ่านเกิดความเข้าใจลึกซึงยิ่งขึน
โดยการเปรียบเทียบของที่เหมือนกัน โยงความคิดจากสิ่งหนึ่งไปสู่อีกสิ่งหนึ่งหรือบางทีอาจเปรียบเทียบของสองสิ่ ง
ที่มีความหมายตรงกันข้ามหรือขัดแย้งกันก็ได้
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 29

2.4 เทศนาโวหาร หมายถึง การนาเสนอเนือหาเพื่อชีแจงให้ผู้รับสารเข้าใจ ชีให้เห็นประโยชน์หรือ


โทษของสิ่งที่กล่าวถึง แนะนา สั่งสอน ชักจูง ปลุกใจ ให้ผู้อ่านเห็นตาม คล้อยตาม
2.5 สาธกโวหาร หมายถึง การนาเสนอเนือหาสาระที่มีการหยิบยกเอาตัวอย่าง เหตุการณ์มาอ้างอิง
เพื่อเป็นเหตุผล สนับสนุนข้อความหรือเนือหาให้ผู้รับสารเกิดความเข้าใจ
ตัวอย่างโวหาร
บรรยายโวหาร
การที่เมืองเพชร ยุคทวารวดี สามารถสร้างหรือหล่อพระพุทธรูปขนาดใหญ่และงดงามได้เช่นนี ย่อม
สะท้อนถึงอานาจราชศัก ดิ์ ความเป็นปึกแผ่นทางเศรษฐกิจ ความเจริญทางการช่าง และเทคโนโลยีทางการหล่อ
โลหะอย่างดียิ่ง (ล้อม เพ็งแก้ว, 2548 : 74)
พรรณนาโวหาร
ทิดทรงขับ เรื อ ช้า ๆ ไม่เร่ งร้ อน เหล้ า เราขวดที่ส ามกาลั งจะหมด ส่ ว นเนือย่ างไม่ ต้องพูด ถึง มั น
อันตรธานไปตังแต่ยังไม่หมดขาดสอง จากเพลงช้า ๆ ทานองคลาสสิกค่อย ๆ เพิ่มจังหวะที่เร็วขึน จากเพลงเพื่อ
ชีวิตมาเป็นเพลงความรักเนือความมัน และเพื่อความเมา นักร้องร่วมสามสิบที่เราชวนขึนมาบนเรือด้วยต่างผลัดกัน
แข่งตะเบ็งเสียง แซงหน้า แซงหลังคิดไม่ออกบอกไม่ทัน ก็รับเอาเพลงเดิม จนบ้างไม่จนบ้างครั งแล้วครังเล่า คลื่น
ลมรึก็ช่างเป็นใจเหลือเกิน มันสงบราบเรียบเหมือนกับเรือลอยอยู่ในสุญญากาศ (ทัศนาวลี. 2545: 76)
อุปมาโวหาร
การตัดรากเหง้าของความทุกข์ให้ขาด และกระทาให้เป็นเหมือนต้นตาล ยอดด้วนที่แหละคือกรณียกิจ
ของพุทธศาสนา และการประพฤติป ฏิบั ติ เพื่อ บรรลุ เ ป้าหมายอัน นีแหละคื อศิ ล ปะอันยิ่ งใหญ่ใ นพุท ธศาสนา
(กุหลาบ ลายประดิษฐ์. 2543: 92)
เทศนาโวหาร
ใจเป็นสิ่งสาคัญที่สุด มีฤทธิ์มีอานาจที่สุด ความสุข ความทุกข์ ความดี ความชั่ว ความขยัน ความร้อน
ความสงบ ความวุ่นวาย เกิดจากใจทังสิน ผู้มุ่งบริหารจิตควรคานึง ถึงความจริงนีไว้อย่างยิ่ง ควรให้ความสนใจและ
ดูแลรักษาใจของตนให้อย่างยิ่ง เพื่อจะได้สามารถพาตนให้พ้นความทุกข์ ได้มีความสุข พ้นความชั่ว ได้มีความดี
พ้นความร้อน ได้มีแต่ความเย็น พ้นความวุ่นวาย ได้มีความสงบ (สมเด็จพระญาณสังวร. 2530: 22)
สาธกโวหาร
ลักษณะเสื่อมที่เห็นได้ชัด และที่เกิดขึนทังในโรงเรียนและนอกโรงเรียนก็คือ การพูดไม่ชัด โดยเฉพาะ
เสียง ร และเสียง ล เรื่องนีเป็นทังเด็กและผู้ใหญ่ ถ้าเราพูดให้แคบเข้าก็ว่าเป็นทังนักเรียนและครู อีกประการหนึ่ง
ก็คือการออกเสียงอักษรกลาและควบ เช่น คว ขว กว ออกเสียง ฟาม ขวนหวาย เป็นฝนฝาย กว่าเป็น ก่า การออก
เสียงไม่ถูกต้องตามอักษรนีแสดงความเลินเล่อ และทาให้ผันแปรได้ (ทัศนาวดี. 2545: 76)
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 30

3. การใช้โวหารให้ถูกต้อง
ในการส่งสาร โวหารถือเป็นองค์ประกอบที่ทาให้ผู้รับสารเกิดความเข้าใจสารได้อย่างชัดเจนแจ่มแจ้ง
รวมทังเกิดความประทับใจในการใช้ภาษาของผู้สื่อสาร ทังนีต้องขึนอยู่กับว่าในการยกโวหารแต่ละชนิดมาแทรกขึน
ในเนือหานัน มีความเหมาะสมมากน้อยเพียงใด ซึ่งพอสรุปได้ดังนี
3.1 โวหารแต่ละชนิดมักมีความเหมาะสมกับข้อเขียนแต่ละประเภท เช่น ถ้าต้องการอธิบายสิ่งใด
สิ่งหนึ่ง มักใช้บรรยายโวหาร ถ้าต้องการมุ่งให้กระทบอารมณ์ความรู้สึกของผู้อ่านมักใช้พรรณนาโวหาร หรือถ้า
ต้องการโน้มน้าวจิตใจมักใช้เทศนาโวหาร เป็นต้น
3.2 ในการใช้โวหารนัน เนือหาแต่ละเรื่องราวอาจมีโวหารชนิดเดียวหรือหลายชนิดผสมผสานกันก็ได้
3.3 โวหารที่ใช้เป็นหลั กมักเป็น บรรยายโวหาร พรรณนาโวหาร และเทศนาโวหาร ส่วนอุปมา
โวหารและสาธกโวหารมักใช้เป็นโวหารประกอบ หรือโวหารเสริม

การใช้ภาพพจน์
ภาพพจน์ เป็นกลวิธีในการใช้ภาษาอีกอย่างหนึ่ง ซึ่งมีการเลือกใช้ถ้อยคาเพื่อให้ผู้รับสารนึกเห็นภาพของ
สิ่งที่ผู้ส่งสารนาเสนอ กล่าวให้เข้าใจง่าย ๆ คือ เป็นการใช้ถ้อยคาแทนภาพนั่นเอง
1. ลักษณะของภาพพจน์
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2554 (2556: 867) ได้กล่าวถึงความหมายของภาพพจน์ไว้ว่า
“ภาพพจน์หมายถึงถ้อยคาที่เป็นสานวนโวหารทาให้นึกเห็นเป็นภาพ ถ้อยคาที่เรียบเรียงอย่างมีชันเชิงเป็นโวหารมี
เจตนาให้มีประสิทธิผลต่อความคิดความเข้าใจให้จินตนาการและถ่ายทอดอารมณ์ได้อย่างกว้างขวางลึกซึงกว่าการ
บอกเล่าที่ตรงไปตรงมา”
เปลือง ณ นคร (2512 : 75) กล่าวว่า ภาพพจน์ คือ โวหารลักษณะ หมายถึง การพูดหรือเขียนอย่าง
เทียบเคียง โดยมุ่งหมายให้การกล่าวดังนันมีรสน่าฟัง หรือสะดุดใจยิ่งขึน
โดยความหมายนี ภาพพจน์ จึงเป็นถ้อยคาที่ทาให้เกิดภาพ ถ้าผู้ส่งสารมีวิธีการใช้คาที่ให้ความหมายหรือ
ภาพแก่ผู้รับสารชัดเจนเพียงใดก็จะทาให้การสื่อสารประสบผลสาเร็จยิ่งขึน
ภาพพจน์ถือเป็นคาพิเศษอีกลักษณะหนึ่ง ที่ใช้ในการสื่อความหมายเป็นที่เข้าใจตรงกัน ทังผู้ส่งสารและ
ผู้รับสาร ซึ่งโดยทั่วไปแล้วภาพพจน์นันไม่ได้เพ่งเล็งถึงภาพหรือรูปเป็นหลัก แต่หมายถึงความรู้สึกนึกคิดต่าง ๆ ที่
จะเกิดเป็นรูปร่างขึนในใจ ในการที่จะพูด เขียนหรือแสดงความอย่างมีภาพพจน์นันมีลักษณะสาคัญที่สรุปได้คือ
การสร้างภาพด้วยถ้อยคา นั่นเอง
จากลั ก ษณะดั ง กล่ า วจะเห็ น ได้ ว่ า ภาพพจน์ นั นเกิ ด ขึนจากการใช้ ค าแตกต่ างจากการอธิ บ ายความ
โดยทั่วไป ซึ่งอาจจะมีลักษณะเปรียบเทียบ การใส่อารมณ์ ความรู้สึก การกล่าวเกินความจริง หรืออาจเกิดจากการ
เลียนเสียงหรือลักษณะอาการต่าง ๆ เป็นต้น
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 31

2. ประเภทของภาพพจน์
นักวิชาการได้แบ่งประเภทของภาพพจน์ออกตามทัศนะแต่ละคนที่ต่างกัน ภาพพจน์ที่ปรากฏในวรรณคดี
นันมีผู้แยกย่อยออกได้กว่า 250 แบบ แต่ภาพพจน์ที่นิยมใช้กันบ่อย ๆ และจะกล่าวถึงในที่นีคือ อุปมา (simile)
อุปลักษณ์ (metaphor) บุคลาธิษฐาน (personification) อธิพจน์ (hyperbole) และสัทพจน์ (onomatopoeia)
2.1 อุปมา หมายถึง การเปรียบเทียบว่าสิ่งหนึ่งเหมือนหรือคล้ายกับอีกสิ่งหนึ่ง เช่น รวดเร็วปาน
กามนิตหนุ่ม สวยราวกับนางฟ้า เนตรประหนึ่งตากวาง ความรักเหมือนโคถึก หรือบทกวีที่ว่า
เปรียบนาใจของหญิงที่กลิงกลอก
ดังนาหมอก นาค้าง กลางพฤกษา
อาทิตย์ส่ง ต้องจับ ก็ลับลา
อนิจจาแล้วเราก็จากกัน
2.2 อุปลักษณ์ หมายถึง การเปรียบเทียบโดยใช้คาที่มีลักษณะ หรือความหมายคล้ายคลึงกันแทน
คาอีกคาหนึ่งโดยไม่มีคาแสดงการเปรียบเทียบปรากฏอยู่ เช่น หน้าบานเป็นจานเชิง ปากเล็กเท่ารูเข็ม ครูคือเรือ
จ้าง หรือบทกวีที่ว่า
โอ้เจ้าสาวใบตองใบร่องสวน
ยุคฉะนีเขียวนวลคงด่วนหมอง
ยินแต่เพลงพลาสติกระลึกร้อง
หรือสินเพลงใบตองเสียแล้วเอย
(ไพวรินทร์ ขาวงาม. 2538:43)
2.3 บุคลาธิษฐาน หมายถึง การเปรียบเทียบที่นาเอาพฤติกรรม และอาการบางอย่างของมนุษย์ไป
ใส่ในสัตว์ สิ่งของ ความคิดหรือธรรมชาติ ประดุจหนึ่งว่าแสดงอาการได้เหมือนคน เช่น ทะเลไม่เคยหลับ คลื่นจูบ
หิน ลมถีบประตู ฟ้าหัวเราะข้า หรือบทกวีที่ว่า
หวดมวยและหม้อนึ่ง ต่างบูดบึงเหมือนอึงอา
กระเบียนฮ้างวางประจา ก็ด่างดาอยู่เดียวดาย
เคียวแหว่งก็ว้าเหว่ หน็บฝาเพเหมือนแพ้พ่าย
งอบขาดกราดกระจาย แพรลายเริ่มรายโรย
คราดหักสะอืนไห้ ละคันไถก็ไห้โหย
หนังต่องแอกอกระอักโอย เหมือนถูกโบยด้วยบาปกรรม
(คาผา เพลงพิณ.2532:22)
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 32

หรืออีกบทหนึ่งว่า
ภูกระดึงดึงใจให้ไหวหวั่น
ดึงใจเธอใจฉันให้หวั่นไหว
ดึงความรักเราสองคล้องสายใย
ก่อนจะดึงเธอไปไม่กลับมา
2.4 อธิพจน์ หมายถึง การกล่ าวเกินจริงเป็นการบรรยายที่ขยายให้ เห็นเด่นชัดในสิ่ งใดสิ่ งหนึ่ง
มากกว่าความเป็นจริงโดยมุ่งไปที่อารมณ์ความรู้สึกที่มีมากกว่าถ้อยคา เช่น รักคุณเท่าฟ้ า คอแห้งเป็นผง ถ้าฉันมี
สิบหน้าอย่างทศกัณฐ์ สิบหน้านันฉันจะหันมายิมให้เธอ คิดถึงเธอใจจะขาดแล้ว หรือบทกวีที่ว่า
ตราบขุนคิริข้น ขาดสลาย แลแม่
รักบ่หายตราบหาย หกฟ้า
สุริยจันทรขจาย จากโลกไปฤา
ไฟแล่นค้างสี่หล้า ห่อนล้างอาลัยฯ
(นรินทรธิเบศ (อิน).2516: 36)
2.5 สัทพจน์ หมายถึง การเปรียบเทียบด้วยการเลียนเสียงหรือแสดงลักษณะอาการต่าง ๆ ทาให้
รู้สึกเหมือนได้ยินเสียงของสิ่งนัน ๆ เช่น
เปรียงๆๆ..เสียงปืนดังขึน สามนัดซ้อน
งูเห่าชูคอขู่ฟ่อ ๆ
เสียงนาตกกระทบหินดัง ซูซ่าอยู่ตลอดเวลา
หรือบทกวีที่ว่า
นาฝนหยดเผาะลงเปาะแปะ
ลูกเดินเตาะแตะ แล้วล้มกลิง
แม่อุ้มซบอก แอบอิง
ลูกยังไม่นิ่งยังโยแย...
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 33

การใช้สัญลักษณ์
สัญลักษณ์เป็นวิธีการใช้ภาษาที่ซ่อนความหมายแท้จริงไว้ในคาซึ่งเป็นตัวแทนทังรูปธรรมและนามธรรมที่
ผู้ รั บ สารต้องอาศัย พืนฐานความรู้ และทาความเข้าใจกับบริบทของคาที่ใช้เป็นสั ญลั กษณ์นันปรากฏอยู่จึ งจะ
สามารถเข้าใจเจตนาของผู้รับสารได้อย่างชัดเจน
1. ลักษณะของสัญลักษณ์
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542 (2546: 1163) ให้ความหมายว่า สัญลักษณ์ หมายถึง
สิ่งที่กาหนดนิยมกันขึนเพื่อให้ใช้ความหมายแทนอีกสิ่งหนึ่ง เช่น ตัวหนังสือเป็นสัญลักษณ์แทนเสียงพูด
วิภา กงกะนันทน์ (2520:57) กล่าวว่า สัญลักษณ์ หมายถึง สรรพสิ่งใด ๆ ที่มีความหมายถึงสิ่งอื่นที่มี
คุณสมบัติร่วมกันหรือเกี่ยวข้องกัน เช่น พระพุทธรูปเป็นสัญลักษณ์ของพุทธศาสนา ไม้กางเขนเป็นสัญลักษณ์ของ
คริสต์ศาสนา เป็นต้น
กล่าวโดยสรุป สัญลักษณ์ หมายถึง การใช้สิ่งหนึ่งแทนอีกสิ่งหนึ่งเพื่อทาให้เกิดกาย และเข้าใจชัดเจน
นั่นเอง
สั ญ ลั ก ษณ์ เ ป็ น การบรรยายที่ ไ ม่ ต รงความหมายของถ้ อ ยค า เป็ น การหลี ก เลี่ ย งการใช้ ถ้ อ ยค า
ตรงไปตรงมา ผู้รับสารจะต้องคิดพิจารณาสิ่งดังกล่าวนันว่ามีความเชื่อมโยงกับสิ่งใด ลักษณะของสัญลักษณ์ สรุป
ได้ 3 ประการคือ
1.1 ใช้สิ่งหนึ่งแทนอีกสิ่งหนึ่ง เช่น แมลงแทนผู้ชาย ดอกไม้แทนผู้หญิง ความมืดแทนกิเลส และ
อวิชชา เป็นต้น
1.2 ความหมายของสั ญ ลั ก ษณ์มั ก ขึนกั บบริบ ทหรื อ คาแวดล้ อ ม เช่ น เขาคือ ลู กประดู่ ค นหนึ่ ง
(ทหารเรือ) พระเวสสันดรอย่างพ่อไม่มีวันขาดเพื่อน (คนใจกว้าง)
1.3 สัญลักษณ์สามารถเกิดขึนใหม่ได้เสมอ ตามความนิยมและความเข้าใจของคนแต่ละยุคสมัย
เช่น จามจุรี หมายถึง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดม หมายถึง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นต้น
2. ประเภทของสัญลักษณ์
สัญลักษณ์เป็นคา ๆ เดียว หลายคา เป็นข้อความหรืออาจเป็นเรื่องราวทังเรื่องก็ได้ ซึ่งธัญญา สังขพันธานนท์
(2539: 245-246) ได้แบ่งสัญลักษณ์ออกเป็น 3 ประเภท คือ สัญลักษณ์ขนบนิยม สัญลักษณ์ที่เป็นสากล และ
สัญลักษณ์เฉพาะตน
สัญลักษณ์แบบขนบนิยม (conventional symbols) หมายถึง สัญลักษณ์ที่รับรู้กันทั่วไปของคนที่อยู่
ในสังคมและวัฒนธรรมเดียวกันกระทั่งยึดถือเป็นขนบ เช่น สีของธงชาติ
สัญลักษณ์ที่เป็นสากล (universal symbols) หมายถึง สัญลักษณ์ที่รับรู้และเป็นที่เข้าใจกันอย่าง
กว้างขวางและตรงกันทุกกลุ่มชน ซึ่งสามารถยึดถือเป็นแบบฉบับได้ เช่น สีขาว หมายถึง ความบริสุทธิ์ นกพิราบ
หมายถึง สันติภาพ เป็นต้น
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 34

สัญลักษณ์เฉพาะตน (private symbols) หมายถึง สัญลักษณ์เฉพาะตัวของคนใดคนหนึ่งที่คิดใช้เอง


เป็นการเฉพาะ ผู้อ่านจะเข้าใจได้ก็ต่อเมื่อพิจารณาข้อความแวดล้อม เช่น บทกวีของอังคาร กัลยาณพงศ์
โลกนีมิอยู่ด้วย มณี เดียวนา
ทรายและสิ่งอื่นมี ส่วนสร้าง
ปางธาตุด่ากลางดี ดุลยภาพ
ภาคจักรพาลมิร้าง เพราะนาแรงไหน
โลกนีมิใช่หล้า หงส์ทอง เดียวเลย
กาก็เจ้าของครอง ชีพด้วย
เมาสมมติจองหอง หินชาติ
นามิตรแล้งโลกม้วย หมดสินสุขศานต์
(อังคาร กัลยาณพงศ์.2533: 44)
3. การใช้สัญลักษณ์
3.1 ควรใช้แทนสิ่งที่สามารถสื่อสารและทาความเข้าใจกับผู้รับสารได้เป็นอย่างดี สัญลักษณ์นันต้อง
เป็นที่รู้จักกันดีและแพร่หลายในวงกว้าง เช่น ฝน แทน ความสดชื่น นาค้าง แทน ความบริสุทธิ์ รุ้งแทน ความหวัง
แสงสว่างแทนปัญญา เป็นต้น
3.2 ควรคานึงถึงกาลเทศะ เพศ วัย และพืนฐานความรู้ของผู้รับสารด้วย เช่น ผู้รับสารที่เป็นเด็ก
บางครังอาจไม่จาเป็นต้องใช้สัญลักษณ์ หรือควรใช้สัญลักษณ์ง่าย ๆ ไม่ซับซ้อน บางครังการเขียนถึงสิ่งต้องห้าม สิ่ง
ทีห่ ยาบคาย หรือเรื่องทางเพศ ก็ควรใช้สัญลักษณ์มาช่วยในการสื่อสาร ซึ่งแสดงถึงความสามารถของผู้ส่งสารด้วย
3.3 ควรใช้ให้เหมาะสมและถูกต้องกับข้อความหรือประโยค หมายถึง ผู้ส่งสารต้องคานึงถึงบริบท
หรือคาแวดล้อมว่ามีความหมายเหมาะสมกัน เข้ากันได้หรือไม่ เช่น
“สุนัขจิงจอกอย่างเขามีความซื่อสัตย์เป็นเลิศ” (ใช้ไม่ได้)
“สุนัขจิงจอกอย่างเขาพร้อมที่จะทรยศเพื่อนได้ตลอดเวลา (ใช้ได้)
“เจ้านายของเรามีเพื่อนมากเพราะทาตัวเหมือนชูชก” (ใช้ไม่ได้)
“เจ้านายของเรามีเพื่อนมากเพราะทาตัวเป็นพระเวสสันดร” (ใช้ได้)

การอ่านออกเสียงคาให้ถูกต้อง
ภาษาย่ อ มมี การเปลี่ ย นแปลงและต้ องเป็ นไปอย่า งเหมาะสมถูก ต้อ ง ไม่ ทาให้ สู ญ เสี ยความเป็น ไทย
ปัจจุบันพบว่า การไม่รู้หลักเกณฑ์ทางภาษา เป็นเหตุให้อ่านหรือออกเสียงคาผิดเพียนไป หรือการได้ประสบพบ
เห็นข้อผิดพลาดบ่อยครังจนพลอยทาให้เข้าใจว่าเป็นความถูกต้อง การอ่านหรือออกเสียงผิดพอจะประมวลได้ดังนี
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 35

1. การอ่านผิดอักขรวิธีไทย
1.1 เสียงพยัญชนะ
1.1.1 เสียงพยัญชนะเดี่ยว ที่พบว่าออกเสียงผิดไปจากอักขรวิธีไทย ได้แก่ จ ออกเสียงเป็น ช
(ตามนักร้องทางโทรทัศน์ ที่ออกเสียง “หัวใจ” เป็น “หัวใช” ซ ออกเสียงเป็น ด (ตามโฆษณา มือถือที่ว่า “วาง
ก่อนซี” ออกเป็น “วางก่อนดิ”
1.1.2 เสี ย งพยั ญ ชนะควบกล า รวมถึ ง การออกเสี ย ง ไม่ ชั ด เจนด้ ว ย ท าให้ ค วามหมาย
เปลี่ยนไป เช่น ออกเสียง “ร้าน” เป็น “ล้าน” เครียด ออกเสียง เคียด ข่าวคราว ออกเป็น ข่าวคาว เหล่านีล้วน
เป็นสิ่งที่ทาให้ผู้ฟังขาดความศรัทธาในตัวผู้พูดหรือผู้ออกเสียง ลดความมีบุคลิกภาพที่ดี ทาให้ไม่น่าเชื่อถือ
1.2 การออกเสียงวรรณยุกต์ เสียงวรรณยุกต์ที่พบว่า ออกเสียงไม่ถูกต้อง คือ เสียงวรรณยุกต์โท ซึ่ง
พิธีกรที่จาเป็นต้องทาหน้าที่พูดทางโทรทัศน์ต้องเป็นแบบอย่างที่ดี ไม่ออกเสียง คาว่า “มาก” เป็น “ม้าก” คาว่า
“ชอบ” เป็น “ช้อบ” ฯลฯ
2. การออกเสียงคาที่มาจากภาษาบาลีสันสกฤต
คาที่มาจากภาษาบาลีสันสกฤตบางคาไทยรับมาใช้แล้วดัดแปลงออกเสียงให้เหมาะกับลินของคนไทย
บางคาอาศัยการออกเสียงตามภาษาเดิม โดยทั่วไปมีหลัก ดังนี
2.1 คาสมาสต้องออกเสียงเนื่องกัน แม้คานันจะไม่ประวิสรรชนีย์ เช่น
รสนิยม อ่านว่า รด-สะ-นิ-ยม
คุณวุฒิ อ่านว่า คุน-นะ-วุด-ทิ
บุคลิกภาพ อ่านว่า บุก-คะ-ลิก-กะ-พาบ
มนุษยศาสตร์ อ่านว่า มะ-นุด-สะ-ยะ-สาด
คาอื่น ๆ นอกเหนือจากคายกตัวอย่างจะใช้แนวการอ่านเช่นเดียวกัน หากไม่ใช่คาสมาสจะไม่อ่าน
ออกเสียงเนื่องกัน เช่น ภูมิลาเนา ควรอ่านว่า พูม-ลา-เนา ไม่อ่านว่า “พู-มิ-ลา-เนา
อนึ่ง คาบางคาสามารถอ่านตามจังหวะแบบไทย เพื่อให้เหมาะกับลินของคนไทยได้จึงมีทังการออก
เสี ย งแบบไทยและแบบค าสมาส เช่ น รสนิ ย ม อ่ า นว่ า “รด-นิ -ยม” ก็ ไ ด้ ต ามที่ ร ะบุ ไ ว้ ใ นพจนานุ ก รม ฉบั บ
ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542
2.2 คาบางคาออกเสียงเรียงพยางค์ เช่น โภชนาการ (อ่านว่า โพ-ชะ-นา-กาน) แต่บางคาออกเสียง
ตัวสะกดด้วย เช่น โฆษณา (โค-สะ-นา) ทังนี จุดประสงค์หลัก คือ ต้องการให้สะดวกกับลินของคนไทย ผู้ที่เป็น
พิธีกร หรือผู้ที่จาเป็น ต้องพูดต่อหน้าสาธารณชนควรตรวจสอบการออกเสียงให้ ถูกต้องจากพจนายุกรม ฉบับ
ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542
2.3 การออกเสียงตัวสะกดในคาที่มาจากภาษาบาลีสันสกฤต พอจะสรุปได้ดังนี
2.3.1 คาที่มีตัวสะกดหรือตัวตามตัวใดตัวหนึ่งเป็นเสียงอุสุม หรือ นาสิก หรือ อัฒสระ คานั น
สามารถออกเสียงสะกดได้ เช่น พัสดุ (พัด-สะ-ดุ) กัลบก (กัน-ละ-บก) เจตนา (เจด-ตะ-นา)
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 36

2.3.2 คาที่มีตัวสะกดและตัวตามอยู่ในพยัญชนะ วรรคจะไม่ออกเสียงตัวสะกด เช่น


สัปดาห์ อ่านว่า สับ-ดา
วิตถาร อ่านว่า วิด-ถาน
ปรากฏการณ์ อ่านว่า ปรา-กด-กาน
ภาคทัณฑ์ อ่านว่า พาก-ทัน
อนึ่ง คาว่า สัป ดาห์ พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542 ให้อ่านได้ทัง สับ -ดา และ
สับ-ปะ-ดา เพื่อให้เหมาะกับการออกเสียงของคนไทย
2.3.3 คาภาษาบาลีที่ตัดตัวสะกดทิงไป เมื่อตกอยู่ในภาษาไทย ให้อ่านออกเสียงตัวสะกดด้วย
เช่น ทิฐิ (ทิด-ถิ) อัฐ (อัด-ถิ)
3. การออกเสียงคาที่มาจากภาษาต่างประเทศ
คาภาษาต่า งประเทศ โดยเฉพาะคาภาษาอังกฤษที่เ ข้ามาใช้ป ะปนกับคาไทยควรออกเสี ยงตาม
อักขรวิธีไทย ทังในเรื่องของพยัญชนะต้นและพยัญชนะสะกด เช่น ฟุตบอล (อ่านว่า ฟุด-บอน)
ส่วนวรรณยุกต์ แม้ไม่ปรากฏรูปวรรณยุกต์ ก็ออกเสียงตามสาเนียงใดสาเนียงหนึ่งของภาษาเดิมได้
เช่น กีตาร์ (อ่านว่า กี-ต้า) เทคโนโลยี (อ่านว่า เท็ค-โน-โล-ยี่) โควตา (อ่านว่า โคว-ต้า)
นอกจากต้องคานึงถึงหลักเกณฑ์ในการอ่านออกเสียงแล้วควรคานึงถึงการอ่านแยกคาและพยางค์ให้
ถูกต้องด้วย คาที่มักอ่ านผิด เช่น คุกรุ่น (คุ -กรุ่น) มักอ่านผิดเป็น คุก -รุ่น ขนมอบ (ขะ-หนม-อบ) มักอ่านผิดเป็น
ขน-มอบ ลูกรัง มักอ่านผิดเป็น ลู-กรัง

การเขียนสะกดคาให้ถูกต้อง
การเขียนสะกดคาให้ถูกต้องเป็นทักษะที่ต้องอาศัยการสังเกต เมื่อพบข้อความใดไม่ว่าทางสื่อสิ่งพิมพ์ หรือ
ป้ายโฆษณา ต้องหมั่นสังเกตว่า คาที่พบเห็นนันเขียนถูกต้องอย่างไร และหมั่นตรวจสอบกับพจนานุกรมอย่าง
สม่าเสมอ จะทาให้เขียนไม่ผิดพลาด ทาให้ผู้ที่อ่านงานเขียนของเราศรัทธาให้ความน่าเชื่อถือ และเป็นที่ไว้วางใจ
แก่หัวหน้างาน
คาในภาษาไทยมีทังคาที่เป็นคาไทยดังเดิมและคาที่ยืมมาจากภาษาอื่น จึงพบว่ามีปัญหาในการเขียนสะกด
คาผิดบ่อยครัง คาที่เขียนผิด มักเป็นคาที่มีลักษณะดังต่อไปนี
1. คาที่คล้ ายคลึ งกัน ในด้านการออกเสี ยง เช่น ญาติ -อนุญาต เหตุ -สั งเกต สาป-ทะเลสาบ ผู กพัน -
กรรมพันธุ์-สุขภัณฑ์- ลายเซ็น-เปอร์เซ็นต์ นาไหล-หลงใหล ลองใย-ลาไย ฯลฯ ดังนัน ผู้ที่จะเขียนคาให้ถูกต้องจึง
ควรต้องเข้าใจความหมายของคาที่คล้ายคลึงกันเหล่านี จะทาให้เขียนให้ผิด
2. คาที่ใช้แนวเทียบผิด โดยเฉพาะคาที่ใช้และไม่ใช้เครื่องหมายทัณฑฆาต คาที่มักเขียนผิดประเภทนี
ได้แก่ คาว่า เครื่องสาอาง ดารง จานง อินทรี (ชื่อนก ปลา) คอลัมน์ สมโภช ฯลฯ
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 37

3. คาสมาส เป็นคาที่นาภาษาบาลีและสันสกฤตมารวมกัน เมื่อเป็นคาสมาสแล้วจะไม่ประวิสรรชนีย์ คา


ที่มักเขียนผิด ได้แก่ อุปการคุณ ภารกิจ ศิลปวัฒนธรรม ลักษณนาม วารดิถี ธุรกิจ ฯลฯ
อนึ่ง คาว่า “อเนกประสงค์ ” เป็นคาสมาส แต่ที่มักเขียนผิดเป็นอเนกประสงค์ มิใช่เพราะหลั ก
คาสมาส แต่เป็นเพราะพบเห็นเป็นประจา จึงทาให้เขียนตาม
4. คาทับศัพท์ ในการถ่ายทอดคาภาษาต่างประเทศมาใช้ปะปนกับคาในภาษาไทยนันจาเป็นต้องรู้
คาศัพท์เดิม จึงจะถ่ายทอดออกมาและเขียนถูกต้องตามอักขรวิธีที่กาหนดไว้ โดยทั่วไปการเขียนคาทับศัพท์ต้อ ง
คานึงถึงหลักดังนี (ราชบัณฑิตยสถาน.2535: 3-11)
4.1 การใช้เครื่องหมายทัณฑฆาต ควรต้องรู้คาเดิมว่าในภาษาเดิมของเขาเขียนอย่างไร แล้วจึง
ถ่ายทอดโดยใช้ตัวอักษรไทยได้ถูกต้อง เช่น คลัตช์ มาจากคาว่า clutch เคาน์เตอร์ มาจากคาว่า counter
คอร์รัปชั่น มาจากคาว่า corruption หนังอาร์ มาจากหนัง (ภาพยนตร์ประเภท) R (มีผู้เขียนป้ายเชิญชวนชื่อหนัง
อาร์ว่า “หนังอา” ทาให้สื่อความผิดความหมายไป)
4.2 การใช้และไม่ใช้ไม้ไต่คู้ โดยทั่วไปมีหลักว่าคาใดที่ไม่สับสนกับคาไทยไม่ต้องใส่ไม้ไต่คู้ แต่ถ้าคา
ใดที่คิดว่าสับสนกับคาไทยก็ควรใส่ไม้ไต่คู้ เช่น ล็อก (lock) ถ้าไม่ใส่จะสับสนกับคาว่า “ลอก” ในภาษาไทย
4.3 การใช้และไม่ใช้วรรณยุกต์ มีหลักเช่นเดียวกับไม้ไต่คู้ ตัวอย่างคาที่ใช้วรรณยุกต์ เช่น โคม่า โค้ก
ปลั๊ ก เพราะถ้าไม่ ใช้จ ะสั บ สนกับ คาว่า โคมา โคก และปลั ก (ควาย) ส่ ว นคาที่ ไม่สั บ สนกับ คาไทย ไม่ ต้ องใส่
วรรณยุกต์ เช่น โควตา เทคโนโลยี ดอลลาร์ วอลเลย์บอล
4.4 พยัญชนะที่สมัยหนึ่งเคยใช้ เมื่อมาถึงสมัยหลังเปลี่ยนแปลงไป ทาให้เขียนผิดพลาดไป เช่น
อักษร ค เปลี่ยนเป็น ก อักษร ท เปลี่ยนเป็น ต เช่น คลินิก ไนต์คลับ เบรก น็อก แบคทีเรีย
5. ศัพท์บัญญัติ เกิดจากการแปลคาภาษาต่างประเทศ แล้วบัญญัติศัพท์ขึนใหม่จากคาแปลนัน คาที่มัก
เขียนผิด ได้แก่ โทรศัพท์ มักเขียนผิดเป็นโทรศัพย์ คาศัพท์ มักเขียนผิดเป็น คาศัพย์ โลกาภิวัตน์ มักเขียนผิดเป็น
โลกาภิวัตน์
6. คาที่ได้รับประสบการณ์มาผิด มีหลายคา เช่น ศีรษะ มักเขียนผิดเป็น ศรีษะ เมตตาปรานี มักเขียน
ผิดเป็น เมตตาปราณี อะไหล่ มักเขียนผิดเป็น อะหลั่ย สัมมนา มักเขียนเป็น สัมนา ฯลฯ
ประมวลคาที่เขียนสะกดได้ถูกต้อง
ก - กฎหมาย กระชาย กระตือ รือร้น กระทะ (นก) กระทา กระเพาะ กะดากะด่าง กะทัดรั ด
กะทันหัน กะทิ (ปลา) กะพง กะเพรา กะโหลก ก๊อบปี้ กิตติมศักดิ์ เกร็ดความรู้ เกล็ดปลา เกสร แก๊ส ฯลฯ
ข - ขะมักเขม้น
ค - คลินิก ค็อกเทล คอนเสิร์ต เค้ก เคาน์เตอร์ แค็ตตาล็อก โควตา
จ - (ไม้) จันทน์ (โจษ) จัน
ฉ - ฉะนัน
ช - ช็อกโกแลต ช็อกโกเลต
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 38

ซ - ซีเมนต์ เซ็นชื่อ
ต - เต็นท์ ไต้ฝุ่น
น - นานัปการ
บ - บันเทิง บิณฑบาต บุคลากร เบญจเพส เบรก แบงก์ แบตเตอรี่
ป - ประนีประนอม ปรากฏ ปรารถนา ปาฏิหาริย์ เปรื่องปราด เปอร์เซ็นต์
ผ - ไผท
พ - พรรณนา (บิด) พลิว
ม - มักกะโรนี มัคคุเทศก์ มาตรฐาน
ล - ล็อก ลอย ลิฟต์ ลอตเตอรี่
ว - วอลเลย์บอล
ศ - ศิลปวัฒนธรรม ศีรษะ
ส - สมเพช สมโภช สรรหา สร้างสรรค์ สแลง สวิตซ์ สะพรึงกลัว สังเกต สังสรรค์ สัญชาตญาณ
สับปะรด สัมมนา สาบสูญ เครื่องสาอาง สิริมงคล (ยา) เสพติด เสิร์ฟ
ห - หงส์ (ราก) เหง้า โหวต (เสียง) หลงใหล เหลวไหล
อ - อเนกประสงค์ อภิรมย์ อภิเษก อรทัย (หญิงสาว) อรไท (นางผู้เป็นใหญ่) อลักเอลื่อ ออกซิเจน
ออฟฟิศ อะไหล่ อัฒ จั น ทร์ อานิ ส งส์ อิเล็ ก ทรอนิกส์ อุทธรณ์ อุ ทาหรณ์ อุป การคุณ อุ ปมาอุปไมย อุปโลกน์
เอกซเรย์ ไอศกรีม
คาที่เขียนได้ 2-3 แบบ
ขะเย้อเขย่ง – กระเย้อกระแหย่ง, ขะเย้อแขย่ง
คลุมเครือ, ครุมเคือ
มโหรสพ, มหรสพ
วิกฤตการณ์, วิกฤติการณ์
สะระตะ, สรตะ
สังหาร, สังหรณ์
พระราชสาสน, พระราชสาสน์, พระราชสาส์น
อะลุ่มอล่วย, อะลุ้มอล่วย
ประมวลคาที่อ่านออกเสียงถูกต้อง
ประเภทที่อ่านได้ 2 แบบ
กรณี อ่านว่า กะ-ระ-นี, กอ-ระ-นี
กาลกิณี อ่านว่า กาน-ละ-กิ-นี, กา-ละ-กิ-นี
เกียรติประวัติ อ่านว่า เกียด-ติ-ประ-หวัด, เกียด-ประ-หวัด
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 39

ขะมักเขม้น อ่านว่า ขะ-มัก-ขะ-เม่น, ขะ-หมัก-ขะ-เม่น


คณนา อ่านว่า คะ-นะ-นา, คัน-นะ-นา, คน-นะ-นา
คณิตศาสตร์ อ่านว่า คะ-นิด-ตะ-สาด, คะ-นิด-สาด
คุณค่า อ่านว่า คุน-ค่า, คุน-นะ-ค่า
คุณประโยชน์ อ่านว่า คุน-ประ-โหยด, คุน-นะ-ประ-โหยด
คุณวุฒิ อ่านว่า คุน-นะ-วุด-ทิ, คุน-นะ-วุด
คุณสมบัติ อ่านว่า คุน-นะ-สม-บัด, คุน-สม-บัด
ชลประทาน อ่านว่า ชน-ละ-ประ-ทาน, ชน-ประ-ทาน
บุรพทิศ อ่านว่า บุ-ระ-พะ-ทิด, บุบ-พะ-ทิด
โบราณวัตถุ อ่านว่า โบ-ราน-นะ-วัด-ถุ, โบ-ราน-วัด-ถุ
โบราณสถาน อ่านว่า โบ-ราน-นะ-สะ-ถาน, โบ-ราน-วัต-ถุ
ปกติ อ่านว่า ปะ-กะ-ติ, ปก-กะ-ติ
ปฐมเทศนา อ่านว่า ปะ-ถม-มะ-เท-สะ-นา, ปะ-ถม-มะ-เทด-สะ-หนา
ปะ-ถม-เทด-สะ-หนา
ปรนัย อ่านว่า ปะ-ระ-ไน, ปอ-ระ-ไน
ประกาศนียบัตร อ่านว่า ประ-ภา-สะ-นี-ยะ-บัด, ประ-กาด-สะ-นี-ยะ-บัด
ประวัติศาสตร์ อ่านว่า ประ-หวัด-ติ-สาด, ประ-หวัด-สาด
ประวัติการณ์ อ่านว่า ประ-หวัด-ติ-กาน, ประ-หวัด-กาน
ปรัชญา อ่านว่า ปรัด-ยา, ปรัด-ชะ-ยา
ผรุสวาท อ่านว่า ผะ-รุ-สะ-วาด, ผะ-รุด-สะ-วาด
พฤหัสบดี อ่านว่า พรึ-หัด-สะ-บอ-ดี, พะ-รึ-หัด-สะ-บอ-ดี
โภชนาการ อ่านว่า โพ-ชะ-นา-กาน, โพด-ชะ-นา-กาน
มกราคม อ่านว่า มก-กะ-รา-คม, มะ-กะ-รา-คม
มนุษยศาสตร์ อ่านว่า มะ-นุด-สะ-ยะ-สาด, มะ-นุด-สาด
มนุษยสัมพันธ์ อ่านว่า มะ-นุด-สะ-ยะ-สา-พัน, มะ-นุด-สา-พัน
มูลค่า อ่านว่า มูน-ค่า, มูน-ละ-ค่า
รัฐวิสาหกิจ อ่านว่า รัด-ถะ-วิ-สา-หะ-กิด, รัด-วิ-สา-หะ-กิด
ศฤงคาร อ่านว่า สิง-คาน, สะ-หริง-คาน
ศาสตราจารย์ อ่านว่า สาด-ตรา-จาน, สาด-สะ-ดรา-จาน
โศกนาฏ อ่านว่า โส-กะ-นาด-ตะ-กา, โสก-กะ-นาด-ตะ-กา
สมดุล อ่านว่า สะ-มะ-ดุน, สม-ดุน
สมรภูมิ อ่านว่า สะ-หมอน-ระ-พูม, สะ-หมอ-ระ-พูม
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 40

สมรรถภาพ อ่านว่า สะ-มัด-ถะ-พาบ, สะ-หมัด-ถะ-พาบ


สมานฉันท์ อ่านว่า สะ-มา-นะ-ฉัน, สะ-หมาน-นะ-ฉัน
สรภัญญะ อ่านว่า สะ-ระ-พัน-ยะ, สอ-ระ-พัน-ยะ
สรรพสามิต อ่านว่า สับ-พะ-สา-มิด, สัน-พะ-สา-มิด
สรรเสริญ อ่านว่า สัน-เสิน, สัน-ระ-เสิน
สังคมศาสตร์ อ่านว่า สัง-คม-สาด, สัง-คม-มะ-สาด
สังหาริมทรัพย์ อ่านว่า สัง-หา-ริ-มะ-ซับ, สัง-หา-ริม-มะ-ซับ
สัปดาห์ อ่านว่า สับ-ดา, สับ-ปะ-ดา
สารสนเทศ อ่านว่า สาน-สน-เทด, สา-ระ-สน-เทด
สุคติ อ่านว่า สุ-คะ-ติ, สุก-คะ-ติ
สุนทรพจน์ อ่านว่า สุน-ทอน-ระ-พด, สุน-ทอ-ระ-พด
อนุรักษนิยม อ่านว่า อะ-นุ-รัก-นิ-ยม, อะ-นุ-รัก-สะ-นิ-ยม
อาชญา อ่านว่า อาด-ยา, อาด-ชะ-ยา
อาสาฬหบูชา อ่านว่า อา-สาน-หะ-บู-ชา, อา-สาน-ละ-หะ-บู-ชา
อุดมการณ์ อ่านว่า อุ-ดม-นะ-กาน, อุ-ดม-กาน
ประเภทที่อ่านได้แบบเดียว
กรรมาธิการ อ่านว่า กา-มา-ทิ-กาน
กลไก อ่านว่า กน-ไก
กลยุทธ์ อ่านว่า กน-ละ-ยุด
กายภาพบาบัด อ่านว่า กาย-ยะ-พาบ-บา-บัด
กาลเทศะ อ่านว่า กา-ละ-เท-สะ
โฆษณา อ่านว่า โคด-สะ-นา
ฉัตรมงคล อ่านว่า ฉัด-ตระ-มง-คล
ชนมพรรษา อ่านว่า ชน-มะ-พัน-สา
ทารุณกรรม อ่านว่า ทา-รุน-นะ-กา
ปราชัย อ่านว่า ปะ-รา-ไช
ปาฐกถา อ่านว่า ปา-ถะ-กะ-ถา
วรมหาวิหาร อ่านว่า วอ-ระ-มะ-หา-วิ-หาน
สมถะ อ่านว่า สะ-มะ-ถะ
สมนาคุณ อ่านว่า สม-มะ-นา-คุน
สมรรถนะ อ่านว่า สะ-มัด-ถะ-นะ
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 41

สมุฏฐาน อ่านว่า สะ-หมุด-กาน


สรณะ อ่านว่า สะ-ระ-นะ
สารนิเทศ อ่านว่า สา-ระ-นิ-เทด

การใช้ภาษาอย่างถูกต้องและเหมาะสม นอกจากจะทาให้สื่อความกันเข้าใจแล้วยังช่วยดารงความถูกต้อง
ของภาษาไทยอีกด้วย และทาให้ภาษาไทยไม่สูญหายไป นับเป็นการรักษามรดกของชาติให้คงอยู่สืบไปดังบทกวี
ที่ว่า
เกิดไปไทยหากไม่รักษ์ภาษาไทย
จะมีใครดารงไว้ให้สืบสาน
บรรพชนสร้างสรรค์มาแต่ช้านาน
เราลูกหลานควรจักพิทักษ์แทน
อาจารย์ศิวริน แสงอาวุธ
ผู้ประพันธ์
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 42

บทที่ 3
การนาเสนอผลการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการ

การศึกษาค้นคว้าเป็นกระบวนการสาคัญที่ช่วยให้บุคคลได้เรียนรู้ตลอดชีวิต โดยเฉพาะการเรียนรู้ใน
ระดับอุดมศึกษาที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้ศึกษาหาความรู้ด้วยตนเองอย่างเป็นระบบและสามารถถ่ายทอดผลการศึกษา
นันให้ผู้อื่น ได้รับทราบด้วยวิธีการนาเสนอ 3 วิธี คือ การนาเสนอด้วยลายลักษณ์อักษร วาจา และสื่อประสม
ผู้เรียนจึงต้องศึกษาหลักและวิธีการนาเสนอทัง 3 วิธี และนาไปฝึกปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ

การนาเสนอผลการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการด้วยลายลักษณ์อักษร
การนาเสนอผลการศึกษาค้นคว้าด้วยลายลักษณ์อักษร หมายถึง การนาเสนอผลงานที่ได้จากการศึกษา
ค้นคว้าในรูปของเอกสารงานเขียน ซึ่งอาจกระทาได้หลายลักษณะ เช่น รายงานวิชาการ บทความวิชาการ ตารา
เป็นต้น สาหรับเอกสารเล่มนีจะกล่าวถึงเฉพาะการเขียนรายงานวิชาการ ซึ่งผู้เรียนจาเป็นต้องใช้เป็นพืนฐานใน
การศึกษารายวิชาต่างๆ และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพการงานต่อไป ดังรายละเอียดต่อไปนี
1. ความหมายของรายงานวิชาการ
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542 (2546 : 953, 1073) ให้ความหมายของรายงานว่ า
“เรื่องราวที่ไปศึกษาค้นคว้าแล้วนามาเสนอที่ประชุม ครูอาจารย์ หรือผู้บังคับบัญชา เป็นต้น ” และให้ความหมาย
ของวิชาการ ว่า “วิชาความรู้สาขาใดสาขาหนึ่งหรือหลายสาขา เช่น บทความวิชาการ สัมมนาวิชาการ การประชุม
วิชาการ”
นภาลัย สุวรรณธาดา และคนอื่นๆ (2548 : 206 – 207) กล่าวว่า รายงานวิชาการ หมายถึง
เรื่องราวที่เป็นผลจากการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการ แล้วนามาเรียบเรียงอย่างมีระเบียบ แบบแผน เรื่องราวที่นามา
เขียนรายงานต้องเป็นข้อเท็จจริงหรือความรู้ อันเกิดจากการรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการศึกษาที่เป็นระบบ มีลักษณะ
เป็นวิทยาศาสตร์ รายงานวิชาการส่วนใหญ่จัดทาขึนเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษา ซึ่งอาจอยู่ในรูปแบบของรายงาน
การค้นคว้า (report) รายงานประจาภาค หรือภาคนิพนธ์ (term paper) วิทยานิพนธ์ หรือปริญญานิพนธ์ (thesis
or dissertation) รายงาน การวิจัย (research paper) เป็นต้น
สรุปได้ว่า รายงานวิชาการ หมายถึง เรื่องราวที่เป็นผลจากการศึกษาค้นคว้าอย่างเป็นระบบ โดย
อาศัยวิชาความรู้สาขาใดสาขาหนึ่งหรือหลายสาขาร่วมกัน แล้วนามาเรียบเรียงให้ถูกต้องตามแบบแผนที่กาหนด
รายงานวิชาการส่วนใหญ่จัดทาขึนเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรหรือในรายวิชาใดรายวิ ชาหนึ่ง มีชื่อ
เรียกและลักษณะปลีกย่อยที่แตกต่างกันออกไป
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 43

2. หลักทั่วไปในการเขียนรายงานวิชาการ
2.1 ต้องปฏิบัติตามขันตอนของการเขียนรายงานวิชาการที่ถูกต้องเพื่อให้ได้ผลงานที่มีคุณภาพและ
สามารถตรวจสอบได้
2.2 ต้องเสนอเนือหาที่ถูกต้องตามหลักวิชาการ มี ความทันสมัยและเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนา
วิชาการในสาขานันๆ รายงานที่ดีต้องมีส่วนที่แสดงถึงการวิเคราะห์และข้อสรุปของผู้ทารายงานเอง ไม่ใช่เรียบเรียง
มาจากงานเขียนของผู้อื่นเพียงอย่างเดียว
2.3 ต้องมีส่วนประกอบของรายงานและระบบการอ้างอิงที่ครบถ้วนสมบูรณ์ ตามแบบแผนการทา
รายงานที่หลักสูตรหรือรายวิชานัน ๆ กาหนดขึน
2.4 ต้องใช้ภาษาระดับทางการในการเขียนรายงาน เป็นภาษาเขียนที่แจ่มแจ้งชัดเจน สุภาพ และ
กระชับรัดกุม หลีกเลี่ยงการใช้คาย่อและคาตัดสัน คาภาษาพูด คาโบราณ คาภาษาถิ่น คาหยาบ คาสแลง คาผิด
ความหมาย คาผิดชนิด เป็นต้น หากใช้ศัพท์วิชาการให้ใช้ศัพท์บัญญัติของราชบัณฑิตยสถานเป็นเกณฑ์
2.5 ต้องยึดมั่นในจรรยาบรรณของการเขียนรายงานวิชาการ มีความซื่อสัตย์ไม่ละเมิดทรัพย์สินทาง
ปัญญาของผู้อื่น
3. ขั้นตอนของการทารายงานวิชาการ
การทารายงานวิชาการต้องดาเนินการอย่างเป็นระบบและมีขันตอนต่อเนื่องกันซึ่งอาจแบ่งได้เป็น 7
ขันตอน ดังนี
3.1 การเลือกหัวข้อเรื่อง การเลือกเรื่องที่จะทารายงานควรคานึงถึงหลักต่อไปนี
3.1.1 เป็นเรื่องที่ผู้ทารายงานสนใจและมีพืนความรู้อยู่บ้าง
3.1.2 เป็นเรื่องที่เป็นประโยชน์ในทางวิชาการ
3.1.3 เป็นเรื่องที่มีแหล่งข้อมูลในการศึกษาค้นคว้าอย่างเพียงพอ
3.1.4 เป็นเรื่องแปลกใหม่ที่ยังไม่มีผู้ใดเคยทามาก่อน หากมีผู้ศึกษาไว้แล้วผู้ทารายงานควร
นาเสนอในแง่มุมที่แตกต่างไปจากเดิม
3.1.5 เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับปัญหาที่สมควรแก้ไข แต่ยังหาข้อยุติไม่ได้
3.1.6 เป็นเรื่องที่ไม่ยากเกินความสามารถของผู้รายงานและไม่ง่ายจนเกินไป
3.2 การจากัดขอบเขตของเรื่อง และการกาหนดวัตถุประสงค์ มีแนวปฏิบัติดังนี
3.2.1 การจากัดขอบเขตของเรื่อง หมายถึง การกาหนดเรื่องที่จะทารายงานให้มีขอบเขตที่
แน่นอน ไม่กว้างหรือแคบจนเกินไป ทังต้องคานึงถึงความสามารถในการรวบรวมข้อมูล และระยะเวลาที่กาหนดให้
เขียนรายงาน การจากัดขอบเขตของเรื่องอาจกระทาได้ด้วยวิธีการดังต่อไปนี
3.2.1.1 ศึกษาเรื่องราวเฉพาะด้านใดด้านหนึ่ง เช่น สมุนไพรที่ใช้ในธุรกิจสปา การจัด
หมวดหมู่หนังสือระบบทศนิยมของดิวอี เป็นต้น
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 44

3.2.1.2 ศึกษาเรื่องราวเฉพาะในช่วงระยะเวลาที่กาหนด เช่น พัฒนาการนวนิยายไทย


ตังแต่ พ.ศ.2475 จนถึงปัจจุบัน เป็นต้น
3.2.1.3 ศึกษาเรื่องราวโดยจากัดบุคคลหรือกลุ่มบุคคล เช่น ชีวิตและงานของเหม
เวชกร พฤติกรรมการออกกาลังกายของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร เป็นต้น
3.2.1.4 ศึกษาเรื่องราวโดยจากัดสถานที่ เช่น การจัดการแยกขยะมูลฝอยในโรงเรียน
ปัญหาแรงงานต่างด้าวในจังหวัดนนทบุรี เป็นต้น
3.2.2 การก าหนดวั ต ถุ ป ระสงค์ ในขั นตอนนี ผู้ ท ารายงานต้ อ งก าหนดวั ต ถุ ป ระสงค์ ข อง
การศึ ก ษาค้ น คว้ า อย่ า งชั ด เจน เพื่ อ เป็ น แนวทางว่ า จะศึ ก ษาเรื่ อ งใดบ้ า ง และจะศึ ก ษาเพื่ อ อะไร การเขี ย น
วัตถุประสงค์นิยมเขียนเป็นข้อๆ ประมาณ 1-3 ข้อ
3.3 การรวบรวมข้อมูล ข้อมูล หมายถึง เรื่องราว ข่าวสาร หรือเหตุการณ์ที่ยอมรับกันว่าเป็นไป
ตามจริง แบ่งกว้างๆ ได้ 2 ชนิด คือ ข้อมูลปฐมภูมิ และข้อมูลทุ ติยภูมิ ข้อมูลปฐมภูมิเป็นข้อมูลดิบ ยังไม่ผ่านการ
ตีความ เช่น ศิลาจารึก จดหมายเหตุ ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ความคิดเห็นของบุคคลที่เกี่ยวข้อง ส่วนข้อมูลทุติยภูมิ
เป็นข้อมูลที่ได้รับโดยผ่านงานของผู้อื่น เช่น ข้อมูลที่ตารานามาอ้างอิงเป็นการสารวจของผู้อื่น เป็นต้น (ป รีชา
ช้างขวัญยืน และคนอื่น ๆ, 2539 : 27-28)
รายงานเป็นงานที่เขียนขึนจากข้อมูลที่เป็นจริง การรวบรวมข้อมูลจึงเป็นขันตอนที่สาคัญมาก
ผู้ทารายงานควรปฏิบัติตามขันตอนย่อย 2 ขันตอน ดังนี
3.3.1 การค้นคว้าและเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้ทารายงานควรเลือกใช้วิธีการค้ นคว้าและเก็บ
รวบรวมข้อมูลให้เหมาะสมกับเรื่องที่ทา และควรใช้หลายๆ วิธีประกอบกัน เช่น การอ่าน การฟัง การสืบค้นจาก
สื่ออิเล็กทรอนิกส์ การสังเกต การสารวจ การสัมภาษณ์ การสอบถาม การถ่ายภาพ การบันทึกเทป การบันทึกวีดิทัศน์
การทดลอง เป็นต้น นอกจากนันควรเลือกใช้แหล่ งข้อมูลที่เหมาะสมและเชื่อได้ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่กว้างขวางลึกซึง
และทันสมัย แหล่งข้อมูลที่ใช้ในการค้นคว้าและเก็บรวบรวมข้อมูลอาจแบ่งได้เป็น 3 ประเภท ดังนี
3.3.1.1 แหล่งข้อมูลสื่อวัสดุ หมายถึง วัตถุที่ผลิตขึนเพื่อบันทึกถ่ายทอด และเผยแพร่
ข้อมูล อาจแบ่งได้เป็น 4 ลักษณะ คือ สื่อสิ่งพิมพ์ ได้แก่ หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์ จุลสาร และกฤตภาค สื่อไม่
ตีพิมพ์ เช่น แผ่นเสียง รูปภาพ วีดิทัศน์ สื่อที่เป็นวัสดุย่อส่วน เช่น ไมโครฟิล์ม ไมโครการ์ด และสื่ออิเล็กทรอนิกส์
เช่น ฐานข้อมูลออนไลน์ วารสารอิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์ เป็นต้น
3.3.1.2 แหล่ ง ข้ อ มู ล บุ ค คล หมายถึ ง ผู้ ใ ห้ ค วามรู้ ห รื อ ข้ อ มู ล ในเรื่ อ งต่ า งๆ เช่ น
ผู้เชี่ยวชาญในแต่ละสาขาวิชา บุคคลที่เป็นภูมิปัญญาท้องถิ่น พยานผู้รู้เห็นเหตุการณ์ เป็นต้น
3.3.1.3 แหล่งข้อมูลสถานที่ หมายถึง สถานที่ที่เก็บรวบรวมและให้บริก ารข้อมูลแก่
ผู้สนใจ เช่น ห้องสมุด หอจดหมายเหตุ และสถานที่จริงที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเช่น เกาะเกร็ด จังหวัดนนทบุรี เป็น
แหล่งผลิตเครื่องปั้นดินเผาที่มีชื่อเสียง เป็นต้น
3.3.2 การบันทึกข้อมูล ในการรวบรวมข้อมูลต้องมีการจดบันทึกไว้เพื่อใช้ประกอบการศึกษา
ค้นคว้า วิเคราะห์ สังเคราะห์ สรุปผล และเขียนรายงาน การบันทึกข้อมูลที่ใช้กันมากที่สุด คือ การบันทึกข้อมูล
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 45

จากการอ่านเอกสาร นอกจากนันยังมีการรวบรวมข้อมูลภาคสนาม เช่น การสังเกต การสอบถาม การสัมภาษณ์


เป็นต้น
3.4 การเขีย นโครงร่ างรายงานวิ ช าการ ในการทารายงานซึ่ง เป็นส่ ว นหนึ่งของการศึกษาตาม
หลักสูตรหรือรายวิชาใดรายวิชาหนึ่ง อาจารย์ผู้สอนมักกาหนดให้ผู้เรียนเสนอโครงร่างรายงานวิชาการก่อนที่จะลง
มือเขียนรายงานฉบับสมบูรณ์ โครงร่างรายงานวิชาการ หมายถึง เค้าโครงของรายงานที่เขียนขึนล่วงหน้าอย่าง
คร่าวๆ เพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางในการทารายงานตังแต่จนจบเรื่อง มีส่วนประกอบเฉพาะหัวข้อที่สาคัญ ดัง
ตัวอย่าง

ตัวอย่างโครงร่างรายงานวิชาการ
1. ชื่อเรื่อง
ศิลปะการแสดงโขน
2. วัตถุประสงค์ของการศึกษาค้นคว้า
เพื่อศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับศิลปะการแสดงโขนในด้านประวัติความเป็นมา บทนาฏกรรมที่ใช้ใน
การแสดง พิธีไหว้ครู การแสดงโขนประเภทต่างๆ แบบแผนและคุณค่าของการแสดงโขน
3. ประโยชน์ของการศึกษาค้นคว้า
3.1 ทาให้ทราบข้อมูลเกี่ยวกับศิลปะการแสดงโขนอย่างกว้างขวางและละเอียดลึกซึง
3.2 ผลการศึกษาค้นคว้าสามารถนาไปใช้เป็นเอกสารคู่มือการชมการแสดงโขนได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งทาให้ผู้ชมเกิดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับศิลปะการแสดงโขน และ
เกิดความรู้สึกซาบซึงในสุนทรียภาพของศิลปะการแสดงดังกล่าว
3.3 ครู อาจารย์ นักเรียน นักศึกษา และผู้สนใจ ตระหนักถึงความสาคัญของศิลปะการแสดง
โขน ตลอดจนมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์และพัฒนามรดกศิลปวัฒนธรรมของชาติให้ดารงอยู่อย่างยั่งยืน
ตลอดไป
4. วิธีดาเนินการศึกษาค้นคว้า
4.1 ศึกษาสภาพการณ์เกี่ยวกับศิลปะการแสดงโขนของไทยในปัจจุบัน
4.2 ศึกษาข้อมูลเบืองต้นจากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
4.3 กาหนดหัวข้อการศึกษาค้นคว้าและเขียนโครงร่างรายงานวิชาการ
4.4 เก็บรวบรวมข้อมูลเชิงลึกด้วยวิธีการต่อไปนี
4.4.1 เก็บรวบรวมและบันทึกข้อมูลเรื่องศิลปะการแสดงโขนจากเอกสารต่างๆ ได้แก่
หนังสือ หนังสือพิมพ์ บทความในวารสารและนิตยสาร สารานุกรม และวิทยานิพนธ์
4.4.2 สืบค้นข้อมูลจากเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้อง
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 46

4.4.3 สัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญทางด้านการแสดงโขน คือ ดร. ประจักษ์ ไม้เจริญ อาจารย์


ประจาสาขาวิชานาฏศิลป์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
4.4.4 ชมวีดิทัศน์การแสดงโขน
4.4.5 สังเกตการณ์การฝึกหัดโขนของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
4.5 นาข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ สังเคราะห์ และหาข้อสรุป
4.6 เขียนรายงานผลการศึกษาค้นคว้าในรูปแบบรายงานวิชาการ
5. โครงร่างเนื้อหา
บทที่ 1 บทนา
ภูมิหลัง
วัตถุประสงค์ของการศึกษาค้นคว้า
ประโยชน์ของการศึกษาค้นคว้า
ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า
วิธีดาเนินการศึกษาค้นคว้า
บทที่ 2 ความเป็นมาและคุณค่าของการแสดงโขน
ความหมายของคาว่า โขน
ประวัติความเป็นมาของการแสดงโขน
บทนาฏกรรมที่ใช้ในการแสดงโขน
พิธีไหว้ครูโขน
คุณค่าของศิลปะการแสดงโขน
บทที่ 3 แบบแผนการแสดงโขน
ประเภทของการแสดงโขน
บทพากย์ บทเจรจา และบทร้องโขน
ดนตรีที่ใช้ในการแสดงโขน
ภาษาท่าทางในการแสดงโขน
เครื่องแต่งตัวและหัวโขน
บทที่ 4 สรุปและข้อเสนอแนะ
สรุป
ข้อเสนอแนะ
6. บรรณานุกรม (เขียนให้ถูกต้องตามแบบแผนบรรณานุกรม อย่างน้อย 5 รายการ)
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 47

บรรณานุกรม
ธนิต อยู่โพธิ์. (2508). โขน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภา.
ประจักษ์ ไม้เจริญ. (2544). โขน. กรุงเทพฯ: สถาบันราชภัฏพระนคร.
ปัญญา นิตยสุวรรณ. (2542). โขน : การแสดง. สารานุกรมวัฒนธรรมไทยภาคกลาง. 2 : 785 –
797.
สานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ. (2542). ศิลปะการแสดงของไทย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์
การศาสนา.
http://www.anurakthai.com/thaidances/khon/history.asp.

3.5 การจัดระเบียบและวิเคราะห์ข้อมูล การจัดระเบียบข้อมูล หมายถึง การนาข้อมูลที่รวบรวม


ได้มาจัดเรียงลาดับเพื่อให้สะดวกแก่การใช้วิเคราะห์และการเขียนรายงาน ต่อจากนันจึงเป็นขันตอนการวิเคราะห์
ข้อมูล ซึ่งหมายถึง การพิจารณาแยกแยะข้อมูลอย่างถี่ถ้วน โดยพิจารณาข้อมูลต่างๆ ทังที่สอดคล้องและที่ขัดแย้ง
ซึ่งกันและกันด้วยเหตุผลตามหลักวิชาการและวิจารณญาณที่เป็นกลาง เพื่อให้ได้ข้อสรุปที่เป็นการลงความเห็นของ
ผู้ทารายงานเอง
3.6 การเขียนและพิมพ์รายงานวิชาการ มีขันตอนย่อยดังนี
3.6.1 เขียนรายงานฉบับร่าง โดยประมวลความรู้ ความคิด ความคิดเห็นและข้อมูลต่างๆ มา
เรียบเรียงเป็นรายงานฉบับร่าง
3.6.2 อ่านทบทวนและปรับปรุงแก้ไขให้ถูกต้อง
3.6.3 พิมพ์ต้นฉบับรายงาน พิสูจน์อักษร และเข้ารูปเล่ม
3.6.4 ตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์ของรายงานทังเล่ม
3.7 การนาเสนอรายงานวิช าการ เป็นขันตอนของการเสนอรายงานต่อบุคคลสถานศึกษาหรือ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น ผู้เรียนเสนอรายงานต่ออาจารย์ผู้สอน ผู้ปฏิบัติงานเสนอรายงานต่อผู้บังคับบัญชาหรือ
หน่วยงาน เป็นต้น
4. ส่วนประกอบของรายงานวิชาการ
ส่วนประกอบของรายงานวิชาการแบ่งกว้างๆ ได้ 3 ส่วน คือ ส่วนประกอบตอนต้น ส่วนเนือหา และ
ส่วนประกอบตอนท้าย
4.1 ส่วนประกอบตอนต้น เป็นส่วนที่ช่วยให้เข้าใจโครงสร้างการนาเสนอของรายงานตลอดเล่ม
ประกอบด้วยส่วนต่างๆ ดังนี
4.1.1 ปกนอก ประกอบด้วยปกหน้าและปกหลัง ใช้กระดาษค่อนข้างแข็งกว่ากระดาษพิมพ์ใน
เล่ม การพิมพ์ปกหน้าให้แบ่งหน้ากระดาษออกเป็น 3 ส่วนเท่า ๆ กัน ส่วนบนพิมพ์ชื่อเรื่องรายงาน โดยไม่ต้องมีคา
ว่า เรื่อง หรือ รายงานเรื่อง ส่วนกลางพิมพ์ชื่อ นามสกุล ของผู้ทารายงานโดยไม่ต้องมีคานาหน้าชื่อ ยกเว้นมียศ
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 48

ตารวจ ทหาร หรือฐานันดรศักดิ์ จึงจะพิมพ์ไว้ ส่วนล่างระบุประเภทรายงาน ชื่อรายวิชา ชื่อสถานศึกษา ภาคเรียน


และปีการศึกษา ส่วนปกหลังจะเป็นกระดาษเปล่า หรือมีข้อความและรูปภาพปรากฏอยู่ก็ได้

ตัวอย่างปกนอก (ปกหน้า)

ศิลปะการแสดงโขน

ประทีป รักธรรม

รายงานนีเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษารายวิชาภาษาไทยเพื่อสื่อความหมาย
มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557

4.1.2 หน้ าปกใน พิมพ์รูปแบบและข้อความเหมือนปกนอก (ปกหน้า) ทุกประการ แต่ใช้


กระดาษพิมพ์ธรรมดา
4.1.3 คานา เป็นส่วนที่กล่าวถึงวัตถุประสงค์ ความสาคัญและขอบเขตเนือหาของรายงาน
นอกจากนีอาจกล่าวขอบคุณผู้มีส่วนช่วยเหลือในการทารายงาน ในตอนท้ายของคานาให้ลงชื่อ นามสกุลของผู้ทา
รายงาน และวันเดือนปีที่เสนอรายงาน การเขียนคานาที่ดีไม่ควรกล่าวถ่อมตัวจนเกินไป และไม่ออกตัวโดยไม่เกิด
ประโยชน์ ความยาวของคานาไม่ควรเกิน 1 หน้ากระดาษ
4.1.4 สารบัญ เป็นส่วนที่แสดงรายการเนือหาและส่วนประกอบของรายงานตามลาดับ โดย
แบ่งเป็นตอน บท และหัวข้อ พร้อมบอกเลขหน้ากากับไว้
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 49

ตัวอย่างสารบัญ
สารบัญ
หน้า
คานา ก
สารบัญ ข
สารบัญตาราง ค
สารบัญภาพ ง
บทที่
1 บทนา 1
ภูมหิ ลัง 1
วัตถุประสงค์ของการศึกษาค้นคว้า 3
ประโยชน์ของการศึกษาค้นคว้า 4
ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า 4
วิธีการดาเนินศึกษาค้นคว้า 6
2 ความเป็นมาและคุณค่าของการแสดงโขน 7
ความหมายของคาว่า โขน 7
ประวัติความเป็นมาของการแสดงโขน 7
บทนาฏกรรมที่ใช้ในการแสดงโขน 11
พิธีไหว้ครูโขน 13
คุณค่าของศิลปะการแสดงโขน 15
3 แบบแผนการแสดงโขน 18
ประเภทของการแสดงโขน 18
บทพากย์ บทเจรจา และบทร้องโขน 24
ดนตรีที่ใช้ในการแสดงโขน 29
ภาษาท่าทางในการแสดงโขน 31
เครื่องแต่งตัวและหัวโขน 34
4 สรุปและข้อเสนอแนะ 39
สรุป 9
ข้อเสนอแนะ 41
บรรณานุกรม 42
ภาคผนวก 43
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 50

4.1.5 สารบัญตาราง (ถ้ามี) เป็นส่วนที่แสดงรายการตารางทังหมดที่มีในรายงาน โดยบอก


เลขที่ตาราง ชื่อตาราง และเลขหน้ากากับไว้

ตัวอย่างสารบัญตาราง
สารบัญตาราง

ตารางที่ หน้า
2.1 พระราชนิพนธ์รามเกียรติ์ฉบับต่าง ๆ 12
3.1 ชนิดและประเภทของหัวโขน 35
3.2 สีที่ใช้กับหัวโขน 36
ฯลฯ

4.1.6 สารบัญภาพ (ถ้ามี) เป็นส่วนที่แสดงรายการภาพประกอบทังหมดที่มีในรายงาน ได้แก่


รูปภาพ แผนภูมิ แผนที่ แผนผัง และแผนภาพ โดยบอกเลขที่ภาพ ชื่อภาพและเลขหน้า สารบัญภาพมีวิ ธีการเขียน
เหมือนสารบัญตาราง เพียงแต่เปลี่ยนคาว่า ตาราง เป็นคาว่า ภาพ แทน

ตัวอย่างสารบัญภาพ
สารบัญภาพ

ภาพที่ หน้า
2.1 พิธีไหว้ครูโขน 14
3.1 การแสดงโขนกลางแปลง 20
3.2 การแสดงโขนนั่งราว 21
ฯลฯ

4.2 ส่วนเนือหา เป็นส่วนที่สาคัญที่สุดของรายงาน แบ่งได้เป็น 3 ส่วน คือ บทนา ตัวเรื่อง และสรุป


และข้อเสนอแนะ
4.2.1 บทน า เป็ น บทแรกของเนื อเรื่ องที่แสดงพืนฐานเบืองต้น ให้ ผู้ อ่า นทราบ โดยทั่ ว ไป
ประกอบด้วยหัวข้อสาคัญ ดังนี
4.2.1.1 ภูมิหลัง หรือความสาคัญของเรื่อง เป็นการกล่าวปูพืนให้เห็นความเป็นมา
ความสาคัญ หลักการและเหตุผลของเรื่องที่นามาทารายงาน
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 51

4.2.1.2 วัต ถุ ป ระสงค์ ของการศึก ษาค้ น คว้ า เป็ น การเขี ย นว่ า จะศึ กษาเรื่ อ งอะไร
อย่างไร และเพื่ออะไร นิยมเขียนเป็นข้อๆ ประมาณ 1-3 ข้อ
4.2.1.3 ประโยชน์ของการศึกษาค้นคว้า เป็นการเขียนถึงประโยชน์หรือผลที่คาดว่า
จะได้รับจากการค้นคว้า โดยมากจะเขียนให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
4.2.1.4 ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า เป็นการเขียนให้เห็นว่าการศึกษาค้นคว้ามี
ขอบเขตกว้างขวางแค่ไหน ครอบคลุมในเรื่องอะไรบ้าง
4.2.1.5 วิธี ด าเนิ น การศึ ก ษาค้น คว้ า เป็น การระบุวิ ธี ก ารและแหล่ ง ข้ อมู ล ที่ ใ ช้ ใ น
การศึกษาค้นคว้า
4.2.2 ตัวเรื่อง เป็นส่วนที่เสนอเนือหาสาระอันเป็นผลจากการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการ โดย
แบ่งเป็นบทๆ เรียงต่อจากบทนา จะมีกี่บทขึนอยู่กับความเหมาะสมของเนือหา แต่โดยทั่วไปจะมีประมาณ 2-5 บท
ในส่วนนีควรมีการอ้างอิง เช่น อัญประภาษ การอ้ างอิงแทรกในเนือหา และควรมีส่วนที่ช่วยเสริมคาอธิบายให้
ชัดเจนแจ่มแจ้งขึน เช่น ตาราง แผนภูมิ ภาพประกอบ เป็นต้น
4.2.3 สรุปและข้อเสนอแนะ เป็นบทสุดท้ายของส่วนเนือหา ซึ่งจะเขียนสรุป วัตถุประสงค์
และวิธีดาเนิ นการศึกษาค้น คว้า สรุ ปผลหรือข้อยุติที่ได้จากการศึก ษา และจบท้ายด้วยข้อเสนอแนะของผู้ทา
รายงานเกี่ยวกับการนาผลไปประยุกต์ใช้ หรือเสนอแนวทางการศึกษาค้นคว้าที่เกี่ยวข้องต่อไป
4.3 ส่วนประกอบตอนท้าย เป็นส่วนที่อยู่ต่อจากส่วนเนือหาไปจนจบเล่มประกอบด้วยส่วนต่างๆ
ดังนี
4.3.1 บรรณานุ ก รม คื อ บั ญ ชี ร ายการหนั ง สื อ และวั ส ดุ ส ารนิ เ ทศทุ ก ประเภทที่ น ามาใช้
ประกอบการเขียนรายงาน (ดูรายละเอียดในหัวข้อการอ้างอิง)
4.3.2 ภาคผนวก (ถ้ามี) คือ ส่วนอธิบายเพิ่มเติมเรื่องราวที่เกี่ยวโยงกับเนือเรื่อง แต่ไม่ใช่เนือ
เรื่องโดยตรง อาจเป็นตัวเลขสถิติ แบบสอบถาม สาเนาเอกสารหายาก บทศึกษาเฉพาะกรณี ภาพประกอบ ตาราง
กราฟ แผนที่ที่มีร ายละเอียดมาก ภาคผนวกจะมีหรือไม่มีก็ได้ขึนอยู่กับความจาเป็น ถ้ามีต้องจัดเรียงต่อจาก
บรรณานุกรม และมีหน้าบอกตอนคั่น
4.3.3 อภิธานศัพท์ (ถ้ามี) คือ บัญชีคาศัพท์ที่เข้าใจยากพร้อมระบุความหมายของศัพท์แต่ละ
คา จัดเรียงตามลาดับตัวอักษร อาจมีหรือไม่มีก็ได้
4.3.4 ดรรชนี (ถ้ามี) คือ บัญชีค้นคาซึ่งเป็นคาสาคัญ เช่น หัวข้อ ชื่อบุคคลสาคัญ ชื่อทฤษฎี
คาที่เป็นกุญแจในการอธิบายเรื่อง เป็นต้น โดยจัดเรียงคาตามลาดับตัวอักษรพร้อมระบุเลขหน้าที่คานันปรากฏอยู่
ในรายงาน ช่วยให้เกิดความสะดวกในการค้นคว้ามากขึน
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 52

ตัวอย่างดรรชนี
ดรรชนี

หน้า
โขนโรงใน 22
เครื่องแต่งตัวพระ 35
ชักนาคดึกดาบรรพ์ 7,9
ตลกโขน 32
พากย์พลับพลา 24
ฯลฯ

5. การอ้างอิง
ในการเรียบเรียงรายงานวิชาการจาเป็นต้องมีการอ้างอิง เพื่อให้ผู้อ่านทราบหลักฐานที่มาของข้อมูล
และสามารถค้นคว้าเพิ่มเติมได้ ตลอดจนเพื่อให้เกิดความน่าเชื่อถือทางวิชาการ และเป็นการให้เกียรติแก่เจ้าของ
ข้อมูลเดิม การอ้างอิงกระทาได้หลายลักษณะ ดังนี
5.1 อัญประภาษหรืออัญพจน์ คือ ข้อความที่คัดมาจากคาหรือข้อเขียนของผู้อื่นโดยตรง มิได้มีการ
เปลี่ยนแปลงหรือเขียนขึนใหม่แต่อย่างใด ส่วนมากเป็นข้อความสาคัญที่ผู้ทารายงานต้องการอ้างอิงเพื่อสนับสนุน
ความคิดเห็นของตน
หลักเกณฑ์การคัดลอกอัญประภาษมีดังนี
5.1.1 ก่อนถึงข้อความที่เป็นอัญประภาษ ควรกล่าวนาไว้ในเนือหาของรายงานว่าเป็นคาพูด
หรือข้อเขียนของใคร หรือมีความสาคัญอย่างไร
5.1.2 ต้องคัดลอกให้ ตรงตามต้นฉบับเดิม และลงรายการอ้างอิงทุกครังหากข้อความยาว
เกินไป อาจตัดบางตอนออกให้เหลือแต่ข้อความที่สาคัญ โดยใส่เครื่องหมายจุด 3 จุด... แทนข้อความที่ตัดออก
5.1.3 อัญประภาษที่มีความยาวไม่เกิน 3 บรรทัด ให้พิมพ์ต่อจากเนือหาของรายงาน โดย
คร่อมข้อความที่คัดลอกมาด้วยเครื่องหมายอัญประกาศ “...”
5.1.4 อัญประภาษที่มีความยาวเกิน 3 บรรทัด ให้พิมพ์ขึนบรรทัดใหม่ โดยย่อถัดเข้าไปจาก
ย่อหน้าปกติทังตอนต้นและตอนท้ายบรรทัดจานวน 4 ตัวอักษร เริ่มพิมพ์ที่ตัวอักษรตัวที่ 5 โดยตลอดทุกบรรทัด
กรณีนีไม่ต้องคร่อมด้วยเครื่องหมายอัญประกาศ
ตัวอย่างอัญประภาษไม่เกิน 3 บรรทัด
ธันยวัชร์ ไชยตระกูลชัย (2548 : 027) กล่าวว่า “การสร้างแบรนด์ ว่ากันว่าเป็นเรื่องยากแล้ว
แต่ทว่าการธารงรักษาแบรนด์ย่อมยากยิ่งกว่า”
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 53

ตัวอย่างอัญประภาษเกิน 3 บรรทัด
การตลาดเป็นพลังขับเคลื่อนสาคัญทางธุรกิจ และในช่วงหลายปีที่ผ่านมา การตลาดได้ขยายวง
เข้าไปมีบทบาทในการแข่งขันเพื่อการหาเสียงทางการเมือง ดังที่ธันยวัชร์ ไชยตระกูลชัย (2548 : 176) อธิบายว่า
หั ว ใจของการตลาดเพื่อ การเมื องนั น อยู่ ที่ การประยุ กต์ แ นวคิด ด้ านส่ ว นผสมของตั ว แปร
การตลาด (Marketing Mix) และกลเม็ดอื่นๆ ในทิศทางที่สามารถแย่งชิงความนิยมจากลูกค้า ซึ่งในที่นีก็คือ
ประชาชนผู้ออกเสียงนั่นเอง ความสาเร็จในการนาการตลาดมาใช้กับการเมืองนัน คือ การขยายขอบเขตการนา
การตลาดจากเดิมที่เคยใช้ในระดับ “จุลภาค” วันนีการตลาดได้ถูกนามาใช้ในระดับมหภาค
5.2 เชิงอรรถ คือ ข้อความที่ลงเพิ่มเติมนอกเหนือไปจากเนือหาของรายงานเพื่อบอกแหล่งที่มาของ
ข้อความที่อ้างอิงในรายงาน เพื่ออธิบายขยายความ และเพื่อชีนาผู้อ่านให้ค้นหารายละเอียดเพิ่มเติมจากหน้าอื่น ๆ
ของรายงาน โดยทั่วไปเชิงอรรถจะปรากฏอยู่ตอนท้ายหน้าหรือตอนล่างสุดของหน้ากระดาษ แต่บางกรณีผู้เขียน
อาจเขียนเชิงอรรถไว้ที่ท้ายบทหรือท้ายเล่มก็ได้
เชิงอรรถแบ่งได้เป็น 3 ประเภท คือ
5.2.1 เชิงอรรถอ้างอิง คือ เชิงอรรถที่บอกแหล่งที่มาของข้อมูล หรือข้อความที่ ยกมากล่าวใน
เรื่อง ปัจจุบันเชิงอรรถอ้างอิงไม่มีผู้นิยมใช้ ส่วนใหญ่จะใช้การอ้างอิงแทรกในเนือหาแทน
5.2.2 เชิงอรรถเสริมความ คือ เชิงอรรถที่อธิบายคา ข้อความ หรือให้รายละเอียดเพิ่มเติมใน
เรื่องที่กล่าวถึง
5.2.3 เชิงอรรถโยง คือ เชิงอรรถที่บอกให้ผู้อ่านไปค้นดูรายละเอียดเพิ่มเติมในหน้าอื่น ๆ ของ
รายงาน

ตัวอย่างเชิงอรรถอ้างอิง

สารคดีและบทความมีรูปแบบคล้ายคลึงกัน ส่วนเนือหานันแตกต่างกันทังโดยวัตถุประสงค์และความคิด
ดังมีผู้กล่าวเปรียบเทียบว่า “สารคดีมีลักษณะคล้ายบทความ ต่างกันตรงบทความมีความคิดเห็นเป็นแก่น มีความรู้
เป็นส่วนประกอบ ส่วนสารคดีมีความรู้เป็นแก่น มีความคิดเป็นเครื่องปรุงแต่ง”1

1
สุธิวงศ์ พงศ์ไพบูลย์. การเขียน. (กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช, 2522), หน้า 99.
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 54

ตัวอย่างเชิงอรรถเสริมความ

ความนา (lead/introduction)1 คือส่วนเริ่มต้นของข้อเขียนที่ช่วยดึงดูดความสนใจของผู้อ่านต่อสิ่งที่จะ


นามาเสนอต่อไป

1
โดยทั่วไป คาว่า lead มักใช้เรียกส่วนวรรคนาของข่าว ในขณะที่คาว่า introduction จะใช้กับความนาในสารคดีหรือบทความ
แต่บางแห่งอาจใช้ 2 คานีในความหมายเดียวกัน

ตัวอย่างเชิงอรรถโยง

สูตรการเขียนข่าวนิยมใช้แนวตอบคาถาม 5 W’s และ 1H คือใคร (Who) ทาอะไร (What) ที่ไหน


(Where) เมื่อไร (When) ทาไม (Why) และอย่างไร (How)1

1
ดูตัวอย่างการเขียนข่าวในหน้า 86 – 89

5.3 การอ้ า งอิ ง แทรกในเนื อหา เป็ น การอ้ า งอิ ง ข้ อ มู ล เมื่ อ ผู้ อ้ า งคั ด ลอก ถอดความหรื อ สรุ ป
สาระสาคัญของผู้อ่านมาไว้ ในงานของตน การอ้างอิงแทรกในเนือหาที่ได้รับความนิยมมากในปัจจุบัน คือ การ
อ้างอิงระบบนาม-ปี ซึ่งมีรูปแบบการลงรายการอย่างสันๆ แทรกปนกับเนือหาของเอกสาร ประกอบด้วย ผู้แต่ง ปี
ที่พิมพ์ เลขหน้าที่อ้างอิง และเครื่องหมายวงเล็บ ซึ่งจะโยงให้ผู้อ่านไปดูรายการอ้างอิงอย่างสมบูรณ์ที่บรรณานุกรม
ท้ายเล่ม ดังตัวอย่าง
การอ้างอิง (ครรชิต แสงกระจ่างวงศ์, 2547 : 7) หรือ ครรชิต แสงกระจ่างวงศ์ (2547 : 7)
บรรณานุกรม
ครรชิต แสงกระจ่างวงศ์. (2547). คู่มือการผลิตผักปลอดสารพิษ. กรุงเทพฯ: อักษรสยามการพิมพ์.
การวางตาแหน่งที่แทรกรายการอ้างอิงกระทาได้ 2 ลักษณะ ดังนี
5.3.1 ตามหลังข้อความที่ยกมาอ้างอิง ดังตัวอย่าง
หลักการในการปลูกผักให้ปลอดภัยจากสารพิษ คือ การไม่ใช้สารเคมีหรือใช้สารเคมีในการ
ผลิต ให้น้อยที่สุดหรือใช้ตามความจาเป็น แต่ต้องใช้อย่างถูกต้อง (ครรชิต แสงกระจ่างวงศ์, 2547 : 7)
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 55

5.3.2 ถ้ามีการกล่าวถึงผู้แต่งในเนือหาหรือข้อความนันแล้วไม่จาเป็นต้องระบุชื่อผู้แต่งซาใน
วงเล็บ ระบุเฉพาะปีที่พิมพ์และเลขหน้า ดังตัวอย่าง
ครรชิต แสงกระจ่างวงศ์ (2547 : 7) กล่าวว่า “หลักการในการปลูกผักให้ปลอดภัยจาก
สารพิษ คือ การไม่ใช้สารเคมีหรื อใช้ส ารเคมีในการผลิตให้ น้อยที่สุ ดหรือใช้ตามความจาเป็น แต่ต้องใช้อย่าง
ถูกต้อง”
5.4 บรรณานุกรม คือ บัญชีรายการหนังสือและวัสดุสารนิเทศทุกประเภทที่นามาใช้ประกอบการ
เขียนรายงาน ปรากฏอยู่ตอนท้ายของเล่ม
5.4.1 หลักเกณฑ์การพิมพ์บรรณานุกรม
5.4.1.1 เริ่มพิมพ์บรรณานุกรมโดยขึนหน้าใหม่ พิมพ์คาว่า บรรณานุกรม ไว้กลาง
หน้ากระดาษ ห่างจากขอบบนประมาณ 1 ½”
5.4.1.2 จัดเรียงรายชื่อหนังสือและวัสดุสารนิเทศตามลาดับชื่ออักษรผู้แต่งตังแต่ ก – ฮ
ถ้าไม่มีชื่อผู้แต่งให้เรียงตามชื่อเรื่อง
5.4.1.3 การพิมพ์บรรณานุกรมแต่ละรายการให้พิมพ์ขึนบรรทัดใหม่ชิดขอบซ้าย หาก
พิมพ์ไม่จบใน 1 บรรทัด ให้พิมพ์ต่อไปในบรรทัดถัดไปโดยย่อหน้าเข้าไป 7 ช่วงตัวอักษรเริ่มพิมพ์ตัวอักษรที่ 8
5.4.1.4 การลงรายการมีการใช้เครื่องหมายวรรคตอน . (มหัพภาค) , (จุลภาค) : (ทวิภาค)
หลังเครื่องหมายเหล่านีให้เว้นระยะการพิมพ์ 1 ระยะ
5.4.1.5 ผู้แต่งที่เป็นคนไทยให้ลงชื่อ นามสกุล โดยไม่มีคานาหน้า เช่น สุมาลี สังข์ศรี.
กรณีที่มีราชทินนาม บรรดาศักดิ์หรือฐานันดรศักดิ์ ให้ระบุไว้โดยเขียนสลับที่และคั่นด้วยเครื่องหมายจุลภาค เช่น
อนุมานราชธน, พระยา. คึกฤทธิ์ ปราโมช, ม.ร.ว.
5.4.1.6 ผู้แต่งที่เป็นหน่วยงานหรือสถาบัน ให้ลงชื่อเต็มโดยเรียงหน่วยงานใหญ่ไว้
ก่อน ตามด้วยหน่วยงานระดับรองลงมาเพียงระดับเดียว เช่น มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร. กระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์การเกษตร กรมวิชาการเกษตร.
5.4.1.7 ชื่อหนังสือให้พิมพ์ด้วยอักษรตัวหนา และไม่ขีดเส้นใต้ กรณีเป็นลายมือเขียน
ให้ขีดเส้นใต้ชื่อหนังสือนัน
5.4.1.8 การลงรายการครังที่พิมพ์ ให้ระบุครังที่พิมพ์ตังแต่ครังที่ 2 เป็นต้นไป โดย
พิมพ์ไว้ในวงเล็บและมีเครื่องหมายมหัพภาคหลังวงเล็บ เช่น (พิมพ์ครังที่ 2).
5.4.1.9 การลงรายการสานักพิมพ์หรือโรงพิมพ์ให้ลงชื่อเฉพาะ ตัดคาว่า สานักพิมพ์
โรงพิมพ์ บริษัท ห้างหุ้นส่วน จากัด หรือคาอื่น ๆ ที่ไม่จาเป็นออก เช่น สานักพิมพ์โอเดียนสโตร์ ให้ลงว่า โอเดียนสโตร์.
ยกเว้นสานักพิมพ์หรือโรงพิมพ์ของสถาบันจึงจะลงชื่อเต็ม เช่น สานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
5.4.1.10 กรณีหนังสือนันไม่ปรากฏปีที่พิมพ์ ให้ลงว่า ม.ป.ป. กรณีไม่ปรากฏสถานที่
พิมพ์ให้ลงว่า ม.ป.ท.
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 56

5.4.1.11 กรณีหนังสือหลายรายการเป็นของผู้แต่งคนเดียวกัน ให้ลงชื่อผู้แต่งเฉพาะ


รายการแรก รายการต่อๆ ไปให้ใช้เครื่องหมายยติภังค์ จานวน 7 ครัง ตามด้วยเครื่องหมายมหัพภาค ดังตัวอย่าง
วิรุณ ตังเจริญ. (2527). ศิลปะภาพพิมพ์. กรุงเทพฯ: แพร่พิทยา.
-------. (2530). สานึกของปลาทอง. กรุงเทพฯ: ต้นอ้อ.
5.4.2 ตัวอย่างการลงรายการบรรณานุกรม
ก่อนที่จะลงรายการบรรณานุกรม ผู้ทารายงานต้ องจาแนกได้ว่าวัสดุสารนิเทศนันเป็น
ประเภทใด แล้วเลือกลงรายการให้ถูกต้องตามแบบแผนของแต่ละประเภทที่แตกต่างกันออกไป ดังตัวอย่างต่อไปนี
5.4.2.1 หนังสือทั่วไป
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม. (ม.ป.ป.). ความรู้เรื่องสิ่งแวดล้อม. (พิมพ์ครังที่ 6). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุม
สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
5.4.2.2 หนังสือที่มีบทความหรือเนือหาแยกแต่ละบทแต่ละผู้เขียนในเล่ม
เทียนฉาย กีระนันท์. (2540). การวางแผนและการจัดทาโครงการของรัฐ. ใน สมหวัง พิธิยานุวัฒน์. บรรณาธิการ.
รวมบทความทางการประเมิน โครงการ : ชุดรวมบทความ เล่มที่ 4. (หน้า 1-24). กรุงเทพฯ:
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
5.4.2.3 บทความในสารานุกรม
อุดม หนูทอง. (2542). เพลงบอก. สารานุกรมวัฒนธรรมภาคใต้. 11 : 5531 – 5534.
5.4.2.4 บทความในวารสารวิชาการ
ภัทราพร ตังสุขฤทัย. (2547, พฤศจิกายน – ธันวาคม). กินอาหารไทยไม่เป็นโรคอ้วน. หมออนามัย. 14(3), 54 – 59.
5.4.2.5 บทความในนิตยสาร
ล้อม เพ็งแก้ว. (2542, มิถุนายน). สุนทรภู่เกิดที่ไหน. ศิลปวัฒนธรรม. 20(8), 103 – 105.
5.4.2.6 บทความในหนังสือพิมพ์
วิวัฒน์ชัย อัตถากร. (2548, 27 เมษายน). อุดมศึกษาไทยบนทางแพร่ง. มติชน: 7.
5.4.2.7 วิทยานิพนธ์
เรืองศิลป์ นิราราช. (2548). สภาพและปัญหาการบริหารกิจกรรมลูกเสือในโรงเรียน สังกัดสานักงานเขตดอน
เมือง กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัย
ราชภัฏพระนคร.
5.4.2.8 หนังสือที่มีผู้รับผิดชอบในการจัดทา เช่น บรรณาธิการ ผู้รวบรวม
อดุลย์ วิริยเวชกุล, บรรณาธิการ. (2541). คู่มือจัดการเรียนการสอนระดับบัณฑิตศึกษา. นครปฐม : บัณฑิต
วิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล.
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 57

5.4.2.9 หนังสือที่ไม่ปรากฏชื่อผู้แต่ง
สวดมนต์ไหว้พระฉบับชาวบ้านและผู้ปฏิบัติธรรม. (2541). กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น.
5.4.2.10 จุลสาร แผ่นพับ เอกสารประชาสัมพันธ์
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. (2541). ท่องเที่ยวสงขลา. (แผ่นพับ). สงขลา : ผู้แต่ง.
5.4.2.11 การอ้างเอกสารชันรอง
อุไรรัตน์ บุญภานนท์. (2529). การถอดอักษรภาษาอังกฤษเป็นไทยโดยใช้หลักภาษาศาสตร์. วิทยานิพนธ์อักษรศา
สตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั ย. อ้างถึงใน จิราพรรณ อินทรศิริพงษ์. (2547,
ตุลาคม – ธันวาคม). วารสารห้องสมุด. 48(4), 44-50.
หรือ
จิราพรรณ อินทรศิริพงษ์. (2547, ตุลาคม-ธันวาคม). วารสารห้องสมุด. 48(4), 44-50. อ้างจาก อุไรรัตน์ บุญภานนท์.
(2529). การถอดอักษรภาษาอังกฤษเป็นไทยโดยใช้หลักภาษาศาสตร์. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต
บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
5.4.2.12 หนังสือพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์
ซูม. (2542, 25 ตุลาคม). บุญของคนไทย. ไทยรัฐ (ออนไลน์). 18(2), 39-43. สืบค้น วันที่ 25 ตุลาคม 2542 จาก
http://www. thairat. co.th
5.4.2.13 www
Farranza,L.E. (1994). Le Corbusier and the problems of representation. Journal of Architectural
Education [Online], 48(2). Available Http:http://www.mitpress. mit.edu/jrnls_catalog
/arched_abstracts/File:jae 48-2 html.
5.4.2.14 การสัมภาษณ์
พงศ์ หรดาล. อธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร. (2557, ตุลาคม 15). การสัมภาษณ์.
6. ข้อแนะนาในการจัดทารายงานวิชาการ
การจัดทารายงานวิชาการของรายวิชาภาษาไทยเพื่ อการสื่อสาร มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ควร
ปฏิบัติตามข้อแนะนาต่อไปนี
6.1 กระดาษที่ใช้พิมพ์ ใช้กระดาษอัดสาเนาหรือถ่ายเอกสารขนาด A4 พิมพ์หน้าเดียว ถ้าเป็นการ
เขียนควรเขียนลงในสมุดรายงานที่แต่ละสถาบันกาหนด
6.2 การจัดหน้า กาหนดแนวขอบซ้ายและขอบบน ห่างจากริมกระดาษ 1½ นิว ขอบขวาและขอบ
ล่างห่างจากริมกระดาษ 1 นิว โดยไม่ต้องตีเส้นเป็นกรอบ
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 58

6.3 พิมพ์ด้วยตัวอักษรแบบ Angsana หรือ Cordia ขนาด 16 พอยท์ หากเป็นบทที่ ชื่อบท หัวข้อ
ให้พิมพ์ตัวหนาและกาหนดขนาดตัวอักษรให้เหมาะสม รายงานที่ใช้การเขียน ควรเขียนด้วยลายมือที่อ่ านง่าย
ชัดเจน สม่าเสมอ
6.4 การใช้เลขหน้าในส่วนประกอบตอนต้น ให้ใช้ตัวอักษร ก ข ค ฆ ง ... กากับหน้า ตังแต่ส่วนเนือ
เรื่องไปจนถึงหน้าสุดท้ายของเล่ม ให้ใช้ตัวเลขกากับหน้า สาหรับหน้าที่เป็นหน้าบอกตอน หรือหน้าแรกของแต่ละ
ส่วน ไม่ต้องพิมพ์เลขหน้ากากับ แต่ต้องนับเรียงไปโดยตลอด
6.5 การกาหนดหัวข้อและย่อหน้า กาหนดให้เว้นระยะพองามและเป็นระบบเดียวกันตลอด โดย
วางหัวข้อใหญ่ หัวข้อรองและหัวข้อย่อยลดหลั่นกันตามลาดับ ระบบหัวข้อที่นิยมใช้กันคือ ระบบตัวเลขทศนิยม
ดังนี

หัวข้อใหญ่
1. หัวข้อรอง
1.1 ...............................................................................................................................
1.1.1 ....................................................................................................................
1.1.1.1 ..................................................................................................
2. หัวข้อรอง
2.1 ...............................................................................................................................
2.1.1 ....................................................................................................................
2.1.1.1 .................................................................................................

การนาเสนอผลการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการด้วยวาจา
1. ความหมายของการนาเสนอด้วยวาจา
การนาเสนอผลการศึกษาค้นคว้าด้วยวาจา หมายถึง การรายงานผลการศึกษาค้นคว้าด้วยการพูด
เป็นวิธีการที่ได้รับความนิยมแพร่หลายในปัจจุบัน เพราะสะดวก รวดเร็ว และผู้พูดกับผู้ฟังมีโอกาสได้พูดคุยกัน
หรือแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารกันโดยตรง โดยทั่วไปการนาเสนอผลงานด้วยการพูดจะกระทาควบคู่ไปกับการเสนอ
รายงานที่เป็นลายลักษณ์อักษร ขณะเดียวกันมักจะมีการใช้สื่อประสมประกอบกับการพูดด้วย
2. จุดมุ่งหมายของการนาเสนอด้วยวาจา
การนาเสนอด้วยการพูดมีจุดมุ่งหมายดังนี
2.1 เพื่อเสนอข้อมูลและสาระความรู้ที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าให้ผู้ฟังได้รับทราบ
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 59

2.2 เพื่อรั บ ฟังความคิดเห็ น ของผู้ ฟั ง แล้ ว นาไปปรับปรุงแก้ไขส่ ว นที่บกพร่องของรายงานให้ มี


คุณภาพดียิ่งขึน
2.3 เพื่อสร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้พูดกับผู้ฟังด้วยการใช้ทังวัจนภาษาและอวัจนภาษา
3. ขั้นตอนของการนาเสนอด้วยวาจา
ลาดับขันตอนของการนาเสนอผลงานด้วยการพูดมี 3 ขันตอน คือ ขันตอนก่อนพูด ขันตอนขณะพูด
และขันตอนหลังการพูด
3.1 ขันตอนก่อนพูด เป็นขันตอนของการเตรียมการที่ค่อนข้างยุ่งยากและใช้เวลามากกว่าขันตอน
อื่นๆ มีแนวปฏิบัติดังนี
3.1.1 เตรียมตัวผู้พูด เริ่มจากการเสริมสร้างให้มีบุคลิกภาพที่ดีและฝึกทักษะ การพูด โดย
พัฒนาในเรื่องของการใช้นาเสียง การออกเสียง การใช้ภาษา การใช้สายตา การแสดงออกทางใบหน้า การเดิน
การทรงตัว กิริยาท่าทาง การแต่งกาย การแสดงความเชื่อมั่น ความกระตือรือร้น ความสามารถในการจาและ
ถ่ายทอด ปฏิภาณไหวพริบ และอารมณ์ขัน
3.1.2 วิเคราะห์ผู้ฟังที่เป็นกลุ่มเป้ าหมายในแง่ของจานวน เพศ วัย ระดับการศึกษา อาชีพ
ฐานะ ความสนใจ และอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง วิเคราะห์สถานที่ เวลาและโอกาสที่พูด
3.1.3 เตรี ย มเนื อหาการพูด โดยกาหนดจุดมุ่งหมายของการพูด เลื อกเรื่องที่พูด ค้นคว้ า
รวบรวมข้อมูล วางโครงเรื่อง เรียบเรียงเนือหาสาระที่ พูด จัดทาบัตรบันทึกโน้ตย่อที่ใช้ประกอบการพูด ในกรณี
เป็นการพูดโดยอ่านจากต้นฉบับ ต้องจัดทาบทพูด (script) ฉบับสมบูรณ์เตรียมไว้ด้วย และฝึกซ้อมการพูดจนผู้พูด
เกิดความพร้อมและความเชื่อมั่นในทุกๆ ด้าน
3.2 ขันตอนขณะพูด เป็นขันตอนของการนาเสนอด้วยการพูดต่อหน้าผู้ ฟัง ซึ่งอาจจะเป็นอาจารย์
ผู้สอน ผู้บังคับบัญชา คณะกรรมการหรือคณะทางานที่เกี่ยวข้อง ผู้เข้าประชุมหรือผู้สนใจทั่วไป เนือหาการพูดมี
ส่วนประกอบ 4 ส่วน ได้แก่
3.2.1 คาทักทายผู้ฟังหรือคาปฏิสันถาร เป็นการกล่าวทักทายผู้ฟังโดยเรียงตามลาดับอาวุโส
หรือความสาคัญ เช่น “ท่านอธิการบดี คณาจารย์ และท่านผู้มีเกียรติทุกท่าน” “สวัสดีเพื่อนนักศึกษาทุกคน” เป็นต้น
3.2.2 ความนาหรืออารัมภบท เป็นการเกริ่นนาเรื่องที่จะพูดและเรียกความสนใจเบืองต้นของ
ผู้ฟังด้วยวิธีการต่าง ๆ
3.2.3 เนื อเรื่อง เป็ นการนาเสนอเนือหาสาระทังหมดที่ เป็นผลจากการศึกษาค้นคว้า โดย
คานึงถึงความถูกต้อง ความชัดเจน มีการลาดับความดี และมีการอ้างอิงที่น่าเชื่อถือ
3.2.4 สรุป เป็นการเน้นยาให้ผู้ฟังเห็นจุดสาคัญของเรื่องที่พูด โดยกล่าวทิงท้ายด้วยคาพูดที่มี
พลัง มีนาหนักประทับใจผู้ฟังให้จดจาได้ไม่รู้ลืม
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 60

3.3 ขันตอนหลังการพูด หลังการพูดยุติลง จะเป็นขันตอนของการประเมินผลและการวิจารณ์การ


พูด ซึ่งควรกระทาอย่างรอบด้าน โดยบุคคลผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ได้แก่ ตัวผู้พูดเอง เพื่อนผู้ร่วมงานของผู้พูด ผู้
มอบหมายงาน ผู้เชี่ยวชาญ และผู้ฟัง
การประเมินผลการพูด หมายถึง การพิจารณาและวัดคุณค่าของการพูดตามจุดมุ่งหมายที่ตังไว้
วิธีประเมินที่นิยมใช้กันมากมี 3 วิธี วิธีแรก คือ การสังเกต โดยเฉพาะการสังเกตปฏิกิริยาของผู้ฟังและบริบท
แวดล้อม วิธีที่สอง คือ การสอบถาม ซึ่งอาจสอบถามโดยตรงด้วยวาจาหรืออาจใช้แบบสอบถาม และวิธีที่สาม คือ
การใช้แบบประเมินผลการพูดซึ่งเป็นแบบฟอร์มวัดความสามารถในการพูด และเกณฑ์การพิจารณาให้คะแนนใน
ด้านต่าง ๆ
ส่วนการวิจารณ์การพูด หมายถึง การติหรือชม การแสดงความคิดเห็นและให้ข้อเสนอแนะ
เกี่ยวกับการพูด โดยผู้วิจารณ์จะต้องมีเหตุผลและหลักวิชาการที่ดี มีจิตใจเป็นกลาง ไม่มีอคติต่อผู้พูด ขันตอนนีจะ
ช่วยให้ผู้พูดได้ทราบว่าการพูดของตนเป็นอย่างไร มีสิ่งใดที่ควรแก้ไขปรับปรุง สิ่งเหล่านีจะเป็นข้อมูลสาคัญในการ
พัฒนาการพูดครังต่อไป
4. รูปแบบและวิธีการนาเสนอด้วยวาจา
ในการนาเสนอผลงานด้วยการพูดนัน ผู้นาเสนอต้องเลือกใช้รู ปแบบและวิธีการพูดให้เหมาะสมกับ
จุดมุ่งหมายและเนือหาการพูด วิธีการพูดที่นิยมใช้กันมีหลายวิธีดังจะกล่าวถึงต่อไปนี
4.1 การบรรยาย เป็นการพูดชีแจงหรือเล่าเรื่องเพื่อให้ผู้ฟังเกิดความรู้ความเข้าใจทัศนคติ และโน้ม
น้าวจิตใจให้คล้อยตาม ผู้พูดควรเตรียมข้อมูลอย่า งดี แล้วนามาจัดระเบียบความคิดให้เป็นไปตามลาดับขันตอน
โดยใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย กะทัดรัด ชัดเจน มีการอ้างอิง การยกตัวอย่างและหลักฐานที่น่าเชื่อถือ ตัวอย่างหัวข้อ
การบรรยาย เช่น เทคโนโลยีกับการเรียนรู้ บทบาทของเสรีไทยในช่วงสมัยสงครามโลกครังที่ 2 เป็นต้น
4.2 การอธิบาย เป็นการพูดเพื่อไขความ ขยายความ ชีแจงเรื่องราวหรือวิธีการบางอย่างให้เข้าใจ
ชัดแจ้ง มีการลาดับความดี เป็นขันตอน ไม่สับสน เช่น การอธิบายเรื่องวิธีใช้ยา หลักโภชนาการที่ดี เป็นต้น
4.3 การสาธิต หมายถึง การแสดงเป็นตัวอย่าง มักใช้ควบคู่กับการบรรยายหรืออธิบาย โดยผู้พูดมุ่ง
ให้ความรู้เกี่ยวกับวิธีการหรือการปฏิบัติบางอย่าง เริ่มจากการพูดชีแจงให้ผู้ฟังเกิดความรู้ความเข้าใจก่อน แล้วจึง
นาสื่ออุปกรณ์ที่ต้องใช้มาแสดงและปฏิบัติให้ดูเป็นตัวอย่าง เช่น การพูดสาธิตเรื่องหลักการถ่ายภาพด้วยกล้อง
ดิจิทัล เป็นต้น
4.4 การรายงาน รายงาน หมายถึง เรื่องราวที่ไปศึกษาค้นคว้าแล้วนามาเสนอที่ประชุม ครูอาจารย์
หรือผู้บังคับบัญชา เป็นต้น อีกความหมายหนึ่ง คือ บอกเรื่องของการงาน การพูดรายงานแบ่งได้เป็น 5 ชนิด คือ
4.4.1 การพูดรายงานแบบประสบการณ์ เช่น การกล่าวถึงประสบการณ์การไปแข่งขันกีฬาที่
ต่างประเทศ เป็นต้น
4.4.2 การพูดรายงานแบบแถลงข้อเท็จจริง ส่วนใหญ่เป็นการรายงานถึงโครงการที่จะทาหรือ
กาลังทาอยู่ เช่น โครงการจัดตังพิพิธภัณฑ์พืนบ้าน เป็นต้น
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 61

4.4.3 การพูดรายงานแบบสรุปผล เช่น การรายงานผลการศึกษาค้นคว้าการทดลอง หรือ


ปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ เป็นต้น
4.4.4 การพูดรายงานแบบก้าวหน้าและผลสาเร็จ เช่น การรายงานผลการปฏิบัติงานของ
หน่วยงาน เป็นต้น
4.4.5 การพูดรายงานแบบวิจารณ์ เป็นการพูดแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผลและถูกต้อง
ตามหลักวิชาการในสาขานัน ๆ เช่น การพูดวิจารณ์วรรณกรรม เป็นต้น
4.5 การบรรยายสรุ ป เป็ น การพู ด เพื่ อ บอกกล่ า วหรื อ ชี แจงให้ ฟั ง เข้ า ใจ โดยน าเสนอเฉพาะ
สาระสาคัญที่กลั่นกรองออกมาอย่างดีจากเรื่องราวที่ยืดยาวและสลับซับซ้อนด้วยคาพูดที่เข้าใจง่าย สัน กระชับ แต่
คงรักษาเนือความสาคัญไว้ได้อย่างครบถ้วน เป็นวิธีการพูดที่ นิยมใช้ในหน่วยงานทังภาครัฐและเอกชน ส่วนมาก
เป็ น การแถลงสั น ๆ เกี่ย วกั บ โครงสร้ า ง วั ต ถุป ระสงค์ แ ละภารกิ จ ของหน่ ว ยงาน หรื อ จะน ามาใช้ เ พื่ อ สรุ ป
สาระสาคัญจากผลการศึกษาค้นคว้าก็ได้ เช่น การบรรยายสรุปเรื่องการจัดการแยกขยะมูลฝอยในโรงเรียน เป็นต้น
4.6 การอภิปราย หมายถึง การพูดชีแจงแสดงความคิดเห็น เป็นผลของการที่บุคคลกลุ่มหนึ่งมา
ร่ว มกันแลกเปลี่ ย นความรู้ ความคิดเห็น ในประเด็นที่เป็นปัญหาหรือเป็นที่น่าสนใจของสังคมในช่ว งเวลานัน
รูปแบบการอภิปรายที่ใช้ในการนาเสนอผลการศึกษาค้นคว้า คือ การอภิปรายต่อหน้าชุมชน (public discussion)
การอภิปรายแบบนีจะมีการแบ่งบทบาทหน้าที่ของบุคคล 2 กลุ่มอย่างชัดเจน กลุ่มแรก คือ คณะผู้อภิปรายและ
ผู้ดาเนินการอภิปราย ทาหน้าที่เป็นผู้พูด อีกกลุ่มหนึ่ง คือ ชุมชน ซึ่งในที่นีหมายถึงผู้ฟัง เมื่อจบการอภิปรายแล้ว
มักจะมีช่วงเปิดอภิปรายทั่วไป เรียกว่า forum period เป็นช่วงที่เปิดโอกาสให้ผู้ฟังได้ร่วมซักถามหรือแสดงความ
คิดเห็น การอภิปรายต่อหน้าชุมชนที่นิยมจัดกันในปัจจุบันมี 4 รูปแบบ ดังนี
4.6.1 การอภิป รายแบบคณะ (panel discussion) เป็นรูปแบบที่นิ ยมจัดมากที่สุ ด
ประกอบด้วยคณะผู้อภิปรายประมาณ 3 – 8 คน เป็นผู้ศึกษาหาความรู้หรือค้นคว้าหาหลักฐานข้อเท็จจริงในเรื่อง
ที่อภิปราย แล้วนามาแลกเปลี่ยนความรู้ความคิดเห็นกันต่อหน้าผู้ฟัง โดยมีผู้ดาเนินการอภิปรายทาหน้าที่ควบคุม
ทุกอย่างให้ดาเนินไปตามระเบียบ จัดให้ผู้อภิปรายได้อภิปรายโดยทั่วถึงและไม่ออกนอกประเด็น ซักถาม สรุปและ
เชื่อมโยงคาพูดของแต่ละคน หลังจากการอภิปรายจะเปิดโอกาสให้ผู้ฟังร่วมซักถามและแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติม
เมื่อทุกคนกระจ่างดีแล้ว จึงสรุปข้อยุติที่เห็นพ้องต้องกัน หัวข้อการอภิปรายแบบคณะเหมาะสาหรับเรื่องทั่ว ๆ ไป
ซึ่งผู้อภิปรายสามารถแสดงความคิดเห็นได้อย่างกว้างขวาง เช่น ทางออกฝ่าวิกฤตปัญหานามันแพง การมีส่วนร่วม
ของภาคประชาชนในระบอบประชาธิปไตย เป็นต้น การจัดสถานที่อภิปรายนิยมจัดบนเวทีและพยายามให้ผู้พูดกับ
ผู้ฟังได้มองเห็นกันอย่างทั่วถึงดังภาพที่ 3.1
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 62

ผู้ดาเนินการ

ผู้อภิปราย ผู้อภิปราย อภิปราย ผู้อภิปราย ผู้อภิปราย

ผู้ฟัง ผู้ฟัง

ภาพที่ 3.1 การอภิปรายแบบคณะ (panel discussion)

4.6.2 การอภิปรายแบบแลกเปลี่ยนความรู้หรือปาฐกถาหมู่ (symposium discussion) เป็น


การอภิปรายของคณะผู้อภิปรายที่เชี่ยวชาญด้านต่าง ๆ ที่มาจากหลายแหล่งด้วยกัน แต่ละคนจะเตรียมความรู้
เฉพาะสาขาของตนตามที่ตกลงกันไว้ การพูดเน้นการบรรยายเฉพาะส่วนใดส่วนหนึ่งไม่ซาซ้อนกัน โดยผู้ดาเนินการ
อภิปรายทาหน้าที่สรุปและเชื่อมโยงให้แต่ละตอนต่อเนื่องประสานกัน ในตอนท้ายของการอภิปรายจะเปิดโอกาส
ให้ผู้ฟังซักถามปัญหา การอภิปรายแบบนีให้ความรู้และแนวคิดแก่ผู้ฟังอย่างละเอียดลึกซึง เหมาะสาหรับเรื่องราว
ทางวิชาการในสาขาต่าง ๆ เช่น การพัฒนาเศรษฐกิจของกลุ่มจังหวัดแถบลุ่มนาแม่กลอง อาจเชิญผู้เชี่ยวชาญ
ทางด้านบริหารธุรกิจ เกษตรกรรม ประมง และการท่องเที่ยวมาเป็นผู้อภิปราย การจัดสถานที่อภิปรายคล้ายคลึงกับ
การอภิปรายแบบคณะ แต่อาจจัดแท่นบรรยายแยกออกไปต่างหาก เพื่อให้ผู้พูดออกไปยืนพูดที่จุดนัน ดังภาพที่ 3.2

อภิปราย
ผู้อภิปราย ผู้อภิปราย

ผู้อภิปราย ผู้อภิปราย
แท่นบรรยาย

ผู้ฟัง ผู้ฟัง

ภาพที่ 3.2 การอภิปรายแบบแลกเปลี่ยนความรู้ (symposium discussion)


ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 63

4.6.3 การอภิปรายแบบปุจฉา – วิสัชนา (dialogue) เป็นการอภิปรายแบบถาม – ตอบ


ประกอบด้วยผู้อภิปรายเพียง 2 คน ทาหน้าที่เป็นผู้ถามคนหนึ่งและผู้ตอบอีกคนหนึ่ง โดยมีผู้ดาเนินการอภิ ปราย
ทาหน้าที่ควบคุมทุกอย่างให้ดาเนิน ไปตามระเบียบ การอภิปรายแบบนีเหมาะส าหรับหัว ข้อเล็ กๆ เพื่อจากัด
ขอบเขตให้แคบ แต่ต้องการคาอธิบายที่ลึกซึงแจ่มแจ้ง เช่น การเตรียมตัวไปศึกษาต่อต่างประเทศ เป็นต้น ทังฝ่าย
ถามและฝ่ ายตอบต้องมีความรู้ ทัดเทีย มกัน ผู้ ถามสามารถป้อนคาถามได้ลึ กซึงตรงกับที่ผู้ ฟังอยากรู้ ผู้ ตอบก็
สามารถตอบได้ตรงประเด็นและละเอียดชัดเจน การจัดสถานที่อภิปรายแบบปุจฉา – วิสัชนา จะจัดให้ผู้ถามและ
ผู้ตอบนั่งอยู่คนละด้าน และผู้ดาเนินการอภิปรายอยู่ตรงกลาง ดังภาพที่ 3.3

อภิปราย

ผู้ถาม ผู้ตอบ

ผู้ฟัง ผู้ฟัง

ภาพที่ 3.3 การอภิปรายแบบปุจฉา – วิสัชนา (dialogue)


4.6.4 การอภิปรายแบบข้ามแดน (colloquim) เป็นการอภิปรายแบบถาม – ตอบ ของกลุ่ม
บุคคล 2 กลุ่ม คือ กลุ่มผู้ซักถาม และกลุ่มวิทยากรหรือกลุ่มผู้ตอบคาถาม เป็นการอภิปรายเพื่อวิเคราะห์ปัญหาให้
ละเอียด ลึกซึง เช่น ศีล 5 ข้อ ข้อใดสาคัญที่สุด เพราะเหตุใด การอภิปรายแบบนีมีลักษณะคล้ายคลึงกับแบบ
ปุจฉา – วิสัชนา แต่ขอบเขตของปัญหากว้างกว่า มีจานวนผู้อภิปรายมากกว่า ผู้ดาเนินการอภิปรายจะเชิญตัวแทน
กลุ่ มผู้ ซักถามออกไปถาม ส่ วนกลุ่มวิทยากรจะมีการปรึกษาหารือกันก่อนแล้ ว ส่งตัว แทนออกไปตอบ การจัด
สถานที่อภิปรายจัดให้ผู้อภิปราย 2 กลุ่มอยู่คนละด้าน ผู้ดาเนินการอภิปรายอยู่ตรงกลาง และมีแท่นบรรยายเป็นที่
ยืนพูดแยกต่างหาก ดังภาพที่ 3.4
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 64

ผู้ดาเนินการอภิปราย
กลุ่มผู้ซักถาม กลุ่มวิทยากร

แท่นบรรยาย

ผู้ฟัง ผู้ฟัง

ภาพที่ 3.4 การอภิปรายแบบข้ามแดน (colloquim)


4.7 การสนทนา คือ การพูดคุยกันในสิ่ งที่มีความสนใจร่วมกัน ผู้ นาเสนออาจนาผลการศึ กษา
ค้นคว้ามาใช้เป็นเนือหาการสนทนาก็ได้ เช่น เทคนิคการวาดภาพการ์ตูน เป็นต้น การพูดแบบนีค่อนข้างจะเป็น
กันเอง ไม่จากัดจานวนผู้ร่วมสนทนา อาจมีผู้ดาเนินรายการหรือไม่มีก็ได้ ตอนท้ายมักเปิดโอกาสให้ผู้ฟังซักถาม
หรือแสดงความคิดเห็นร่วมด้วย
4.8 การสัมภาษณ์ คือ การพูดจาซักถามกันในลักษณะที่ฝ่ายหนึ่งต้องการทราบเรื่องจากอีกฝ่าย
หนึ่ ง ฝ่ ายที่ซักถามเรี ย กว่า ผู้ สั มภาษณ์ และฝ่ ายที่ตอบคาถาม เรียกว่า ผู้ ให้ สั มภาษณ์ จัดเป็นการสนทนาที่
ค่อนข้างมีแบบแผนแน่นอน ผู้นาเสนออาจนาเรื่องที่ศึกษาค้นคว้ามาใช้เป็นหัวข้อการสัมภาษณ์ก็ได้ เช่น การศึกษา
เรื่องประวัติแสตมป์ไทย เป็นต้น

การนาเสนอผลการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการด้วยสื่อประสม
1. ความหมายของการนาเสนอด้วยสื่อประสม
คาว่า สื่อประสม เป็นศัพท์บัญญัติของราชบัณฑิตยสถาน ตรงกับคาภาษาอังกฤษว่า multimedia มี
ความหมายอธิบายได้เป็น 2 ลักษณะ คือ (กิดานันท์ มลิทอง, 2548 : 192 – 193)
1.1 สื่อประสมแบบดังเดิม หมายถึง การนาสื่อหลายประเภทมาใช้ร่วมกันทังวัส ดุอุปกรณ์และ
วิธีการ เช่น การฉายภาพยนตร์ การเล่นเกมฝึกทักษะ เป็นต้น
1.2 สื่อประสมแบบใหม่ หมายถึง การนาเสนอข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ในรูปแบบตัวอักขระ ภาพนิ่ง
ภาพเคลื่อนไหว เสียง และการมีปฏิสัมพันธ์โต้ตอบ เช่น การนาเสนอด้วยโปรแกรม power point การใช้บทเรียน
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) เป็นต้น
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 65

การนาเสนอผลการศึกษาค้นคว้าด้วยสื่อประสม หมายถึง การรายงานผลการศึกษาค้นคว้าด้วยการใช้


สื่อและกิจกรรมหลายๆ อย่างผสมผสานกัน สื่อในที่นีครอบคลุมทังสื่อดังเดิมและสื่อแบบใหม่ที่ใช้คอมพิวเตอร์เป็น
อุปกรณ์ ส่วนกิจกรรม หมายถึง การดาเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ โดยทั่วไปการนาเสนอด้วย
สื่อประสมมักจะใช้ร่วมกับการนาเสนอด้วยวาจา
2. จุดมุ่งหมายของการนาเสนอด้วยสื่อประสม
การนาเสนอด้วยสื่อประสมมีจุดมุ่งหมาย ดังนี
2.1 เพื่อเสนอข้อมูลและสาระความรู้จากการศึกษาค้นคว้า ให้ผู้รับสารได้ทราบ
2.2 เพื่อเสริมประสิทธิภาพของการนาเสนอด้วยเสียง ภาพ และข้อความ
2.3 เพื่อดึงดูดความสนใจของผู้รับสารให้มากขึน
3. ขั้นตอนของการนาเสนอด้วยสื่อประสม
การนาเสนอด้วยสื่อประสมมี 3 ขันตอน คล้ายคลึงกับการนาเสนอด้วยการพูด กล่าวคือ
3.1 ขันตอนก่อ นน าเสนอ มี การวิ เคราะห์ ผู้ รับ สาร โอกาสและกาลเทศะ การเลื อกใช้ สื่ อ และ
กิจกรรมให้เหมาะสม และเตรียมการใช้อย่างมีประสิทธิภาพ
3.2 ขันตอนขณะนาเสนอ เป็นขันตอนของการใช้สื่อและการจัดกิจกรรมที่เตรียมการไว้
3.3 ขันตอนหลังการนาเสนอ เป็นขันตอนของการประเมินผล วิธีประเมินที่นิยมใช้มาก คือ การ
สังเกต การสอบถาม และการใช้แบบประเมินผลการนาเสนอ
4. รูปแบบและวิธีการนาเสนอด้วยสื่อประสม
การนาเสนอด้วยสื่อประสมแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ ดังนี
4.1 การใช้สื่อ ประกอบด้วยโสตวัสดุหรือสื่อที่ใช้ฟัง เช่น แถบบันทึกเสียง วิทยุ แผ่นซีดี แผ่นดีวีดี
ไฟล์ MP 3 ในอินเทอร์เน็ต เป็นต้น ทัศนวัสดุหรือสื่อที่ใช้ดู เช่น ของจริง ของจาลอง วัสดุกราฟิก เช่น แผนภูมิ
แผนภาพ กราฟ การ์ตูน ภาพถ่าย ภาพวาด ฯลฯ แผ่นโปร่งใส และเครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ สไลด์และเครื่องฉาย
สไลด์ เครื่อง video projector เป็นต้น และโสตทัศนวัสดุหรือสื่อที่ใช้ทังดูและฟัง เช่น โทรทัศน์ วีดิทัศน์ แผ่นดีวีดี
แผ่นวีซีดี ภาพยนตร์ เป็นต้น
4.2 การจัดกิจกรรม เช่น การแสดงบทบาทสมมุติ การแสดงละคร การแสดงกิจกรรมเข้าจังหวะ
การร้องเพลง การสาธิต การจัดนิทรรศการ การประกวด การแข่งขัน การจัดประชุมในรูปแบบต่าง ๆ การไปทัศนศึกษา
การจัดทาโครงการเพื่อสนับสนุนการนาเสนอผลงาน การเดินรณรงค์ การจัดขบวนแห่ เป็นต้น
การน าเสนอผลการศึ ก ษาค้ น คว้ า เป็ น การผสมผสานกระบวนการทั ก ษสั ม พั น ธ์ ท างภาษาเข้ า กั บ
กระบวนการแสวงหาองค์ความรู้ในศาสตร์สาขาต่าง ๆ ทาให้เกิดการเรียนรู้และการพัฒนาทางวิชาการ รวมทัง
ขยายผลให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมสืบไป
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 66

บทที่ 4
การใช้ทักษะทางภาษาที่สัมพันธ์กัน

ภาษาเป็นสื่อกลางของมนุษย์ที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารต่อกัน ความหมายที่เกิดขึนจากการสื่อสารจะช่วย
ทาให้มนุษย์บรรลุวัตถุประสงค์ต่างๆ ในชีวิตประจาวัน ดังนันการใช้ภาษาเพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ตังเอาไว้
มนุษย์จึงจาเป็นต้องเข้าใจ “ทักษะทางภาษา” ที่ใช้ในการสื่อสารไม่ว่าจะเป็นวัจนภาษาและอวัจนภาษา ทักษะ
ทางภาษานันมีหลายประเภทแต่ละประเภทก็มีลักษณะเฉพาะซึ่งหากเข้าใจในประเด็นดังกล่าวและรู้วิธีที่จะนา
ทักษะเหล่านันมาใช้ให้สอดคล้องกลมกลืนก็ช่วยให้ “ความหมาย” ที่เกิดจากการสื่อสารในครังนันมีความชัดเจน
และทาให้ประสบความสาเร็จในการสื่อสารอีกด้วย ทักษะที่ จาเป็นต้องเรียนรู้และหมั่นฝึกฝนเพื่อทาให้สามารถ
นาไปใช้ได้ให้สัมพันธ์กันนัน ได้แก่ การจับใจความสาคัญ การย่อความและสรุปความ การวิเคราะห์ การวิจารณ์
การตีความ การขยายความ และการสังเคราะห์

การจับใจความสาคัญ

ในการใช้ภาษาเพื่อสื่อความหมายไม่ว่าจะเป็นการส่งสารหรือรับสาร การเข้าใจตัวสารที่นาเสนอมาเป็นสิ่งที่สาคัญ
อย่างยิ่ง เพราะจะช่วยทาให้การติดต่อสื่อสารกันประสบผลสาเร็จ การจับใจความจึงเป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นว่าผู้รับ
สารเข้าใจความหมายที่อยู่ในสารนั นๆ การจับใจความสาคัญเป็นทักษะที่ผู้รับสารต้องหมั่นฝึกฝนอย่างจริ งจัง
เพื่อให้เกิดความชานาญในการสื่อสาร
1. ความหมายและลักษณะของการจับใจความสาคัญ
โดยเบืองต้น “การจับใจความสาคัญเป็นการจับความคิดหลักของสารที่ผู้ส่งสารเสนอได้ ” (มหาวิทยาลัย
ราชภัฏพระนคร, 2533: 232)
ลักษณะของใจความสาคัญนัน คือ เป็นข้อความที่ทาหน้าที่ครอบคลุมใจความสาคัญของข้อความอื่น ๆ ใน
ตอนหรือย่อหน้านันๆ ทังหมด ข้อความที่นอกเหนือจากนันเป็นเพียงรายละเอียด หรือขยายใจความสาคัญเท่านัน
ใจความสาคัญโดยมากเป็นลักษณะของข้อความหรือประโยคใดประโยคหนึ่งภายในย่อหน้า ซึ่งมักจะปรากฏอยู่
เพีย งข้อความหรื อประโยคเดียวเว้น แต่ในบางกรณีที่มีใจความส าคัญมากกว่าหนึ่งข้อความหรือประโยค และ
ปรากฏอยู่ในที่ ๆ ต่างกัน (สนิท ตังทวี, 2528: 140)
ดังนัน หากผู้ศึกษามีทักษะในการจับใจความที่ดี จะช่วยประหยัดเวลาในการรับสารมาก เพราะในบางครัง
ไม่ว่าจะเป็นการอ่านหรือการฟัง หากเข้าใจลักษณะของการจับใจความสาคัญก็ทาให้ไม่ต้องเสียเวลาอ่านหรือฟังสาร
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 67

2. หลักในการจับใจความสาคัญ
ในการจับใจความสาคัญสิ่งที่ผู้จับใจความสาคัญควรปฏิบัติมีดังต่อไปนี
2.1 ฟังหรืออ่านสารให้จบอย่างคร่าวๆ เพื่อให้ทราบว่าเรื่องราวที่ได้ฟังหรือได้อ่านนันมีเนือหา
เกี่ยวกับอะไร
2.2 พยายามแยกแยะสารให้ได้ว่าอะไรคือ “ประเด็นหลัก” ที่ผู้ส่งสารต้องการนาเสนอ และอะไร
คือ “การขยายความ” ที่ผู้ส่งสารต้องการอธิบายเพิ่มเติมเพื่อทาให้ “ประเด็นหลัก” นันมีความชัดเจนมากขึน โดย
การพิจ ารณาจากตัว “ข้อความ” ว่าส่ว นใดคือใจความส าคัญและส่ วนใดคื อพลความ (หรือส่ว นขยายความ)
“พลความ” หรือส่วนขยายความนัน อาจเป็นส่วนขยายที่ประเภทอนุประโยคที่นาหน้าด้วยคาว่า “ที่”
“ซึง่ ” หรือ “อัน” ก็ได้ หรือในบางครังอาจอยู่ในรูปแบบของการเปรียบเทียบ การยกตัวอย่าง การให้เหตุผล หรือ
การอธิบ ายขยายความรายละเอีย ดก็ไ ด้ เมื่อตัดพลความออกแล้วก็จะเหลื อแต่ใจความสาคัญซึ่งประกอบด้ว ย
ประโยคที่สมบูรณ์คือมีทังภาคประธานและภาคแสดง (กิตติชัย พินโน, อมรชัย คหกิจโกศล (บรรณาธิการ), 2554: 156)
ตัวอย่าง เช่น “สาขาวิชาเอกภาษาไทยที่ฉันเรียนอยู่มีนักศึกษาทังหมด 40 คน” (พลความคืออนุ
ประโยคที่มีคานาหน้าว่า “ที”่ นาหน้า)
“ผู้ชายคนที่มีหนวดคนนันไม่ใส่หมวกกันน็อกและขับรถเร็วปานจรวด” (พลความคือการขยายความ
ในที่นีคือการขยายประธาน คือ “คนที่มีหนวด”)
“เชิญขวัญชอบฟังเพลงหลายแนว เช่น เพลงป็อบ เพลงแจ๊ส เพลงบลูส์ เพลงคลาสสิก ” (พลความคือ
การยกตัวอย่างประเภทของเพลง)
2.3 เมื่อได้ใจความสาคัญแล้วให้ขีดเส้นใต้และ/หรือทาบันทึกย่อในส่วนหรือย่อหน้านันๆ เพื่อช่วย
ให้เข้าใจชัดเจนยิ่งขึน
2.4 ทาบันทึกย่อแยกออกมาอีกครังหนึ่ง โดยรวบรวมเอาใจความสาคัญที่ได้ยินหรือได้อ่านมาเรียบ
เรียงใหม่ด้วยภาษาที่สละสลวย เข้าใจง่ายและไม่ยาวจนเกินไป
ในการจับใจความสาคัญจากการอ่าน สิ่งที่ช่วยทาให้ผู้จับใจความสาคัญประหยัดเวลาโดยที่อาจไม่ต้อง
เสียเวลาอ่านข้อความทังหมดและสามารถช่วยให้เข้าใจสิ่งที่กาลังอ่านได้อย่างชัดเจนกว่าการอ่านข้อความทังหมดก็
คือ การเข้าใจตาแหน่งของประโยคหรือข้อความที่เป็นใจความสาคัญในย่อหน้า
โดยทั่วไป การเขียนย่อหน้านันมักจะมีข้อความหรือประโยคที่เป็นใจความสาคัญของแต่ละย่อหน้า
เพียงหนึ่งข้อความหรือหนึ่งประโยค และข้อความที่เหลือเป็นการอธิบายขยายความ ใจความสาคัญในแต่ละย่อ
หน้านันมักวางในตาแหน่งที่ต่างกันดังต่อไปนี
ประโยคใจความสาคัญอยู่ในตอนต้นย่อหน้า
ถ้อยคาในภาษามีมากมายและเพิ่มอยู่เสมอ เกินกว่าที่เราจะรู้จักได้ทังหมด แต่ก็ไม่ได้เป็นอุปสรรคที่
ทาให้เราไม่เข้าใจภาษาเสียทุกครังที่ได้ยินคาแปลกหู เมื่อมีข้อจากัด เช่นไม่มีใครอธิบายความหมายของคานัน ๆ
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 68

หรือไม่มีพจนานุกรมอยู่ข้างตัว เราอาจเดาโดยอาศัยบริบทก็ได้ แม้จะไม่ถูกเผงเสมอไป แต่ก็ยังพอรู้ทิศทางของ


ความหมายได้บ้าง (กุสุมา รักษมณี, 2547: 52)
ในการแยกข้อความในย่อหน้านี จะเห็นได้ว่า มีการขยายความด้วยการยกตัวอย่างหลังคาว่า “เช่น”
ดังนัน ข้อความที่เหลือจึงเป็นใจความสาคัญของย่อหน้า เมื่อเรียบเรียงใหม่จะได้ว่า “ถ้อยคาในภาษามีมากมาย
และเพิ่มขึนเสมอ แต่ไม่เป็นอุปสรรคในการเข้าใจคาที่ไม่เคยพบมาก่อน”
ประโยคใจความสาคัญอยู่ในตอนกลางย่อหน้า
ทุกคนควรบริโภคนาตาลให้พอเหมาะกับร่างกาย ผู้ที่ต้องการรสหวานโดยไม่ใช้นาตาลก็มีสารให้ความ
หวานทดแทนได้ แต่การใช้สารเหล่านีถึงแม้จะศึกษาพบว่าปลอดภัยในขณะนีก็ตามแต่ในวันข้างหน้าอาจพบว่าเป็น
อันตรายแก่ผู้บริโภคที่ใช้เป็นเวลานานๆ ก็ได้ ดังนัน วิธีที่ดีที่สุดสาหรับผู้ที่มีข้อจากัดในการบริโภคนาตาลก็ คื อ การ
ควบคุมอาหารและเครื่องดื่มที่มีรสหวานให้น้อยลงเวลารับประทานอาหารต้องไม่เติมนาตาลลงไปในอาหารอีก
เลือกซือผลไม้ที่ไม่มีรสหวานจัด ไม่รับประทานขนมหวาน คุณควบคุมเรื่องความหวานด้วยตัวคุณเอง จึงจะไม่เป็น
อันตรายต่อสุขภาพ
จากตัวอย่างดังกล่าวจะเห็นว่า ในตอนต้นของย่อหน้าเป็นการเกริ่ นนาถึงความสาคัญของนาตาลกับ
ร่างกาย จากนันจึงพูดถึงวิธีการควบคุมนาตาลในร่างกายและขยายความถึงวิธีการในการควบคุม หากนามาเรียบ
เรียงใหม่จะได้เป็น “การคุมอาหารและเครื่องดื่มที่มีรสหวานเป็นวิธีที่ดีที่สุดสาหรับผู้มีข้อจากัดในการบริโภค
นาตาล”
ประโยคใจความสาคัญอยู่ท้ายย่อหน้า
เนื่องจากมีการเร่งรัดพัฒนาประเทศในหลายๆด้าน โดยเฉพาะทางด้านอุตสาหกรรมทาให้ทรัพยากรที่
มีอยู่ลดน้อยลงโดยรวดเร็วป่าไม้ถูกทาลายไปจนเหลือไม่ถึงหนึ่งในสี่ของพืนที่ป่าไม้ทังหมดที่มีอยู่เดิมต้นไม้ลาธารก็
ถูก ทาลายมากจนเกิ ดปั ญ หาแห้ งแล้ งการใช้ธ รรมชาติอ ย่า งฟุ่ม เฟื อ ยในช่ ว งเวลาห้ า สิ บ ปีไ ด้ ก่อ ให้ เ กิด ปัญ หา
สิ่งแวดล้อมอย่างรุนแรงขึนในปัจจุบัน
จากตัวอย่างดังกล่าวเห็นได้ว่า ในช่วงต้นย่อหน้าจนถึงลางย่อหน้าเป็นการกล่าวถึงรายละเอียดต่าง ๆ
อย่างครอบคลุมเอาไว้ก่อน จากนันจึงจบด้วยประโยคที่เป็นใจความสาคัญ หากนามาเรียบเรียงใหม่จะได้ว่า “การ
ใช้ธรรมชาติอย่างฟุ่มเฟือยในช่วง 50 ปีทาให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม”
ใจความสาคัญอยู่หลายส่วนรวมกัน
หนังสือใบลานแต่ละผูกมีความชารุดแตกต่างกัน โดยทั่วไปแล้วหนังสือใบลานที่เก่ามีอายุมาก ๆ เนือ
ลานจะแห้ง มีความกรอบเปราะ มีรอยแตกร้ าว รอยฉีกเป็นริว ๆ รอยขาด ปรุพรุน อันเกิดจากหนอน แมลง หรือ
ปลวกกัดกิน หรือเกิดจากสาเหตุอื่น ๆ มีเชือราหรือคราบสกปรก ลักษณะอาการเหล่านีเป็นลักษณะแห่งความ
เสียหายที่ปรากฏมากบ้างน้อยบ้างแตกต่างกันไป
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 69

จากตัวอย่างดังกล่าว เห็นได้ว่า ในส่วนกลางของย่อหน้าเป็น รายละเอียดแต่ในขณะที่ส่วนต้นและ


ส่วนท้ายเป็นใจความสาคัญที่แยกออกจากกัน และให้ความหมายไปในทิศทางเดียวกัน หากนามาเรียบเรียงใหม่จะ
ได้ว่า “หนังสือใบลานมีความชารุดแตกต่างกัน ซึ่งก็แตกต่างกันไปหลายรูปแบบ”
ในการอ่านข้อความที่ยาวมากกว่าหนึ่งย่อหน้านันผู้จับใจความสาคัญควรนาใจความสาคัญของแต่ละ
ย่อหน้ามารวบรวมและเรียบเรียงใหม่ให้เป็นภาษาที่ชัดเจน สละสลวยและสันมากที่สุด ซึ่งทังหมดล้วนแล้วแต่
ขึนอยู่กับการฝึกฝนและควรเริ่มจากระดับย่อหน้าและเพิ่มย่อหน้าขึนจนกลายเป็นเรื่องขนาดยาว

การย่อความและสรุปความ
การย่ อความและการสรุ ป ความเป็ น ทัก ษะที่ส าคั ญของการใช้ภ าษาเพื่ อให้ เ กิด สั ม ฤทธิผ ลในการสื่ อ
ความหมาย ไม่ว่าจะเป็นผู้ส่งสารหรือรับสาร ทักษะในการย่อความและสรุปความจะช่วยทาให้เข้าใจสารและ
สามารถบันทึกความคิดที่เป็นประโยชน์ในการดาเนินชีวิตประจาวันอีกด้วย
1. ความหมายและลักษณะของการย่อความและสรุปความ
ความหมายของการย่อความมีผู้รู้กล่าวไว้หลากหลายแนวทาง ในที่นีจะขอเลือกความหมายที่ครอบคลุม
และน่าสนใจเอามาไว้ด้วยกัน
การย่อความคือ การเก็บใจความสาคัญของเรื่องราวใด ๆ ก็ตามมาเรียบเรียงขึนใหม่ให้ครบถ้วน ด้วย
ภาษาที่กระชับรัดกุมและเป็นสานวนของผู้ย่อเอง โดยไม่เปลี่ยนแปลงเรื่องราวของข้อความเดิม (สิทธา พินิจภูวดล,
2516: 7 อ้างถึงใน ไพรถ เลิศพิริยกมล, 2543: 58)
การย่อความคือ การจับประเด็นของเรื่อง หรือการเลือกเฟ้นเอาแต่ใจความที่สาคัญของเรื่องแล้วนามา
เรียบเรียงใหม่ให้มีเนือความกระชับรัดกุม และถู กต้องตามหลักไวยากรณ์โดยใช้สานวนภาษาของผู้ย่อเอง แต่
ความหมายของเรื่องต้องไม่เปลี่ยนแปลง (มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2521: 221 อ้างถึงใน ไพรถ เลิศพิริยกมล,
2543: 58)
โดยสรุป การย่อความนันหมายถึงการจับใจความสาคัญของสารแล้วนามาเรียบเรียงใหม่ให้เป็นภาษาของ
ผู้ย่อความให้สละสลวย กระชับรัดกุมและชัดเจน โดยที่ยังคงความหมายเดิมของสารนัน ๆ เอาไว้ได้
การสรุปความ คือ การรวบรัดใจความ หรือรวมความเอาแต่ประเด็นของเรื่อง กล่าวคือ การสรุปความนัน
ไม่มีอะไรแตกต่างจากการย่อความมากนัก แต่เป็นการย่อความที่มีจุดมุ่งหมายเฉพาะเรื่อง (ไพรถ เลิศพิริยกมล,
2543: 113)
ลักษณะสาคัญของการย่อความและสรุปความนั้นสรุปได้เป็นข้อต่อไปนี้
1. เป็นการเรียบเรียงเนือความใหม่ โดยใช้สานวนภาษาของผู้ย่อความเองทังหมด อย่างไรก็ตามต้อง
คานึงถึงความถูกต้องของการใช้ภาษาด้วย
2. ตัดพลความ หรือข้อความหรือประโยคที่เป็นส่วนขยายออกคงไว้ซึ่งประเด็นสาคัญ
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 70

3. ต้องพยายามคงนาเสียงของข้อเขียนนัน ๆ เอาไว้ให้เหมือนเดิม เช่น การประชดประชันหรือการ


แสดงความชื่นชม
4. ขนาดของย่อความแบ่งออกเป็น 2 ขนาด คือ
ก. ขนาดปกติ ย่อเหลือ 1 ใน 3 ของเนือความเดิม หรืออย่างมากไม่เกินครึ่ง
ข. ขนาดสัน อาจเหลือย่อเพียง 2-3 บรรทัด
5. การขึนต้น ย่อความมีรู ปแบบเฉพาะตัว มีหลั กกว้าง ๆ ซึ่งต้องพยายามเขียนให้ชัดเจน ไพรถ
เลิศพิริยกมล (2543: 59) กล่าวไว้ว่า
ก. ย่ออะไร
ข. ของใคร
ค. ที่ไหน
ง. เมื่อไร
2. หลักการย่อความและสรุปความ
ก่อนที่จะย่อความและสรุปความ ควรทาความเข้าใจเบืองต้นในเรื่องเหล่านี
2.1 การพิจาณาสาร เมื่อต้องการย่อความและสรุปความควรเข้าใจสารที่ตัวเองกาลังจะย่อหรือสรุป
ก่อนว่าเป็นสารประเภทใด ไพรถ เลิศพิริยกมล (2543: 60) แบ่งสารออกเป็นกลุ่มใหญ่ ๆ 3 ประเภท คือ
2.1.1 สารประเภทร้อยแก้ว หมายถึงงานเขียนที่ใช้ถ้อยคาเป็นความเรียง ไม่มีข้อบังคับในการ
แต่ง ร้อยแก้วอาจเป็นหนังสือ ตารา บทความ ประกาศ จดหมาย ข่าว โอวาท บทละคร ประกาศ หรืออื่น ๆ อีกมาก
2.1.2 สารประเภทร้อยกรอง หมายถึงงานเขียนที่เป็นคาประพันธ์ มีข้อบังคับในการแต่งให้มี
สัมผัสคล้องจองกัน ตามลักษณะของคาประพันธ์แต่ละชนิด เช่น โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน ร่าย เป็นต้น
2.1.3 สารที่สื่อมาโดยตรง รับรู้ได้ด้วยการฟัง ซึ่งปรากฏอยู่ในรูปแบบของการสนทนา การ
บรรยาย ปาฐกถา การสัมมนา การสัมภาษณ์ สารประเภทนีถ้ารับฟังโดยตรงก็ต้องเตรียมพร้อมที่จะทาความเข้าใจ
ในขณะที่ฟัง ตังใจจับประเด็น และย่อหรือสรุปเรื่องในทันทีทันใด ไม่ควรทิงไว้นานเพราะอาจจะหลงลืม เว้นแต่มี
การบันทึกเสียงเอาไว้แล้วนามาย่อหรือสรุปในภายหลัง
2.2 วิเคราะห์แยกสารลงไปในรายละเอียด คือควรใช้ความสามารถในการวิเคราะห์สารทังในเรื่อง
รูปแบบและเนือหาที่ปรากฏออกมา ซึ่งจะมีลักษณะที่แตกต่างกัน
2.3 การย่อความ หลักและวิธีการในการย่อความและสรุปความมีผู้รู้กล่าวไว้มากมาย แต่สามารถ
สรุปกว้าง ๆ ได้ดังต่อ
2.3.1 อ่านเรื่องหรือฟังให้เข้าใจอย่างถ่องแท้ โดยเฉพาะการอ่านควรอ่านอย่างน้อย 2-3 ครัง
หรือการฟังหากมีการบันทึกเสียงควรนามาเปิดฟังเพื่อทบทวนอีกครัง
2.3.2 ให้พิจารณาดูว่าใจความสาคัญในตอนนัน ๆ คืออะไร
2.3.3 เก็บเอาใจความสาคัญเฉพาะตอนออกมาแล้วทาบันทึกอย่างย่อให้ตนเองเข้าใจง่ายที่สุด
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 71

2.3.4 นาเอาใจความสาคัญเหล่านันมาเรียบเรียงให้เนือความติดต่อสัมพันธ์กันตามลาดับ
2.3.5 คาสรรพนามที่ใช้ควรเป็นบุรุษที่ 3 เพราะผู้ย่อเป็นผู้เก็บใจความจากเรื่องมาเรียบเรียง
ใหม่
ตัวอย่างการย่อความและสรุปความ
บทความเรื่อง ภาษาพาจร ของ นิตยา กาญจนะวรรณ
ข้อสังเกตจากภาษาไทยที่ได้จากถนนนียังมีที่น่ าสนใจอีกหลายประการดังจะได้ยกขึนมากล่าวอีกถึ ง
ดังนีมีการยืมคาจากภาษาต่างประเทศมาใช้โดนเปลี่ยนความหมายไปจนเจ้าของภาษาเดิมฟังแล้วต้องงง เช่น
“จะต้องไปเข้าวินตอนเช้า” “ไปส่งพี่เขาที่วินรถหน่อย” วิน ก็คงมาจาก win นันเอง คงจะมาจาก
แถวสนามม้าที่น่าดีใจแทนคนขับรถทุกคนก็คือทุกคนเข้าวินหมดไม่มีใครเข้าเพลซเลย แต่น่าแปลกที่คนเข้าวินทุก
คนก็บ่นว่าจนอยู่เหมือนเดิมมีการเปลี่ยนแปลงความหมายของคาเดิมที่เคยใช้มาแล้วคาเดิมที่ว่านีก็ไม่ใช้คานอก
วงการถนนหนทาง เป็นคาเดิมที่เคยใช้กันมานันเอง เช่น ทางลัด แต่เดิมมาหมายถึง ทางที่ มีระยะสันกว่าถนนใหญ่
ถ้าถนนใหญ่ที่จะนาไปสู่จุดมุ่งหมายปลายทางมีระยะ 10 กิโลเมตร ทางลัดซึ่งเป็นทางแคบ ๆ อาจจะมีระยะทาง
ประมาณ 5 - 8 กิโลเมตร แต่ในปัจจุบันนี ทางลัดอาจจะยาวถึงสองหรือสามเท่าของถนนใหญ่ แต่สิ่งที่ลัดคือเวลา
เพราะถ้าใช้ถนนใหญ่อาจจะต้องใช้เวลาถึ ง 2 ชั่วโมง แต่ถ้าใช้ทางลัดอาจใช้เวลาเพียง 1 ชั่วโมงเท่านัน ทังที่ระยะ
ทางไกลกว่ามีการใช้ภาษาอย่างมีภาพพจน์ เช่น “รถชุมมาก” “รถชุกชุนมาก” นอกจากนี ศัพ ท์ ที่ใ ช้ กั นอย่ างเคย
ชินจนเป็นภาษาราชการไปแล้ว ก็มีที่มาจากการใช้ภาษาอย่างมีภาพพจน์ เช่น สะพานลอย แล้วต่อมาก็กลายเป็น
ที่จอดรถลอยฟ้า ทางเดินสาหรับเขาข้ามถนนก็เรียกกันว่า ทางม้าลาย ต่อมาเมื่อเกิดมีสะพานลอยสาหรับคนข้าม
ถนน ก็เกิดมีคนเรียกว่าทางม้าลอย แล้วต่อมาก็มีทางม้าลอด คานีต้องทายกันดูเองว่าเป็นอะไร อยู่ที่ไหนใครตอบ
ได้ เก่ง แต่ไม่มีรางวัลให้ (นิตยา กาญจนะวรรณ, 2535)
จากตัวอย่างดังกล่าวหากพิจารณาตามขันตอนและหลักของการย่อความและสรุปความ ในลาดับแรก
คือการพิจารณาสารจะเห็นได้ว่าข้อความดังกล่าวเป็นร้อยแก้ว ประเภทบทความ ซึ่งมีลักษณะของการแสดงความ
คิดเห็น ข้อความดังกล่าวตัดตอนมาจากบทความซึ่งมีเนือหาเกี่ยวกับการแสดงความเห็นในเรื่องการเปลี่ยนแปลง
ของภาษาไทยในปัจจุบัน เมื่อนามาย่อความและสรุปความแล้วจะมีลักษณะดังนี
“มีข้อน่าสังเกตเกี่ยวกับการใช้ภาษาไทยไทยที่พบเห็นได้จากท้องถนน ซึ่งมีความน่าสนใจ หลาย
ประการ ได้ แ ก่ ประการแรกมี ก ารยื ม ค าจากภาษาต่ า งประเทศมาใช้ เช่ น ค าว่ า วิ น ประการที่ ส องมี ก าร
เปลี่ยนแปลงความหมายไปจากเดิม เช่น ทางลัด เดิมหมายถึง ย่นระยะทาง แต่ปัจจุบันหมายถึงย่นเวลาประการ
สุดท้ายมีการใช้ภาษาอย่างมีภาพพจน์ เช่น รถชุมมาก สะพานลอย ทางม้าลาย เป็นต้น”
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 72

การวิเคราะห์
1. ความหมายและลักษณะของการวิเคราะห์
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 (2556) ได้ให้ความหมายไว้ว่า ก. ใคร่ครวญ เช่น
วิเคราะห์เหตุการณ์; แยกออกเป็นส่วน ๆ เพื่อศึกษาให้ถ่องแท้ เช่น วิเคราะห์ปัญหาต่าง ๆ วิเคราะห์ข่าว (ส. วิคฺรห).
กุหลาบ มัลลิกะมาส (2522: 30) กล่าวว่า การวิเคราะห์เป็นการนาเอาเรื่องใดเรื่ องหนึ่งมาพิจารณาอย่าง
ละเอียดถี่ถ้วน ให้เห็นความแตกต่าง ความกลมกลืน ข้อดี ข้อด้อยของแต่ละส่วนนัน
ม.ล. บุญเหลือ เทพยสุวรรณ (2543: 10) อธิบายถึงความหมายของการวิเคราะห์และลักษณะของการ
วิเคราะห์ไว้ว่า คือการแยกแยะส่วนต่าง ๆ ออกดูให้ถี่ถ้วนที่สุดเท่าที่จะทาได้ เช่นเดียวกับว่า หากเราจะพิจารณา
พวงมาลัยพวงหนึ่ง เราก็จะดูว่า เป็นมาลัยกลมหรือมาลัยเสียว มาลัยนีร้อยเพื่อใช้ในการใด ใช้ดอกไม้สีอะไร ถ้า
ร้อยให้เป็นลวดลาย ลายนันมีความหมายเฉพาะอย่างไรหรือไม่ และลายนันเห็นชัดเจนหรือร้อยโดยไม่มีฝีมือทาให้
ลายนันเห็นไม่ชัด
ดังนันเมื่อรวมความทังหมดจะได้ว่าการวิเคราะห์คือการแยกแยะส่วนประกอบต่าง ๆ ของสารที่ได้รับไม่
ว่าจะเป็นสารจากการอ่านหรือการฟัง ให้ได้มากที่สุด พิจารณาให้เห็นความแตกต่าง ความกลมกลืน ตลอดจน
แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ของความหมายต่าง ๆ ที่ปรากฏอยู่ในสารชินนัน
การวิเคราะห์ที่ดีนันย่อมมาจากการฝึกฝนเป็นสาคัญ ผู้วิเคราะห์จะต้องมีทักษะในด้านภาษาเป็นอย่างมาก
โดยควรเริ่มฝึกฝนตังแต่การจับใจความสาคัญ แยกแยะส่วนประกอบต่าง ๆ ของข้อความ พิจารณาจุดดี จุดด้อย
ของข้อความ ทักษะในการวิเคราะห์ที่ดีย่อมจะไปนาไปสู่ทักษะอื่นที่สูงขึนได้ เช่น การวิจารณ์ และการสังเคราะห์
2. หลักในการวิเคราะห์
การวิเคราะห์มีหลักและแนวทางอยู่ 4 ประการที่สาคัญ ได้แก่
2.1 การวิเคราะห์รูปแบบการประพันธ์หรือเรียบเรียงถ้อยคา ซึ่งการแบ่งได้เป็น 2 รูปแบบใหญ่ ๆ คือ
2.1.1 ร้อยแก้ว หมายถึงความเรียงโดยไม่มีข้อบังคับในการเรียบเรียงถ้อยคา ปรากฏอยู่ใน
หนังสือทั่วไป ตารา หนังสือพิมพ์ สารคดี เรื่องสัน นวนิยาย
2.1.2 ร้อยกรอง หมายถึงการนาถ้อยคามาเรียบเรียงตามลักษณะข้อบังคับของคาประพันธ์
ประเภทต่าง ๆ ได้แก่ โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน ร่าย ลิลิต กาพย์ห่อโคลง เป็นต้น
2.2 การวิเคราะห์เนือหา มีลาดับดังต่อไปนี
2.2.1 วิเคราะห์ว่าเป็นเนือหาประเภทใด ซึ่งแบ่งกว้าง ๆ ได้เป็น 2 ประเภท คือ สารคดี
(Non-Fiction) หมายถึง เรื่องจริงที่มุ่งให้ความรู้และข้อมูลตามข้อเท็จจริง ปรากฏอยู่ในข่าว สารคดี บันทึก
จดหมายเหตุ เป็ นต้น และ บัน เทิงคดี (Fiction) หมายถึงเรื่องแต่งหรือเรื่องสมมติ เป็นเรื่องราวที่เกิดจาก
จินตนาการ มุ่งให้ความเพลิดเพลินเป็นสาคัญ เช่น นิทาน เรื่องสัน นวนิยาย กวีนิพนธ์
2.2.2 วิเคราะห์องค์ประกอบของเนือหาดังกล่าว โดยทังสารคดีจะต้ององค์ประกอบที่ควร
พิ จ ารณาเหมื อ นกั น คื อ โครงเรื่ อ ง แนวความคิ ด เนื อเรื่ อ ง และจุ ด มุ่ ง หมายของผู้ แ ต่ ง แต่ บั น เทิ ง คดี จ ะมี
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 73

องค์ประกอบที่ต้องพิจารณาเพิ่มเติมคือ ตัวละคร ฉากและบรรยากาศ ลักษณะของการพิจารณาองค์ประกอบต่าง ๆ


มีรายละเอียดดังต่อไปนี
2.2.2.1 โครงเรื่อง หมายถึง เค้าโครงของเนือหาที่ ทาให้เรื่องราวเป็นไปตามลาดับ
เวลา และมีความเป็นเหตุเป็นผลกัน โครงเรื่องจะประกอบด้วยเหตุการณ์หลักและเหตุการณ์ประกอบ เรียงลาดับ
ก่อนหลัง โครงเรื่องที่ดีย่อมแสดงให้เห็นลาดับของเหตุการณ์ที่เป็นเหตุเป็นผลสืบเนื่องกัน
2.2.2.2 แนวความคิด หรือแก่นของเรื่อง เป็ นความหมายของสารที่ผู้ส่งสารต้องการ
จะสื่อมายังผู้รับสาร มักปรากฏอยู่ตลอดเรื่องในรูปแบบต่าง ๆ เป็นความคิดเห็นของผู้ส่งสารที่สื่อผ่าน อารมณ์
ความรู้สึกนึกคิดของตัวละคร คาพูดของตัวละคร การพิจารณาแก่นเรื่องต้องทาความเข้าใจเรื่องราวทังหมดตังแต่
ต้นจนจบ จากนันจึงสรุปจากเหตุการณ์ทังหมดของตัวเรื่อง ซึ่งจะต้องสอดคล้องเชื่อมโยงกันอย่างเป็นเหตุเป็นผล
2.2.2.3 จุดมุ่งหมาย ผู้รับสารต้องพิจารณาว่าผู้ส่งสารต้องการนาเสนออะไร เช่น ให้
ความรู้ ให้ความเพลิดเพลิน แสดงความคิดเห็น ฯลฯ การวิเคราะห์จุดมุ่งหมายของผู้ส่งสารจะทาให้เข้าใจตัวสาร
หรือความหมายที่อยู่ในสารได้รวดเร็วชัดเจน และถูกต้อง
2.2.2.4 เนือเรื่อง หมายถึงเรื่องราวทังหมด การนาเสนอเนือเรื่องที่ดีจะต้องมีความ
ขัดแย้งหรือปัญหาที่เกิดขึนภายในเรื่อง จากนันจึงมีการคลี่คลายปัญหาต่าง ๆ อย่างเป็นเหตุเป็นผล โดยเฉพาะใน
บทความ ผู้เขียนจะต้องนาเสนอปัญหาหรือข้อขัดแย้งบางอย่างที่เกิดขึน แล้วจึงแสดงให้เห็นถึงข้อเท็จจริงและ
เหตุผลเพื่อนาไปประกอบกับข้อคิดเห็นของผู้เขียน ซึ่งจะทาให้บทความชินนันดูน่าเชื่อถือมากขึน ส่วนบันเทิงคดี
ความขัดแย้งอาจเกิดขึนจากตัวละคร หรือฉาก หรือองค์ประกอบอื่น ๆ ที่ส่งผลกระทบกันทาให้เกิดปมปัญหาหรือ
ความขัดแย้งภายในตัวละครและกลายเป็นปมของเรื่องนัน ๆ
2.2.2.5 ตัวละคร ตัวละครเป็นองค์ประกอบเฉพาะของบันเทิงคดี ตัวละครเป็นเสน่ห์
อย่างยิ่งในบันเทิงคดี ผู้เขียนจะบรรยาย พรรณนาบุคลิกลักษณะนิสัยของตัวละครให้ ผู้อ่านได้รู้สึกราวกับว่าตัว
ละครตัวนัน ๆ มีชีวิตอยู่จริง หรือไม่ก็ทาให้นึกถึงคนที่เราเคยรู้จักตัวละครเป็นองค์ประกอบที่สาคัญของบันเทิงคดี
จนไม่สามารถพิจารณาแยกออกจากองค์ประกอบอื่น ๆ เช่น โครงเรื่อง เหตุการณ์ ของบันเทิงคดีเรื่องนัน ๆ ตัว
ละครในบันเทิงคดีแบ่งกว้างๆ ได้เป็นสองประเภทคือ ตัวละครมิติเดียว หมายถึงตัวละครที่ผู้อ่านสามารถคาดเดา
พฤติ ก รรมได้ ตั งแต่ ต้ น จนจบ ตั ว ละครหลายมิ ติ หมายถึ ง ตั ว ละครที่ มี ค วามซั บ ซ้ อ น มี พั ฒ นาการสามารถ
เปลี่ยนแปลงตัวเองได้เมื่อมีเหตุการณ์หรือปัญหาใด ๆ เข้ามาสู่ชีวิตของตัวละครนัน ๆ
2.2.2.6 ฉากและบรรยากาศ ฉาก หมายถึงสถานที่ที่ตัว ละครตัว โลดแล่ นอยู่และ
สถานที่แห่ งนั นมีร ายละเอียดของสังคม วัฒ นธรรมและเวลา เป็นองค์ประกอบที่ส าคัญ บรรยากาศหมายถึง
ความรู้สึกที่เกิดขึนอันมีผลมาจากฉาก ดังนันทังฉากและบรรยากาศจึงเป็นสิ่งที่ควบคู่กันอยู่เสมอ ฉากเป็นสิ่งที่ส่ง
อิทธิพลให้แก่ตัวละครและสามารถทาให้ตัวละครมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ฉากที่ดีจึงควรเป็นฉากที่สมจริง มี
ความเป็นเหตุเป็นผลกับองค์ประกอบอื่นๆ ของเรื่อง
2.3 การวิเคราะห์วิธีการเรียบเรียงเรื่องราว การวิเคราะห์ดังกล่าวนีเป็นการใช้ความชานาญในการ
ส่งสาร ซึ่งเกิดจากการฝึกฝน โดยดาเนินเรื่องราวตามที่กาหนดให้น่าสนใจ น่าติดตาม มีความแปลกใหม่และเป็น
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 74

เอกลักษณ์ของตนเอง สามารถพิจารณาได้จากการตังชื่อเรื่อง การเล่าเรื่อง และการดาเนินเรื่อง


2.3.1 การตังชื่อเรื่อง ชื่อเรื่องเป็นสิ่งแรกที่ผู้รับสารได้รู้ได้เห็น ก่อนเป็นอันดับแรก ดังนันชื่อ
เรื่องจึงเป็นส่วนที่สาคัญเพราะจะช่วยให้ผู้รับสารสามารถคาดเดาเรื่องราวต่างๆ ที่กาลังจะอ่านได้ ตลอดจนทาให้
ผู้รับสารรู้สึกสนใจที่จะติดตามเรื่องนัน ๆ ตลอดจนจบเรื่อง ดังนันชื่อเรื่องที่ดีต้องครอบคลุมเนือหาของเรื่องราว
ทังหมดได้ และสามารถทาให้ผู้รับสารรู้สึกสนใจที่จะติดตามไปจนจบเรื่อง กลวิธีในการตังชื่อเรื่องนันมีด้วยกัน
หลายวิธี เช่น อาจตังเป็นคาถาม หรือสานวน นอกจากนีการตังชื่อของงานประเภทบันเทิงคดี อาจใช้ชื่อตัวละคร
เป็นชื่อเรื่องก็ได้ เช่น “ลมหวน” “ดาวพระศุกร์” “แจ้ง ใบตอง ผู้ยิ่งยงแห่งสวนกล้วย” “มัทรี” เป็นต้น หรือตังชื่อ
ตามแนวคิดของเรื่อง เช่น “ล่า” “ออกไปข้างใน” “แลไปข้างหน้า” “ปีศาจ” เป็นต้น
2.3.2 วิธีการเล่าเรื่อง การถ่ายทอดเรื่องราวมีหลากหลายวิธีซึ่งแตกต่างไปตามความชอบและ
ลักษณะของผู้เล่า บันเทิงคดีบางเรื่องอาจเล่าเรื่ องด้วยการให้ตัวละครเป็นผู้เล่า หรือให้ผู้เล่าไม่ปรากฏตัวแต่เป็น
เพียง “เสียง” ที่อยู่ในเรื่องเล่า ซึ่งผู้เล่าเรื่องแบบนีโดยมากเป็นผู้เล่าเรื่องที่รู้แจ้งเห็นจริงตลอดเรื่อง รู้ว่าอดีต
ปัจจุบัน และอนาคตของตัวละครแต่ละตัวจะเป็นไปอย่างไร เข้าใจอุปนิสัยของตัวละคร ผู้วิเคราะห์จะต้องติดตาม
ไปตลอดเรื่องราวและพิจารณานาเสียงของการเล่าเรื่องให้ได้ว่าใครเป็นผู้เล่า ในบันเทิงคดีร่วมสมัยผู้เล่าเรื่องอาจใช้
สรรพนามบุรุษที่ 2 ก็ได้ เช่น
“...คุณพยายามอย่ างถึงที่สุ ดที่จะเป็นคนดี แต่ความรักทาลายความยับยังชั่งใจของคุณจน
สาบสูญหมดสิน ความรักกัดกินคุณจากข้างใน ทาลายคุณจนถึงเยื่อกระดูก คุณได้ยินเสียงของการกร่อน สลายนัน
วินาทีหนึ่งคุณรู้ว่ามันจะเป็นเสียงที่จะดังไปชั่วนิรันดร์” (วิวัฒน์ เลิศวิวัฒน์วงศา “ฤดูกาลระหว่างเรา”, 2556: 61)
2.3.3 การดาเนินเรื่อง การดาเนินเรื่องคือการเชื่อมโยงเหตุการณ์ให้ต่อเนื่องกันตังแต่ต้นจน
จบ สารคดีและบันเทิงคดีที่มีการดาเนินเรื่องที่ดีต้องมีเนือหาที่สมบูรณ์ แจ่มแจ้ง ชัดเจน เชื่อมโยงกันอย่างเป็นเหตุ
เป็นผล ตังแต่คานา การเปิดเรื่อง จนกระทั่งจบเรื่อง ในการวิเคราะห์การดาเนินเรื่องผู้วิเคราะห์จาเป็นต้องจับให้ได้
ว่าผู้ส่งสารใช้วิธีแบบใดในการเล่าเรื่อง ซึ่งมีวิธีการกว้าง ๆ ดังนี
2.3.3.1 ผู้ส่งสารเปิดเรื่องด้วยวิธีการแบบใด เช่น ใช้ข้อความชวนให้คิด ตังคาถาม
หรือใช้สานวนโวหารใดในการเปิดเรื่อง
2.3.3.2 ผู้ส่ งสารสร้างปัญหาหรือข้อขัดแย้งใด ปัญหาดั งกล่ าวเกิดขึนกับตัวละคร
หรือเนือเรื่องอย่างไร
2.3.3.3 ผู้ส่งสารจัดเรียงลาดับเหตุการณ์ในการนาเสนออย่างไร
2.3.3.4 ผู้ส่งสารเร้าความสนใจอย่างไร อะไรจะเกิดขึนในลาดับถัดไป
2.3.3.5 ผู้ส่งสารปิดเรื่องอย่างไร เช่น จบด้วยการทิงคาถามให้ชวนคิด จบแบบหักมุม
จบแบบโศกนาฏกรรม จบแบบทิงปัญหาโดยไม่ได้สรุปอะไรเลย
2.3.4 การวิเคราะห์การใช้ภาษา ในการวิเคราะห์แบบนี ผู้วิเคราะห์ต้องมีความรู้ความเข้าใจ
ในเรื่องภาษาเป็นอย่างดีทังในเรื่องของการใช้คา ประโยค โวหาร
2.3.4.1 การใช้คาให้พิจารณาจากการเลือกใช้คาทังรูปศัพท์ เสียง และความหมาย ให้
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 75

ถูกต้องเหมาะสมกับเนือเรื่อง อาจเป็นคาง่าย ๆ สัน ๆ ที่กระชัยและสื่อความหมายชัดเจน ตรงไปตรงมา หรือถ้า


หากเป็นศัพท์สูง มีความหมายลึกซึงให้ผู้วิเคราะห์พิจารณาถึงความถูกต้องและเหมาะสม
2.3.4.2 การใช้ ป ระโยค ให้ พิ จ ารณาว่ า ใช้ ป ระโยคถู ก ต้ อ งหรื อ ไม่ วางส่ ว นขยาย
ถูกต้องหรือไม่ มีรูปประโยคแบบภาษาต่างประเทศหรือไม่
2.3.4.3 การใช้ โ วหาร ให้ พิ จารณาว่า ใช้ โ วหารหรื อศิ ล ปะการเรีย บเรียงเรื่ องราว
อย่างไร บรรยายโวหาร พรรณนาโวหาร เทศนาโวหาร สาธกโวหาร หรืออุปมาโวหารและพิจารณาว่าโวหารที่
เลือกใช้เหมาะสมกับเนือหาหรือไม่ ใช้ภาพพจน์หรือถ้อยคาที่ทาให้ผู้รับสารได้รับรู้และเข้าใจและเห็นภาพอย่าง
ชัดเจนหรือไม่ และใช้วิธีอย่างไร

การวิจารณ์
1. ความหมายและลักษณะของการวิจารณ์
ความหมายของการวิจารณ์มีผู้รู้กล่าวไว้มากมายแต่โดยซึ่งรวบรวมไว้ดังนี
วิทย์ ศิวะศริยานนท์ (2518: 215) กล่าวว่า “การวิจารณ์ที่แท้คือ การพิจารณาลักษณะของบทประพันธ์
แยกแยะส่วนประกอบที่สาคัญและหยิ บยกออกมาแสดงว่าไพเราะงดงามเพียงไรวิเคราะห์ความหมายของบท
ประพัน ธ์นั น ถ้าความหมายซ่อนเร้ น อยู่ ก็ใช้ปัญญาหยั่งไปให้ เห็ นทะลุ ปรุโ ปร่งและแสดงให้ ผู้ อ่านเห็ นตามถ้ า
ความหมายกระจัดกระจายอยู่ ก็พยายามปะติดปะต่อให้เป็นรูปเป็นเค้าพอที่ผู้อ่านจะเข้าใจได้ แสดงหลักศิลปะ
และแนวความคิดของผู้ประพันธ์ซึ่งเป็นแนวทางในการแต่งหนังสือนัน นอกจากนัน จะต้องเผยให้เห็นความสัมพันธ์
ระหว่างส่วนประกอบต่าง ๆ ของงานนันและชีให้เห็นด้วยว่าแต่ละส่วนมีความสาคัญต่อส่วนรวมเพียงไร รวมความ
ว่าการวิจารณ์ คือ การแสดงให้เห็นว่าหนังสือนันมีลักษณะอย่างไร ทังในส่วนเนือเรื่องความคิดความเห็นและ
ทานองแต่ง เมื่อได้อธิบายลักษณะของหนังสือให้ผู้อ่านเข้าใจแล้วจริงวินิจฉัยลงไปว่าหนังสือเล่มนันดีไม่ดีอย่ างไร
ควรจัดเข้าไว้ในชันไหน”
ม.ล. บุญเหลือ เทพสุวรรณ (2543: 10-13) กล่าวว่า “ความหมายก็คือการพิจารณา แต่ในขันที่เราจะ
ศึกษากันนีเราหมายถึง การพิจารณากลวิธี ถ้าเราเพียงแต่พิจารณาเนือหา หรือเพียงแต่ตีความได้ และไม่สามารถ
พิจารณากลวิธีของผู้แต่งหรือผู้เขียน ...ถ้าจะเรียนวรรณคดีเป็นวิชา เราต้องสามารถพิจารณากลวิธีของผู้แต่ง”
เจตนา นาควัชระ (2514) ให้ความหมายเกี่ยวกับ "วรรณคดีวิจารณ์" ไว้ในหนังสือ “ทฤษฎีเบืองต้นแห่ง
วรรณคดี” ว่า "หมายถึง ความคิดเห็นเกี่ยวกับวรรณคดี โดยจะไม่แยกระดับของความลึกซึ้ง ว่า 'วรรณคดีวิจักษ์'
เป็นระดับเบื้องต้น และ 'วรรณคดีวิจารณ์' เป็นระดับสูง" นอกจากนียังกล่าวต่อไปว่า นักอ่านหนังสือที่ดีมักจะชอบ
แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับหนังสือที่ตนอ่าน ความคิดในขันแรกมักจะเป็นไปในทานองว่าชอบหรือไม่ชอบ บางครัง
จะติว่าดีหรือไม่ดี วรรณคดีวิจารณ์จึงมักเริ่ มด้วยการแสดงความคิดเห็นส่วนตัวที่มีต่อหนังสือเล่มนัน ๆ จุดเริ่มต้น
ของวรรณคดีวิจารณ์มักจะเริ่มจากลักษณะที่เป็น อัตนัย (Subjective) แต่ผู้อ่านที่ดีจะไม่หยุดแค่นั้น จะต้องถาม
ตัวเองต่อไปว่า ชอบเรื่องนี้เพราะเหตุใด การคิดค้นหาเหตุผลที่จะมาอธิบายความรู้สึกของตนเองเป็นขั้นต่อไปของ
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 76

วรรณคดีวิจารณ์
รวมความทังหมดสรุปได้ว่า การวิจารณ์คือการแสดงความคิดเห็นและประเมินคุณค่าของสารที่ได้รับ ซึ่ง
เป็นการพิจารณาตัดสินว่าดีหรือไม่อย่างไร โดยมากเป็นการพิจารณากลวิธีที่ใช้ในการดาเนินเรื่อง ลักษณะของเนือ
เรื่อง แนวคิดของเรื่อง ทังหมดต้องใช้เหตุผลมาสนับสนุนการประเมินคุณค่า การวิจารณ์ที่ดีจึงต้องทาให้น่าเชื่อถือ
ด้วยการเชื่อมโยงกับการใช้เหตุผลจึงจะทาให้การวิจารณ์มีความน่าเชื่อถือ
การวิจ ารณ์นั นเป็ น ทัก ษะที่ เกิด จากการพัฒ นาทัก ษะในด้า นการวิเ คราะห์ ดังนั นผู้ วิ จารณ์ที่ดี ย่อมมี
ความสามารถในการวิเคราะห์ แยกแยะส่วนประกอบต่าง ๆ ของสารและสามารถประเมินคุณค่าของสารนัน ๆ ได้
โดยหาเหตุและผลมาสนับสนุนสิ่งที่ตนกาลังวิจารณ์
2. แนวทางในการวิจารณ์
การวิจารณ์อย่างมีเหตุผลมีแนวทางกว้าง ๆ 4 ประการซึ่งโดยมากก็ไม่ต่างจากการวิเคราะห์ ได้แก่
2.1 พิ จ ารณาองค์ ป ระกอบและเนื อหา ให้ พิ จ ารณาว่ า องค์ ป ระกอบของสาร เช่ น โครงเรื่ อ ง
จุดมุ่งหมาย แนวคิด ตัวละคร ฉาก รูปแบบการเรียบเรียงหรือลักษณะคาประพันธ์ มีความสมบูรณ์ สอดคล้อง
กลมกลืนกันหรือไม่อย่างไร วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบกับเนือหา เช่น หากเป็นสารประเภทสารคดีนัน
มีเนือหาที่ตรงตามจุดประสงค์หรือไม่ ใช้รูปแบบการเรียบเรียงด้วยความเรียงได้ถูกต้องสละสลวยอย่างไร โดย
พยายามพิจารณาให้เนือหาของสารกับรูปแบบที่ใช้ให้สอดคล้องกัน
2.2 พิจ ารณาถ้อยคาและภาษา ให้ พิจารณาถ้อยคาที่ใช้ว่ ามีความกระชับ ไพเราะ งดงาม สื่ อ
ความหมายได้ชัดเจน มีนาหนักน่าเชื่อถือ เหมาะสมกับเนือหาและบรรยากาศของเรื่องหรือไม่ ถ้อยคา ภาษา
สานวนโวหาร มีลักษณะเฉพาะตัวที่ดีหรือไม่ ใช้รูปประโยคดีหรือไม่อย่างไร
2.3 พิจารณากลวิธีการดาเนินเรื่อง กลวิธีการดาเนินเรื่องเป็นปัจจัยที่สาคัญซึ่งทาให้สารประเภท
เดียวกันหรือมีเนือหาเหมือนกันมีคุณค่าที่แตกต่างกัน การพิจารณากลวิธีการดาเนินเรื่องต้องพิจารณาว่าผู้ส่งสาร
ต้องการนาเสนอปมปัญหาอะไร ผูกเรื่องราวได้แน่นหนาอย่างไร ใช้วิธีแบบใดในการดาเนินเรื่องหรือเล่าเรื่อง การ
เรียงลาดับเหตุการณ์มีความเป็นเหตุเป็นผลกันหรือไม่อย่างไร ความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ที่เกิดขึนในเรื่องมีความ
สมเหตุสมผลหรือไม่อย่างไร
2.4 การพิจารณาคุณค่าของสาร ให้พิจารณาคุณค่าด้านต่าง ดังนี
2.4.1 คุณค่าต่อผู้ส่งสาร โดยประเมินว่าผู้ส่งสารนาเสนอเรื่องราวแปลกใหม่ แสดงพัฒนาการ
ทางด้านความรู้ความคิด ประสบการณ์ ความตังใจ มีความประณีตบรรจงในการนาเสนอ มีความแปลกใหม่ที่
น่าสนใจในสังคมร่วมสมัย แสดงการค้นคว้าที่มากพอในการนาเสนอข้อมูล ไม่เสนออะไรซา ๆ จากที่คนอื่น ๆ เคย
เสนอมาแล้ว
2.4.2 คุณค่าต่อผู้รับสาร โดยประเมินว่าสารนันช่วยให้ผู้รับสารพัฒนาความรู้ ความคิด หรือ
อารมณ์ความรู้สึกอย่างไร ทาให้ผู้รับสารสามารถพัฒนาตนเองได้อย่างไร สามารถขยายจินตนาการ ความรู้ให้
ออกไปกว้างไกลกว่าเดิมได้หรือไม่อย่างไร
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 77

2.4.3 คุณค่ าต่อ สั งคม โดยประเมินว่ าเรื่ องราวนั นสะท้อนความเป็ นอยู่ ขนบธรรมเนีย ม
ประเพณี ค่านิยม ความคิด อุดมการณ์ของสังคมได้ หรือไม่อย่างไร แสดงให้เห็นภาพของสังคมได้มากน้อยเพียงใด
มีความสมจริงหรือไม่ และทาให้เกิดปฏิกิริยาของผู้รับสารที่มีต่อสังคมที่ตนเองอยู่ได้มากน้อยเพียงใด
ตัวอย่างการวิจารณ์
“ปุถุชนส่วนมากที่สุด คอยที่จะถือตัวว่าเป็นคนสาคัญกว่าคนอื่นอยู่แล้ว พิสูจน์ได้จากการที่เห็น
มนุษย์ด้วยกันทรามกว่าตน”
“ดอกไม้สด” เป็นนามปากกาของ ม.ล. บุปผา นิมานเหมินท์ (นามสกุลเดิม กุญชร) นักเขียนหญิง ยุค
แรกของประเทศไทยซึ่งมีผลงานมาตั้งแต่ก่อนเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี 2475 จนถึงช่วงต้นของทศวรรษ
2490 ผลงานของ “ดอกไม้สด” สร้างชื่อจากการเป็นนักเขียนหญิงยุคแรกๆ ที่บุกเบิกนวนิยายชีวิตครอบครัว และ
เป็นวรรณกรรมที่มีความสมจริงมากขึ้นอันเป็นบุคลิกลักษณะของวรรณกรรมในช่วงเวลาดังกล่าว
การยึดมั่นในความเป็น “ผู้ดี” ที่แท้จริงไม่ว่าจะตกอยู่ในสถานะใดในสังคมของวิมลนันสร้างความ
ประทับใจให้แก่ผู้อ่านมาหลายยุคหลายสมัย เป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นว่า “ผู้ดี” นันหาได้นิยามด้วยทรัพย์ศฤงคารใดๆ
แต่ความเป็นผู้ดีแท้ๆ ย่อมหมายถึงระเบียบและวิถีชีวิตที่หยั่งรากลึกลงไปในจิตใจด้วยนั่นเอง
ท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงในสังคมในยุคประชาธิปไตยซึ่งกาลังผลิดอกออกผล “ผู้ดี” ของดอกไม้
สดได้แสดงให้เห็น “ความเปลี่ยนแปลง” ที่เกิดขึนภายในของชนชันนา เช่น ขุนนาขุนนางทังหลายที่ต้องเผชิญกับ
ชะตากรรมที่ยากลาบาก หลายคนไม่สามารถทาใจได้ที่ “อานาจ”อันพึงมีในมือของตนเองต้องมลายสินไป บางคน
ปรับตัวได้แต่ก็ต้องพบกับอุปสรรคนานัปการเมื่อเปรียบเทียบสังคมสมบูรณาญาสิทธิราชย์ กล่าวให้ถึงที่สุด “ผู้ดี”
ของดอกไม้สด แสดงให้เราเห็นว่า แม้พฤติกรรมและนาจิตนาใจของวิมลซึ่งเป็นตัวแทนของโลกแบบเก่าจะน่านับ
ถือและชื่นชมอย่างไรก็ตาม ชีวิตในโลกแบบใหม่ก็ทาให้วิมลกระอักกระอ่วนใจไม่น้อย แต่สิ่งที่ทาให้วิม ลยังคงยืน
หยัดอยู่ในโลกแบบใหม่ได้นั่นก็คือ “ศักดิ์ศรี” ของชนชันนาในโลกแบบเก่าและถูกทาให้เห็นว่าเป็นสิ่งที่ขัดเกลามา
เป็ น อย่ า งดี เ ป็ น คุ ณ ธรรม เป็ น ความดี ที่ ค วรยึ ด มั่ น ถื อ มั่ น ด้ ว ยเหตุ นี ความเปลี่ ย นแปลงจากโลกภายนอก
(ประชาธิปไตย) เป็นสิ่งที่ทาให้คุณธรรมและความดีซึ่ ง (ถูกทาให้เชื่อว่า) อยู่ภายในสังคม (ของโลกแบบเก่าหรือ
สมบูรณาญาสิทธิราชย์) กลายเป็นเหยื่อที่ถูกกระทาย่ายี ทาให้โลกภายในต้องสั่นคลอนหรือกลายเป็นโลกที่เต็มไป
ด้วยเรื่องยุ่งยากนั่นเอง

การตีความ
1. ความหมายและลักษณะของการตีความ
มาลินี ชาญศิลป์ (2540: 104 อ้างถึงใน มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร, 2553: 228) กล่าวว่า การตีความ
ได้แก่การเข้าใจถึงเรื่องราวที่ลึกซึงและมองเห็นได้กว้างขวางหลายแง่หลายมุมและโยงไปสู่เรื่องที่เกี่ยวข้องกัน
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ฉบับ พ.ศ. 2554 (2556) อธิบายว่า ตีความหมายถึงชีหรือกาหนด
ความหมาย; ให้ความหมายหรืออธิบาย; ใช้หรือปรับให้เข้าใจเจตนาและความมุ่งหมายเพื่อความถูกต้อง
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 78

ม.ล. บุญเหลือ เทพยสุวรรณ (2539: 155) กล่าวถึงการตีความไว้อย่างน่าสนใจว่า การตีความนันมี


ลักษณะเป็นอัตวิสัย คนๆ หนึ่งย่อมตีความสิ่งที่ได้เห็น ได้รู้ ได้ยินที่แตกต่างไปตามประสบการณ์และสมรรถภาพ
เชิงนึกคิดของแต่ละคน บุคคลต่างเพศ ต่างวัย ย่อมมีประสบการณ์ที่ต่างกันและมีลักษณะทางอารมณ์ต่างกัน
ดังนันก็ย่อมที่จะตีความพฤติการณ์ต่างกัน นอกจากนี การตีความนันยังเป็นสิ่งที่จาเป็นมากที่สุดในการอ่านหนังสือ
อีกด้วย (ม.ล. บุญเหลือ เทพยสุวรรณ, 2543: 10)
จากความหมายของการตีความที่ยกมาพอจะสรุปได้ว่า การตีความนันหมายถึงการพิจารณาสารหรือ
ความหมายเรื่องราวต่างๆ ให้สามารถเข้าใจได้อย่างแจ่มแจ้งชัดเจน เข้าใจจุดมุ่งหมายของสารในระดับลึก หรือ
อาจเป็นการพิจารณาสารที่ไม่ปรากฏอย่างตรงไปตรงมา อย่ างไรก็ตามการตีความนันก็มีลักษณะเฉพาะบุคคล
เนื่องจากความแตกต่างในเรื่องวัฒนธรรม วัย เพศ ประสบการณ์ นันส่งผลต่อการตีความของแต่ละบุคคลอย่าง
มาก
2. ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการตีความ
การตีความเป็นทักษะที่อาศัยความรู้ที่หลากหลายของผู้ตีความเพื่อช่วยให้การตีความสารเป็นไปได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ ทักษะต่าง ๆ ที่จาเป็นต่อการตีความนันเป็นสิ่งที่ต้องฝึกฝน ทังจากการอ่าน การฟัง เพื่อเพิ่มพูน
ประสบการณ์ในการตีความให้ดียิ่งขึน ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการตีความนันสามารถแบ่งได้กว้าง ๆ ดังนี
2.1 ความรู้ทางด้านภาษา ได้แก่
2.1.1 เสี ย งและความหมายของค า เสี ย งและความหมายของค าเป็ น องค์ ป ระกอบที่ มี
ความสัมพัน ธ์กัน ผู้ตีความจึ งควรพิจารณาว่าคาและเสียงที่ผู้ส่ งสารใช้นันมีความสัมพันธ์หรือสอดคล้ องไปใน
ทิศทางเดีย วกันอย่ างไร หรื อหากผู้ ส่งสารจงใจให้คาและเสียงมีความไม่สัมพันธ์กันก็ควรพิจารณาว่าผู้ ส่งสาร
ต้องการสื่อความหมายใดและมีความสอดคล้องกันหรือไม่ การเข้าใจความหมายของคาก็เป็นเรื่องที่สาคัญ เพราะ
หลายครังผู้ส่งสารใช้คาที่มีความหมายโดยนัย ดังนันจึงเป็นหน้าที่ของผู้ตีความว่าความหมายโดยนัยนันผู้ส่งสาร
ต้องการจะสื่ออะไร กล่าวโดยสรุปผู้ตีความต้องมองหาระบบความสัมพันธ์ของเสียงและคาที่มีผลต่อความหมายใน
สารนัน ๆ นั่นเอง
2.1.2 สานวน หมายถึง ถ้อยคาหรือข้อความพิเศษที่เรียบเรียงเป็นคาพูด มีใจความลึกซึง
แตกต่างไปตามวัฒนธรรมและการเปลี่ยนแปลงของยุคสมัย ผู้รับสารต้องรู้จักและเข้าใจความหมายของสานวน
ต่าง ๆ จึงจะตีความได้อย่างถูกต้อง เช่น สานวน “ละเลงขนมเบืองด้วยปาก” หมายถึง ผู้ที่พูดว่าทาสิ่งนันๆได้
โดยง่าย แต่พอเวลาทาจริงกับทาไม่ได้อย่างที่พูดไว้ นอกจากนีสะท้อนให้เห็นถึงวัฒนธรรมไทยโดยเฉพาะการทา
ขนมเบืองไทย หากดูเผินๆเหมือนกับว่าทาไม่ยากแต่ที่จริงแล้ว ต้องใช้ความชานาญในการทาอย่างมากโดยเฉพาะ
ขันตอนการละเลงแป้งบนกระทะให้เป็นแผ่น หากไม่ชานาญจริงแผ่นแป้งจะเรียบบางไม่เท่ากัน
2.1.3 ภาพพจน์ หมายถึงถ้อยคาลึกซึงที่ให้ความหมายหรือภาพแก่ผู้รับสารได้มากกว่าถ้อยคา
ปกติ การใช้ถ้อยคาในลั กษณะภาพพจน์ มีห ลายวิธี เช่น การเปรียบเทียบความเหมือนกันกันระหว่างสองสิ่ ง
เรี ย กว่ า อุ ป มาหรื อ อุ ป ลั ก ษณ์ การท าให้ สิ่ ง ที่ ไ ม่ มี ชี วิ ตกลายเป็ น สิ่ ง ที่ ดู เ สมื อ นมนุษ ย์ เรี ย กว่ า บุ ค ลาธิ ษ ฐาน
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 79

การเลียนเสียงธรรมชาติ เรียกว่า สัทพจน์ การกล่าวเกินจริง เรียกว่า อธิพจน์ เป็นต้น ผู้ตีความควรรู้ จักและเข้าใจ


ภาพพจน์ต่างแล้วพิจารณาว่าข้อความหรือสารที่ได้รับมีลักษณะตรงกับภาพพจน์แบบใดในภาษาไทย
2.1.4 สั ญลั กษณ์ เป็ น สิ่ งที่กาหนดให้ ใช้แทนความหมายแทนอีกสิ่ ง หนึ่ง ในทางวรรณคดี
สัญลักษณ์มีความหมายถึงสิ่งใดสิ่งหนึ่ง มักจะเป็นรูปธรรมที่แทนเครื่องนามธรรม (ม.ล. บุญเหลือ เทพยสุวรรณ,
2543: 21) เช่น ดอกไม้ ใช้แทนหญิงงาม พระเพลิง ใช้แทนความร้อนแรง หรืออาจใช้เป็นตัวละครในเรื่องเป็น
ตัวแทนนามธรรม เช่น ทศกัณฑ์ เป็นตัวแทนของความชั่วร้ายของผู้มีอานาจแต่ไม่มีธรรมะ ในแต่ละวัฒนธรรมนันก็
มีการใช้สัญลักษณ์ที่แตกต่างกัน ดังนั นเมื่อผู้ตีความเห็นสัญลักษณ์ใดที่อาจไม่เข้าใจก็ควรพิจารณาภูมิหลังทาง
วัฒนธรรมเพื่อให้การตีความเป็นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2.2 ความรู้เกี่ยวกับภูมิหลังของผู้ส่งสารและสาร ในการตีความหากผู้ตีความมีความรู้ความเข้าใจ
ภูมิหลังของผู้ส่งสารและตัวสารก็จะทาให้การตีความเป็นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ สารบางชินนันเกิดขึนจากผู้ส่ง
สารที่มีป ระสบการณ์ในช่ว งอายุหนึ่ ง ๆ ซึ่งหมายถึงผู้ส่ งสารอาจมีประสบการณ์ในการมองโลก ทัศนคติ และ
ค่านิยมที่สอดคล้องสัมพันธ์กับยุคสมัยนันๆ ตัวสารเองก็เช่นกันควรเข้าใจภูมิหลังและที่มา เพราะสารหลายชิ น
เกิดขึนท่ามกลางบริบททางสังคมที่อาจมีความแตกต่างจากสังคมของผู้ตีความทังในเรื่อง ประเพณี วัฒนธรรม
ความเชื่อ และความคิด การเข้าใจในเรื่องเหล่านีจะช่วยการตีความมีความแม่นยาและชัดเจนขึน
2.3 ความรู้พื้นฐานในศาสตร์และวิชาการด้านต่าง ๆ สารที่ผู้ส่งสารนาเสนอนันเป็นการสะท้อน
องค์ความรู้และความเข้าใจของผู้ส่งสารซึ่งอาจมีศาสตร์หลากหลายแขนงปะปนอยู่ หรือหากผู้ตีความกาลังอ่านงาน
วิชาการก็ควรมีพืนฐานความรู้ของศาสตร์นัน ๆ เพื่อความเข้าใจและการตีความที่แม่นยา
4. หลักการตีความสาร
4.1 ฟังหรืออ่านแล้วเก็บใจความสาคัญของเรื่องราวนันให้ได้
4.2 วิเคราะห์รูปแบบการเรียบเรียงเรื่องราว วิเคราะห์เนือหา การใช้ภาษา
4.3 พิจารณารายละเอียด ดังต่อไปนี
4.3.1 แยกแยะข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น และอารมณ์ความรู้สึกออกจากกัน
4.3.2 พิจารณาผู้รับสารว่าได้รับความรู้ ข้อคิดเห็นและอารมณ์ตามที่ผู้ส่งสารต้องการหรือไม่
4.3.3 พิจารณาผู้ส่งสารว่านอกจากข้อมูลหรือสารที่ปรากฏอย่างชัดเจนแล้วมีข้อมูลความรู้
หรือความคิดเห็นใดที่ไม่ได้กล่าวไว้โดยตรงอีกบ้าง มีการชีแนะไว้หรือไม่ โดยพยายามพิจารณาว่าผู้ส่งสารคิดอะไร
อีก และคิดอย่างไร
4.4 ประมวลข้อมูลต่าง ๆ ตาม 4.1-4.3 แล้วตีความโดยเรียบเรียงเป็นข้อความของผู้ตีความเองว่าผู้
ส่งสารต้องการเสนออะไรแก่ผู้อ่านบ้าง
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 80

ตัวอย่างการตีความ บทกวี วักทะเล


1. วักทะเลเทใส่จาน รับประทานกับข้าวขาว
เอือมเก็บบางดวงดาว ไว้คลุกข้าวซาวเกลือกินฯ
2. ดูปูหอยเริงระบา เต้นราทาเพลงวังเวงสิน
กิงก่ากิงกือบิน ไปกินตะวันและจันทร์ฯ
3. คางคกขึนวอทอง ลอยล่องท่องเที่ยวสวรรค์
อึ่งอ่างไปด้วยกัน เทวดานันหนีเข้ากะลาฯ
4. ไส้เดือนเที่ยวเกียวสาว อัปสรหนาวสั่นชันฟ้า
ทุกจุลินทรีย์อมิบ้า เชิดหน้าได้ดิบได้ดีฯ
5. เทพไท้เบื่อหน่ายวิมาน ทะยานลงดินมากินขี
ชมอาจมว่ามี รสวิเศษสุดที่กล่าวคาฯ
6. ป่าสุมทุมพุ่มไม้ พูดได้ปรัชญาลึกลา
ขีเลื่อยละเมอทา คานวณนาหนักแห่งเงาฯ
7. วิเศษใหญ่ใคร่เสวยฟ้า อยู่หล้าเหลวเลวโง่เขลา
โลภโกรธหลงมอมเมา งั่งเอาเถิดประเสริฐเอยฯ
(อังคาร กัลยาณพงศ์)

วักทะเลเป็นบทกวีของอังคาร กัลยาณพงศ์ ที่เขียนขึนเมื่อปี พ.ศ. 2506 ในวารสารสังคมศาสตร์


ปริทรรศน์ บทกวีชินนีได้สร้างความตื่นตะลึงและความอัศจรรย์ใจแก่ผู้อ่านเป็นอย่างมากด้วยจินตภาพของกิงก่า
กิงกือ หนอน บินขึนไปกินตะวันและดวงจันทร์ ภาพปลิงที่เกาะสวรรค์ เทวดาลงมาเสพอาจม ภาพคนเก็บดาวมา
คลุกข้าวซาวเกลือกิน ซึ่งเป็นภาพที่สั่นคลอนความเชื่อและท้าทายความรู้สึกของผู้อ่านเนื่องจากไม่เคยปรากฏจินตภาพ
ดังกล่าวในความเชื่อของคนไทยมาก่อน
ในแง่นี บทกวี “วักทะเล” ทาหน้ าที่กระตุ้นเตือนคนในสัง คมให้ ตระหนักถึงสภาวะวิกฤตทางปัญญา
แม้แต่เทวดาที่เป็นภาพอุดมคติที่มนุษย์ยึดและเข้าใจว่าเป็นผู้มีบุญนัน ก็ยังขาดสติ ถึงกับ “ทะยานลงดินมากินขี”
แล้วชมว่า “มีรสวิเศษสุดที่กล่าวคา” ซึ่งเป็นการล้อภาพเทวดาลงมากินง้วนดินอันหอมหวานในวรรณกรรมเรื่อง
“โองการแช่งนา” ที่กล่าวว่า “หอมอายดินเลอก่อน สรดืนหมู่แมนมา ตนเขา เรืองร่อน หล้าเลอหาว หาวันคืนไป่
ได้ จ้าวชิมดินแสงหล่น เพียงดับไต้มือมูล” นีหมายความว่าแม้กระทั่งผู้นาหรือ “ผู้มีบุญ” ทังหลายในสังคมก็มิอาจ
เป็นหลักยึดใด ๆ ได้อีกแล้ว ทุกคนจึงอยู่ในสภาพของ “ขีเลื่อยละเมอทา คานวณนาหนักแห่งเงา” แสดงนาเสียง
เสียดเย้ยความเหลวไหลไร้สาระของมนุษย์ (ธเนศร เวศน์ภาดา, 2549: 137-138)
“วักทะเล” จึงเป็นบทกวีที่ให้ภาพของความบิดเบียวในสังคม ซึ่งสะท้อนสภาวะวิกฤตทางปัญญา บรรดา
คุณงามความดีต่างๆ ที่คนในสังคมเคยนับถือนันต่างก็ทะยานลงมาเกลือกกลัวกับของที่ผู้คนในสังคมเห็นว่าเป็น
ของต่า ในขณะเดียวกันของบางอย่างที่ผู้คนในสังคมไม่ให้คุณค่าก็กลับกลายขึนไปอยู่ในที่สูง ถึงขนาดว่าทังไส้เดือน
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 81

นันขึนไปเกียวสาวสวรรค์ในชันฟ้า จินตภาพที่บิดเบียวและกลับหัวกลับหางเช่นนีเองเป็นสิ่งที่กระตุ้นเตือนให้เราใส่
ใจกับการใช้ปัญญาให้มากขึนกว่าเดิม

การขยายความ
การขยายความเป็นทักษะที่แตกต่างไปจากการตีความ เนื่องจากเป็นทักษะในการส่งสารในขณะที่การ
ตีความเป็นทักษะในเรื่องการรับสาร ดังนันผู้ส่งสารจึงต้องมีความรู้ความเข้าใจในระบบความสัมพันธ์ระหว่างการ
คิดและวิธีการถ่ายทอดความคิดให้เป็นระบบ
ในการขยายความนีผู้ส่งสารควรตระหนักให้ได้ว่าใจความสาคัญของสิ่งที่ต้องการจะนาเสนอคืออะไร เป็น
เนือหาแบบใด เพราะเนือหาแต่ละประเภทนันก็มีวิธีการขยายความที่แตกต่างกัน ผู้ส่งสารควรเข้าใจถึงความ
เหมาะสมของเนือหาและวิธีการขยายความ
1. ความหมายของการขยายความ
การขยายความ คือการให้รายละเอียดของประเด็นหลักที่ผู้ส่งสารต้องการนาเสนอ เพื่อทาให้ผู้รับสาร
เกิดความเข้าใจชัดเจนในเนือหานัน ๆ ในบางครังใจความสาคัญของสารที่นาเสนออาจมีความยากจนเกินไป การ
ขยายความจึงช่วยให้การอธิบายประเด็นหลักนัน ๆ ชัดเจนและง่ายมากขึน
2. หลักการขยายความ
2.1 ต้องเข้าใจเรื่องราวที่จะขยายความเป็นอย่างดี สามารถให้ราบละเอียดที่ตรงประเด็น ข้อมูล
อ้างอิงถูกต้อง เชื่อถือได้ เนือหาทันสมัย
2.2 วิเคราะห์ความสามารถในการเข้าใจสารของผู้รับสาร เพื่อเลือกวิธีการขยายความให้เหมาะสม
และเพื่อพิจารณาในเรื่องความละเอียดลึกซึง กว้างขวางในการขยายความ
2.3 ใช้ภาษาในการขยายความให้เหมาะสมกับประเภทของสาร และโอกาสที่สื่อสาร ใช้ภาษาสุภาพ
ในภาษาเขียนควรใช้ถ้อยคาที่เข้าใจง่าย ถูกต้องตามหลักภาษา ใช้ศัพท์ให้ถูกต้อง ผูกประโยคให้กระชับมี ใจความ
สมบูรณ์ สื่อสารได้ตรงตามวัตถุประสงค์
2.4 ต้องเน้นให้เห็นสาระความคิดในแต่ละประเด็นโดยการใช้ประโยคที่แสดงความคิดหลักและ
ประโยคขยายความอื่น ๆ ที่สามารถสนับสนุนให้ผู้รับสารเข้าใจความคิดหลักในแต่ละประเด็นนัน ในการสื่อสารที่
ง่ายที่สุดโดยเฉพาะการเขียน ประเด็นหลักหรือใจความสาคัญควรอยู่ในย่อหน้าเพียงหนึ่งประเด็น และที่เหลือควร
เป็นการขยายความหรือแสดงตัวอย่างที่ประกอบที่ช่วยให้เข้าใจประเด็นหลักนัน ๆ
2.5 ต้องมีความสมบูรณ์ในประเด็นต่อไปนี
2.5.1 เอกภาพ การขยายความต้องนาไปสู่ความเข้าใจในความคิดเรื่องใดเรื่อ งหนึ่งเพียงเรื่อง
เดียว
2.5.2 สัมพันธภาพ การขยายความต้องลาดับความคิดอย่างเป็นระบบ ระเบียบ ประโยคที่ใช้
ขยายต้องนาความคิดให้ดาเนินไปอย่างราบรื่นและมีความความสัมพันธ์กับประเด็นหลักที่ต้องการนาเสนอ
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 82

2.5.3 สารัตถภาพ การขยายความทุกประเด็นทุกตอนต้องทาให้ผู้รับสารเข้าใจเรื่องราวในสาร


ทังหมดอย่างชัดเจน กระจ่างแจ้ง นาความคิดไปใช้ประโยชน์ได้
2.6 มีการจัดระบบการขยายความตามรูปแบบของสาร สารแต่ละประเภทจะมีการจัดวางรูปแบบที่
แตกต่างกัน ในงานวิชาการซึ่งมีร ายละเอียดที่ซับซ้อนมากต้องมีการจัดวางรูปแบบให้ชัดเจน แบ่งเนือหา เป็น
หมวดหมู่ จัดระบบในการนาเสนอให้ชัดเจน การจัดวางรูปแบบดังกล่าวจะช่วยให้ผู้รับสารสามารถเข้าใจประเด็น
หลักของเนือหาที่ผู้ส่งสารนาเสนอได้อย่างเป็นระบบ
3. วิธีการขยายความ
ในการขยายความนันสามารถทาได้หลายวิธี ขึนอยู่กับเนือหาของสารที่ต้องการนาเสนอ ดังนันผู้ส่งสาร
ควรเลือกใช้วิธีการให้เหมาะสมกับเนือหา ซึ่งมีวิธีการดังต่อไปนี
3.1 การให้คาจากัดความหรือการให้นิยาม คือการขยายความโดยการกาหนดความหมายของคา
อย่างสันที่สุด แต่สามารถระบุลักษณะเฉพาะที่ทาให้คานันมีความหมายต่างกันไป
ตัวอย่างการขยายความโดยการให้คาจากัดความหรือการให้นิยาม
สานวน “อีหรอบ” เดิมเป็นคาที่เพี้ยนมาจากภาษาอังกฤษว่ายุโรปและความหมายเพี้ยนมาด้วย
คือ หมายถึงพวกยุโรปที่เรียกกันว่าฝรั่ง แล้วก็เลยนามาเรียกของที่มาจากยุโรปดังในตัวอย่างว่า “เข้าอีหรอบ” เข้า
คงจะหมายถึงข้าว ในที่นีคงจะหมายถึงข้าวที่มาจากยุโรปหรือ “ดินอีหรอบ” ก็คือดินที่มาจากยุโรป ปัจจุบันนีเรา
ออกเสียงคาว่ายุโรปตรงกับเสียงในภาษาอังกฤษ เพราะฉะนันคาว่าอีหรอบ จึงไม่ใช้ในความหมายว่ายุโรปอีก
ปัจจุบันนามาใช้เป็นคาวิเศษณ์หมายถึงทานองเดียวกัน แบบเดียวกัน ส่วนใหญ่มักจะพูดว่า “อีหรอบเดียวกัน”
สังเกตได้ว่า ประเด็นหลักของย่อหน้านีคือ ประโยคที่ว่า “ สานวน “อีหรอบ” เดิมเป็นคาที่เพี้ยนมา
จากภาษาอังกฤษว่ายุโรปและความหมายเพี้ยนมาด้วย” ส่วนที่เหลือคือการขยายความว่า อะไรคือ “อีหรอบ”
และมีความหมายเพียนไปอย่างไร
3.2 การให้รายละเอียด คือการขยายความให้กว้าง ลึกซึง ชัดเจนมากกว่าการให้คาจากัดความ
อาจขยายให้เห็นว่าเป็นอย่างไร มีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกับสิ่งใด จาเป็นอย่างไร กินความถึงอะไรบ้าง หรือเป็น
การบอกลักษณะ คุณสมบัติ องค์ประกอบ ฯลฯ การเรียบเรียงอาจเป็นการบรรยายมีการจาแนกเป็นข้อๆ หรือใช้
แบบพรรณนาโวหารก็ได้
ตัวอย่างการขยายความโดยการให้รายละเอียด
เตาไมโครเวฟผลิตคลื่นไมโครเวฟด้วยหลอดแมกนีตรอน ซึ่งใช้ไฟบ้านและเปลี่ยนเป็นพลังงานคลื่น
ไมโครเวฟ คลื่นไมโครเวฟที่ผลิตขึนมาเพื่อใช้ทาอาหารให้สุกนีจะมีขนาดความยาวคลื่นประมาณ 12.5
หรือขนาดความถี่ 2450 เมกะเฮิร์ตซ์ ซึ่งได้ขนาดความถี่ดังกล่าวที่เดินทางเข้าไปในอาหาร จึงช่วยเสริมการสั่นของ
โมเลกุลของนาในอาหารให้สั่นรุนแรงขึน การสั่นที่รุนแรงของโมเลกุลของนานี่เองทาให้เกิดพลังงานความร้อนซึ่งจะ
ทาให้อาหารสุกอย่างรวดเร็วในทุกบริเวณ
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 83

จากตัวอย่างดังกล่าว ประโยคที่เป็นประเด็นหลักของย่อหน้าคือ “ เตาไมโครเวฟผลิตคลื่นไมโครเวฟ


ด้วยหลอดแมกนีตรอน” การขยายความในย่อหน้านีเป็นการให้รายละเอียดถึงการทางานของเตาไมโครเวฟ ว่า
ทางานอย่างไร
3.3 การยกตัวอย่าง คือเป็นการขยายความที่ง่ายที่สุด โดยการนาเอาข้อมูลบางส่วนของสิ่งที่กาลัง
กล่าวถึงหรือเรื่องราวต่าง ๆ ที่สอดคล้องกับประเด็นหลักมาประกอบในการส่งสาร
ตัวอย่างการขยายความด้วยการยกตัวอย่าง
ภาษาไทยมีคาศัพท์ใช้เฉพาะกลุ่มคน ซึ่งแสดงให้เห็นสภาพสังคมไทยว่ามีการแบ่งชนชั้น คาที่มี
ความ หมายว่ า “เสี ย ชี วิต ” ในภาษาไทยมีห ลายค าที เ ดี ย ว สามั ญ ชนจะใช้ ค าว่า “ตาย” รั ฐ บุ รุษ ใช้ ค าว่ า
“อสัญกรรม” ภิกษุใช้คาว่า “มรณภาพ” เชือพระวงศ์ระดับหม่อมเจ้าใช้คาว่า “สินชีพิตักษัย” สมเด็จพระนางเจ้า
หรือเจ้าฟ้าใช้คาว่า “สินพระชนม์” และสาหรับพระเจ้าอยู่หัวใช้คาย่า “สวรรคต” ศัพท์หลายคาซึ่งมีความหมาย
ทานองเดียวกันนีมีอยู่ในภาษาไทยอีกมากมาย ซึ่งล้วนแล้วแต่เป็นตัวบ่งบอกลักษณะสังคมไทยว่าเคยเป็นสังคมที่มี
การแบ่งแยกชนชัน
จากตัวอย่างดังกล่าว ประโยคที่เป็นประเด็นหลักของย่อหน้าคือ “ภาษาไทยมีคาศัพท์ใช้เฉพาะกลุ่ม
คน ซึ่งแสดงให้เห็นสภาพสังคมไทยว่ามีการแบ่งชนชั้น ” จากนันก็เป็นการยกตัวอย่างคาต่าง พร้อมกับอธิบาย
เพื่อให้เห็นภาพชัดเจนว่าสังคมไทยเป็นสังคมที่มีการแบ่งชนชัน
3.4 การเปรี ย บเที ย บ การขยายความในลั กษณะนี คือ การชี ให้ เ ห็ น ถึง ความเหมื อ นหรื อ ความ
แตกต่างระหว่างสิ่งที่ต้องการสื่อสารกับอีกสิ่งหนึ่งซึ่งจะทาให้ผู้รับสารสามารถนึกภาพตามได้ง่าย
ตัวอย่างการขยายความด้วยการเปรียบเทียบ
ฉัน เห็น มุ มการบานของดอกไม้ ว่า เหมื อ นคนเรา เพราะกิ เ ลสปุถุ ช นท าให้ ค นส่ ว นใหญ่อ ยาก
ก้าวหน้าเร็ว ๆ และขอรวยตลอดไปเหมือนที่เราอยากก้าวหน้าเร็วๆ และขอรวยตลอดไป เหมือนที่เราอยาก
เห็นดอกไม้บานเร็ว ๆ และบานนาน ๆ... คนก็เหมือนดอกไม้ บางคนก้าวหน้า ...สูงสุดคือช่วงต้นวัย...สาหรับบาง
คนต้องรอถึงวัยกลางคน คนที่ขึนเร็วก็คงเหมือนบานเช้า ขึนช้าแล้วลงเร็วก็คงเป็นจิกนา ค่อย ๆ ไปตามครรลองแต่
บานนานก็กล้ ว ยไม้ ระบบธรรมชาติกับ ชะตาชีวิตของคนยังมี อีกหลายมุมที่เ ป็นทานองสอดคล้ องกันในสวน
พฤกษชาติกับสวนมนุษยชาติจึงสามารถเปรียบแล้วไปกันได้ เมื่อดูดอกไม้จึงชวนให้คิดถึงชีวิตคนให้แง่คิดที่ทาให้
เข้าใจชีวิตถ่องแท้กระจ่างใจ
จากตัวอย่างดังกล่าว ประโยคที่เป็นประเด็นหลักของย่อหน้าคือ “ฉันเห็นมุมการบานของดอกไม้ว่า
เหมือนคนเรา เพราะกิเลสปุถุชนทาให้คนส่วนใหญ่อยากก้าวหน้าเร็ว ๆ และขอรวยตลอดไปเหมือนที่เราอยาก
ก้าวหน้าเร็ว ๆ และขอรวยตลอดไป” การขยายความในย่อหน้านีทาโดยการเปรียบเทียบกับการบานของดอกไม้
กับชีวิตของคน
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 84

3.5 การอ้างเหตุผล เป็นการขยายความโดยชีให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างเหตุกับผล โดยอ้างจาก


เหตุไปสู่ผล หรือผลมาสู่เหตุก็ได้ เหมาะสาหรับการแสดงความคิดเห็นหรือวิจารณ์
ตัวอย่างการขยายความด้วยการอ้างเหตุผล
ภาษาบาลีสันสกฤตเป็นภาษาต่างประเทศที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับเรามากที่สุด เพราะเรายืม
คาจากทังสองภาษานีมาใช้มากมาย ทังในพระพุทธศาสนาและชีวิตประจาวัน เราเริ่มต้นยืมตังแต่เมื่อไรเป็นที่กล่าว
ได้ยาก แม้แต่ในศิลาจารึกหลักที่หนึ่งก็มีคาบาลีสันสกฤตใช้แล้ว
จากตั ว อย่ า งดั ง กล่ า วประโยคที่ เ ป็ น ประเด็ น หลั ก ของย่ อ หน้ า คื อ “ภาษาบาลี สั น สกฤตเป็ น
ภาษาต่างประเทศที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับเรามากที่สุด ” และการขยายความก็เป็นการให้เหตุผลว่าเป็น
เพราะภาษาไทยมีคายืมมากมายจากภาษาทังสอง และโดยมากก็เป็นคายืมที่อยู่ในพุทธศาสนา
3.6 การอ้างหลักฐาน การขยายความในลักษณะนีเป็นการอ้างอิงจาแหล่งข้อมูลหรือผู้รู้ผู้เชี่ยวชาญ
ในเรื่องนัน ๆ อาจเป็นข้อมูลเชิงสถิติ เหตุการณ์จริง หรือเอกสารต่าง ๆ ที่น่าเชื่อถือ
ตัวอย่างการขยายความด้วยการอ้างหลักฐาน
ที่ผ่านมาโครงการเฝ้าระวังความปลอดภัยในผักปลอดสารเคมี ของกระทรวงสาธารณสุขได้สุ่มเก็บ
ตัวอย่างผักในท้องตลาดทั่วไปมาตรวจอย่างต่อเนื่องมาเป็นเวลา 6 ปี ตังแต่ พ.ศ. 2537-2542 รวม 156 ตัวอย่าง
พบว่ามีผักมากถึงร้อยละ 72-73 ที่มีการปนเปื้อนของสารเคมี นอกจากนียังตรวจสอบกับตัวอย่างที่อ้างว่าปลอด
สารพิษก็พบการตกค้างเช่นกัน คือประมาณร้อยละ 43.62
จากตัวอย่างดังกล่าว ประเด็นหลักของย่อหน้าโดยรวมก็คือมีผักเป็นจานวนมากที่ปนเปื้อนสารพิษ
จากนันจึงเป็นการขยายความโดยอ้างอิงข้อมูลเชิงสถิติ ซึ่งทาให้เนือหาของย่อหน้านีมีความน่าเชื่อถือมากขึน

การสังเคราะห์

ในการใช้ภาษาเพื่อการสื่อความหมายทักษะที่เป็นขันสูงสุดของการสื่อสาร เพราะทักษะในการสังเคราะห์
นันจะเกิดขึนได้ก็ต่อเมื่อมีการฝึกฝนเคี่ยวกราทักษะในการใช้ภาษามามากมาย เช่น การวิเคราะห์ การตีความ หรือ
การวิจารณ์ หากสามารถฝึกฝนการสังเคราะห์จนชานาญก็จะทาให้การติดต่อสื่อสารเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
การสังเคราะห์นันเป็นทักษะทังในด้านการรับสารและการส่งสารไปพร้อมๆ กัน เนื่องจากผู้สังเคราะห์ต้อง
รับสารเข้ามา ตีความ วิเคราะห์ วิจารณ์ จากนันจึงนาเสนอสารที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยการรวบรวมและเรียบ
เรียงให้เป็นภาษาของตัวเอง อีกทังยังต้องทาให้เกิดสิ่งใหม่ได้ด้วย
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 85

1. ความหมายของการสังเคราะห์
เวบสเตอร์ ดิกชันนารี (Webster's new Twentieth Century Dictionary, 1983: 1852 อ้างถึงใน
มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร, 2553: 236) ได้ให้ความหมายของการสังเคราะห์ (Synthesis) ว่าเป็นการรวบรวม
เข้าด้วยกัน (a putting together) มาจากศัพท์ว่า Syn = together และ Tithenai = to place การรวบรวมเข้า
ด้วยกันอาจใช้ในเรื่องของการเรียงความ (Composition) เรื่องของสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่เกิดจากการนาส่วนต่าง ๆ มา
ประกอบกัน (a whole made up of parts or elements put together) เรื่องของปรัชญา (Philosophy) เคมี
(Chemistry) การผ่าตัด (Surgery)
ดังนันการสังเคราะห์จึงเป็นความสามารถในการนาเรื่องราวหรือสิ่ งของต่าง ๆ มารวมกันทาให้เกิดเป็นสิ่ง
ใหม่ มีรูปแบบใหม่ การสังเคราะห์ในที่นี จึงหมายถึงการสังเคราะห์สารที่หมายถึงเนือหาของสารในกระบวนการ
สื่อสาร ซึ่งเป็นการนาข้อความ 2 ข้อความขึนไปมารวมกัน ผสมผสานอย่างเป็นระเบียบ เกิดเป็นสิ่งใหม่ มีรูปแบบ
ใหม่ เพื่อใช้ในการติดต่อสื่อสาร
2. หลักในการสังเคราะห์สาร
2.1 ฟังหรืออ่านสารให้ตลอดโดยพยายามทาความเข้าใจและคิดตามไปด้วย
2.2 เชื่อมโยงความรู้ที่ได้ฟังหรืออ่านกับความรู้เดิม
2.3 นาความรู้เหล่านันมาผสมผสานกันแล้วเรียบเรียงด้วยการเขียนหรือพูดเพื่อเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจตาม
จากข้อ 2.1-2.3 จะเห็นได้ว่าการสังเคราะห์นันโดยหลักแล้วคือการรวบรวมข้อมูลที่ได้จากการรับสารทัง
การฟังและการอ่านมาเชื่อมโยงกับความรู้เดิมที่มี แล้วนามาเรียบเรียงเพื่อให้เกิดสิ่งใหม่ ดังนัน สิ่งที่สาคัญที่สุดของ
การสังเคราะห์ก็คือการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งใหม่ที่ได้รับกับความรู้เดิมที่มี เมื่อเชื่อมโยงได้ต้องมีการวิเคราะห์และ
เรียบเรียงขึนใหม่
3. รูปแบบของการสังเคราะห์สาร
การสั งเคราะห์ ส ารในการสื่ อ สารนั น เป็น ความสามารถของผู้ ส่ งสารหรื อผู้ รับ สารในการน าถ้ อยค า
ข้อความ เรื่องราวความรู้สึกนึกคิด ประสบการณ์ ที่ได้ จากการฟังการอ่าน การประสบพบเห็น มาผสมผสานเรียบ
เรียงด้วยคาพูดหรือการพูดเพื่อการสื่อสารให้ผู้อื่นเข้าใจตาม
การสังเคราะห์สารให้ผู้อื่นทราบด้วยการเขียน อาจทาได้หลายแบบ แต่หลักใหญ่ของการสังเคราะห์สารก็
คือการรวบรวมสารต่างๆ ที่ได้รับมาแล้วนาเสนออย่างเป็นระบบแล้ วจะต้องกลายเป็นสิ่งใหม่ อาจเป็นรูปแบบใหม่
หรือเนือหาแบบใหม่ก็ได้ เช่นเดียวกับการรับสาร ได้แก่ การฟังและการอ่าน การสังเคราะห์จะช่วยให้สามารถ
ประมวลข้อความต่าง ๆ ได้อย่างเป็นระบบ และยังช่วยในการเชื่อมโยงองค์ความรู้ต่างที่มีอยู่กับองค์ความรู้ใหม่ที่
เพิ่งได้รับ และทาให้เรารู้ว่าในบรรดาองค์ความรู้ที่มีอยู่มีสิ่งใดที่ต้องพัฒนาหรือหาเพิ่มเติมเพื่อทาให้การสื่อสารมี
ประสิทธิภาพมากขึน
ในการใช้ภาษาเพื่อสื่อความหมายนัน การใช้ทักษะทางภาษาให้สอดคล้องกันเป็นสิ่งที่จาเป็นมาก เพราะ
ช่วยให้การสื่อสารของมนุษย์มีประสิทธิภาพมากขึนซึ่งจะช่วยให้การดาเนินชีวิตประจาวันเป็นไปตามวัตถุประสงค์
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 86

ที่ต้องการ
อย่างไรก็ตามทักษะในการใช้ภาษานันเป็นเรื่องต้องฝึกฝน โดยอาจจะเริ่มจากฝึกในจานวนน้อยและ
ค่อย ๆ เพิ่มขึนตามความสามารถ ควรฝึกอย่างเป็นขันเป็นตอนจากง่ายไปหายาก และควรฝึกทักษะในการรับสาร
กับทักษะในการส่งสารไปพร้อม ๆ กัน
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 87

บทที่ 5
การพัฒนาทักษะการฟัง

การฟังเป็นทักษะการสื่อสารของมนุษย์ที่มนุษย์ใช้มากกว่าทักษะอื่นในชีวิตประจาวัน เป็นทักษะภาษา
ทักษะแรกที่มนุษย์สามารถปฏิบัติได้ อีกทังเป็นเครื่องมือที่สาคัญในการดารงชีวิตเพราะการฟังเป็นเครื่องมือในการ
เรียนรู้สิ่งต่าง ๆ รอบตัวสั่งสมเป็นความรู้สืบต่อมาตังแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
การที่ผู้ฟังจะสามารถรับรู้เรื่องราวต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพและสัมฤทธิผลตามจุดมุ่งหมายที่ตังไว้
ผู้ฟังควรมีความรู้เบืองต้นเกี่ยวกับทักษะการฟัง เพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาตนเองให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ตัง
ไว้เป็นอย่างดี

ความหมายของการฟัง และการฟังเพื่อสัมฤทธิผล
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 (2546: 811) ได้ให้ความหมายของการฟัง ไว้ว่า ตังใจ
สดับ, คอยรับเสียงด้วยหู, ได้ยิน, เชื่อ, ทาตามถ้อยคา เช่น ให้ฟังคาสั่งผู้บังคับบัญชา
ชลธิชา กลัดอยู่ และคนอื่น ๆ (2517: 372) ได้ให้ความหมายของการฟังไว้ว่า การฟังต้องมีความตังใจเพื่อ
รับรู้ ส่วนการได้ยินเน้นเพียงประสาทหูทางานรับเสียงเข้ามา ไม่มีขบวนการต่อไปในสมอง นอกจากความเข้าใจ
การฟังยังเกี่ยวโยงไปถึงความคิด จึงจะเป็นการฟังที่สมบูรณ์
ฉัตรา บุนนาค และคณะ (2526: 260) ได้ให้ความหมายของการฟังไว้ว่า การฟังเป็นพฤติกรรมที่มีส่วน
เกี่ยวข้องกับการรับรู้ ความเข้าใจ ความตังใจ นอกจากนีการฟังยังเป็นพฤติกรรมที่จะต้องฝึกจนเกิดการเรียนรู้
เช่นเดียวกับการพูด ฉะนันคนที่จะเป็นผู้ฟังที่ดีนันจะต้องอาศัยการฝึกฝน และควรปรับปรุงทักษะในการฟังของตน
ด้วย
นพดล จันทร์เพ็ญ (2534: 36) ได้ให้ความหมายของการฟังไว้ว่า การฟัง หมายถึง การที่มนุษย์ได้ยิน
เรื่องราวโดยผ่านประสาทสัมผัสทางหู อาจจะเข้าใจหรือไม่เข้าใจก็ได้ ถ้าเรื่องราวที่ฟังเป็นเรื่องสมบูรณ์ และในทาง
ตรงกันข้าม หากการฟังนีมีลักษณะสับสนวกวนขาดความหมายจากการสื่อที่ส่งมาให้ ก็ไม่นับว่าเป็นการฟังอย่าง
สมบูรณ์ ซึ่งอาจเรียกว่าเป็นการได้ยิน
จากความหมายดังกล่าวจะเห็นได้ว่า การฟัง หมายถึง การรับรู้เรื่องราวต่าง ๆ จากแหล่งของเสียง ซึ่ง
อาจจะรับรู้ผ่านผู้พูดโดยตรง หรือรับรู้ผ่านอุปกรณ์บันทึกเสียงแบบต่าง ๆ โดยแหล่งเสียงจะส่งผ่านประสาทสัมผัส
ทางหูเข้ามา แล้วผู้ฟังเกิดการรับรู้ความหมายของเสียงที่ได้ยิน จากนันนาความหมายที่ได้รับรู้ไปพิจารณาทาความ
เข้าใจวัตถุประสงค์ของผู้พูด ประเมินค่าสารที่ได้ฟัง และสามารถนาสารที่ได้จากการฟังไปปฏิบัติให้เกิดประโยชน์
ในชีวิตประจาวันของตนได้ ขันตอนและกระบวนการการฟังเพื่อรับสารมีดังนี
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 88

ได้ยิน รับฟัง ทาความเข้าใจ นาไปใช้ให้เกิดประโยชน์

(รับสาร)

ขั้นตอนและกระบวนการของการฟัง
จากความหมายของการฟัง เราสามารถนามาเขียนเป็นกระบวนการฟังได้ 6 ขันตอน ดังนี
1. ขั้นได้ยินเสียง กระบวนการฟังจะเริ่มต้นตังแต่การได้ยินเสียงจากแหล่งของเสียงซึ่งแพร่คลื่นเสียงที่มี
ลักษณะเป็นคลื่นไฟฟ้าผ่านอากาศเข้ามา ประสาทสัมผัสทางหู หรือโสตประสาทจะรับเสียงเหล่านันผ่านเข้าไปยัง
สมอง
2. ขั้นรับรู้ เมื่อเสียงผ่านเข้าไปยังสมองแล้ว สมองจะจาแนกเสียงพยางค์ไ ปตามลักษณะโครงสร้างทาง
ไวยากรณ์ของแต่ละภาษา หากเป็นเสียงในภาษาที่ผู้ฟังรู้จักและเข้าใจจะเกิดการรับรู้ แต่หากผู้ฟังไม่รู้จักเสียงที่
ผ่านเข้ามาก็จะไม่เกิดความหมายใด
3. ขั้นตีความ เป็นขันที่ผู้ฟังแปลความหมาย หรือตีความหมายของประโยคหรือสิ่งที่ได้ยิน ได้ฟัง
4. ขั้นเข้าใจ เป็นขันการฟังซึ่งผู้ฟังสามารถเข้าใจความหมายของใจความสาคัญของผู้พูดได้อย่างถูกต้อง
5. ขั้นพิจารณาหรือขั้นเชื่อ เป็นขันที่ขึนอยู่กับความสามารถของผู้ฟังที่จะตัดสินว่าเรื่องที่ได้ยินมานัน
เป็นความจริงเพียงใด น่าเชื่อถือได้หรือไม่ ยอมรับได้หรือไม่ และเป็นประโยชน์ต่อตนเองหรือไม่
6. ขั้นการนาไปใช้ เมื่อพิจารณาสารเรียบร้อยแล้ว ผู้ฟังจะนาความรู้ความเข้าใจที่ได้จากการฟังไปใช้ให้
เกิดประโยชน์ต่อตนเองและสังคมต่อไป

ความสาคัญของการฟัง
การฟั ง เป็ น กระบวนการสื่ อ สารที่ ม นุ ษ ย์ ใ ช้ ก่ อ นทั ก ษะอื่ น ดั ง นั นทั ก ษะการฟั ง จึ ง มี ค วามส าคั ญ มาก
ในการติดต่อสื่อสาร ซึ่งสามารถจาแนกความสาคัญเป็นประเด็น ๆ ดังนี
1. การฟั ง เป็ น กระบวนการรั บ สารที่ เ ราใช้ ม ากที่ สุ ด ในชี วิ ต ประจ าวั น เช่ น การติ ด ต่ อ สื่ อ สารใน
ชีวิตประจาวัน ของมนุษย์ มนุษย์สามารถติดต่อสื่อสารการฟังโดยผ่านสื่ ออิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ โทรศัพท์ วิทยุ
โทรทัศน์ ฯลฯ จากสถิติการวิจัยของวิลเลียม เอฟ แมคคี เขียนไว้ในหนังสือ “Language Teaching Analysis”
ว่า วันหนึ่ง ๆ ของคนเราจะมีการฟัง 48% การพูด 23% การอ่าน 16% และการเขียน 13% (อ้างถึงใน สถาบัน
ราชภัฏสวนดุสิต. 2539: 6)
2. การฟั ง เป็ น เครื่ อ งมื อ ที่ ส าคั ญ ในการแสวงหาความรู้ ทุ ก สาขาวิ ช า ไม่ ว่ า จะเป็ น ความรู้ ท างด้ า น
การเรียนทุกระดับ ทุกวิชาชีพ ซึ่งเป็นความรู้ที่มนุษย์ต้องการมากที่สุด
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 89

3. การฟังเป็ น ทักษะส่ งเสริ มความคิดและความฉลาดรอบรู้ เป็นพหู สู ต (ผู้ ส ดับตรับฟังมาก) ทาให้


ประสบความสาเร็จและก้าวหน้าในหน้าที่การงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4. การฟัง ช่ว ยให้ เ กิด ความคิด สร้ างสรรค์ สิ่ ง ที่แ ปลกใหม่โ ดยการวิ เคราะห์ ตี ความ น ามาประยุก ต์
ปรับเปลี่ยนได้อย่างเหมาะสม เกิดความงอกงามทางความรู้ ความคิด และสติปัญญา
5. การฟั ง เป็ น ทั ก ษะที่ ก่ อ ให้ เ กิ ด ความสนุ ก สนานเพลิ ด เพลิ น เช่ น การฟั ง เพลง นิ ท าน วรรณคดี
เป็นต้น
6. การฟังช่วยให้ผู้รับสารเป็นผู้พูดและผู้เขียนที่มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล เพราะการฟังช่วยให้
ผู้ฟังได้รับความรู้ ประสบการณ์ด้านเนือหาสาระ ภาษาถ้อยคาทังร้อยแก้วและร้อยกรอง เพื่อเป็นข้อมูลในการพูด
และการเขียนต่อไป

จุดมุ่งหมายของการฟัง
การฟังเป็นการรับรู้ความหมายของเสียงที่ได้ยิน ผู้ฟังจะต้องตังใจฟังเพื่อให้เ กิดความเข้าใจ เกิดความคิด
จึงจะถือว่าเป็นการฟังที่สมบูรณ์ ผู้ที่ฟังมากจะเกิดความรู้กว้างขวางจะได้ชื่อว่าเป็นพหูสูตในสังคมปัจจุบันนอกจาก
เราจะฟังผู้พูดพูดเพื่อการติดต่อสื่อสารหรือเพื่อกิจธุระในชีวิตประจาวันแล้ว เราควรฟังเพื่อจุดมุ่งหมายอื่น ๆ ดังนี
1. เพื่ อสื่ อสารในชีวิ ตประจ าวัน การฟัง ประเภทนีท าให้ ม นุษ ย์ค งความสั มพั นธ์ ที่ดี ตลอดไปซึ่ง เป็ น
พฤติกรรมปรกติของมนุษย์
2. เพื่ อ ความเพลิ ด เพลิ น เป็ น การฟั ง เพื่ อ ผ่ อนคลายความตึ ง เครี ยด จั ด เป็ นส่ ว นหนึ่ ง ของกิ จ กรรม
นันทนาการ การฟังประเภทนีขึนอยู่กับรสนิยมของผู้ฟัง
3. เพื่อรั บ ความรู้ เป็ น การฟังเรื่ องราว ข่าวสาร วิช าการ ข้อเสนอแนะ ผู้ ฟังต้องจดจาสาระและใช้
ความคิด วิเคราะห์ ตีความ สังเคราะห์ และประเมินค่าตามลาดับ
4. เพื่อได้คติชีวิตและความจรรโลงใจ คือ การยกระดับจิตใจให้สูงขึนการฟังเพื่อได้คติชีวิตและความ
จรรโลงใจ มีผลทาให้ผู้ฟังเกิดวิจารณญาณ เกิดสติปัญญามีความสุขุม ผู้ฟังจึงต้องตังใจฟัง และการฟังประเภทนีมี
ความสาคัญต่อการดารงชีวิต เพราะจะช่วยให้ผู้ฟังมีแนวทางในการดาเนินชีวิตที่ดีงาม และไปในทางที่สร้างสรรค์
เลือกเชื่อในสิ่งที่ควรเชื่อ รู้จักปฏิเสธในสิ่งที่ตนพิจารณาแล้วว่าไม่ชอบด้วยเหตุผลหรือขัดต่อสภาพความเป็นจริง
การฟังที่ได้ผลดีต้องอาศัยการฝึกอยู่เสมอ เมื่อฟังแล้วต้องคิดไปพร้อม ๆ กัน การฟังมากจะทาให้เป็น ผู้ที่
มีความรู้กว้างขวาง สิ่งสาคัญที่สุดของการฟังก็คือ ผู้ฟังต้องฟังด้วยความตังใจ สนใจ และเข้าใจเรื่องที่ฟังตรงกับ
จุดประสงค์ของผู้พูด
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 90

ปัจจัยที่ให้การฟังเกิดสัมฤทธิผล
ผู้ฟังจะสามารถใช้ทักษะการฟังเพื่อรับสารได้ตามวัตถุประสงค์ที่ตังไว้เป็นอย่างดีนัน ผู้ฟังควรสร้างปัจจัย
ต่อไปนีให้เกิดขึนในตัวผู้ฟัง ซึ่งช่วยให้ผู้ฟังมีศักยภาพในการรับสารได้ ปัจจัยที่ทาให้การฟังสัมฤทธิผลมีดังนี
ฟังให้สัมฤทธิ์ผล หมายถึง ฟังให้ได้รับความสาเร็จ การฟังให้สัมฤทธิ์ผลจะมีระดับสูงหรือต่ามากน้อย
ขึนอยู่กับปัจจัยสาคัญคือ โอกาสของการฟัง และระดับขันของการฟัง ดังนันขันแรกผู้ฟังจึงควรวิเคราะห์โอกาสที่
ฟัง
โอกาสของการฟัง
1. การฟังระหว่างบุคคล เป็ นการฟังที่ไม่เป็นทางการ เช่น ฟังการสนทนา การสอบถาม คาแนะนา
2. การฟังในกลุ่มขนาดเล็ก เป็นการฟังกึ่งทางการ เช่น การปรึกษาหารือร่วมกัน วางแนวทางปฏิบัติ
ร่วมกัน
3. การฟังในที่ประชุม เป็นการฟังที่เป็นทางการ ผู้ฟังต้องรักษากิริยามารยาท เช่น การฟังบรรยาย
4. การฟังจากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เป็นการฟังที่ไม่เป็นทางการ
ระดับขั้นของการฟังให้สัมฤทธิ์ผล
1. ทราบว่าจุดประสงค์ได้แก่อะไร
2. ทราบว่าเนือความครบถ้วนแล้วหรือไม่//อย่างไร
3. พิจารณาได้ว่าน่าเชื่อถือหรือไม่ //เพราะอะไร
4. เห็นว่าสารนันมีคุณค่าหรือไม่ อย่างไร ใช้ดุลยพินิจแล้วผู้ฟังยังสามารถบอกได้อีกว่าสารที่ส่งมามี
คุณค่าเพียงใด ในแง่ใดบ้าง ถ้าสามารถตอบคาถามข้างต้นได้ถือว่าผู้ฟังสามารถฟังได้ สัมฤทธิ์ผลสูงมากเป็นพิเศษ
คาว่า "ดุ ล ยพินิ จ " หมายถึง การใช้ ปั ญญาพิ จารณาด้ว ยความไม่ เ อนเอี ยง ปราศจากอคติ เป็ น
ความสามารถที่ค่อย ๆ เจริญขึนในตัว บุคคลเมื่อมีโอกาสได้รับการฝึ กฝนอย่างสม่าเสมอจากบิดา มารดา ครู
อาจารย์ สภาพแวดล้อม
การฝึกฟังให้สัมฤทธิ์ผล
1. ฟังเรื่องที่ไม่ยากและไม่ยาวจนเกินไป เช่น ฟังข่าววิทยุ และโทรทัศน์แล้วสามารถจับสาระของเรื่องมา
เล่าให้ผู้อื่นฟังได้
2. หาโอกาสฟังสิ่งที่มีสารประโยชน์อยู่เป็นนิจ เช่น ฟังรายการสารคดีทางวิทยุและโทรทัศน์ แล้วนามา
วิเคราะห์วิจารณ์กับผู้ที่ได้ฟังรายการด้วยกัน จะช่วยพัฒนาความสามารถในการฟังของเราให้สัมฤทธิ์ผลสูงขึน
3. หมั่นฟังการบรรยายหรือการอภิปรายในโอกาสต่าง ๆ เช่น วันสัปดาห์หนังสือแห่งชาติ
4. บันทึกเรื่องที่ได้ยินได้ฟังไว้เสมอ เพื่อสามารถที่จะเก็บข้อมูล หลักฐานต่าง ๆ ที่จะนามาใช้ตรวจสอบ
ภายหลัง
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 91

แนวทางการฟังสารเพื่อสัมฤทธิผล
ผู้ ฟั ง สามารถรั บ สารได้ ส าเร็ จ ตามวั ต ถุ ป ระสงค์ ที่ ตั งไว้ ทุ ก ประการ ผู้ ฟั ง ควรมี แ นวทางปฏิ บั ติ ใ น
การฟัง ดังนี
1. ผู้ฟังควรมีความสามารถในการได้ยิน โดยฝึกประสาทหูให้สามารถจับเสียงได้รวดเร็วและถูกต้อง
2. ผู้ฟังควรมีความตังใจและสมาธิในการฟังทุกครัง
3. ผู้ฟังสามารถจับประเด็นสาคัญของเรื่องที่ฟังได้ โดยการจดบันทึกข้อความสาคัญและศัพท์ที่ไม่เข้าใจ
ความหมาย รวมทังข้อสงสัยเพื่อซักถามผู้พูดต่อไป
4. ผู้ฟังสามารถจับใจความสาคัญของเรื่องที่ฟังได้ และสามารถนาข้อมูลที่ฟังไปถ่ายทอดได้อย่างถูกต้อง
รวมทังนาไปใช้ประโยชน์ต่อไปได้
5. ผู้ฟังสามารถวิเคราะห์ประเมินค่าเรื่องราวที่ฟังได้ ผู้ฟังสามารถพิจารณาข้อความทังที่เป็นข้อเท็จจริง
ความคิดเห็น อารมณ์ความรู้สึก รวมทังพิจารณาข้อดี ข้อบกพร่อง จุดเด่น รวมทังคุณค่าทางภาษาและคุณค่าต่อ
สังคม
6. ผู้ฟังควรใช้เวลาว่างในการฟังเรื่องราวต่างๆที่มีสาระ หรือความบันเทิง เพื่อผู้ฟังจะได้รับประโยชน์
ด้านสติปัญญา ความรอบรู้ รวมทังสุขภาพร่างกายและด้านจิตใจ
นอกจากนี ผู้ฟังสามารถยึดหลักแนวทางบันไดไปสู่การฟังให้สาเร็จ 6 ขัน (LADDER) สารวม วารายานนท์
(2544: 28-29)
6.1 มองคนพูด หมายถึง มองคนที่กาลังพูดกับคุณและมองคนที่คุณกาลังพูดด้วย การมองตรงไปยัง
คนที่กาลังพูดเป็นการแสดงความสนใจอย่างมีพลัง อีกทังยังเป็นการดูการแสดงออกทางสีหน้า และกิริยาท่าทาง
ของผู้พูดด้วย การมองคนพูดเป็นสิ่งสาคัญ เพราะจะทาให้ผู้ฟังมีจิตใจจดจ่ออยู่กับการฟังเป็นอันดับแรก
6.2 ถามคาถาม เป็นการฝึกถามคาถามชนิดต่างๆ ลักษณะของคาถามที่ช่วยให้ได้รับข่าวสารชนิด
ใดชนิดหนึ่งเรียกว่า “คาถามแบบปิดปลาย” เช่น “คุณชื่ออะไร” “คุณอายุเท่าไร” และคาถามช่วยให้ได้คาตอบ
เกี่ยวกับความคิดเห็นหรือความรู้สึก เรียกว่า “คาถามเปิดปลาย” การฝึกถามคาถามทังสองชนิดบ่อย ๆ จะช่วย
พัฒนาทักษะการฟังให้เป็นนักฟังที่ดีขึน
6.3 อย่าสอดแทรก หมายถึง การฝึกความอดทนในการฟังผู้พูดให้จบประโยค หรือจบใจความก่อน
จึงจะพูดตอบ การพูดสอดแทรกเป็นการเสียมารยาท ดังคากล่าวเปรียบเทียบว่า “การเหยียบความคิดคนอื่น
หยาบคายพอๆ กับการเหยียบเท้าคนอื่น”
6.4 อย่าเปลี่ยนเรื่อง หมายถึง ในขณะสนทนาอยู่กับคู่สนทนาในเรื่ องใดเรื่องหนึ่งอยู่แล้วเปลี่ยน
เรื่ อ งไปเป็ น เรื่ อ งอื่ น ไปในทั น ที ทั น ใด ซึ่ ง นั บ ว่ า เป็ น การเสี ย มารยาทในการพู ด ยิ่ ง กว่ า การสอดแทรก
เสียอีก
6.5 แสดงอารมณ์ด้วยการควบคุม หมายถึง การพยายามควบคุมอารมณ์ของตนเองให้เป็นปกติใน
ขณะที่เป็นผู้ฟัง หากเป็นการสนทนาที่มีข้อโต้แย้งกัน ก็ต้องพยายามควบคุมอารมณ์และฟังอย่างมีสติ
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 92

6.6 ฟังอย่างมีการตอบสนอง หมายถึง การแสดงการตอบสนองด้วยสีหน้า กิริยาท่าทาง ซึ่งเป็นการ


แสดงออกถึงความสนใจได้ยินและเข้าใจเรื่องที่พูด

มารยาทในการฟัง
1. มองหน้าคนพูด มารยาทในการฟังที่ดีคือ ต้องมองหน้าคนที่กาลังพูดด้วยและมองตรงในลักษณะที่
แสดงความสนใจ ไม่ใช่การจ้อง การฟังไม่ควรมองพืนหรือเพดาน หรือมองออกไปนอกหน้าต่างและอย่าหันหน้าไป
มองสิ่งที่หันเหความสนใจที่เกิดรอบตัว การฟังไม่ควรทางานอย่างอื่น
2. การตั้งคาถาม การตังคาถามหรือการซักถามที่จะทาให้เรารู้ข้อเท็จจริงในสิ่งที่เราไม่รู้ การตังคาถาม
ควรขออนุญาตและไม่สอดแทรกขึนมากลางคัน การตังคาถามต้องคานึงถึงประโยชน์และความสุจริตใจ
3. ไม่ขัดจังหวะ มารยาทในการฟัง คือ ต้องไม่ขัดจังหวะขณะที่ผู้พูดกาลังพูดอยู่ หมายความว่า ควรให้
เขาได้พูดจบประโยค หรือจบความคิดเสียก่อน ถ้าต้องการพูดควรรอจังหวะและโอกาสที่เราจะพูด แม้แต่งาน
ประชุมระดับชาติบางครัง ประธานในที่ประชุมต้องยุติการประชุมชั่วคราว เนื่องจากไม่มีผู้ใดเป็นผู้ฟังแต่แย้งกันพูด
4. ไม่ควรเปลี่ยนเรื่อง ไม่ควรเปลี่ยนเรื่อง คือ สอดแทรกหรือขัดจังหวะแล้วเปลี่ยนเรื่องที่พูดทันทีซึ่ง
เป็นการตัดบทและเท่ากับการตัดไมตรีหรือความเป็นเพื่อนออกไปควรให้เรื่องที่กาลังพูดจบมีข้อยุติก่อนแล้วจึง
เปลี่ยนเรื่อง
5. คุณสมบัติบางประการของผู้ฟัง
5.1 ควรเป็นผู้มีความสนใจใฝ่รู้ในสิ่งต่าง ๆ ผู้ที่มีคุณสมบัติเช่นนีมักจะมีความสามารถในการติดตาม
เรื่องราวต่าง ๆ
5.2 ควรมีสมาธิในการฟัง ซึ่งมีรายละเอียดในข้อต่อไป
5.3 ควรมีการเตรียมตัวล่วงหน้า ในบางครังการฟังเป็นการประชุมทางวิชาการหรือการอภิปรายใน
เรื่องพิเศษด้านใดด้านหนึ่งโดยเฉพาะ
5.4 สืบเนื่องจากการอ่านหรือเตรียมตัวล่วงหน้า คือ ในการเข้าร่วมประชุม สัมมนาหรืออภิปรายใด ๆ
ก็ตาม ควรตรงต่อเวลา ไม่ควรเข้าประชุมสายจนเกินไป
6. การควบคุมการแสดงอารมณ์ การควบคุมการแสดงออกของอารมณ์จึงเป็นมารยาทที่พึงระวังอย่ าง
ยิ่งเพราะถ้าเกิดการถกเถียงและปะทะกันแม้คาพูดหรือท่าทาง นอกจากจะเสีย เวลาแล้วยังเท่ากับ การทาลาย
สัมพันธภาพของกันและกันด้วย
7. สมาธิ สมาธิเป็นสิ่งจาเป็นมากในการฟัง โดยเฉพาะพูดในที่ชุมชน
8. การปรบมือ มารยาทในการปรบมือ เป็นสิ่งที่พึงกระทาซึ่งอาจมีการเรียนรู้ มาก่อนแบบค่อยเป็นค่อย
ไป
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 93

ลักษณะการฟังที่พึงหลีกเลี่ยง
1. ฟังแบบฟังบ้างไม่ฟังบ้าง
2. ฟังแบบสนใจในตัวผู้พูดมากกว่าเนือหา
3. ฟังแบบคอยจ้องจับข้อเท็จจริง
4. ฟั ง แบบธงแดง การฟั ง ชนิ ด นี หมายความว่ า เมื่ อ ฟั ง อยู่ แ ล้ ว มี ข้ อ ความ หรื อ ค าพู ด ค าใดที่ ต น
ไม่พอใจ ทาให้เลิกสนใจ ไม่อยากฟังต่อ
5. ฟังแบบปิดใจไม่รับ
6. ฟังแบบจดจ้องด้วยตาใสแป๋ว แต่จริง ๆ แล้วคานึงถึงเรื่องอื่น
7. สูงเกินกว่าจะรับฟัง คือ ฟังไม่รู้เรื่อง เรื่องที่พูดซับซ้อนสับสน
8. จับจุดแย้ง ถ้าหากได้ยินใครพูดอะไรที่ค้านกับสิ่งที่ตนเชื่อมั่นก็มักจะไม่ยอมฟัง
9. ฟังแบบเวียนสมอง หมายถึง ขณะที่ฟังมีเสียงมารบกวนความสนใจทาให้ฟังไม่รู้เรื่อง
10. จดอยู่ตลอดเวลา การฟังนันอาจมีการจดคาพูดบางอย่างที่สาคัญ แต่ไม่ใช่จดทุกอย่าง
11. รบกวนสมาธิของผู้อื่น
12. ไม่นาอาหารหรือเครื่องดื่มเข้าไปรับประทานระหว่างฟัง
13. แสดงพฤติกรรมที่แสดงความรู้สึก พฤติกรรมหลายอย่างที่ทาให้ผู้พูดสะดุดและเกิดหงุดหงิด

ประเภทของสารที่ฟัง
1. การฟังสารประเภทให้ค วามรู้ สารประเภทให้ค วามรู้ ได้ แก่ ข้อความหรื อเรื่ องราวที่ มีเนื อหา
เกี่ยวกับความรู้ทั่วไปในการดาเนินชีวิตประจาวัน ข้อความหรือเรื่องราวเกี่ยวกับข่าวสารเหตุการณ์ความเป็นไป
สั ง คมตั งแต่ สั ง คมขนาดเล็ ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ ซึ่ ง จะมี ทั งสารข้ อ เท็ จ จริ ง สารข้ อ คิ ด เห็ น และ
สารแสดงอารมณ์ความรู้สึก นอกจากนียังรวมถึงข้อความรู้ทางวิชาการสาขาต่างต่างๆ การฟังสารประเภทนีมีข้อ
ควรปฏิบัติดังนี
1.1 ผู้ฟังควรฟังสารให้ความรู้นันโดยตลอดตังแต่ต้นจนจบเรื่อง กรณีให้ความรู้ทั่วไปหรือความรู้
ทางวิชาการควรเข้าใจและจับสาระสาคัญให้ได้ว่า สารนันให้ความรู้กี่ประเด็น เรื่องเกี่ยวกับอะไร มีเนือหาอะไรบ้าง
รวมทังแยกแยะข้อความที่เป็นข้อเท็จจริง และข้อคิดเห็น หรือข้อความแสดงอารมณ์ความรู้สึกของผู้เขียน หาก
เป็นเรื่องของเหตุผล ควรแยกได้ว่าส่วนใดเป็นเหตุส่วนใดเป็นผล กรณีเป็นเรื่องราวข่าวสารเหตุการณ์บ้านเมือง
ควรเข้าใจและจับสาระสาคัญให้ได้ว่าเกิดเหตุการณ์หรือเรื่องราวอะไร ใคร ทาอะไรที่ไหน อย่างไร เมื่อใด ทาไม
เรื่องนันมีสาเหตุจากอะไร มีผลกระทบอะไรบ้าง ต่อใคร รวมทังแยกแยะได้ว่าส่วนใดเป็นข้อเท็จจริงส่วนใดเป็น
ความคิดเห็น
1.2 ผู้ฟังควรใช้สติปัญญาไตร่ตรอง เรื่องราวนันมีข้อมูลสมเหตุสมผลหรือไม่ เพราเหตุใดมีคุณค่า
เพียงใด น่าเชื่อถือหือไม่และหากจะนาข้อมูลเหล่านันไปประยุกต์ใช้จะทาได้อย่างไร
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 94

1.3 ผู้ฟังควรบันทึกสาระสาคัญของเรื่องราวเหล่านันเพื่อเตือนความจา และใช้ประโยชน์ต่อไป


2. การฟังสารประเภทโน้นน้าวใจ สารโน้นน้าวใจ ได้แก่ ข้อความหรือเรื่องราวที่มีเนือหาชักจูงใจให้
ผู้ฟังยอมรับความความคิดเห็น คล้อยตาม เชื่อถือ จนถึงปฏิบัติตามที่ผู้ส่งสารต้องการ การฟังสารประเภทโน้นน้าว
ใจมีข้อควรปฏิบัติ ดังนี
2.1 ผู้ฟังตังใจโดยตลอดทาความเข้าใจเรื่องและจับประเด็นสาคัญของสารนัน
2.2 ผู้ฟังวิเคราะห์สารว่าเนือหาส่วนใดเป็นข้อเท็จจริง เป็นข้อคิดเห็น เป็นข้อเหตุผลของการโน้น
น้าวใจส่วนใดเป็นข้อปฏิบัติ ผู้ส่งสารมีจุดมุ่งหมายหรือเจตนาอย่างไร
2.3 ผู้ ฟั ง พิ จ ารณาให้ ไ ด้ ว่ า เนื อหาข้ อ เท็ จ จริ ง และเหตุ ผ ลที่ ผู้ ส่ ง สารแสดงไว้ เ พื่ อ โน้ น น้ า วใจ
สมเหตุสมผลน่าเชื่อถือหรือมา
2.4 ผู้ฟังไตร่ตรองให้ถี่ถ้วนว่าข้อปฏิบัติที่ผู้ส่งสารแนะนาให้ปฏิ บัติที่ผู้ส่งสารแนะนาให้ปฏิบัตินัน
ถูกต้องเหมาะสมหรือไม่สมควรจะนาไปปฏิบัติหรือไม่ อย่างไร มากน้อยเพียงใด
2.5 ผู้ฟังพิจารณาว่าผู้ส่งสารใช้วิธีใดในการโน้นน้าวใจ ให้เกิดความน่าเชื่อถือ ตลอดจนการใช้ภาษา
เป็นอย่างไร โน้นน้าวใจผู้รับสารให้คล้อยตามได้มากน้อยเพียงใด
2.6 ผู้ฟังใช้วิจารณญาณตัดสินว่าฟังสอดคล้อยกับคิดความเชื่อของผู้ฟังมากน้อยเพียงใดหากปฏิบัติ
จะทาให้เกิดประโยชน์อย่างไรบ้าง
3. การฟังสารประเภทจรรโลงใจ สารประเภทจรรโลงใจ ได้แก่ ข้อความหรือเรื่องราวที่มีเนือหาให้
ข้อคิดคติชีวิตแก่ผู้ ฟังมีส ติ เกิดปั ญญา ยกระดับจิตใจ ความประพฤติให้ ดาเนินไปในทางที่ดีงาม ทาให้ ชีวิตมี
ความสุ ข สารเหล่ า นี เช่ น ปาฐกถาธรรม เทศนา พระบรมราโชวาทค าสั่ ง สอน สุ น ทรพจน์ เรื่ อ งข าขั น
เรื่องสัน นวนิยาย เป็นต้น
การฟังสารประเภทนีมีข้อควรปฏิบัติ ดังนี
3.1 ผู้ฟังตังใจสารโดยตลอดจนจบเรื่องด้วยจิตใจที่ปลอดโปร่งปราศจากความวิตกกังวลปราศจาก
อคติใด ๆ
3.2 ขณะที่ฟังสาร เช่น ปาฐกถา โอวาท นิทาน ชาดก สุภาษิต เป็นต้นนอกจากฟังด้วยจิตใจปลอด
โปร่ ง แจ่ ม ใสแล้ ว ควรสร้ า งสมาธิข ณะฟั ง จิ ต ใจจดจ่ อ กับ เรื่อ งที่ฟั ง แล้ ว คิด ตามพิ จารณาว่ าผู้ ส่ งสารมี เ จตนา
มีวัตถุประสงค์อย่างไร ให้ข้อคิดแนวปฏิบัติอะไรบ้าง ถ้าไม่ปฏิบัติจะเกิดผลเสียอย่างไร
3.3 ขณะที่ฟังสาร เช่น เพลง บทร้อยกรอง เรื่องสัน นวนิยาย บทละคร เป็นต้น ผู้ฟังควรสร้าง
จินตนาการตามถ้อยคา เรื่องราว ดนตรี ที่ฟังจะทาให้ผู้ฟังได้ อรรถรสจาการฟังมากขึนและควรตีความเนือหาที่ฟัง
ด้ ว ยว่ า ให้ ข้ อ คิ ด อะไรมี เ หตุ ผ ลน่ า เชื่ อ ถื อ หรื อ ไม่ ค วรน าไปปฏิ บั ติ ห รื อ ไปประยุ ก ต์ ใ ช้ อ ย่ า งไรให้ เ หมาะแก่ ต น
สถานการณ์ละกาลเทศะต่อไป
3.4 การฟังสารประเภทจรรโลงใจข้ อส าคัญ คือ ผู้ ฟัง ต้องใช้ วิจารณญาณไตร่ ตรองสารที่ฟั งให้
ถีถ่ ้วนก่อนนาไปปฏิบัติหรือนาไปประยุกต์ใช้ จึงจะได้ประโยชน์สูงสุดจาการฟังสาร
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 95

ระดับความเข้าใจในการรับสาร
ความเข้าใจในการรับสาร คือ การที่ผู้ฟังสามารถรับรู้เรื่องราวหรือข้อความที่รับสารอย่างครบถ้วน การรับ
สารนันมีระดับความเข้าใจ 4 ระดับ ดังนี
1. ระดับความเข้าใจความหมายตามเนื้อหา หรือระดับการจับใจความ
ความเข้าใจระดับ นี คือ การค้นหาความคิดส าคัญของข้อความหรือเรื่องที่ฟังเป็นข้อความที่คลุ ม
ข้อความอื่น ๆ ในย่อหน้าหนึ่งๆไว้ได้ทังหมด ดังกวีนิพนธ์กล่าวไว้ดังนี “ฟังใดได้รู้เรื่อง ก็ปราดเปรื่อง ปรีชาชาญ
เปรียบลิมชิมนาตาล รู้รสหวานซาบซ่านใจ ฟังใดไม่รู้ความ วิชาความจะงามไฉน เปรียบจวักตักใดใด ไป่รู้รสหมด
ทังมวล” (ชิต บุรทัต) ซึ่งมีหลักการจับใจความ ดังนี
1.1 ตังใจฟังในแต่ละข้อความ แล้วพิจารณาใจความสาคัญของแต่ละข้อความควรใช้การจดบันทึก
ของข้อความไว้เพื่อช่วยให้จดจาได้ในภายหลัง
1.2 เมื่อฟังจบแล้ว ผู้ฟังควรบันทึกเนือหาที่ฟังโดยตอบคาถามที่ว่า เรื่องที่ฟังเป็นเรื่องของใคร ทา
อะไร ที่ไหน เมื่อไหร่ ทาไม อย่างไร ถ้าผู้ฟังไม่เข้าใจเนือหาตอนใดก็ควรถามผู้พูดในโอกาสที่เปิดให้ซักถาม
1.3 น าข้อ มูล ที่ เป็ น ค าตอบมาเรี ยบเรีย งก็ จ ะได้ใ จความส าคั ญของเรื่อ งที่ฟั ง ท าให้ ผู้ ฟั งเข้า ใจ
เรื่องราวที่ฟังได้อย่างชัดเจน และได้รับความรู้นาไปใช้ประโยชน์ต่อไป
2. ระดับความเข้าใจขั้นตีความ
การตีความ หมายถึง การทาความเข้าใจเนือหาสาระที่ผู้พูดไม่ได้สื่อสารโดยตรง ผู้ฟังต้องพยายามหา
สิ่งที่ซ่อนเร้นและจุดมุ่งหมายของผู้พูด โดยอาศัยความรู้เรื่อง ภาษา ประสบการณ์ ความเชื่อ ความรู้สาขาวิชาต่าง ๆ
เพื่อช่วยให้สามารถเข้าใจเจตนาและทรรศนะของผู้ส่งสาร หลักในการตีความมีดังนี
2.1 ทาความเข้าใจเนือหาทีละย่อหน้า
2.2 พิจารณาความหมายของคาศัพท์หรือถ้อยคา ผู้รับสารควรพิ จารณาความหมายซ่อนเร้นของ
คาศัพท์หรือถ้อยคาที่ไม่ได้สื่อสารโดยตรง ประกอบกับบริบท ความรู้ด้า นภาษา ประสบการณ์ ศาสตร์สาขาวิชา
ต่าง ๆ ยุคสมัย และสภาพสังคมวัฒนธรรม
2.3 สรุปประเด็นสาคัญและสรุปความคิด สรุปเนือหาของแต่ละย่อหน้า แล้วนามาเรียบเรียงเพื่อให้
ทราบความทังหมด
2.4 พิจารณาตีความนาเสี ยง หรือท่าทีของผู้ส่งสาร ผู้ส่งสารมีอารมณ์ความรู้สึกอย่างไรในการ
นาเสนอสาร เช่น ห่วงใย เศร้า โกรธแค้น ประชดประชัน เป็นต้น
2.5 พิจารณาเจตนาหรือจุดมุ่งหมายของผู้ส่งสารได้ ผู้รับสารสามารถอธิบายความขยายความให้
ผู้อื่นเข้าใจสารอย่างครบถ้วน และตรงตามสารเดิม ทังด้านเนือหาและนาเสียง
2.6 ต้องระวังการตีความไม่ใช่การวิจารณ์ ฉะนันจึงไม่มีข้อคิดเห็นว่าดีหรือไม่ดีชอบหรือไม่ชอบ
ควรพิจารณาว่าข้อความนันบอกประเด็นสาคัญอย่างไร
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 96

2.7 ต้องคานึงถึงว่าการตีความต่างจากการถอดคาประพันธ์ การถอดคาประพันธ์ หมายถึง จะต้อง


เรียบเรียงจากถ้อยคาของบทประพันธ์เดิมมาเป็นร้อยแก้ว โดยครบทังคา ครบทังความ และครบทังสรรพนาม แต่
การตีความนันจะจับเอาแต่ใจความสาคัญ หรือความคิดของผู้ส่งสารที่บ่งไว้ในข้อความหรือสารนัน ๆ
ตัวอย่าง การตีความร้อยแก้ว
“รักยาวให้บั่น รักสันให้ต่อ”
ตีความตามตัวเนือหา คิดจะมีไมตรีต่อกันต้องไม่สนใจสิ่งที่จะมาทาลายมิตรภาพระหว่างกัน ถ้าไม่คิด
จะคบกันไปนาน ๆ ก็หาเหตุวิวาทบาดหมางได้เสมอ
ตีความนาเสียง การไม่บาดหมางกันจะทาให้ความรักยืนยาวมั่นคงตลอดไป
“ท่านมีจิตใจดุจดั่งแม่นา”
ตีความได้ว่า ท่านเป็นคนมีจิตใจกว้างขวาง ช่วยเหลือ เอือเฟื้อต่อบุคคลอื่นๆ
“รัฐบาลจะทาให้อีสานเป็นสีเขียว”
ตีความได้ว่า รัฐบาลจะทาให้ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีความอุดมสมบูรณ์หรือมีการปลูกต้นไม้อย่าง
มากมาย
“เขาจัดงานบวชลูกอย่างใหญ่โตเข้าตาราที่ว่า ตานาพริกละลายแม่นาแท้ๆ”
ตีความได้ว่า เขาใช้จ่ายในการจัดงานเกินความจาเป็นอย่างมาก ทาให้เสียเงินเสียของโดยไม่จาเป็น
3. ระดับความเข้าใจขั้นใช้วิจารณญาณ
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 (2546: 1073) ได้ให้ความหมาย คาว่า วิจารณญาณ
ว่า หมายถึง ปัญญาที่สามารถรู้หรือให้เหตุผลที่ถูกต้องได้ ดังนันการรับสารอย่างมีวิจารณญาณ คือ การพินิจ
พิจ ารณาวิเคราะห์ ข้อความสิ่งใดเป็ นใจความส าคัญ สิ่ งใดเป็นใจความประกอบ สามารถแยกข้อเท็จจริงจาก
ข้อคิดเห็นได้ ตลอดจนประเมินค่าว่าข้อความนันควรเชื่อถือหรือไม่ มีแง่คิดที่ดีหรือไม่ เพราะอะไร และนาไปใช้
ประโยชน์ได้เพียงไร
การฟังระดับ การใช้วิจ ารณญาณ จะใช้ในการรับสารประเภทโน้มน้าวชักจูงใจและสารประเภท
จรรโลงใจ หลักการรับสารอย่างใช้วิจารณญาณ มีหลักการดังนี
3.1 การรับสารเชิงวิเคราะห์ คาว่า วิเคราะห์ หมายถึง ใคร่ครวญแยกออกเป็นส่วน ๆ การรับสาร
เชิงวิเคราะห์ หมายถึง การฟังการอ่านด้วยความเอาใจใส่พิจารณาไตร่ตรองแยกแยะสารเป็นส่วน ๆ อย่างถี่ถ้วน
เพื่อให้เข้าใจเรื่องหลายแง่หลายมุม
3.1.1 จุดประสงค์ของการส่งสาร เพื่อวิเคราะห์ว่าผู้พูดหรือผู้เขียนมีจุดประสงค์ในการเสนอ
สารแก่ผู้ฟังหรือผู้อ่านอย่างไร เช่น เพื่อให้ข้อเท็จจริง เพื่อให้ความรู้ เพื่อให้ความบันเทิง เพื่อให้แง่คิดหรือแสดง
ทรรศนะ เพื่อกระตุ้นให้คิดตาม เพื่อจูงใจให้คล้อยตาม หรือเพื่อเสียดสีสังคม เป็นต้น
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 97

3.1.2 รู ป แบบในการน าเสนอสาร เพื่ อ พิ จ ารณาว่ า แต่ ง เป็ น ร้ อ ยแก้ ว หรื อ ร้ อ ยกรอง
ใช้รูปแบบการเขียนชนิดใด
3.1.3 ทรรศนะในการแต่ง เป็น การวิเคราะห์ ค วามคิดเห็ นในเรื่ องต่ างๆ ที่ผู้ ส่ งสารเสนอ
ออกมา
3.1.4 วิธีเสนอข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น พิจารณาแยกแยะว่าสารตอนใดเป็นข้อเท็จจริง ตอน
ใดเป็นข้อคิดเห็นของผู้เขียน
3.1.5 อารมณ์และความรู้สึกของผู้ส่งสาร ผู้พูดและผู้เขียนมีการนาเสนอสารด้วยความรู้สึก
อย่างไร เช่น ห่วงใย ตักเตือน โศกเศร้า สงสาร ประชดประชัน โกรธ อิจฉา เป็นต้น
3.1.6 กลวิธีในการแต่ง ผู้ส่งสารมีวิธีเสนอสารแบบใด เช่น เสนอแบบอธิบายตรง ๆ เสนอ
แบบวิธีอุปนัย แบบวิธีนิรนัย หรือเสนอแบบแก้ปัญหาด้วยวิธีการวิทยาศาสตร์ เป็นต้น
3.1.7 การใช้ถ้อยคา ภาษา และสานวนโวหารต่าง ๆ
3.1.8 คุณค่าที่ได้รับจากเรื่อง
3.2 การประเมินค่าสารที่ฟัง คาว่า ประเมิน หมายถึง กะประมาณค่าหรือราคาเท่าที่ควรจะเป็น
ดังนันในการประเมินค่าเรื่องที่ฟั ง คือ การพิจารณาว่าเรื่องที่ฟังมีความเป็นจริง น่าเชื่อถือได้หรือไม่ มีหลักการ
ประเมินเรื่องที่ฟัง ดังนี
3.2.1 การแยกข้อเท็จจริง ความคิดเห็น
3.2.2 การพิจารณาว่าผู้พูดมีอารมณ์ ความรู้สึกเป็นกลาง หรือมีอคติในการเสนอข้อมูล
3.2.3 การพิจารณาข้อมูลด้วยสติปัญญาว่าควรเชื่อถือหรือไม่อย่างเหตุผล
3.2.4 การพิจารณาเลือกคุณค่าประโยชน์ที่ได้ไปใช้ประโยชน์ต่อตนเอง และสังคมต่อไป
4. ระดับสร้างสรรค์
ระดั บ สร้ า งสรรค์ คื อ การฟั ง เพื่ อ ใช้ ค วามคิ ด น าไปประมวลความเข้ า ใจ แล้ ว น ามาเที ย บเคี ย ง
ตรวจสอบกับความรู้สึก ความเข้าใจ และความคิดที่ผู้ฟังสั่งสมมาก่อน จนเกิดปัญญาหยั่งรู้ในความจริงใหม่ หรือ
การเลือกสรรความคิดที่เป็นประโยชน์นาไปประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ใหม่ได้หรือเป็นการฟังเพื่อใช้ความคิดของผู้
พูดและผู้ฟังร่วมกันแก้ไขปัญหา การฟังระดับสร้างสรรค์เป็นทักษะการฟังที่มีความสาคัญที่สุด และมีประสิทธิภาพ
ที่สุด
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 98

ปัญหาและอุปสรรคในการฟัง
ในการฟังสารครังหนึ่ง ๆ อาจจะไม่สัมฤทธิผลเท่าที่ควร ทังนีเนื่องจากเกิดอุปสรรคในการฟังขึนมาจาก
สาเหตุหลายประการ ได้แก่
1. อุปสรรคที่เกิดจากผู้ฟัง
1.1 ขาดสมาธิ หรือมีช่วงความสนใจสันเกินไป
1.2 ขาดพืนความรู้ที่จาเป็นต่อการฟังสารครังนัน
1.3 ขาดความเป็นกลางหรือเกิดอคติขึนในใจ
1.4 ขาดความอดทน อดกลัน และการควบคุมอารมณ์เท่าที่ควร
1.5 ขาดความพร้อมทังทางด้านร่างกาย จิตใจ และสติปัญญา
1.6 ขาดการได้รับแรงจูงใจ หรือเสริมแรงจากการฟัง
1.7 ขาดการใฝ่รู้ ทาให้ไม่สนใจ หรือเสริมแรงจากการฟัง
2. อุปสรรคที่เกิดจากตัวผู้พูด หรือสารที่ฟัง พบว่าบางครังผู้พูดหรือตัวของสารนันเป็นสาเหตุที่ทาให้
ผู้ฟังเกิดปัญหาในการฟัง ได้แก่
2.1 ขาดความรู้ความเข้าใจอย่างแท้จริงที่จะสร้างความชัดเจนให้แก่ผู้ฟัง
2.2 ขาดกลวิธีที่เหมาะสมในการสร้างความสนใจ และแรงจูงใจให้เกิดขึนกับผู้ฟัง
2.3 ขาดความแม่นยาในเนือหา และการลาดับเนือหาอย่างเป็นขันตอน
2.4 พูดเสียงค่อยพูดช้า หรือเร็วเกินไป
2.5 มีบุคลิกภาพไม่น่าดู ไม่เหมาะสม ไม่ดึงดูดความสนใจ ไม่มีมนุษยสัมพันธ์ต่อผู้ฟัง
2.6 ไม่วิเคราะห์ผู้ฟังก่อนการพูด การวิเคราะห์ผู้ฟังจะช่วยให้ผู้พูดเตรียมความพร้อมได้สอดคล้อง
กับลักษณะของผู้ฟัง ช่วยให้ผู้ฟังสนใจ และได้รับความรู้เต็มที่ เช่น การวิเคราะห์เกี่ยวกับเพศ อาชีพ การศึกษา
ศาสนา จานวน ทัศนคติ เป็นต้น
2.7 ขาดการใช้สื่อโสตทัศนูปกรณ์ประกอบการพูด เพื่อให้ผู้ฟังเข้าใจได้รวดเร็วชัดเจนมากขึน
2.8 สารที่ฟังมีเนือหายากเกินไป หรือมีความซับซ้อนวกวนไปมาจนก่อให้เกิดความเบื่อหน่าย
2.9 สารไม่เหมาะสมกับวัย เพศ ความสนใจ หรือเจตนารมณ์ของผู้ฟังเท่าที่ควร
2.10 สารไม่เหมาะสมกับเวลา สถานการณ์
3. อุปสรรคที่เกิดจากสภาพแวดล้อม ในบางครังอาจพบว่า สิ่งที่อยู่รอบตัวผู้พูดและผู้ฟังมีส่วนสาคัญที่
ทาให้การฟังไม่ราบรื่น หรือได้ผลเท่าที่ควร เนื่องจาก
3.1 สถานที่ฟังมีบรรยากาศไม่เหมาะสม เช่น อากาศร้อนอบอ้าวเกินไป มีเสียงดังรบกวน หรือห้อง
แคบเกินไป และมีกลิ่นไม่ดี เป็นต้น
3.2 แสงสว่างในห้องที่พูดไม่เพียงพอ
3.3 อากาศถ่ายเทไม่สะดวก ทาให้ผู้ฟัง และผู้พูดอึดอัด หายใจไม่สะดวกในการรับรู้
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 99

3.4 เครื่องมือทางอิเล็กทรอนิกส์ เกิดขัดข้อง หรือขาดประสิทธิภาพ เช่น ไมโครโฟน ปลั๊กไฟ เครื่อง


ฉายภาพข้ามศีรษะ เครื่องวิทยุโทรทัศน์ เครื่องฉายภาพวีดิทัศน์ เป็นต้น

แนวทางการแก้ปัญหาในการฟัง
ก่อนจะแก้ไขข้อบกพร่องที่เป็นปัญหาอุปสรรคในการฟัง ควรจะได้มีการสารวจเสียก่อนว่าข้อบกพร่อง
หรืออุปสรรคนัน ๆ เกิดจากสาเหตุใด แล้วแก้ไขตามสาเหตุนัน ๆ ดังตัวอย่างแนวทางแก้ไขด้านต่าง ๆ ดังนี
1. การแก้ ไ ขข้อ บกพร่ อ งเกิ ด จากตั ว ผู้ ฟั ง ควรปรั บ ปรุง ผู้ ฟั ง โดยการฝึ ก ทั กษะการฟั ง ให้ เ ป็ นผู้ รู้ จั ก
การฟังเป็น การฟังอย่างมีประสิทธิภาพ ได้แก่
1.1 ถ้าผู้ป่วยก็ไม่ควรเข้าฟัง
1.2 ถ้าไม่มีพืนความรู้เกี่ยวกับเรื่องที่ฟัง ก็ควรหาหนังสือเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังเพิ่มเติม หรือไต่ถามผู้รู้
1.3 ใช้อุปกรณ์ช่วยในการฟัง เช่น สมุด ปากกา แถบบันทึกเสียง เครื่องบันทึกเสียง
1.4 ถ้าฟังแล้วจับใจความไม่ได้ ต้องแก้ไขด้วยการหัดฟังให้มากขึน
1.5 ต้องฝึกตนเองให้มีความอดทน อดกลัน ในการฟังให้ได้
2. การแก้ไขข้อบกพร่องที่เกิดจากขาดมารยาท ควรฝึกมารยาทการฟัง เริ่มตังแต่ในสังคมเล็ก ๆ คือ
ครอบครัว เพื่อน การเริ่มต้นฝึกมารยาทการฟังทีละเล็กทีละน้อย ก็ช่วยให้เป็นนักฟังที่ดี มีมารยาทที่ดีครบถ้วนได้
อย่างแน่นอน
3. การแก้ไขข้อบกพร่องเกิดจากตัวผู้พูด ได้แก่
3.1 ในกรณี เ ลื อ กผู้ พู ด ผู้ บ รรยายได้ ก็ ค วรพิ จ ารณาเลื อ กผู้ พู ด ผู้ บ รรยายที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ
ประสิทธิผล โดยการหาข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ
3.2 ผู้ พู ด ต้ อ งประเมิ น ผลการพู ด ของตั ว เองเสมอ เพื่ อ จะได้ ป รั บ ปรุ ง พั ฒ นาการพู ด ได้ อ ย่ า งมี
ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อผู้ฟังอย่างแท้จริง และเป็นแบบอย่างที่ดีของผู้ฟังได้ด้วย
4. ควรเลือกเรื่องให้เหมาะสมกับผู้ฟัง มีจุดมุ่งหมายของเรื่องที่ตรงตามความต้องการของผู้ฟัง
5. จัดสภาพแวดล้อม บรรยากาศในการฟังให้ดี เหมาะสม เช่น ใช้ห้องที่มีขนาดเหมาะสมกับจานวนผู้ฟัง
มีแสงสว่างเพียงพอ อากาศถ่ายเทได้สะดวก อากาศเย็นสบาย กาจัดสิ่งรบกวนให้มีน้อยที่สุด เป็นต้น
6. จั ดเตรี ย มเครื่ อ งมื ออิ เล็ กทรอนิ ก ส์ ใ ห้ ใ ช้ง านได้ อย่ างมีป ระสิ ท ธิภ าพ ก่ อนการพู ดควรตรวจสอบ
เครื่องมือว่าสามารถใช้งานได้หรือไม่ ควรปรับปรุงซ่อมแซมให้พร้อมในการพูดทุกครัง
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 100

บทที่ 6
การพัฒนาทักษะการอ่าน

การอ่านเป็นปัจจัยสาคัญที่ใช้แสวงหาความรู้และความบันเทิง การอ่านทาให้รู้ข่าวสารข้อมูลต่าง ๆ ได้


อย่างกว้างขวางทั่วโลก โลกของข้อมูลข่าวสารในปัจจุบันทาให้ผู้อ่านมีจินตนาการกว้างไกล ทันสมัย ทันต่อ
เหตุการณ์ การอ่านเป็นทักษะที่จาเป็นอย่างยิ่งนามาซึ่งประโยชน์เพื่อพัฒนาตนเอง พัฒนาการศึกษา พัฒนาอาชีพ
พัฒนาคุณภาพชีวิต ผู้ที่มีนิสัยรักการอ่านและมีทักษะการอ่านดีจะสามารถแสวงหาความรู้และศึกษาเล่าเรียนได้
อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถนาความรู้ที่ได้จากการอ่านไปใช้ในการพูดและการเขียนได้ โดยเฉพาะผู้ที่อยู่ในวัย
ศึกษาเล่าเรียนการอ่านนับว่าเครื่องมือสาคัญในการแสวงหาความรู้

ความหมายของการอ่าน
การอ่านเป็นกระบวนการรั บสารจากลายลักษณ์อักษรมาแปลเป็นความรู้ความเข้าใจโดยผ่านการคิด
ประสบการณ์ ความเชื่อ เพื่อพัฒนาตนเองด้านสติปัญญา อารมณ์ และทางสังคม สิ่งสาคัญคือความเข้าใจในการ
อ่าน
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช 2542 (2546: 1364) ให้ความหมายของคาว่า “อ่าน”
ไว้ว่า ว่าตามตัวหนังสือถ้าออกเสียงด้วยเรียกว่าอ่านออกเสียง ถ้าไม่ออกเสียงเรียกว่า อ่านในใจ สังเกตหรือ
พิจารณาดูให้เข้าใจ เช่น อ่านสีหน้า อ่านริมฝีปาก อ่านใจ”
ศิริพร ลิมตระการ (2543: 5) ได้กล่าวว่าการอ่านคือ กระบวนการแห่งความคิด ในการรับสารเข้าใน
ขณะที่อ่านสมองของผู้ อ่านจะต้องคิดตาม ผู้เขียนหรือตีความข้อความที่อ่าน ไปด้วยตลอดเวลา ผู้ อ่านที่ดีนัน
จะต้องเข้าใจข้อความที่ตนอ่านได้อย่างรวดเร็วและถูกต้อง
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมมาธิราช (2541: 5) กล่าวถึงความหมายของการอ่านไว้ว่า “การอ่านต้องใช้
สมองมากที่สุด และรองลงมาคือประสบการณ์ต่าง ๆ ที่สะสมมาทังประสบการณ์ทางภาษา ประสบการณ์ชีวิต
และประสบการณ์ด้านการอ่านโดยตรง ด้วยเหตุนี คนตาบอดจึงอ่านหนังสือได้ด้วยการสัมผัส”
จากความหมายข้างต้นสรุปได้ว่า การอ่าน คือ กระบวนการทางความคิดในการรับสาร อาศัยการแปล
เพื่อให้เข้าใจความหมายของตัวอักษร สัญลักษณ์ คาศัพท์ สานวน ประโยค และถ้อยคานัน แล้วนาไปใช้ประโยชน์
เพื่อพัฒนาตนเอง ทังด้านสติปัญญา สังคมและอารมณ์
ทักษะของการอ่านโดยทั่วไปแบ่งได้ 2 ระดับ คือ อ่านได้ กับ อ่านเป็น “อ่านได้” คือ รับรู้สารที่ผ่าน
ตัวอักษร อ่านออก สะกดคาได้ ออกเสียงได้ ส่วน “อ่านเป็น” คือ เข้าใจเรื่อง จับใจความหรือแนวคิดของเรื่องได้
แสดงความคิดเห็นและประเมินเรื่องที่อ่านได้ เราควรพัฒนาระดับของการอ่านเริ่มตังแต่อ่านได้จนกระทั่งอ่านเป็น
ทังนีเพื่อประโยชน์ที่ได้รับจากการอ่าน
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 101

จุดมุ่งหมายของการอ่าน
การอ่านหนังสือแต่ละครังจะมีจุดประสงค์ที่เกิดขึนตามความต้องการของผู้อ่าน ซึ่งอาจต้องการศึกษา
ค้นคว้าข้อมูล หรืออ่านเพื่อการพักผ่อนหย่อนใจ การอ่านของแต่ละคนมีจุดมุ่งหมายแตกต่างกันออกไป ซึ่งแบ่งได้
ดังนี
1. อ่านเพื่อหาความรู้ การอ่านตามจุดมุ่งหมายนีมีความจาเป็นอย่างยิ่งสาหรับนักศึกษา ได้แก่ การอ่าน
ตาราวิชาการ บทความ สารคดี การวิจัยประเภทต่าง ๆ เพี่อเก็บสะสมความรู้ไว้ใช้ในการเล่าเรียน การเขียน
รายงาน การแสดงความคิดเห็นแลกเปลี่ยนความรู้ โดยจดบันทึกประเด็ นสาคัญที่ได้จากการอ่านลงในบัตรบันทึก
ข้อมูล ควรอ่านอย่างหลากหลาย เพราะความรู้ในวิชาหนึ่ง อาจนาไปช่วยเสริมในอีกวิชาหนึ่งได้นอกจากนียัง
รวมถึงการอ่านเพื่อรู้ข่าวสาร เช่น การอ่านหนังสือพิมพ์ วารสาร ฯลฯ
2. อ่านเพื่อหาคาตอบ เป็นการอ่านที่ต้องการคาตอบ เมื่อเราเกิดความสงสัยและต้องการหาคาตอบใน
เรื่องใดเรื่องหนึ่ง การอ่านหนังสือจะเป็นหนทางหนึ่งให้เราพบคาตอบเหล่านัน การอ่านในลักษณะนีมักอ่านโดยใช้
เวลาสัน ๆ เพื่อสรุปใจความสาคัญที่เด่นเท่านัน เช่น อ่านข่าว อ่านประกาศ อ่านคาแนะนา หรือในสถานการณ์ต่าง ๆ
เช่น หากเราต้องการจะไปเที่ยวเชียงใหม่ เราต้องการทราบข้อมูลว่ามีสถานที่สาคัญที่ใดบ้างที่เราควรไป เข้าพักที่
ไหนเสียค่าใช้จ่ายเท่าใด จะเดินทางอย่างไร ควรใช้เวลาท่องเที่ยวกี่วัน ข้อมูลจากการอ่านนีจะช่วยในการคิด การ
ตัดสินใจของเรา
3. อ่า นเพื่อพัฒนาอาชีพ การอ่านเพื่อแสวงหาความรู้และประสบการณ์ต่าง ๆ สามารถนาความรู้
เหล่านันไปประยุกต์ใช้ในงานอาชีพ พัฒนาปรับปรุงอาชีพของเราให้ดีขึนได้ เช่น เราอ่านคู่มือหรือหนังสือเย็บปัก
ถักร้อยเพื่อศึกษาแบบสินค้าที่แปลกแตกต่างไปจากเดิม แล้วนามาต่อยอดผลิตภัณฑ์สาหรับการตัดเสือผ้า อาจได้
แนวทางใหม่ทไี่ ด้รับความนิยมจากลูกค้ามากขึน สร้างผลกาไรและรายได้มากขึน
4. อ่านเพื่อพัฒนาจิตใจ เป็นการอ่านเพื่อข้อคิดอันเป็นแนวทางในการดาเนินชีวิต ทาให้จิตใจสว่าง
สบาย และสงบมากขึน ได้แก่ หลักปรัชญา การอ่านหนังสือธรรมะ ในสมัยก่อนเราต้องไปฟังเทศน์ ฟังธรรมที่วัด
แต่ในปัจจุบันเราอยู่ที่ไหนเราก็สามารถศึกษาธรรมะได้จากการอ่าน และสามารถปฏิบัติธรรมตามคาแนะนาที่พระ
ผู้ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบท่านเขียนแนะนาไว้ เราจึงสามารถศึกษาพระธรรมและปฏิบัติธรรมได้ทุกที่ ดังที่พระอริยสงฆ์
รูปหนึ่งท่านกล่าวว่า “ทากายเป็นวัด ทาใจให้เป็นพระ”
5. อ่านเพื่อความบันเทิง เป็นการอ่านที่ได้รับความเพลิดเพลิน สนุกสนาน ผ่อนคลายจากความเครียด
หรื อ ความเหนื่ อ ยล้ า เป็ น การหาความสุ ข ความเพลิ ด เพลิ น ที่ ท าได้ ง่ า ยโดยไม่ ต้ อ งเสี ย ค่ า ใช้ จ่ า ยสู ง ได้ แ ก่
การอ่านหนังสือประเภทบันเทิงคดี มีนวนิยาย เรื่องสัน นิทาน วรรณคดี บทกวี เป็นการอ่านในยามว่างเพื่อผ่อนคลาย
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 102

ความสาคัญของการอ่าน
การอ่านมีความสาคัญต่อชีวิตมนุษย์ตังแต่เกิดจนโต และจนกระทั่งถึงวัยชรา การอ่านช่วยเปิดโลกทัศน์
ของผู้อ่านให้กว้างขวางยิ่งขึนได้รับรู้สิ่งใหม่ ๆ ที่อยู่ห่างไกล ได้รับรู้ข้อมูลข่าวสารที่ทั นสมัย ช่วยให้ผู้อ่านเป็นคนที่
ทันโลกทันเหตุการณ์ได้พัฒนาสติปัญญา สะสมประสบการณ์ และสามารถปรับตัวให้เข้ากับโลกที่เปลี่ยนแปลงไป
อย่างรวดเร็ว การอ่านจึงมีความสาคัญ ดังนี
1. เป็นเครื่องมือแสวงหาความรู้ ผู้ที่อยู่ในวัยศึกษาจาเป็นต้องใช้การอ่านเป็นเครื่องมือในการแสวงหา
ความรู้ด้วยตนเองเป็นส่วนใหญ่ การอ่านเป็นเครื่องมือในการหาความรู้ที่มีคุณค่า ดังนี
1.1 ประหยัดเงิน การอ่านเป็นการหาความรู้ที่เสียค่าใช้จ่ายน้อย ผู้อ่านอาจยืมหนังสือจากห้องสมุด
อ่านได้โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายเลย หรือถ้าจะซือหนังสืออ่าน หนังสือเล่ มหนึ่ง ๆ ก็มักมีราคาตังแต่หลักสิบถึงหลัก
ร้อย แต่ก็มักไม่ถึงหลักพัน แต่ผู้อ่านจะได้ความรู้เกินราคาของหนังสือ ผู้เขียนหนังสือนันกว่าจะเขียนหนังสือดี ๆ
ได้สักเล่มหนึ่ง ต้องหาความรู้มากมาย และหาความรู้เป็นระยะเวลายาวนาน เสียเงินทองไปนับไม่ถ้วนกว่าจะมี
ความรู้มากพอที่จะเขียนหนังสือได้สักเล่ม การลงทุนซือหนังสือดี ๆ อ่านด้วยเงินหลักสิบถึงหลักร้อยจึงเป็นการหา
ความรู้ที่ประหยัดเงิน
1.2 ประหยัดเวลา หนังสือเล่มหนึ่ง ๆ ถ้าเราตังใจอ่านอาจจะอ่านจบในเวลา 1 คืน หรืออย่างมาก
1 สั ป ดาห์ เราจึ งได้รั บ ความรู้ ในระยะเวลาอันสั น แต่ผู้ เขียนหนังสื อต้องสะสมความรู้และประสบการณ์เป็น
ระยะเวลาอันยาวนาน กว่าจะมีความรู้มากพอที่จะเขียนเป็นหนังสือดี ๆ ให้เราอ่านได้ การอ่านจึงนับว่าเป็นการ
เรียนรู้ที่ประหยัดเวลาเป็นการเรียนรู้ทางลัด
1.3 สะดวก ไม่ว่าผู้อ่านจะอยู่ที่ใด จะอยู่ในที่ที่มีความเจริญ ที่ห่างไกลทุรกันดารหรืออยู่ในป่า ถ้ามี
หนั งสื อผู้อ่านก็ส ามารถหาความรู้ จากการอ่านได้ และไม่ว่าจะเป็นเวลาใด ขอให้ มีแสงสว่างมากพอที่จะเห็ น
ตัวอักษร ผู้อ่านก็สามารถหาความรู้จากการอ่านได้เช่นกัน ซึ่งต่างจากการหาความรู้ด้วยการฟัง ถ้าไม่มีผู้รู้มาพูดให้
เราฟัง เราก็ไม่มีโอกาสได้รับฟังความรู้นัน
2. เป็นเครื่องมือพัฒนาความคิด สิ่งที่มีคุณค่ามากที่ผู้อ่านจะได้รับจากการอ่าน นอกจากความรู้แล้ว สิ่ง
นันคือความคิดและวิธีคิดผู้เขียนแต่ละคนจะมีความคิดและวิธีคิดที่แตกต่างกัน ถ้าเราอ่านมากก็ยิ่งได้เห็นวิธีคิดที่
หลากหลาย ซึ่ งเราสามารถน ามาพัฒนาความคิดและวิธีคิดของเรานาไปใช้ในการคิด การตัดสิ นใจได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
3. เป็นเครื่องมือพัฒนาบุคลิกภาพ การอ่านทาให้ผู้อ่านเกิดความรอบรู้ กล้าคิดกล้าตัดสินใจ และมี
ความเชื่อมั่นในตนเอง ผู้ที่เชื่อมั่นในตนเองจะมีบุคลิกภาพที่ดี การอ่านจึงมีส่วนช่วยในการปรับปรุงบุคลิกภาพ
4. เป็นเครื่องมือพัฒนาอาชีพ ทุกอาชีพต้องอาศัยการอ่านเพื่อปรับปรุงงานของตนให้ดีขึน แม้แต่อาชีพ
เกษตรกรถ้าขยับอ่านก็จะพบความรู้ใหม่ ๆ ที่นามาช่วยให้ผลผลิตมีคุณภาพมากขึน เพิ่มพูนรายได้มากขึน
5. เป็นเครื่องมือพัฒนาจิตใจ การอ่านหนังสือธรรมะจะช่วยกล่อมเกลาจิตใจของผู้อ่านให้อ่อนโยน สงบ
เย็นขึน เป็นการยกระดับจิตใจให้สูงขึน
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 103

6. ทาให้เกิดความเข้าใจอันดีทางสังคม ผู้ที่รักการอ่านย่อมมีความรอบรู้เรื่องราวที่เกิดขึนในสังคม และ


เรียนรู้ผู้คนต่างอาชีพวัฒนธรรมต่างความเชื่อ จึงทาให้เกิดความเข้าใจโลกเข้าใจผู้คน ไม่ว่าจะพบปะสมาคมกับคน
ประเภทใดก็สามารถเข้าใจและสร้างความสัมพันธ์อันดีต่อกันได้

กระบวนการอ่าน
การอ่านเป็นกระบวนการรับสาร ซึ่งมีขันตอนการเกิดขึนอย่างต่อเนื่องและประสานสัมพันธ์กัน ดังนี
1. สายตามองเห็น ตั วอั กษร หรื อ คนตาบอดสั มผั ส ตั ว อั ก ษรเบรล ผู้ อ่ า นจะต้ องรู้ จัก ตัว อั กษรหรื อ
สัญลักษณ์ต่าง ๆ ที่ปรากฏบนหนังสือนันก่อน แล้วจึงเริ่มสะกดคาประสมอักษร ขันนีเรียกว่าอ่านออก
2. เข้าใจคา สานวน ประโยค การอ่านออกยังไม่เพียงพอ ผู้อ่านต้องเข้าใจความหมายของคา สานวน
ประโยค ตรงตามที่ผู้เขียนต้องการสื่อ ผู้อ่านที่มีประมวลคาศัพท์กว้างขวาง จะเป็นพืนฐานที่ดีในการทาความเข้าใจ
เรื่องที่อ่าน
3. เข้าใจความหมายของสาร ผู้เขียนใช้ภาษาในการถ่ายทอดความคิด ขันตอนนีจึงเป็นขันตอนการทา
ความเข้าใจความคิดของผู้เขียน ซึ่งผู้อ่านต้องอาศัยประสบการณ์ทางภาษา ประสบการณ์ชีวิต ภูมิหลังเกี่ยวกับงาน
เขียน และความรู้ที่สะสมไว้ นามาใช้ทาความเข้าใจความหมายของสาร โดยผ่านกระบวนการทางสมอง
4. มีการตอบสนอง ในขณะที่อ่านถ้าผู้อ่านเห็นด้วยก็จะรู้สึกคล้อยตาม แต่ถ้าผู้อ่านไม่เห็นด้วยก็จะมี
ความคิดโต้แย้ง แต่ถ้าเนือหาไม่ตรงกับความสนใจและรสนิ ยมของผู้อ่าน เนือหายากหรือง่ายเกินไปผู้อ่านก็จะเบื่อ
หน่าย ไม่อยากอ่านไม่อยากติดตามเรื่องราว
5. มีการนาไปใช้ เมื่ออ่านจบผู้อ่านจะได้ความรู้และความคิดเพิ่มขึน บางคนอาจนาไปประสมประสาน
กับความรู้และความคิดเดิม บางคนอาจปรับเปลี่ยนแนวความคิดเดิมสู่แนวความคิดใหม่ที่ได้รับ เพื่อไปใช้ในการคิด
การตัดสินใจในโอกาสต่อไป

องค์ประกอบที่มีผลต่อการอ่าน
ความสามารถในการอ่านมีองค์ประกอบหลายประการเข้ามาเกี่ยวข้อง ดังนี
1. สุขภาพร่างกาย ผู้ที่มีสุขภาพดีพร้อมสมบูรณ์ เช่น สายตาดี สุขภาพแข็งแรง ย่อมมีความพร้อมที่จะ
อ่าน ส่วนผู้ที่มีปัญหาทางสายตา ร่างกายเจ็บป่วย ย่อมมีผลกระทบกับประสิทธิภาพในการอ่าน ทาให้อ่านได้ด้วย
ความยากลาบาก และอ่านได้ในระยะเวลาสัน ๆ
2. ระดับสติปัญญา การอ่านต้องใช้ความสามารถทางสมองในการเข้าใจคา สานวน ประโยค ข้อความ
ความสามารถในการสังเกต วิเคราะห์ จดจา การเชื่อมโยงความคิดความเข้าใจในสิ่งที่เป็นนามธรรม ความสามารถ
ในการตีความ การมีวิจารณญาณ ผู้มีระดับสติปัญญาดีจึงมีความสามารถในการอ่านที่ดี
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 104

3. ประสบการณ์ทางภาษา ผู้อ่านที่มีประมวลศัพท์อยู่ในสมองมาก จะเข้าใจถ้อยคาที่ผู้เขียนต้องการ


สื่อสารได้ดี เพราะบางข้อความมีทังความหมายตรงและความหมายแฝง ที่ต้องอาศัยประสบการณ์ทางภาษาในการ
ตีความ
4. ประสบการณ์ชีวิต คนที่พบเห็นสิ่งต่าง ๆ มามากย่อมเข้าใจชีวิตเข้าใจผู้คนในสังคม จึงเป็นพืนฐานให้
เข้าใจและตีความสารที่อ่านได้ง่ายขึน
5. การมีสมาธิ คนที่มีสมาธิต่อเนื่องทาให้อ่านหนังสือได้ ยาวนาน และจดจ่อกับสิ่งที่อ่าน เป็นผลทาให้
เกิดความเข้าใจเรื่องได้อย่างต่อเนื่อง จดจาเรื่องได้ดี อ่านแล้วไม่ต้องกลับมาอ่านทวนซา
6. การรู้จักรูปแบบของงานเขียน ผู้แต่งจะเลือกใช้รูปแบบของงานเขียนให้สอดคล้องกับเนือหาที่จะ
นาเสนอ และการอ่านงานเขียนที่มีรูปแบบต่างกัน ก็มีวิธีอ่านที่แตกต่างกันไปด้วย เช่น การอ่านนิราศ ผู้อ่านก็ต้อง
รู้จักการราพันทานองนิราศจึงจะอ่านได้อย่างเข้าใจ ความรู้สึกนึกคิดของผู้เขียนและได้รสของความไพเราะอย่าง
เต็มที่
7. การรู้จักวิธีอ่าน การอ่านหนังสือแต่ละประเภทมีวิธีอ่านที่แตกต่างกัน เช่น อ่านหนังสือพิมพ์อาจใช้วิธี
อ่านอย่างผ่าน ๆ การอ่านบทความต้องอ่านอย่างวิเคราะห์ การอ่านวรรณคดีต้องใช้จินตนาการและบางครังต้อง
อ่านออกเสียงเพื่อให้ได้รสไพเราะของรสคาที่มีเสียงสัมผัส คล้องจองกัน

ประเภทของสาร
การอ่านผู้อ่านควรรู้จักประเภทของสาร เพื่อเป็นแนวทางในการอ่าน ทาให้เข้าใจสารได้ง่ายขึน การแบ่ง
สารตามรูปแบบงานประพันธ์แบ่งเป็น 4 ประเภท ดังนี
1. เรื่องแต่ง (Fiction) คือ เรื่องที่แต่งขึนตามจินตนาการเป็นเรื่องสมมุติ แม้บางเรื่องจะนาเค้าโครงจาก
เรื่องจริงมาแต่ง ก็จะต่อเติมเสริมแต่งให้เรื่องสนุกสนานมีรสชาติชวนอ่าน โดยมุ่งความเพลิดเพลินของผู้อ่านเป็น
สาคัญ ตาราบางเล่มเรียก “บันเทิงคดี” ได้แก่ นิยาย นิทาน นวนิยาย เรื่องสัน
นิยาย นิทาน เป็นเรื่องเล่าสืบต่อกันมามีมาแต่โบราณ ตัวละครสาคัญมักเป็นบุคคลสูงศักดิ์ มีฤทธิ์
อภินิหาร สมมติขึนเพื่อความบันเทิงไม่จากัดวิธีนาเสนอจะเป็นร้อยแก้วอย่างนิทานชาดกหรือนิทานพืนบ้านก็ได้
เนือหาและเหตุการณ์ในเรื่องมักมีลักษณะเกินจริง
นวนิยาย (Novel) บันเทิงคดีร้อยแก้วแนวใหม่รับอิทธิพลมาจากตะวันตก นวนิยายเป็นบทประพันธ์
ร้อยแก้วขนาดยาวที่แต่งขึนเพื่อความบันเทิง โดยสมมติตัวละคร เหตุการณ์ โครงเรื่อง และสถานที่เพื่อให้เกิดความ
สมจริง มีเนือหาและพฤติกรรมของตัวละคร (characters) มีบทสนทนา และบรรยายเหตุการณ์อย่างปุถุชนทั่วไป
เรื่องสัน (Short story) มีลักษณะคล้ายนวนิยาย แต่มีขนาดสัน มีตัวละครน้อย ฉากน้อย ดาเนินเรื่อง
รวดเร็ว มักจบแบบพลิกความคาดหมายหรือแบบทิงไว้ให้คิด
2. เรื่องจริง (Non-fiction) เป็นเรื่องที่เรียบเรียงเขียนขึนโดยอาศัยข้อเท็จจริง ประสบการณ์ หรือเป็น
ข้อมูลที่ศึกษาค้นคว้าทดลอง มีเอกสารหรือหลักฐานอ้างอิง และอาจมีความคิดเห็นของผู้เขียนประกอบ เป็นสารที่
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 105

มุ่งให้ความรู้ ความคิด มีจุดประสงค์เพื่อมุ่งให้สาระความรู้แก่ ผู้อ่านเป็นสาคัญ ได้แก่ บทความ บทวิจารณ์ สารคดี


บทสัมภาษณ์ ตารา ปาฐกถา บทอภิปราย พงศาวดาร ปกิณกะ ฯลฯ
3. บทละคร (Drama) บทประพันธ์ที่เขียนขึนเพื่อนาเสนอเรื่องราวความคิดของผู้ประพันธ์ต่อผู้ชมใน
รูปแบบของการแสดง ได้แก่ บทละครร้อง บทละครรา บทละครพูด บทละครวิทยุ บทละครโทรทัศน์ ฯลฯ
4. บทร้ อยกรอง (Poetry) เป็ น งานประพันธ์ที่ มีลั กษณะการแต่งเป็นพิเ ศษไปจากร้อ ยแก้ว มีการ
กาหนดจานวนคาในวรรค บท และบาท สัมผัสเอกโท ข้อกาหนดเหล่านี เรียกว่า “ฉันทลักษณ์” ร้อยกรองอาจ
แบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ ร้อยกรองยุคเก่าและร้อยกรองยุคใหม่
ร้อยกรองยุคเก่า แต่งด้วยคาประพันธ์ประเภทโคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน ร่าย ลิลิต กาพย์ห่อโคลง
เนือหามีขนาดยาว เลือกสรรคาที่ไพเราะใช้ในการประพันธ์ และเคร่งครัดในฉันทลักษณ์ ยึดธรรมเนียมนิยมในการ
แต่ง เช่น เมื่อเปิดเรื่องจะเริ่มด้วยบทไหว้ครู สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย สดุดีพระมหากษัตริย์ ชมบ้านชมเมือง ร้อย
กรองยุ ค เก่ า ได้ แ ก่ ลิ ลิ ต พระลอ ทวาทศมาส นิ ร าศหริ ภุ ญ ชั ย ขุ น ช้ า งขุ น แผน ก าสรวลศรี ป ราชญ์
สามกรุง ฯลฯ
ร้อยกรองยุคใหม่ นิยมแต่งด้วยคาประพันธ์ที่แต่งง่าย เช่น กาพย์ กลอน บทประพันธ์มีขนาดสัน
อ่านจบในเวลาอันรวดเร็ว ไม่เคร่งครัดฉันทลักษณ์ มุ่งเน้นสื่อความคิดของผู้เขียนเป็นสาคัญ

ประเภทของการอ่าน
การอ่านแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
1. การอ่านในใจ เป็นทักษะที่ใช้มากในชีวิตประจาวันเพื่อทาความเข้าใจเนือเรื่องที่อ่าน และสามารถเก็บ
ใจความจากเรื่องที่อ่านได้ เป็ น การแสวงหาความรู้ความบันเทิงให้ แก่ตนเอง ผู้ อ่านควรฝึ กฝนการอ่านอย่าง
สม่าเสมอเพื่อประสิทธิภาพในการอ่าน มีสมาธิ รับรู้ความหมายถ้อยคาจนเกิดความเข้าใจเนือเรื่องได้ตลอด
2. การอ่านออกเสียง การเปล่งเสียงตัวอักษรให้ถูกต้อง กระบวนการถ่ายทอดความเข้าใจของเรื่องที่อ่าน
ออกมาเป็นเสียงให้ผู้อื่นฟัง การอ่านออกเสียงธรรมดาผู้อ่านจะต้องระวังควบคุมการออกเสียง ตัวสะกด ตัวควบ
กลา ลีลา จังหวะ วรรคตอนให้ถูกต้อง การอ่านออกเสียงแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ อ่านออกเสียงปกติ และอ่าน
ทานองเสนาะ
2.1 การอ่านออกเสียงปกติ อ่านได้ทังร้อยแก้วและร้อยกรองควรปฏิบัติดังนี
2.1.1 อ่านออกเสียงให้ถูกต้อง อ่านให้ถูกต้องตามอักขรวิธี คาบางคาอ่านตามความนิยม
ผู้อ่านจะต้องทราบหลักเกณฑ์ต่าง ๆ ในการอ่านคาต้องหมั่นสังเกตการอ่านของผู้อื่น คาใดควรอ่านอย่างไร ถ้าไม่
แน่ใจควรใช้พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานช่วยตัดสินการอ่าน เช่น
การอ่านอักษรควบ – อักษรนา
อักษรควบ มี 2 ชนิด คือ อักษรควบแท้และอักษรควบไม่แท้
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 106

อักษรควบแท้ อ่านออกเสียงพยัญชนะทัง 2 ตัวควบกันไป เช่น กรอง กราบ กราน


กลม เกลา
อักษรควบไม่แท้ อ่านได้ 2 แบบ คือ
1. อ่านออกเสียงพยัญชนะตัวหน้าตัวเดียว เช่น จริง สร้าง เสริม แสร้ง ไซร้
2. อ่านออกเสียง ทร เปลี่ยนเป็น ซ เช่น ทราม ทราย ทรุดโทรม ทรัพย์ ทราบ
อักษรนา อ่านได้ 2 แบบ คือ
1. อ่านออกเสียงเป็น 2 พยางค์ พยางค์หน้าอ่านออกเสียงเหมือนมี สระอะ พยางค์
หลังอ่านออกเสียงตามสระที่ประสมอยู่ และถ้าพยัญชนะตัวหลังเป็นอักษรเดี่ยวต้องออกเสียงวรรณยุกต์ตามตัว
หน้า เช่น ตลาด อ่านว่า ตะ - หลาด ถ้าพยัญชนะตัวนาเป็นอักษรต่าหรือพยัญชนะตัวหลังไม่ใช่อักษรเดี่ยวจะอ่าน
ออกเสียงตามสระที่ประสมอยู่และจะไม่เปลี่ยนแปลงเสียงวรรณยุกต์ตามตัวหน้าเช่น ผกา อ่านว่า ผะ – กา
2. อ่านออกเสียงเป็นพยางค์เดียว ไม่ต้องออกเสียงเป็นพยัญชนะตัวนา ถ้า ห นาอักษร
เดี่ยว หรือ อ นา ย เช่น หญ้า ไหน อย่า อยู่ อย่าง อยาก
การอ่านคาสมาส
คาสมาส คือ คาบาลีสันสกฤตตังแต่ 2 คาขึนไปมาประสมให้เป็นคาเดียวกัน ถ้าท้ายคา
แรกมีสระอะ เมื่อประสมคาแล้ว ให้ตัดสระทิงไป แต่ถ้าเป็นสระอื่นให้คงสระนันไว้ เช่น พละ + ศึกษาเป็นพล
ศึกษา ประวัติ + ศาสตร์ เป็น ประวัติศาสตร์ การอ่านออกเสียงคาสมาส ถ้ากลางคามีสระให้อ่านออกเสียงสระนัน
ด้ว ย เช่น เกีย รติคุณ อ่ านว่า เกีย ด – ติ –คุน แต่ถ้ากลางค าไม่มีส ระให้ อ่านออกเสี ยงเหมือนมี ส ระอะ เช่ น
เกษตรศาสตร์ อ่านว่า กะ – เสด –ตระ – สาด
ตัวอย่างการอ่านคาสมาส
แพทยศาสตร์ อ่านว่า แพด – ทะ – ยะ – สาด
เกียรติภูมิ อ่านว่า เกียด – ติ – พูม
ราชธิดา อ่านว่า ราด – ชะ – ทิ – ดา
กรณียกิจ อ่านว่า กะ – ระ – นี – ยะ – กิด
สังคมวิทยา อ่านว่า สัง – คม – มะ – วิด – ทะ – ยา
สถานภาพ อ่านว่า สะ – ถา – นะ – พาบ
ศีลธรรม อ่านว่า สีน – ละ – ทา
ยมบาล อ่านว่า ยม – มะ – บาน
มาตรฐาน อ่านว่า มาด – ตระ – ถาน
พืชมงคล อ่านว่า พืด – ชะ – มง – คน
ปฐมเหตุ อ่านว่า ปะ – ถม – มะ –เหด
ปัจฉิมวัย อ่านว่า ปัด - ฉิม – มะ – ไว
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 107

กุศลกรรม อ่านว่า กุ – สน – ละ – กา
อดีตกาล อ่านว่า อะ – ดีด – ตะ – กาน
ทัณฑสถาน อ่านว่า ทัน – ทะ สะ – ถาน
การอ่านเรียงพยางค์
การอ่านเรียงพยางค์ คือ การอ่านตามอักขรวิธีของบาลีสันสกฤต หมายถึง การอ่าน
ออกเสียงสระ อะ ในพยางค์ที่ไม่มีสระ อะ กากับ และพยางค์นันไม่ใช่ตัวสะกดหรือตัวควบกลา เช่น
อรหันต์ อ่านว่า อะ – ระ – หัน
สมาทาน อ่านว่า สะ – มา – ทาน
สมาคม อ่านว่า สะ – มา – คม
สมานฉันท์ อ่านว่า สะ – มา – นะ – ฉัน
การอ่านคาพ้องรูป
คาพ้องรูป คือคาที่สะกดเหมือนกัน อ่านออกเสียงต่างกันและความหมายต่างกัน เช่น
สระอ่านว่า สะ หมายถึง บ่อนา ถ้าอ่านว่า สะ – หระ หมายถึง ตัวอักษร
ตัวอย่างคาพ้องรูป
ปรัก อ่านว่า ปฺรัก (เงิน)
ปะ – หรัก (หักพัง)
กรี อ่านว่า กฺรี (กระดูกที่หัวกุ้ง)
กะ – รี (ช้าง)
เพลา อ่านว่า เพฺลา (ตัก)
เพ – ลา (เวลา)
พลี อ่านว่า พฺลี (ขอแบ่งเอามา)
พะ – ลี (การบวงสรวง)
แหน อ่านว่า แหนฺ (หวง)
แหฺน (พืช)
เสลา อ่านว่า สะ – เหลา (งาม)
เส – ลา (ภูเขา, หิน)
แขม อ่านว่า ขะ – แม (คนเขมร)
แขม (พรรณไม้ชนิดหนึ่ง)
พยาธิ อ่านว่า พะ – ยาด (สัตว์)
พะ – ยา – ทิ (ความเจ็บไข้)
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 108

ปรามาส อ่านว่า ปรา – มาด (ดูถูก)


ปะ – รา – มาด (การจับต้อง)
ตนุ อ่านว่า ตะ – หนุ (ชื่อเต่าทะเล)
ตะ – นุ (ตน, ตัว)
การอ่านตัว ฤ
ตัว ฤ ออกเสียงเป็น 3 อย่าง คือ เป็นเสียง ริ รึ เรอ มีหลักดังนี
1. อ่านเป็นเสียง ริ ถ้าประสมกับ ก ต ท ป ศ ส
เช่น กฤษฎีกา อังกฤษ ตฤณ ทฤษฏี
2. อ่านเป็นเสียง รึ ถ้าประสมกับอักษรตัวอื่น
เช่น มฤตยู นฤมล พฤษภ พฤศจิกายน พฤฒา
3. อ่านเป็นเสียง เรอ เช่น ฤกษ์
การอ่านเครื่องหมาย เช่น
โปรดเกล้าฯ อ่านว่า โปรดเกล้าโปรดกระหม่อม
กระโปรงสีดา ๆ แดง ๆ อ่านว่า กระโปรงสีดาดาแดงแดง
การอ่านตัวเลขบอกเวลา เช่น
9.30 น. อ่านว่า เก้านาฬิกาสามสิบนาที
การอ่านคาย่อ เช่น
จ.ศ. อ่านว่า จุลศักราช
ก.พ. อ่านว่า คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน
กศน. อ่านว่า การศึกษานอกโรงเรียน
การอ่านตัว ฤ ออกเสียง ริ รึ เรอ เช่น
ตฤณ อ่านว่า ตริน
ฤคเวท อ่านว่า รึก – คะ – เวด
ฤกษ์ อ่านว่า เริก
การอ่านตัว “ฉ” อ่านได้ 3 อย่างดังนี้
ออกสียง ฉอ เช่น ฉกษัตริย์ อ่านว่า ฉอ – กะ – สัด
ออกเสียง ฉ้อ เช่น โรงฉทาน อ่านว่า ฉ้อ – ทาน
ออกเสียง ฉะ เช่น ฉกามาวจร อ่านว่า ฉะ – กา –มา – วะ – จอน
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 109

การอ่านตัว “ฑ” อ่านได้ 2 แบบ


แบบที่ 1 ออกเสียงเป็น ด เมื่อเป็นคาตาย เช่น
บุณฑริก อ่านว่า บุน – ดะ – ริก
มณฑป อ่านว่า มน – ดบ
บัณเฑาะว์ อ่านว่า บัน – เดาะ
แบบที่ 2 ออกเสียงเป็น ท มีทังคาตายและคาเป็น เช่น
กุณฑล อ่านว่า กุน- ทน
ขัณฑสีมา อ่านว่า ขัน – ทะ – สี – มา
จัณฑาล อ่านว่า จัน – ทาน
ทัณฑฆาต อ่านว่า ทัน – ทะ – คาด
2.1.2 อ่านให้ชัดเจน ได้แก่ อ่านออกเสียง พยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์ อย่างถูกต้อง ออก
เสียงให้ชัดถ้อยชัดคา เช่น การอ่านออกเสียง ร – ล หรือคาควบกลาชัดเจน
2.1.3 อ่านให้คล่องแคล่วน่าฟัง คือ อ่านให้ชัดเจน ราบรื่น ไม่ติดขัด ไม่ ตะกุกตะกัก ผู้อ่าน
ต้องลองซ้อมอ่านโดยอ่านในใจครังหนึ่งก่อน เพื่อให้รู้เรื่องราวที่อ่าน สามารถเข้าใจบทอ่านอย่างถูกต้อง เพื่อจะได้
ถ่ายทอดเรื่องราวที่อ่านได้อย่างมีประสิทธิภาพ เข้าใจความหมายของคา ถ้อยคาสานวน ความคิดสาคัญของเรื่องที่
อ่านเข้าใจ จึงจะสามารถเว้นวรรคตอนการอ่านให้ถูกต้องตามเรื่องราว สามารถใช้นาเสียงได้น่าฟัง มีการเน้น
ถ้อยคาอย่างถูกต้องสัมพันธ์กับเนือเรื่อง
2.1.4 การอ่านเว้นวรรคตอนให้ถูกต้อง การเว้นวรรคตอนช่วยให้มีจังหวะที่น่าฟัง เป็นสิ่ง
สาคัญในการอ่าน ถ้าอ่านเว้นวรรคผิด ความหมายก็ผิดไปด้วย เช่น
"สาวตากลมนอนตากลมอยู่ริมทะเล" ถ้าเว้นวรรคตอนการอ่านผิดเป็นดังนี “สาวตาก /
ลมมานอนตา / กลมอยู่ริมทะเล” ความหมายจะเปลี่ยนไป
"โรงพยาบาลนีไม่รับผิดชอบของมีค่าของผู้ป่วย" ถ้าเว้นวรรคตอนการอ่านผิดเป็นดังนี
“โรงพยาบาลนีไม่รับผิด / ชอบของมีค่าของผู้ป่วย” ความหมายจะเปลี่ยนไป
การฝึกทักษะการอ่านออกเสียง
คาที่มีพยัญชนะ ร และ ล
รกร้าง รกราก รงรอง ร่องรอย รวนเร
ลนลาน ลดหลั่น ล่วงลับ ไล่เลี่ย ล้อเลียน
รักโรงเรียน ร่างร่วงโรย แรกริเริ่ม รอยรักร้าว เร่งรอนแรม
ละลาบละล้วง ลาเลิศลิ่ว ลืมเล่ห์เหลี่ยม ลัดเล็ดลอด เลินเล่อล้ม
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 110

คาที่มีเสียงควบกล้า
กราดเกรียว ขรุขระ โครกคราก ตรวจตรา ปราดเปรื่อง
กริ่งเกรง ขวักไขว่ พริงพราย พลังเผลอ ปลอดโปร่ง
ฝึกทักษะการอ่านออกเสียงควบกล้าแบบร้อยแก้ว
นายเกรียงไกรคนเจ้าชู้มากชันเชิงชอบทาท่ากรุ้มกริ่ม นายเกรียงไกรเป็นเพื่อนกับนายโกร่ง
นักตะกร้อจากกรุงเทพฯ ทังสองคนชอบใช้มีดคมกริบทาท่ากรีดกรายฉวัดเฉวียนแถวบ่อกุ้งก้ามกราม เมื่อถึงเวลา
เหมาะเหม็งตอนมืดมันควงมีดมาหาคุณกรองทองเจ้ามือขายหวยซึ่งชอบสวมกระโปรงยาวกรอมเท้า เดินกรุยกราย
กรรโชกทรัพย์สินเสียจนสิน คุณกรองทองฮึกเหิมคว้ากระบองขว้างไปถูกที่กระบาลเป็นแผลลึกไปหลายกระเบียด
2.2 การอ่านทานองเสนาะ คือ การอ่านคาประพันธ์ที่เป็นโคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน ร่าย ที่มีฉันทลักษณ์
หรือแบบแผนในการแต่งเฉพาะแบบ เป็นการอ่านออกเสียงกวีนิพนธ์ โดยใส่ ท่วงทานองตามรูปแบบบทกวีนิพนธ์
นั น ๆ มุ่ ง ให้ ผู้ ฟั ง เกิ ด อารมณ์ ค ล้ อ ยตามท านองเสี ย งนั น ได้ รั บ รสไพเราะของถ้ อ ยค าที่ เ รี ย บเรี ย งอย่ า ง
มีศิลปะ
1. อ่านออกเสียงปกติ คือ การอ่านเหมือนเสียงพูดธรรมดา ชัดเจน ถูกต้อง คล่องแคล่ว
กลอนแปด แบ่งจังหวะดังนี
พอแดดพริม ยิมพราย กับชายฟ้า โลกก็จ้า แจ่มหวัง ด้วยรังสี
หยาดอรุณ อุ่นหล้า เหมือนอารี แพรรพี ห่มภพ อบหนาวคลาย
(จินตนา ปิ่นเฉลียว: รุ่งอรุณแห่งหัวใจ)

กาพย์ยานี 11 แบ่งจังหวะดังนี
เรื่อยเรื่อย มาเรียงเรียง นกบินเฉียง ไปทังหมู่
ตัวเดียว มาพลัดคู่ เหมือนพี่อยู่ ผู้เดียวดาย
(กาพย์เห่เรือ)

กาพย์ฉบัง 16 แบ่งจังหวะดังนี
กลางไพร ไก่ขัน บรรเลง ฟังเสียง เพียงเพลง
ซอเจ้ง จาเรียง เวียงวัง
(กาพย์พระไชยสุริยา)
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 111

โคลงสี่สุภาพ แบ่งจังหวะดังนี
เสียงลือ เสียงเล่าอ้าง อันใด พี่เอย
เสียงย่อม ยอยศใคร ทั่วหล้า
สองเขือ พี่หลับใหล ลืมตื่น ฤๅพี่
สองพี่ คิดเองอ้า อย่าได้ ถามเผือ
(ลิลิตพระลอ)

โคลงสองสุภาพ แบ่งจังหวะดังนี
รอยรูปอินทร์ หยาดฟ้า มาอ่าองค์ ในหล้า
แหล่งให้ คนชม แลฤๅ
(ลิลิตพระลอ)

อินทรวิเชียรฉันท์ 11 แบ่งจังหวะดังนี
บงเนือ ก็เนือเต้น พิศะเส้น สรีร์รัว
ทั่วร่าง และทังตัว ก็ระริก ระริวไหว
แลหลัง ก็หลั่งโล หิตโอ้ เลอะหลั่งไป
เพ่งผาด อนาถใจ ระกะร่อย เพราะรอยหวาย
(สามัคคีเภทคาฉันท์)

2. อ่านเน้นเสียงสัมผัส การอ่านบทร้อยกรองจะต้องอ่านเน้นคาตรงที่สัมผัสกันคาประพันธ์
นันจึงจะไพเราะ เช่น
ลาเจียกเอ๋ยเคยชื่นระรื่นรส ต้องจาอดออมระอาด้วยหนาหนามถึงคลองเตย
เตยแตกใบแฉกงาม คิดถึงยามปลูกรักมักเป็นเตย
(นิราศเมืองเพชร)
การอ่านจึงต้องเน้นเสียงสัมผัส รส งาม หนาม งาม ยาม

3. อ่านเอื้อสัมผัส บทร้อยกรองประเภทกลอนกวีนิยมเพิ่มสัมผัสใน เพื่อเพิ่มความไพเราะมาก


ขึน เช่น
คิดถึงบาทบพิตรอดิศร
อ่านว่า อะดิดสอน เพื่อให้สัมผัสกับคาว่า “บพิตร”
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 112

4. การอ่านรวบคา ในพยางค์ ที่เกิน การแต่งคาประพันธ์มีการอนุโลมให้คาที่มีพยางค์หลาย


พยางค์นับเป็น 1 คา เช่น
กระไดเอาอาตมแก้ว พรีเพา ไซ้แม่
เจียรจากบางคลครวญ ใช่น้อย
กระไดเงื่อนเงาเดือน โดยย่าง
นอนนั่งนางพร้อมถ้อย ดุจเดียว
(กาสรวลศรีปราชญ์)
คา “อาตม” ต้องอ่านว่า “อาด” เพราะโคลงสี่สุภาพวรรคที่ 1 ของบาทแรก มีเพียง 5 คา

ระดับของการอ่าน
การอ่านนันมีขันตอนจากง่ายไปหายากขึนอยู่กับประสบการณ์การอ่านของแต่ล ะคนระดับของ และ
เลือกใช้ให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้อ่าน หรือเนือหาสาระที่อ่าน การอ่านแบ่งออกเป็น 4 ระดับ ดังนี
1. การอ่านจับใจความ เป็นการอ่านเพื่อค้นหาสาระของเรื่องที่เป็นส่วนใจความสาคัญที่ผู้เขียนเสนอ
มายังผู้อ่าน และส่วนขยายใจความสาคัญของเรื่อง ใจความสาคัญ หมายถึง ข้อความที่มีสาระคลุมข้อความอื่น ๆ
ในย่อหน้าหรือเรื่องนันทังหมด โดยมีข้อความอื่น ๆ เป็นเพียงส่วนขยายใจความสาคัญเท่านันข้อความหนึ่งหรือ
ตอนหนึ่งจะมีใจความส าคัญที่สุดเพียงหนึ่ งเดียวนอกนันเป็นใจความรอง พลความ หรือส่ วนขยายใจความ
หมายถึง ประโยคที่ช่วยขยายเนือความของใจความสาคัญเพื่อสนับสนุนหรือแสดงตัวอย่าง เพื่อให้ผู้อ่านเกิดความ
เข้าใจมากขึน ซึ่งใน แต่ละย่อหน้าอาจมีพลความอยู่หลาย ๆ ประโยคได้
ประโยคใจความสาคัญอยู่ต้นย่อหน้า
เราโชคดีที่มีภาษาของตนเองแต่โบราณกาล จึงสมควรอย่างยิ่งที่จะรักษาไว้ ปัญหาเฉพาะในด้าน
รักษาภาษานีก็มีหลายประการ อย่างหนึ่งต้องรักษาให้บริสุทธิ์ในทางการออกเสียง คือ ให้ออกเสีย งให้ถูกต้อง
ชัดเจน อีกอย่างหนึ่งต้องรักษาให้บริสุทธิ์ในวิธีใช้ หมายความว่า วิธีใช้คามาประกอบเป็นประโยค นับเป็นปัญหาที่
สาม ปัญหาที่สาม คือ ความร่ารวยในคาของภาษาไทย ซึ่งพวกเรานึกว่าไม่ร่ารวยพอ จึงต้องมีการบัญญัติศัพท์ใหม่
มาใช้
(พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานเนื่องใน
วันภาษาไทยแห่งชาติ วันที่ 29 กรกฎาคม 2543)

ประโยคใจความสาคัญอยู่กลางย่อหน้า
การที่จะเป็นผู้ฟังที่ดีได้นันจะต้องมีการฝึกฝนจนเรียนรู้ ฉะนันครูจึงเป็นผู้ที่มีโอกาสดีกว่าคนอื่น ๆ
ในการฝึกนิสัยการฟังที่ดีให้แก่เยาวชนที่จะเป็นผู้นาของชาติในอนาคตครูไม่ควรมองข้ามความสาคัญของการฟังไป
ควรระลึกไว้เสมอว่า การฟังมีความสาคัญเท่าๆ กับการพูด การอ่านและการเขียน ถ้าผู้ฟังรู้จักฟังแล้วการฟังก็
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 113

จะมีประโยชน์มาก แต่ถ้าผู้ฟังไม่รู้จักการฟัง ผู้ฟังก็จะไม่ได้รับผลอะไรเลย แต่ในทางตรงกันข้ามบางครังก็อาจจะมี


โทษอันร้ายแรงเกิดขึนอีกด้วย
ประโยคใจความสาคัญอยู่ท้ายย่อหน้า
ผู้พูดที่ดีในการพูดต่อที่ประชุมชน ต้องทาอย่างใดอย่างหนึ่งให้ผู้ฟังแต่ละคนรู้สึกว่า ผู้พูดที่กาลังพูด
กับตนเป็นการส่วนตัว คือ พูดอะไรก็ตามแต่ละคนจะรู้สึกว่า ผู้พูดกับผู้ฟังคนนั นเท่านัน ทาให้เกิดเป็นกันเองและ
ใกล้ชิด…….การพูดนาน ๆ ไม่ได้หมายความว่าพูดเก่ง คนที่พูดโดยใช้เวลาพอสมควรกับเรื่องที่จะพูดและสามารถ
ทาให้ผู้ฟังจับใจความได้หรือเข้าใจเรื่องที่พูดโดยตลอดนั่นแหละ ควรกล่าวได้ว่า ผู้พูดนั้นพูดเก่ง
(วาทนิเทศและวาทศิลป์: ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช)

2. การอ่านเชิงวิเ คราะห์ เป็น การอ่านเพื่อพิจารณาแยกแยะเนือหาออกเป็นส่ วน ๆ ทังข้อเท็จจริง


ข้อคิดเห็น หรือความรู้สึกของผู้เขียน และการใช้ภาษา โดยใช้เหตุผลประกอบการพิจารณาอย่างละเอียดรอบคอบ
การอ่านเชิงวิเคราะห์มีแนวทางดังนี
1. พิจารณารูปแบบ เป็นการพิจารณาลักษณะงานเขียนว่าเป็นร้อยแก้วหรือร้อยกรอง และพิจารณา
ประเภทของงานเขียนว่าเป็นสารคดีหรือบันเทิงคดี
2. พิจารณาเนือหา เป็นการพิจารณาและแยกแยะเนือหาของสาร ข้อความใดเป็นใจความสาคัญ
ส่วนขยาย ข้อความใดเป็นข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น หรือเนือหาในส่วนที่แสดงอารมณ์ความรู้สึกของผู้เขียน
3. พิจารณาการใช้ภาษา เป็นการพิจารณาระดับภาษาการใช้คา ประโยค สานวนโวหารและความ
เปรียบเพื่อสื่อความหมายที่ผู้เขียนต้องการ
ตัวอย่างการวิเคราะห์บทร้อยกรอง
ฉันเป็นหนีดอกจาปาของตาพลอย ตังแต่น้อยยังนึกราลึกได้
ขอเล่าสู่คุณครูผู้ร่วมใจ ว่าดอกไม้มีอานาจดลบันดาล
คุณยายฉันท่านพาไปฟังเทศน์ ธรรมวิเศษแสนสุดพุทธบรรหาร
ฉันไม่รู้รสธรรมลาโอฬาร ที่พระท่านเทศนาว่าอย่างไร
เพราะตัวฉันยังเด็กยังเล็กนัก จะรู้จักรสพระธรรมได้ไฉน
ที่ฉันไปฟังเทศน์ทุกคราวไป เพราะฉันอยากได้ดอกจาปาของตาพลอย
ตาพลอยดีมีจาปาบูชาพระ เด็กเด็กจะแย่งกันลาอยู่บ่อยบ่อย
ดอกไม้อื่นดื่นไปมีไม่น้อย แต่ไม่ค่อยถูกใจใช่จาปา
เด็กรุ่นฉันพากันไปฟังเทศน์ ก็เพราะเหตุอย่างเดียวจะเทียวหา
ดอกไม้ของตาพลอยเพื่อคอยลา ต่างตังท่าแย่งกันทุกวันไป
ดอกจาปาล่อใจให้เป็นเหตุ คงไปฟังเทศน์หาหยุดไม่
ยิ่งนานวันพลันค่อยเจริญวัย ยิ่งเข้าใจธรรมซึงขึนทุกที
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 114

พุทธประวัติชาดกท่านยกมาอ้าง ความคิดกว้างเห็นงามตามวิถี
รสพระธรรมนาใจให้ใฝ่ดี ฉันเป็นหนีดอกจาปาของตาพลอย
(เรื่อง “ดอกจาปาของตาพลอย” ของเจือ สตะเวทิน)

ผลการวิเคราะห์พบว่า กลอนดังกล่าวข้างต้นเต็มไปด้วยคุณค่าด้านเนือหาสาระ แนวความคิด


และกลวิธีนาเสนอ ลักษณะคาประพันธ์เป็นกลอนสุภาพ ๗ บท มีเนือหาเป็นเรื่องราวในวัยเด็กของผู้เขียน เล่าถึง
การตามคุณยายไปฟังเทศน์ เพราะอยากได้ดอกไม้ คือ ดอกจาปา ครันไป ฟังเทศน์บ่อยเข้าทาให้เข้าใจคาสอน
ต่าง ๆ จึงเจริญเติบโตขึนมาเป็นคนดี นับได้ว่า ดอกจาปาเป็นดอกไม้ที่มีคุณค่าต่อชีวิต ด้านเนือหาพบว่า กล่าวถึง
ความดีของรสพระธรรมคาสอน และให้ข้อเตือนใจแก่ผู้อ่านคือไม่ให้มองข้ามสิ่งเล็ก ๆ น้อย ๆ ที่ช่วยให้เราได้รับ
ผลตอบแทนในทางที่ดีงาม ความคิดและเนือหาสาระของเรื่องเตือนใจจึง นับว่ามีคุณค่าต่อผู้อ่านเป็นอย่างมาก
ตัวอย่างการวิเคราะห์งานเขียนประเภทบทความ
การพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง มีรากฐานมาจากหลักการเรื่องทางสายกลางและหลัก
ความไม่ประมาท หลักเศรษฐกิจพอเพียงประกอบด้วย 4 คุณลักษณะ คือ 1. ความพอประมาณ หมายถึง ความ
พอดีที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่น การผลิตและการบริโภคที่อยู่ใน
ระดับพอประมาณ 2. ความมีเหตุผล หมายถึง การกระทาในเรื่องหลักการ ความพอเพียงนันจะต้องเป็นไปอย่างมี
เหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องตลอดจนคานึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึนจากการกระทานัน ๆ อย่าง
รอบคอบ การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ
ที่เกิดขึนโดยคานึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่ าง ๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึนในอนาคตทังใกล้และไกล 3. หลัก
เศรษฐกิจพอเพียงนันนาไปสู่กระบวนการตัดสินใจ และดาเนินการให้อยู่ในระดับพอเพียงนันกระบวนการดังกล่าว
ต้องประกอบด้วยพืนฐาน 2 ประการ ใช้ความรู้ประกอบด้วยความรู้รอบตัวเกี่ยวกับวิชาการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
อย่างรอบด้าน ความรอบคอบที่จะนาความรู้เหล่านันมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกันเพื่อประกอบการวางแผนและ
ความระมัดระวังในขันปฏิบัติ 4. การมีคุณธรรมที่จะต้องเสริมสร้าง ประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มี
ความซื่อสัตย์สุจริตและมีความอดทน มีความ เพียรใช้สติปัญญาในการดาเนินชี วิตการตัดสินใจ ซึ่งกระบวนการ
ตัดสินใจและดาเนินการดังกล่าวจึงนาไปสู่การพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืนทังในด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม
ความรู้และเทคโนโลยี
(คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง
สานักคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ)
จากบทความดังกล่าวข้างต้นพบว่า มีเนือหาสาระอันเป็นแนวทางในการดาเนินชีวิตมีข้อคิด คติ
สอนใจเรื่องความพอเพียง ความพออยู่ พอกิน ตามหลักของพระพุทธศาสนา คือ การปฏิบัติใน ทางสายกลาง
เศรษฐกิจพอเพียง เป็นหลักปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานแก่ปวงชนชาวไทยทุกหมู่เหล่า
และกาลังได้รับความสนใจอย่างกว้างขวาง เมื่อรู้จักพอแล้วจิตใจก็ เป็นสุข ถ้าใจเป็นสุขก็จะไม่เบียดเบียนตน
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 115

และคนอื่น จุดมุ่งหมายและนาเสียงของผู้เขียนมุ่งแนะนา สั่งสอน ต้องการให้ผู้คนรับรู้ และตระหนักถึงความพอดี


พอเพียง คุณค่าจากบทความดังกล่าวก่อให้เกิดความจรรโลงใจแก่ผู้อ่าน รู้สึกตระหนักรู้ และควรค่าในการนาไป
ปฏิบัติได้เป็นอย่างดี

3. การอ่า นตี ค วาม การอ่านตีความ หมายถึง การอ่านที่ใช้ ส ติปัญญาพิจารณาความหมายของ


คา ข้อความ ที่มีความหมายโดยนัย หรือความหมายแฝงที่ผู้ เขียนต้องการสื่อความหมาย ความคิดสาคัญของ
เรื่อง ความรู้สึก และอารมณ์สะเทือนใจจากบทประพันธ์ ซึ่งอาจเข้าใจได้มากน้อยลึกซึงเพียงใด ตรงกันกับ
ผู้ประพันธ์หรือไม่ หรือผู้อ่านคนอื่น ๆ หรือไม่ ขึนอยู่กับความสามารถและประสบการณ์เดิมและความรู้สึกของ
ผู้อ่านแต่ละคน การตีความของทุกคนอาจไม่ตรงกันเสมอไปโดยในกระบวนการอ่านเพื่อตีความนันผู้อ่านจะต้องใช้
ความรู้ ความสามารถในการแปลความ จับใจความสาคัญ การสรุปความ รวมทังการเปรียบเทียบ ความสัมพันธ์
ของข้อความซึ่งอาจเป็นวัตถุประสงค์ หรือเจตนาที่แท้จริง การอ่านตีความบางครังต้องอาศัยความรู้หรือ
ประสบการณ์ปัจจุบันเป็นเครื่องช่วยตัดสิน
พิทยา ลิมมณี (2537: 16) ได้เสนอสิ่งที่ควรพิจารณาในการตีความดังนี
1. จุดประสงค์หรือเจตนาของผู้เขียน
ผู้เขียนมักตังจุดประสงค์ของตนไว้ว่าจะเขียนเพื่ออะไร ทาไมจึงต้องเขียน หากงานเขียนเรื่องใดที่
ผู้เขียนได้บอกจุดประสงค์ตังแต่แรกก็อาจจะไม่ต้องตี ความแต่อย่างใด แต่หากผู้เขียนมิได้บอกไว้ ย่อมทาให้ผู้อ่าน
ค้นหากันต่อไป
2. สาร
การค้นหาสารสาคัญในงานเขียน ผู้อ่านจาเป็นต้องอ่านทบทวนอย่างรอบคอบ เพราะนักเขียน
บางคนซ่อนเจตนาสารไว้ หากผู้อ่านไม่ทบทวนให้รอบคอบอาจทาให้เกิดความเข้าใจไขว้เขวได้
3. นาเสียง
การค้นหานาเสียงของผู้เขียนเป็นการค้นหาความรู้สึกของผู้เขียนในการเขียนเรื่องนัน ๆ ซึ่งเป็น
ความหมายระหว่างบรรทัดที่ผู้เขียนได้แทรกไว้ ผู้เขียนสามารถสังเกตได้จากการใช้ถ้อยคา สานวน ท่องทานองการ
เขียน ซึ่งจะทาให้ผู้อ่านได้รู้จักว่าผู้เขียนเป็นคนเช่นไร และรู้สึกอย่างไรต่อเรื่องที่ตนเองเขียน
นอกจากจุ ดประสงค์หรื อเจตนาของผู้ เขียน สาร และนาเสี ยงแล้ ว สิ่ งที่ควรพิจารณาในการอ่าน
ตีความอีกประการหนึ่งคือ การสร้างจินตภาพ ซึ่งจินตภาพเกิดจากการใช้ภาษาในลักษณะต่าง ๆ
ในการอ่านตีความมักปรากฏจินตภาพที่เกิดจากการใช้ภาพพจน์ เช่น อุปมา อุปลักษณ์ อติพจน์
บุคคลาธิษฐาน สัทพจน์ ปฏิภาคพจน์ และสัญลักษณ์ ปรีชา ช้างขวัญยืน (2525: 215) ได้กล่าวถึงภาพพจน์ว่า
เป็นวิธีใช้ภาษาซึ่งคาหรือสานวนที่ใช้มีความหมายไม่ตรงตามตัวหนังสือ การใช้ถ้อยคาลักษณะดังกล่าวทาให้ผู้ฟัง
เกิดจินตภาพหรืออารมณ์บางอย่าง ซึ่งยากแก่การบรรยายด้วยการใช้ภาษาอย่างตรงไปตรงมา
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 116

1. อุปมา (Simile) คือ การเปรียบของสิ่งหนึ่งให้เหมือนหรือคล้ายกับอีกสิ่งหนึ่ง โดยใช้คาเปรียบต่าง ๆ


เป็นคาเชื่อม เช่น กล ดัง ดุจ ประดุจ ประหนึ่ง เล่ห์ ประเล่ห์ เพียง แม้น เหมือน เฉก เช่น ราว ราวกับ เป็นต้น
ตัวอย่าง
“สุวรรณหงส์ทรงภู่ห้อย งอนชดช้อยลอยหลังสินธุ์
เพียงหงส์ทรงพรหมมินทร์ ลินลาศเลื่อนเตือนตาชม”
(บทเห่เรือ: เจ้าฟ้าธรรมธิเบศ)
2. อุปลักษณ์ (Metaphor) เป็นการเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งเป็นอีกสิ่งหนึ่ง เป็นการเปรียบโดยตรงเน้น
ความหมายรุนแรงกว่าอุปมา ในอุปลักษณ์จะมีคาว่า เป็น คือ เช่น ครูคือเรือจ้าง ทหารเป็นรัวของชาติ เป็นต้น
ตัวอย่าง
“โฉมเครือฟ้าอุ้มพาพ่อหนูน้อย ยิมชม้อยเมียงพฤกษาเข้ามาใกล้
ช่างน่าเล่นหน้าเทล้นเป็นมะไฟ พ่อรับลูกไปจูบกอดพลอดล้อ”
(สาวเครือฟ้า: กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์)
จากบทร้องบทนีเป็น การเปรียบเทียบหน้าตาของเด็กที่แดงกับลูกมะไฟที่มีสีแดงโดยใช้คาว่า
“เป็น” เป็นต้น
3. อติพจน์ หรืออธิพจน์ (Hyperbole) หมายถึง การกล่ าวเกินจริง ภาพพจน์ช นิดนีเกิดจาก
ความคิดของกวีที่ต้องการยาความรู้สึกที่มีต่อความหมายนันให้เห็นเป็นเรื่องสาคัญหรือยิ่งใหญ่ กวีมักใช้พรรณนา
อารมณ์ เช่น รัก โศก ให้ผู้ฟังผู้อ่านซาบซึงประทับใจด้วยการใช้ถ้อยคาเกินจริง เช่น ร้อนตับแตก, คอแห้งเป็นผง,
รักคุณเท่าฟ้า เป็นต้น
ตัวอย่าง
เสียเจ้าราวร้าวมณีรุ้ง
มุ่งปรารถนาอะไรในหล้า
มิหวังกระทั่งฟากฟ้า
ซบหน้าติดดินกินทราย
(เสียเจ้า: อังคาร กัลยาณพงศ์)
4. บุ คลาธิษ ฐาน (Personification) เกิดจากการสร้างให้ สิ่ งไม่มีชีวิตแสดงอากั ปกิริยาต่ าง ๆ มี
ความรู้สึกนึกคิดเหมือนกับคน มีชีวิต มีจิตใจเหมือนคน
ตัวอย่าง
“…ความหม่นมัวมืดหม่นบนฟากฟ้า นิมิตว่าเมฆหมองดาวร้องไห้
นาตาเดือนรินหยดรดหัวใจ แกล้งคนใกล้ผิดหวังล้มทังยืน…”
(ความจริงจังต่อชีวิตในหัวใจของผู้แพ้: ไชยยันต์ รัชชกูล)
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 117

5. สัทพจน์ (Onomatopoeia) การใช้คาที่ถ่ายทอดเสียงหรือเลียนเสียงที่เกิดจากธรรมชาติ เช่น


เสียงสัตว์นานาชนิดร้อง เสียงฟ้าร้อง เสียงฝนตก เป็นต้น ทาให้ผู้อ่านเกิดจิตนาการตามที่ผู้เขียนต้องการ
ตัวอย่าง
นาพุพุ่งซ่า ไหลมาฉ่าฉาน
เห็นตระการ มันไหลจ๊อกโครม จ๊อกโครม
มันก็ดังจ๊อก จ๊อก จ๊อก โครม โครม
6. ปฏิภาคพจน์ (Paradox) การกล่าวถ้อยคาแสดงความหมายที่คล้ายจะขัดแย้งกัน ไม่สอดคล้อง
กัน ไม่น่าจะเป็นไปได้ แต่เมื่อพิจารณาให้ดีจะเป็นคากล่าวที่มีความหมายลีกซึงและกลมกลืนกัน เช่น ชัยชนะของ
ผู้แพ้, แพ้เป็นพระชนะเป็นมาร, เสียงกระซิบแห่งความเงียบ, ป่าคอนกรีต เป็นต้น
ตัวอย่าง
“จาเพื่อลืม ดื่มเพื่อเมา เหล้าเพื่อโลก
สุขเพื่อโศก หนาวเพื่อร้อน นอนเพื่อฝัน
ชีวิตนี มีค่านัก ควรรักกัน
ความฝัน กับความจริง เป็นสิ่งเดียว”
(รุไบยาต: โอมาร์ คัยยาม)
7. สัญลักษณ์ (Symbol) เป็นการเรียกชื่อสิ่งๆหนึ่งโดยใช้คาอื่นมาแทน ไม่เรียกตรง ๆ ส่ วนใหญ่คา
ที่นามาแทนจะเป็นคาที่เกิดจากการเปรียบเทียบและตีความซึ่งใช้กันมานานจนเป็นที่เข้าใจและรู้จักกันโดยทั่วไป
เช่น
สีดา แทน ความตาย ความชั่วร้าย
สีขาว แทน ความบริสุทธิ์
กุหลาบแดง แทน ความรัก
หงส์ แทน คนชันสูง
กา แทน คนต่าต้อย
ดอกไม้ แทน ผู้หญิง
แสงสว่าง แทน สติปัญญา
เพชร แทน ความแข็งแกร่ง ความเป็นเลิศ
แก้ว แทน ความดีงาม ของมีค่า
สุนัขจิงจอก แทน คนเจ้าเล่ห์
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 118

ตัวอย่าง
“หนึ่งคนธรรพ์เป็นทาสบาทมูล ต่าตระกูลดั่งกามาแกมหงส์
ถึงข้าพลัดภัสดามาเอองค์ ก็รักวงศ์เหมราชไม่แกมกา
(กากีกลอนสุภาพ: เจ้าพระยาพระคลัง(หน))
จากบทกลอนข้างต้นเป็นบทที่นางกากีกล่าวต่อว่าพระยาครุฑซึ่งได้กล่าวคาว่า หงส์หรือเหมราช
ซึ่งแทนกับวงศ์ตระกูลอันสูงศักดิ์ของตนและคาว่า กา แทนวงศ์ตระกูลอันต่าชัน เป็นต้น
ตัวอย่างการอ่านตีความ
จะหามณีรัตน์ รุจิเลิศก็อาจหา
เพราะมีวณิชค้า และก็คนก็มั่งมี
ก็แต่จะหาซึ่ง ภริยาและมิตรดี
ผิทรัพยะมากมี ก็มิได้ประดุจใจ
(มัทนะพาธา)
ตีความด้านเนือหา: จะหาอะไรก็หาได้ถ้ามีเงิน แต่เงินมิสามารถจะซือมิตรกับภริยาที่ดีได้
ตีความด้านนาเสียง: เงินมิใช่ของมีค่าจะซือทุกอย่างได้เสมอไป

4. การอ่านประเมินคุณค่า เป็นการอ่านเพื่อตัดสินว่าเรื่องที่อ่านมีความถูกต้องหรือน่าเชื่อถือมากน้อย
เพียงไร มีคุณค่าหรือไม่อย่างไร โดยพิจารณาเนือหา วิธีการนาเสนอและการใช้ภาษา การประเมินจึงต้องไตร่ตรอง
อย่างละเอียดรอบคอบ มีความรู้ด้านข้อมูล หลักเกณฑ์ และเหตุผล
การอ่านเพื่อประเมินคุณค่าสามารถพิจารณาตามประเภทของงานเขียนได้ดังนี
4.1 การอ่านเพื่อประเมินคุณค่าของงานเขียนประเภทสารคดี สารคดี คืองานเขียนที่มุ่งให้ความรู้
เป็นหลักและให้ความเพลิดเพลินเป็นรอง ประเภทของสารคดี เช่น บทความในหนังสือพิมพ์ วารสารวิชาการ สาร
คดีท่องเที่ยว สารคดีชีวประวัติ และจดหมายเหตุ เป็นต้นหากผู้อ่านต้องการอ่านเพื่อประเมินคุณค่าบทความควร
อ่านอย่างน้อย 2 ครัง เพื่อจับใจความ และวิเคราะห์ความมุ่งหมายของผู้เขียนที่ต้องการสื่อมายังผู้อ่าน แล้วจึง
พิจารณาประเด็นต่าง ๆ ได้แก่ประเภทของบทความ จุดมุ่งหมายของผู้เขียน รูปแบบของบทความ เน้น การ
พิจารณาในเนือหาว่า ผู้แต่งเสนอความรู้เรื่องใดมายังผู้อ่าน สารให้ความรู้มากหรือน้อยเพียงใด ผู้เขียนสามารถ
แยกแยะประเมินต่าง ๆ ของเรื่องให้ผู้อ่านได้เข้าใจถึงข้อเด่น ข้อด้อย ของเรื่องได้ชั ดเจนมากน้อยอย่างไรรวมทัง
ข้อมูลมีความถูกต้องน่าเชื่อถือหรือไม่ เป็นเรื่องทันต่อเหตุการณ์หรือไม่อย่างไร
4.2 การอ่านเพื่อประเมินคุณค่าของเรื่องบันเทิงคดี คือ การอ่านที่ผู้อ่านพิจารณาหาคุณค่าของ
วรรณกรรมโดยใช้ความรู้ ความคิด อารมณ์ความรู้สึกของตนเองเป็นเกณฑ์ในการพิจารณาตัดสินประเมินคุณค่า
ของเรื่องบันเทิงคดี โดยผ่านกระบวนการอ่านเชิงวิเคราะห์ตีความองค์ประกอบเรื่อง การวิเคราะห์จากแนวคิดของ
เรื่องที่ผู้เขียนต้องการสื่อมายังผู้อ่าน วิเคราะห์เนือเรื่อง ประกอบด้วย โครงเรื่อง ตัวละคร ฉาก บรรยากาศ บท
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 119

สนทนา วิเคราะห์กลวิธีการแต่ง กลวิธีการตังชื่อเรื่อง กลวิธีการเล่าเรื่อง กลวิธีการดาเนินเรื่อง กลวิธีการสร้างตัว


ละคร กลวิธีการสร้างและนาเสนอฉาก ตลอดจนท่วงทานองในการแต่ง การเลือกใช้สานวนโวหาร และวิธีการสร้าง
จินตภาพเมื่อผู้อ่านผ่านการอ่านเชิงวิเคราะห์ ตีความส่วนต่าง ๆ ดังที่ กล่าวมาข้างต้นแล้ว ก็ตัดสินประเมินคุณค่า
เรื่ องบั น เทิงคดีนั นด้ว ยใจบริ สุ ทธิ์ยุ ติธ รรมว่า หลั งจากที่อ่านบันเทิงคดีเรื่องนัน ผู้อ่านได้รับความเพลิ ดเพลิ น
สนุกสนานมากน้อยเพียงใด และได้รับความรู้ด้านต่าง ๆ หรือไม่อย่างไร เรื่องที่อ่านให้ข้อคิดคติเตือนใจ หรือ
แนวทางการปฏิบัติตนในการดาเนินชีวิตหรือไม่มากน้อยอย่างไร

หลักการอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ
การอ่านหนังสือย่อมก่อให้เกิดประโยชน์แก่ผู้อ่านเสมอไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง การอ่านที่ดีจะก่อให้เกิดคุณค่า
หรือประโยชน์สูงสุดได้นันสิ่งสาคัญก็คือผู้อ่านต้องมีความต้องในการการอ่านให้เกิดขึนในใจตนเองก่อน โดยเฉพาะ
นักเรียน นักศึกษา ซึ่งต้องใช้การอ่านเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจาวัน จึงจาเป็นต้องมีหลักการอ่านและทักษะการ
อ่าน นอกจากนี ยังจาเป็นต้องมีความรักในการอ่าน เพราะถ้ารักการอ่านแล้ว จะทาให้เป็นผู้ที่รอบรู้ ในการอ่าน
นันผู้อ่านต้องจับสาระสาคัญและความคิดของผู้เขียนให้ได้ ควรอ่านอย่างละเอียด อ่านช้า ๆ ติดตามเรื่องราวและ
ความคิดของผู้เขียนให้ตลอด
การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพจะก่อให้เกิดประโยชน์หากผู้อ่านรู้จักเลือกหนังสืออย่างมีคุณค่า สร้างสรรค์
มีสมาธิในการอ่าน และรู้จักจดบันทึกใจความสาคัญ ทังนีมีหลักขันตอนการอ่านและฝึกปฏิบัติที่ผู้อ่านควรทราบถึง
ดังนี

ขั้นตอนการอ่าน
ขวัญดี อัตวาวุฒิชัย และคณะ (2543 : 34 -56) กล่าวว่า การอ่านได้อย่างมีประสิทธิภาพนันควรมี
ขันตอนการอ่าน ดังนี
1. ก่อนอ่าน
1) สารวจเนือหา เช่น เนือหาของสิ่งที่จะอ่านอาจจะเป็นเรื่องสารคดี บันเทิงคดี หรือวิชาการ เป็นต้น
2) สารวจส่วนประกอบ เช่น ข้อมูลบรรณานุกรม สารบัญ ตัวบท
3) เลือกใช้วิธีการอ่านที่เหมาะสม เช่น การอ่านแบบคร่าว ๆ (Skimming) เพื่อสารวจเนือหาอย่าง
กว้าง ๆ การอ่า นแบบค้น เรื่ อง (Scanning) เพื่อค้นหาเฉพาะเรื่องที่ผู้ อ่านต้องการในขณะนั น การอ่านอย่า ง
ละเอียด (Intensive reading) เพื่อต้องการข้อมูลหรือทาความเข้าใจกับเรื่องที่อ่านทังหมด
4) เตรียมอุปกรณ์การอ่าน เช่น โคมไฟ ปากกา สมุดบันทึก เป็นต้น
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 120

2. ขณะอ่าน
1) ขณะอ่านหนังสือควรนั่งให้เต็มเก้าอี ตัว ตรง เท้าแตะพืน ได้พอดี หากมีความจาเป็นอาจใช้
หมอนหนุนหลังเพื่อปรับท่านั่งให้เหมาะสม
2) ขณะที่อ่านหนังสือต้องมีสมาธิ ควบคุมความคิดและจิตใจ ให้จดจ่อเฉพาะเรื่องที่กาลังอ่านเท่านัน
3) ขณะที่อ่านต้องทาความเข้าใจ และจับใจความสาคัญเรื่องที่อ่านได้ ซึ่งถ้าข้อความตอนใดเป็น
สาระสาคัญควรทาเครื่องหมาย ขีดเส้นใต้ไว้หรือบันทึกข้อความสาคัญเหล่านันไว้
3. หลังอ่าน
1) สรุปใจความสาคัญของเรื่องที่อ่านทังหมดว่าเป็นเรื่องเกี่ยวกับอะไร มีประเด็นอะไรบ้าง
2) วิเคราะห์เรื่องที่อ่านว่า เนือหาส่วนไหนคือข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น หรือความรู้สึกของผู้เขียน
3) วิจารณ์และประเมินค่าเรื่องที่อ่านว่า เรื่องนันดีหรือไม่ ดีอย่างไร มีคุณค่าอย่างไรบ้าง ผู้เขียนใช้
กลวิธีในการเขียนอย่างไร กล่าวคือเป็นการแสดงความคิดเห็นของตนที่มีต่อเรื่องที่อ่าน
นอกจากหลั ก การอ่ า นอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพข้ า งต้ น แล้ ว วิ ธี ก ารอ่ า นหนั ง สื อ ที่ ดี มี ขั นตอนดั ง นี
(ฉวีลักษณ์ บุณยะกาญจน, 2547: 112-113)
1. อ่านทังย่อหน้า การฝึกอ่านทังย่อหน้าควรปฏิบัติ ดังนี
1.1 พยายามจับจุดสาคัญของเนือหาในย่อหน้านัน
1.2 พยายามถามตัวเองว่าสามารถตังชื่อเรื่องแต่ละย่อหน้าได้หรือไม่
1.3 ดูรายละเอียดนันว่ามีอะไรบ้างที่สัมพันธ์กับจุดสาคัญ มีอะไรบ้างที่ไม่เกี่ยวข้อง และอะไรบ้างที่
เกี่ยวข้อง เกี่ยวข้องกันอย่างไร
1.4 แต่ละเรื่องติดต่อกันหรือไม่ และทราบได้อย่างไรว่าติดต่อกัน
1.5 วิธีการเขียนของผู้เขียนมีอะไรบ้างที่เสริมจุดสาคัญเข้ากับจุดย่อย
2. สารวจตารา หรือหนังสือนัน ๆ ก่อนที่จะทาการอ่านจริง ดังนี
2.1 ดูสารบัญ คานา เพื่อทราบว่าในเล่มนัน ๆ มีเนือหาอะไรบ้าง
2.2 ตรวจดูบทที่จะอ่านว่ามีหัวข้ออะไรบ้าง
2.3 อ่านคานาของหนังสือและบทนาในแต่ละบทด้วย
2.4 พยายามตังคาถามแล้วค้นหาคาตอบอย่างคร่าว ๆ
3. อ่านเป็นบท ๆ
หลังจากได้ทาการสารวจหนังสือแล้ว ผู้อ่านจะได้ความรู้เกี่ยวกับผู้แต่ง ภูมิหลัง ตลอดจนความมุ่ง
หมายในการแต่งหนังสือ แล้วจึงเริ่มอ่านหนังสือเป็นบท ๆ โดยปฏิบัติ ดังนี
3.1 อ่านทีละบทโดยไม่หยุดจนจบบท อาจจะหยุดเพื่อจดบันทึกใจความสาคัญบ้าง ในบางครังก็ได้
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 121

3.2 อ่านบทเดิมอีกครัง เลือกอ่านเฉพาะหัวข้อและประโยคแรกของแต่ละย่อหน้า ถ้าอ่านแล้วยัง


ไม่เข้าใจ ก็อ่านข้อความในแต่ละย่อหน้าใหม่ ถ้าอ่านประโยคแรกแล้วจาได้ว่า เนือความอะไรบ้างที่ผ่านไปยังย่อ
หน้าอื่นได้
3.3 จดบันทึก เพื่อตอบคาถามที่ตังไว้ตอนแรก
4. การอ่านแบบข้ามหรืออ่านแบบคร่าว ๆ
การอ่านแบบข้ามหรืออ่านแบบคร่าว ๆ มิได้ให้ความเข้าใจอะไรมากนักจะใช้ได้ดีต่อเมื่อ
4.1 ต้องการทราบข้อความบางอย่างเท่านัน เช่น หมายเลขโทรศัพท์ ความหมายของ คาใดคาหนึ่ง
4.2 ต้ อ งการทราบว่ า ควรอ่ า นทั งหมดหรื อ ไม่ ช่ ว ยให้ ท ราบคร่ า ว ๆ ว่ า ในแต่ ล ะบท เป็ น
อย่างไร เพราะเป็นการอ่านเฉพาะหัวข้อหรือข้อสรุปเท่านัน
5. สะสมประสบการณ์และคาศัพท์ให้มากที่สุด
การที่ผู้อ่านจะเข้าใจเรื่องที่อ่านได้ดีนันจาเป็นต้องอาศัยประสบการณ์เดิม และความรู้ เกี่ยวกับ
คาศัพท์ที่สะสมไว้ เมื่ออ่านเรื่องใหม่จึงสามารถนาเอาความรู้เดิมมาถ่ายโยงสัมพันธ์กับความรู้ ใหม่ เพื่อเพิ่มความ
เข้าใจในเรื่องที่อ่านได้ดียิ่งขึน การสะสมประสบการณ์ความรู้และคาศัพท์นันสามารถทาได้โดยการอ่าน ปทานุกรม
พจนานุกรม เพื่อรู้ศัพท์ต่าง ๆ และอ่านให้มาก ๆ เพื่อสะสมประสบการณ์และเพิ่มพูนความรู้อยู่ตลอดเวลา

ปัญหาในการอ่านและแนวทางแก้ไข
การอ่านหนังสือโดยเฉพาะหนังสือประเภทตารา นักศึกษาประสบปัญหาในการอ่านพอประมาณได้ดังนี
1. พื้นฐานความรู้ไม่เพียงพอ การมีพืนความรู้เกี่ยวกับหนังสือที่อ่านไม่เพียงพอ ทาให้ผู้อ่ านไม่เข้าใจ
เรื่องที่อ่าน และหมดความอดทนที่จะอ่านต่อไป
แนวทางแก้ไข อ่านหาความรู้เกี่ยวกับหนังสือนันก่อน เลือกอ่านหนังสือที่เป็นความรู้พืนฐานของ
หนังสือที่เราจะอ่าน ต้องอ่านให้มาก ความรู้จะเป็นพืนฐานในการอ่านหนังสือเล่มต่อไป ทาให้อ่านหนังสือได้เร็วขึน
เข้าใจเรื่องที่อ่านได้ดีขึน
2. หนังสือมีคาศัพท์ยาก เมื่อผู้อ่านอ่านได้เพียงเล็กน้อยก็พบศัพท์ยากจึงต้องเปิดอภิธานศัพท์ดูบ้าง เปิด
พจนานุกรมบ้าง ทาให้เข้าในเรื่องได้ช้า และต้องใช้ความพยายามในการอ่านอย่างมาก บางคนท้อแท้เสียก่อน
แนวทางแก้ไข ถ้าหนังสือนันมีคาศัพท์มาก ให้ศึกษาคาศัพท์ไว้ล่วงหน้าทังหมดก่อนแล้วจึงอ่าน แต่
ถ้าหนังสือนันมีคาศัพท์ยากไม่มากนัก ให้สังเกตข้อความใกล้เคียง (บริบท) ข้อความใกล้เคียงจะช่วยให้เราทาความ
เข้าใจ ความหมายของคาศัพท์นันได้
3. การไม่มีสมาธิ สมาธิในการอ่านทาให้ผู้อ่านจดจ่อกับเรื่ องที่อ่านได้มาก และทาให้ติดตามเรื่องราวที่
อ่านได้ การขาดสมาธิก็ทาให้เข้าใจเรื่องไม่ต่อเนื่องติดตามเรื่องราวที่อ่านไม่ได้อ่านแล้วจับใจความไม่ได้
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 122

แนวทางแก้ไข ให้ฝึกอ่านหนังสือทุกวันเริ่มจากเลือกอ่านหนังสือที่สนใจเป็นเรื่องสันๆสามารถอ่านจบ
ภายใน 5 -10 นาที หลังจากนันหนึ่งสัปดาห์ให้เลือกอ่านเรื่องที่มีขนาดความยาวเพิ่มขึน และเพิ่มเวลามากขึน
ค่อย ๆ เพิ่มเวลาอ่านจนสามารถอ่านได้ต่อเนื่อง 30 – 60 นาที
4. การไม่ รู้ วิ ธี ก ารอ่ า น การอ่ า นหนั ง สื อ แต่ ล ะประเภทมี วิ ธี ก ารอ่ า นที่ แ ตกต่ า งกั น เช่ น การอ่ า น
หนังสือพิมพ์จะอ่านผ่าน ๆ ส่วนการอ่านตาราเรียนต้องอ่านอย่างละเอียดอ่านช้า ๆ ให้เข้าใจ และทาบันทึกย่อเพื่อ
ทบทวนและช่วยในการจดจา การรู้วิธีอ่านจึงทาให้ประสบความสาเร็จในการอ่าน และไม่เสียเวลา
แนวทางแก้ไข ศึกษาวิธีการอ่านแล้วเลือกวิธีการอ่านให้เหมาะสมกับจุดมุ่งหมายในการอ่านแต่ละ
ประเภทของหนังสือ
5. สุขภาพจิตไม่ดี คนที่วิตกกังวลมีความเครียดสูง เสียใจ ผิดหวัง ท้อแท้ เป็นผลให้ขาดสมาธิในการ
อ่านก็จะทาให้อ่านหนังสือได้ไม่ต่อเนื่อง จับใจความของเรื่องที่อ่านได้กระท่อนกระแท่น
แนวทางแก้ไข พยายามทาใจให้สบาย หยุดความคิดให้ได้ โดยดูลมหายใจเข้ า ดูลมหายใจออก ให้
รู้อยู่ที่ลมหายใจ ความคิดที่เข้ามารบกวนก็หยุดความคิด ดูที่ลมหายใจเข้าออกทาเช่นนีสักระยะจะรู้สึกจิตใจสงบ
ขึน สบายขึน จึงเริ่มอ่านหนังสือ
6. สุขภาพร่างกายไม่แข็งแรง คนที่มีปัญหาทางสายตา ร่างกายเจ็บป่วย เหนื่อยมาก อ่อนเพลีย จะทา
ให้อ่านหนังสือได้ไม่นาน และเป็นผลให้สมาธิไม่ต่อเนื่องเช่นกัน
แนวทางแก้ไข ถ้ามีปัญหาทางสายตาก็ตรวจวัดสายตา หาแว่นตาที่เหมาะสมกับสายตาใส่ ร่างกายที่
เจ็บป่วยก็ต้องรักษา เหนื่อย อ่อนเพลีย ก็ต้องพักผ่อนให้ร่างกายรู้สึกสดชื่นก่อนจึงเริ่มอ่านหนังสือ
7. การฝึกฝนอ่านในใจน้อย บางคนคุ้นเคยกับการอ่านออกเสียง อ่านไปโดยไม่รู้เรื่องที่อ่าน เพราะมัว
พะวงกับการอ่านออกเสียง จึงจับใจความของเรื่องที่อ่านไม่ได้
แนวทางแก้ไข ฝึกอ่านในใจอย่างสม่าเสมอ และเพิ่มความยาวของเรื่องที่อ่านให้มากขึนตามลาดับ
8. สติปัญญาด้อย การอ่านเป็นกระบวนการทางสมอง เมื่อมีปัญหาทางสติปัญญาสมรรถภาพในการ
อ่านก็จะด้อยลงด้วย
แนวทางแก้ไข เลือกหนังสือที่มีความยากง่ายเหมาะสมกับระดับสติปัญญาของผู้อ่านและฝึกอ่าน
อย่างสม่าเสมอ เพื่อพัฒนาความสามารถในการอ่าน
9. การไม่กาหนดจุดมุ่งหมายในการอ่าน
จุดมุ่งหมายเป็นตัวกาหนดวิธีการอ่าน หนังสือเล่มเดียวกันถ้ากาหนดจุดมุ่งหมายในการอ่านแตกต่าง
กัน ก็จะใช้วิธีการอ่านที่แตกต่างกันไปด้วย เช่น นวนิยายเล่มหนึ่ง ถ้าอ่านเพื่อความเพลิดเพลินก็จะอ่านข้ามบาง
ตอนที่ไม่ชอบ เลือกอ่านเฉพาะตอนที่ชอบได้ แต่นวนิยายเล่มเดียวกันนีถ้าจะอ่านเพื่อวิเคราะห์ องค์ประกอบ
ของนวนิยาย ผู้อ่านก็ต้องแยกแยะจุดมุ่งหมายในการเสนอแนวคิดของผู้แต่ง (theme) โครงเรื่อง (plot) ตัวละคร
(character) ฉาก (setting) บทสนทนา (dialogue) กลวิธีในการแต่ง (technique) บรรยากาศ (atmosphere)
แนวทางแก้ ไ ข กาหนดจุ ดมุ่งหมายก่อนอ่า นเพื่อเลื อกวิ ธีอ่านให้ เหมาะสม และการอ่านอย่างมี
ประสิทธิภาพ ผู้อ่านต้องฝึกฝนอย่างสม่าเสมอจนมีนิสัยรักการอ่าน
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 123

10. สภาพแวดล้อมไม่เหมาะสม เช่น แสงสว่างไม่พอ มีเสียงดังรบกวน อากาศร้อนเกินไป หนาวเกินไป


โต๊ะและม้านั่งไม่เหมาะสม มีคนพลุกพล่านรบกวนสมาธิ
แนวทางแก้ไข เลือกอ่านในที่ที่มีแสงสว่างเพียงพอ อากาศถ่ายเทได้ดี เป็นที่สงบ ไม่มีคนพลุกพล่าน
เลือกโต๊ะเก้าอีให้เหมาสมกับร่างกายและส่วนสูงของตน ถ้าไม่มีทางเลือกก็ต้องตังสมาธิในการอ่านให้แน่วแน่ ตัด
ความกังวลรอบข้างให้ได้
การอ่านเป็ น ทัก ษะการรั บ สารที่ มีความจ าเป็นในการใช้ชีวิตอย่ างมีคุณ ภาพ ท่า มกลางโลกแห่ ง
เทคโนโลยีที่ก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว และการอ่านอย่างมีประสิทธิภาพนัน ผู้อ่านต้องฝึกฝนอย่างสม่าเสมอจนเป็น
นิสั ย รู้ จั กเลื อกหนังสื อ รู้ จักวิธีอ่าน ขยัน จดบันทึกข้อมูล ที่อ่านและนาความรู้ความคิดที่ได้จากการอ่านไปใช้
ประโยชน์
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 124

บทที่ 7
การพัฒนาทักษะการพูด

ความหมายของการพูด
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 (2546:797) ได้ให้ความหมายของการพูดไว้ว่า
“การพูด คือการเปล่งเสียงถ้อยคา”
สวนิต ยมาภัย (2540: 1) ให้ความหมายของการพูดไว้ว่า “การใช้ถ้อยคา นาเสี ยง รวมทังกริยาอาการ
ถ่ายถอดความคิด ความรู้ และความต้องการของผู้พูดให้ผู้ฟังรับรู้และเกิดการตอบสนอง”
ดังนันจึงกล่าวได้ว่า การพูด คือ การถ่ายทอด ความคิด ความรู้ ความรู้สึก และความต้องการโดยอาศัย
ถ้อยคา นาเสียง รวมทังกิริยาท่าทางอย่างมีประสิทธิภาพ โดยการพูดนันจะมีผลทาให้ผู้ฟังเข้าใจจุดหมายของผู้พูด
และแสดงปฏิกิริยาตอบสนองให้สัมฤทธิ์ตามจุดมุ่งหมายที่ตังไว้

จุดมุ่งหมายของการพูด
ในการติดต่อสื่อสารด้วยการพูด ผู้พูดควรตังจุดมุ่งหมายไว้ให้ชัดเจน เพื่อให้สามารถนาเสนอเนือหาและใช้
ถ้อยคาที่สื่ออารมณ์ความรู้สึกต่อผู้ฟัง ให้ได้รับทราบเจตนาของผู้พูดได้เป็นอย่างดี การพูดโดยทั่วไปมีจุดมุ่งหมาย
ดังนี
1. เพื่อถ่ายทอดความรู้ สึ กนึ กคิด และความต้องการให้ ผู้อื่นได้ทราบ เป็นการสื่ อสารด้ว ยการพูดใน
ชีวิตประจาวันที่ผู้พูดต้องสามารถใช้ภาษาถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิดอารมณ์ให้ผู้ฟังเกิดความเข้าใจได้ตรงตามความ
ต้องการของผู้พูด
2. เพื่อถ่ายทอดความรู้และข้อเท็จจริง เป็นการพูดที่ผู้พูดต้องการให้ผู้ฟังเกิดความรู้ เช่น การบรรยาย
ทางวิชาการ การปาฐกถา การอภิปรายต่าง ๆ
3. เพื่อโน้มน้าวใจ เป็นการพูดเพื่อชักจูงให้ผู้ฟังมีความคิดคล้อยตาม เช่น การโฆษณา การเชิญชวน
รณรงค์ให้ร่วมกันทากิจกรรมต่าง ๆ
4. เพื่อ จรรโลงใจเป็น การพูด ที่มีจุด มุ่ง หมายเพื่อ บอกเล่า สิ่ง ที่เ ป็น นามธรรมให้ผู้ฟัง มีค วามรู้สึก ที่
สูง ส่ง ดีงาม และให้ได้รับคุณค่าทางด้านจิ ตใจ หรือเป็นการพูดชีแจงให้ เห็นความน่าชื่นชมของความคิด การ
กระทา หรือเรื่องราวอย่างใดอย่างหนึ่ง โดยชีให้เห็นถึงอุดมคติ แนวทางการดาเนินชีวิตที่ดี เพื่อความอยู่ดีมีสุขของ
คนในสังคม โดยเลือกสุภาษิตของคิด หรือคาคมต่าง ๆ มาใช้เพื่อเพิ่มนาหนักให้แก่ข้อคิดและให้ผู้ฟังประจักษ์ชัดใน
สิ่งที่พูดอย่างชัดเจน
5. เพื่อให้ผู้ฟังเกิดความสุข สนุกสนาน มักเป็นการเล่าเรื่องเบาสมอง ตลกขบขันหรือหยอกล้อกันอย่าง
สร้างสรรค์
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 125

6. เพื่อใช้ในโอกาสที่อยู่ในสังคมเพื่อแสดงความมารยาทอันดี และสร้างทัศนคติที่ดีต่อกัน เช่น การกล่าว


อวยพรเนื่องในโอกาสต่าง ๆ การกล่าวคาปราศรับ คาสดุดี ไว้อาลัย การกล่าวต้อนรับ เป็นต้น

ความสาคัญของการพูด
มีสานวน สุภาษิต คาพังเพย ที่กล่าวถึงความสาคัญของการพูดไว้มากมาย เช่น
“พูดดีเป็นศรีแก่ตัว พูดชั่วอัปราชัย”
“ปลาหมอตายเพราะปาก”
“ปากเป็นเอกเลขเป็นโท”
แสดงให้เห็นว่า การพูดมีความสาคัญในชีวิตประจาวันของมนุษย์เป็นอย่างยิ่ง คนที่รู้พู ดจะสามารถใช้การ
พูดเป็นประโยชน์แก่ตัวเอง และหมู่คณะ การพูดจึงมีความสาคัญ ดังนี
1. การพูดเป็นปัจจัยในการประกอบอาชีพทุกอาชีพ การพูดที่ดีจะช่วยให้ประสบความสาเร็จในงาน
วิชาชีพ เช่น ครู นักปกครอง นักกฎหมาย นักการเมือง นักวิชาการ ผู้ที่อยู่ในวงการบันเทิง ผู้ประกอบการค้าขาย
เป็นต้น
2. การพูดช่วยสร้างมนุษยสัมพันธ์ที่ดีในองค์กรและในสังคม การพูดจะช่วยสร้างความเข้าใจอันดีของคน
ในสังคม เพื่อเป็นเครื่องมือของการสมาคม คาพูดแสดงให้เห็นถึงมารยาทอันดี ตลอดจนความมีไมตรีต่อกัน
3. การพูดมีความสาคัญในการเจรจาเรื่องต่างๆ ตลอดจนการคลี่คลายสถานการณ์ตึงเครียด อันเกิดจาก
ความไม่เข้าใจ
ดังนัน จึงเห็นได้ว่าการพูดเป็นทักษะการสื่อสารที่มีความสาคัญอย่างยิ่งของพฤติกรรมมนุษย์ ดังคากล่าว
ของ สุนทรภู่ กวีเอกของโลก ซึ่งกล่าวถึงความสาคัญของการพูดไว้ดังนี
ถึงบางพูดพูดดีเป็นศรีศักดิ์
มีคนรักรสถ้อยอร่อยจิต
แม้นพูดชั่วตัวตายทาลายมิตร
จะชอบผิดในมนุษย์เพราะพูดจา
(นิราศภูเขาทอง)

กระบวนการในการพูด
การพูดจะประสบความสาเร็จหรือล้ มเหลวนัน ขึนอยู่กับการฝึกฝนตนเองของผู้พูดต้องฝึกพูดอย่างมี
ความหมาย และฝึ ก พู ด ในทุ ก โอกาสที่ จ ะท าได้ (เอกฉั ท จารุ เ มธี ช น.2541:39) ผู้ พู ด จึ ง ควรเตรี ย มการพู ด
กระบวนการพูดไว้ดังนี
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 126

1. การเตรียมตัวของผู้พูด ผู้พูดต้องมีการเตรียมตัวพอสมควร เริ่มจากต้องรู้จุดมุ่งหมายของการพูด การ


เลือกเรื่องที่จะพูดให้ตรงกับจุดมุ่งหมาย วิเคราะห์ผู้ฟังเพื่อให้สามารถเลือกใช้ภาษาเพื่อสื่อความเข้ าใจได้อย่าง
เหมาะสม
2. การเตรียมข้อมูล คือการรวบรวมเนือหา ด้วยการศึกษาค้นคว้าจากการอ่าน การฟัง การสัมภาษณ์
การสอบถาม ตลอดจนการศึกษา ณ สถานที่ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ได้ข้อมูลที่กว้างขวางเพียงพอแก่การนาเสนอ ซึ่งผู้
พูดต้องนามาเรียบเรียง จัดลาดับความในการพูด เตรียมการกล่าวนา ดาเนินเรื่อง ให้ต่อเนื่องกลมกลืนกันให้มี
สั ด ส่ ว นเหมาะสมกับ เรื่ อ งในขั นตอนนี อาจมี ก ารเตรี ย มการใช้ สื่ อประกอบ เพื่อ ช่ ว ยให้ การถ่า ยทอดประสบ
ความสาเร็จได้รวดเร็วขึน
3. การฝึกพูด เป็นขันซักซ้อมเพื่อความมั่นใจและความคล่องตัว เมื่อถึงสถานการณ์จริง การดาเนินการ
พูด คือ การนาเสนอข้อมูลตามที่ได้เตรียมการไว้ในขันตอนนีผู้พูดควรนึกถึงการใช้ภาษาที่ดี เหมาะสมกับกาลเทศะ
เหมาะสมกับเรื่องที่พูด ตลอดจนการออกเสียงให้ชัดเจนถูกต้องด้วย
4. การประเมินผลเพื่อการปรับปรุงการพัฒนาการพูดในโอกาสต่อไป การประเมินผลนันสามารถทาได้
หลายทาง คือ ผู้ พูดประเมินตนเอง หรือให้ผู้ ฟังเป็นผู้ ประเมิน แล้ วนาผลที่ได้รับมาแก้ไขปรับปรุงเพื่อพัฒ นา
สมรรถภาพการพูดให้ดีขึนต่อไป

ประเภทของการพูด
ประเภทของการพูด แบ่งตามลักษณะของการเตรียมเนือหาและวิธีแสดงการพูดได้เป็น 4 ประเภทดังนี
1. การพูดโดยอ่านจากต้น ฉบั บ ได้แก่ การพูดที่เป็นพิธีการ เช่น การกล่ าวคาปราศรัย สุ นทรพจน์
แถลงการณ์ คากล่าวรายงาน การให้โอวาทในงานที่เป็นพิธีการ ซึ่งผู้พูดต้องฝึกอ่านจนคล่องเหมือนเสียงพูด จึงจะ
น่าฟังและประสบความสาเร็จ
2. การพูดโดยท่องจาจากต้นฉบับที่ร่างไว้ ผู้ พูดต้องท่องจาจนแม่นยาเหมือนดงต้นฉบับ วิธีนีเหมาะ
สาหรับผู้เริ่มฝึกพูด
3. การพูดโดยมีบันทึก เป็นการพูดที่ผู้พูดต้องเขียนต้นฉบับแล้วฝึกการพูดจนคล่อง เมื่อพูดจริงจะนา
ต้นฉบับที่ทาเครื่องหมายเฉพาะหัวข้อสาคัญ หรือจดเฉพาะหัวข้อสาคัญลงในกระดาษบันทึก เวลาพูดจึงขยาย
ความเพิ่มเติมตามความเหมาะสม
4. การพูดโดยกะทันหัน หรือเรียกได้อีกอย่างหนึ่งว่าการพูดแบบ “ปฏิภาณวาที” เป็นการพูดที่ผู้พูดไม่
ทราบล่วงหน้า และไม่มีเวลาเตรียมตัวก่อนขึนพูด จึงจะพูดได้น่าฟังและประสบความสาเร็จ
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 127

การพูดในที่สาธารณะ
การพูดในที่สาธารณะเป็นการพูดในที่สาธารณะหรือการพูดในที่ชุมชน สวนิต ยมาภัย (2540: 105) กล่าว
ไว้ว่า การพูดต่อหน้าที่ประชุม หรือการพูดในที่สาธารณะ ผู้พูดจะเป็นฝ่ายที่พูดกับบรรดาผู้ฟัง ซึ่งประชุมกันอยู่
อย่างจานวนหลายๆคน ในสถานที่แห่งใดแห่งหนึ่ง เช่น ภายในห้องเรียน ห้องประชุม กลางสนาม การพูดหรื ออ่าน
จากต้นฉบับที่ได้เขียนไว้พูดตามที่ท่องจามา พูดอย่างฉับพลันโดยไม่ได้เตรียมตัวล่วงหน้า และพูดจากความเข้าใจ
ตามที่ได้เตรียมไว้ ทังนีขึนอยู่กับโอกาส สถานการณ์ความจาเป็น รวมทังความสามารถเฉพาะของแต่ละบุคคล
การพูดในที่สาธารณะจึงเป็นการพูดในที่ชุมชนที่มีผู้ฟังเป็นจานวนมาก ผู้พูดต้องสนใจปฏิกิริยาตอบสนอง
ของผู้ฟังทังด้านวัจนภาษาและอวัจนภาษา และเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้พูดได้แสดงความสามารถเฉพาะตัวของผู้
พูดด้วย
การพู ด ในที่ ส าธารณะ ผู้ พูด ต้ อ งมี การเตรีย มตั ว เตรี ย มใจไว้ ใ ห้ พ ร้ อม เพื่ อให้ เ กิ ด ความเชื่ อมั่ น และ
ความสามารถนาเสนอเรื่องราวที่เตรียมมาได้อย่างราบรื่นประสบความสาเร็จโดยมีหลักดังนี
1. กาหนดจุดมุ่งหมายในการพูด ว่าจะต้องพูดเพื่อให้ความรู้หรือข้อเท็จจริง ให้ความบันเทิงใจ โน้มน้าว
ใจ หรือเพื่อแนะนาในเรื่องต่างๆ เพื่อการเตรียมตัวได้ถูกต้อง
2. วิเคราะห์กลุ่มผู้ฟังถึงองค์ประกอบต่างๆ เช่น จากความรู้และประสบการณ์ จากการอ่านและค้นคว้า
จากหนังสือ และสื่อต่าง ๆ
3. กาหนดขอบเขตของเรื่องที่จะพูด เพื่อให้เหมาะสมกับโอกาส และเวลาที่กาหนดเพื่อให้สามารถหา
ข้อมูลและเตรียมการได้อย่างเหมาะสม
4. ค้นคว้าและรวบรวมเนือหาจากวิธีการและแหล่ งต่างๆ เช่น จากความรู้และประสบการณ์ จากการ
อ่านและการค้นคว้า จากหนังสือ และสื่อต่าง ๆ
5. จัดทาโครงเรื่องให้พอเหมาะกับเวลา และให้ชัดเจนเป็นลาดับว่าจะกล่าวเปิดเรื่องอย่างไร ดาเนินเรื่อง
สรุปอย่างไร โดยเรื่องแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ คานาหรืออารัมภบทประมาณ 5-10% เนือเรื่อง 80-90% และการ
สรุปจบ 5-10%
6. เลือกใช้ภาษาและถ้อยคาในการพูดให้กะทัดรัด ชัดเจน ตรงประเด็น เหมาะแก่กาลเทศะและบุคคล

การสร้างความมั่นใจการพูดในที่สาธารณะ
การพูดในที่สาธารณะเป็นการพูดที่มีผู้พูดอาจมีโอกาสเตรียมตัวล่วงหน้ามาก่อน มีโอกาสได้ฝึกซ้อมการ
พูด ฝึกซ้อมการออกเสียง ลีลา จังหวะ มีผู้ฟังช่วยติชมการพูด หรือมีเครื่องบันทึกเสียง เพื่อทบทวนการฝึกซ้อม แต่
ถ้าเป็นกรณีที่เป็นการพูดแบบฉับพลัน ผู้พูดไม่รู้ตัวล่วงหน้ามาก่อนหรือรู่ล่วงหน้าเพียงระยะเวลาสัน ๆ เช่นการ
กล่าวอวยพรในงานมลคลสมรส การกล่าวแสดงความยิ นดี การกล่าวแสดงความคิดเห็นในนามของแขกผู้มีเกียรติ
ผู้พูดที่มีประสบการณ์จะสามารถสร้างบรรยากาศได้ดี แต่ผู้พูดจานวนมากยังมีปัญหาในการพูดที่ไม่สามารถคิดหา
คาพูดได้ในเวลากะทันหัน จึงควรสร้างความมั่นใจให้แก่ตัวเอง (www.prlabschool.com) ดังนี
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 128

1. รักษาอารมณ์ให้ปกติ อย่าตกใจเมื่อได้รับคาเชิญให้พูด จงภูมิใจที่ได้รับเกียรติลุกขึนเดินไปอย่างสง่า


ผ่าเผยพร้อมสังเกตการณรอบข้างและคิดลาดับเนือหาให้เหมาะสมกับที่ประชุม เริ่มต้นประโยคแรกให้ดึงดูดความ
สนใจของผู้ฟังให้ได้มาที่สุด
2. พูดเรื่องที่ง่ายและใกล้ตัวที่สุด ลาดับเรื่องที่จะพูดก่อนหลัง เชื่อมโยงแนวคิดอย่างกระชับและต่อเนื่อง
พูดบทสรุปตอนจบอย่างประทับใจ
3. ควรกล่าวทักทายหรือทาตามขันตอนอย่างสัน ๆ แล้วทบทวนคาถามก่อนตอบ โดยลาดับเรื่องให้ตรง
ประเด็น ขยายความให้ชัดเจน
4. พยายามใช้ปฏิภาณไหวพริบและอารมณ์ขัน เพื่อให้สามารถแก้ปัญหาต่าง ๆ ได้อย่างฉับไว เหมาะสม
กับเรื่องและสถานการณ์ คิดเร็ว เพื่อให้สามารถลาดับเรื่องได้ทันที
5. พยายามรักษาเวลาในการพูดที่มีกาหนดเวลา หรือใช้เวลาให้เหมาะสมกับสถานการณ์ โดยหาคาพูดที่
จบลงได้อย่างประทับใจ มิฉะนันจะเกิดความประหม่า พูดวกวนจนลงเวทีไม่ได้

ระดับการพูดในที่สาธารณะตามโอกาสต่าง ๆ
การพูดในที่สาธารณะตามโอกาสต่างๆ จาแนกเป็น 3 ประเภท ดังนี
1. การพูดอย่างเป็นทางการ เป็นการพูดในพิธีต่าง ๆ มีการวางแผนแนวการปฏิบัติไว้อย่างชัดเจน เช่น
การปราศรัยขงนายกรัฐมนตรี การให้โอวาทของบุคคลต่าง ๆ การกล่าวสุนทรพจน์เนื่องในโอกาสต่าง ๆ
2. การพูดกึ่งทางการ เป็นการพูดที่ลดความเป็นแบบแผนลง เช่น การกล่าวต้อนรับผู้มาเยี่ยมชม การ
กล่าวขอบคุณผู้ช่วยเหลือในกิจกรรมต่าง ๆ การกล่าวบรรยายสรุปแก่ผู้เข้าชมสถานที่
3. การพูดอย่างไม่เป็นทางการ เป็นการพูดที่ให้บรรยากาศเป็นกันเอง เช่น การกล่าวอวยพรในงานเลียง
สร้างสรรค์ที่เป็นกันเอง การกล่าวแสดงความรู้สึกในหมูของเพื่อสนิท
ทังนีในการพูดในที่สาธารณะหรือในที่ชุมชนแต่ละครัง ผู้พูดต้องวิเคราะห์โอกาสและสถานการณ์ แล้ว
เตรียมศิลปะการใช้ภาษาให้ถูกต้องเหมาะสมกับโอกาสนัน เพื่อจะพูดได้ถูกต้องสร้างบรรยากาศได้ดี และมีความ
ประทับใจ
การพูดในที่สาธารณะผู้พูดจึงต้องศึกษาและฝึกฝนโดยวิเคราะห์ถึงโอกาสและรูปแบบของการพูดประเภท
ต่าง ๆ ดังนี
1. การพูดในโอกาสพิเศษ
การพูดในโอกาสพิเศษเป็นการพูดที่จัดขึนเป็นพิเ ศษ เนื่องในโอกาสสาคัญๆส่วนใหญ่มักเป็นการพูด
อย่างทางการ เช่น
1.1 การกล่าวสุนทรพจน์ สุนทรพจน์ แปลว่า คาพูดที่ดี หมายถึง การพูดด้วยถ้อยคาที่ไพเราะ คมคาย
หลักแหลม กินใจ มีสานวนโวหารน่าฟังเหมาะสมกับโอกาส ส่วนใหญ่มักเป็นการพูดอย่างเป็นทางการสาหรับผู้มี
ชื่อเสียง หรือมีหน้าที่การงานสาคัญในสังคม
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 129

การกล่าวสุนทรพจน์เป็นการพูดที่ถือว่าเป็นเกียรติแก่ผู้พูด เพราะมักใช้ในการโอกาสพิเศษใน
การจัดงาน หรือใช้อย่างใดอย่างหนึ่ง และมีผู้เชิญให้พูดเพราะการพูดสุนทรพจน์ต้องมีการเตรียมตัวล่วงหน้า ต้อง
ระมัดระวังในเรื่องถ้อยคา เนือหา ท้วงทานอง การพูดและผู้พูดต้องทาตัวให้มีบุคลิกภาพที่สง่างามด้วย
1.1.1 จุดมุ่งหมายของการกล่าวสุนทรพจน์
1) เพื่อแสดงความรู้สึกนึกคิดบางประการเนื่องในโอกาสสาคัญๆ
2) เพื่อให้ผู้ฟังเข้าใจและเห็นความสาคัญของโอกาสนันยิ่งขึน
3) เพื่อให้ข้อคิดหรือเสนอแนวทางให้ผู้ฟังนาไปปฏิบัติ
1.1.2 หลักการกล่าวสุมทพจน์
1) กล่าวถึงโอกาสสาคัญในการพูด
2) กล่ าวถึงความรู้สึ กที่มีต่อเรื่องที่พูด หรือแสดงทรรศนะให้ ผู้ฟัง เข้าใจ และเกิด
ความภูมิใจ
3) ให้ข้อคิดหรือแนวทางที่จะนาไปปฏิบัติ
4) ใช้ถ้อยคาไพเราะ สละสลวย ลึกซึงสนใจ
5) สร้างบรรยากาศให้เกิดความน่าเสื่อมใส ศรัทธา
6) จบด้วยการสรุปทิงท้ายให้นาไปคิด หรือฝากไว้ในความทรงจาตลอดไป และกล่าว
อวยพร
1.2 การกล่าวคาปราศรัย เป็นการพูดเฉพาะเรื่อง เพื่อให้ผู้ฟังทราบข้อเท็จจริงหรือแนวทางปฏิบัติ
ในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง มีลักษณะคล้ายสถานการณ์ในเนือหา ภาษา และทัศนคติของผู้กล่าว การกล่าวคาปราศรัยเป็น
การพูดที่เป็นพิธีการ จึงต้องมีการตระเตรียมมาล่วงหน้าอย่างดี เช่น คาปราศรัยของนายกรัฐมนตรีเนื่องในวันเด็ก
คาปราศรัยบุคคลสาคัญเนื่องในโอกาสวันสาคัญต่าง ๆ คาปราศรัยของประธานในพิธีเนื่องในการเปิดงาน เป็นต้น
1.2.1 จุดมุ่งหมายในการกล่าวคาปราศรัย
1) เพื่อแสดงความรู้สึกนึกคิดบางประการให้ผู้ฟังเข้าใจ
2) เพื่อให้ผู้ฟังเห็นความสาคัญของงานหรือในโอกาสที่พูด
3) เพื่อให้ผู้ฟังเห็นดี เห็นชอบ มีอารมณ์คล้อยตามตามเหตุผลและข้อเท็จจริง
1.2.2 หลักการเกี่ยวคาปราศรัย
1) กล่าวถึงความสาคัญของโอกาสที่จะพูด
2) กล่าวเน้นถึงความสาคัญของสิ่งนันๆ ผลงานหรือความสาเร็จในรอบปี
3) นาเหตุการณ์สาคัญ ๆ หรือบุคคลที่มีบทบาทต่าง ๆ มากล่าว เพื่อประโยชน์แก่
ส่วนร่วม
4) พูดถึงอดีต ปัจจุบัน และความหวังที่ดีงามในอนาคต
5) จบด้วยการกล่าวให้ข้อคิด และคากล่าวอวยพร
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 130

1.3 การให้โอวาท โอวาท คือ คาแนะนาตักเตือน การพูดให้โอวาท จึงเป็นการพูดที่ผู้อาวุโส ผู้มี


เกียรติ หรือผู้ตาแหน่งหน้าที่สูงกว่า พูดเพื่อแนะนา สั่งสอนหรืออบรมให้ผู้ฟัง เป็นคนดีมีศีลธรรม เรื่องที่พูดมัก
เกี่ยวกับการศึกษา ความประพฤติ ความสามัคคี หรือเรื่องการแต่งงาน ฯลฯ มักพูดในโอกาสต่าง ๆ เช่น โอกาสที่มี
ผู้ประสบความสาเร็จการศึกษา การมอบวุฒิบัตรหรือการเริ่มปฏิบัติงานในโครงการต่างๆ เป็นต้น
1.3.1 จุดมุ่งหมายของการให้โอวาท
1) เพื่อให้ข้อคิดแก่ผู้ฟัง
2) เพื่อตักเตือนแล้วชีแนวทางปฏิบัติ
3) เพื่อให้เกิดความสงบสุขของการอยู่ร่วมกันในสังคม
1.3.2 หลักการพูดให้โอวาท
1) กล่าวถึงความสาคัญของโอกาสที่ให้โอวาท
2) เน้นหลักสาคัญที่ให้ผู้ฟังนาไปปฏิบัติ
3) กล่าวถึงความรับผิดชอบ ของผู้รับโอวาท
4) กล่าวถึงอุปสรรคปัญหาที่อาจจะเกิดขึน และเสนอแนะวิธีกรเอาชนะอุปสรรคนัน
5) ตักเตือนให้ประพฤติตนในทางที่ถูกที่ควร
6) ทิงท้ายด้วยการแสดงความหวังและให้กาลังใจในการนาไปปฏิบัติ และจบด้วยการ
อวยพร
1.4 การแสดงปาฐกถา ปาฐกถา หมายถึง ถ้อยคาหรือเรื่องราวทางวิชาการที่กล่าวหรือบรรยายใน
ที่ ชุ ม ชน เป็ น การพู ด หรื อ การบรรยายที่ แ สดงความรู้ ในโอกาสที่ ห น่ ว ยงาน สถาบั น สมาคม สโมสร เชิ ญ
ผู้ทรงคุณวุฒิมาให้ความรู้ทางวิชาการ เป็นการพูดที่ผู้พูดไม่หวังว่าผู้ฟังจะเชื่อหรือคล้ อยตาม แต่เป็นการเสนอ
ข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น เรียกผู้พูดว่า องค์ปาฐก
1.4.1 จุดมุ่งหมายของการแสดงปาฐกถา
1) เพื่อถ่ายทอดความรู้และความคิดเห็นของผู้พูดไปสู่ผู้ฟัง
2) เพื่อให้ผู้ฟังเกิดความรู้และเพิ่มพูนสติปัญญา
3) เพื่อให้ผู้ฟังนาความรู้ความเข้าใจไปใช้ประโยชน์และเผยแพร่ให้เกิดประโยชน์แก่
ผู้อื่นต่อไป
1.4.2 หลักการแสดงปาฐกถา
1) กล่าวคาปฏิสันถารที่เหมาะสมและน่าฟัง
2) กล่าวอารัมภบทอย่างน่าสนใจ
3) พูดตรงประเด็น
4) กล่าวถึงเนือหาสาระที่เป็นความรู้ชัดเจน มีเหตุผล
5) พูดแบบสร้างสรรค์ ไม่เครียดเกินไป เพื่อก่อให้เกิดการพัฒนาและการมองโลกใน
แง่ดี
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 131

6) ใช้เวลาเหมาะสม
7) สรุปให้ผู้ฟังเข้าใจแจ่มแจ้งและประทับใจ
1.5 การกล่าวรายงานในงานพิธี เป็นการกล่าวรายงานของผู้เป็นประธาน การดาเนินงานจะต้อง
กล่าวรายงานต่อประธานในพิธี เพื่อให้ทราบถึงความเป็นมา ความสาคัญ และรายละเอียดต่าง ๆ เกี่ยวกับการจัด
งานก่อนที่จะทาพิธีเปิดงาน
1.5.1 จุดมุ่งหมายของการกล่าวรายงานในงานพิธี
1) เพื่อให้ประธานในพิธีได้ทราบความเป็นมาของการจัดงาน
2) เพื่อให้ประธานในพิธีได้ทราบรายละเอียดต่าง ๆ เช่น วัตถุประสงค์ เป้าหมาย วิธี
ดาเนินงาน และผลที่คาดว่าจะได้รับ เป็นต้น
1.5.2 หลักการกล่าวรายงานในพิธี
1) กล่าวขอบคุณที่ประธานให้เกียรติมาเป็นประธาน
2) รายงานความเป็นมา วัตถุประสงค์ เป้าหมาย วิธีดาเนินงาน ตลอดจนผลที่คาดว่า
จะได้รับ
3) กล่าวถึง ความอนุเคราะห์ หรือความร่วมมือจากหน่วยงานต่าง ๆ
4) เชิญให้ประธานกล่าวคาปราศรัย และเปิดงาน
2. การพูดในโอกาสต่าง ๆ เพื่อมารยาทในสังคม
ในการสมาคม บุคคลอาจมีโอกาสได้รับเชิญให้เป็นผู้กล่าวอวยพร กล่าวแสดงความรู้สึก กล่าวต้อนรับ
ตามประเพณีนิยมของสังคม ซึ่ งเป็นกิจกรรมซึ่งผู้พูดที่มีประสบการณ์มากมีความรู้และปฏิภาณดีก็ย่อมกล่าวได้ดี
ส่วนผู้ที่มีประสบการณ์น้อย ก็จาเป็นต้องฝึกฝน และอาศัยการร่างคากล่าวไว้ล่วงหน้า เพื่อให้สามารถกล่าวได้ด้วย
ความมั่น ใจ แต่การพูดในโอกาสต่าง ๆ เหล่ านี อาจมีทังกรณีที่ส ามารถเตรียมตั ว ไว้ล่วงหน้า และการพูดโดย
กะทันหัน
ข้อนานาในการพูดเพื่อมารยาทในสังคมนันควรกล่าวเพียงสัน ๆ โดยกล่าวถึงจุดมุ่งหมายที่จะพูดและ
ดาเนินเรื่องสู่เป้าหมายเลยทีเดียว ผู้พูดต้องวิเคราะห์โอกาสว่าเป็นพิธีการมากน้อยเพียงใดและใช้นาเสียงที่แสดง
ความจริงใจที่จะก่อให้เกิดความเป็นมิตร ความสุข และความพอใจ
หลักในการพูดในโอกาสต่าง ๆ เพื่อมารยาทในสังคม มีดังนี
2.1 การแนะนา เป็นการพูดเพื่อแนะนาให้เป็นที่รู้จัก ถือเป็นมารยาทสังคมแบบหนึ่ง ซึ่งทาได้หลาย
โอกาสดังนี
2.1.1 การแนะนาตัวให้ผู้อื่นรู้จัก มีสิ่งที่ควรแนะนาดังนี
1) แนะนาชื่อ และนามสกุล
2) ที่อยู่ปัจจุบัน
3) ตาแหน่งหน้าที่การงาน
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 132

4) เพื่อให้รู้จักกันดีขึนอาจเพิ่มเติมเรื่องภูมิลาเนาเดิม ความถนัด ความสนใจ และ


ความสามารถพิเศษ
2.1.2 การแนะนาให้บุคคลรู้จักกัน เป็นมารยาททางสังคมอย่างหนึ่งซึ่งจะทาให้ ผู้มาใหม่มี
โอกาสได้สนทนากับกลุ่ม เป็นการเริ่มไมตรีที่ดีต่อกัน ซึ่งหลักในการแนะนาดังนี
1) แนะนาผู้น้อยให้รู้จักกับผู้ใหญ่ โดยให้เกียรติผู้ใหญ่ก่อนด้วยการกล่าวถึงผู้ใหญ่แล้ว
ตามด้วยผู้น้อย เช่น “คุณตาครับ นีวิบูลย์เพื่อนผม วิบูลย์นีคุณตาของผมเอง”
2) แนะน าผู้ ช ายให้ รู้จักกับผู้ ห ญิง ในกรณีที่มีความอาวุโ สเท่าเทียวกัน เช่น “คุ ณ
สมหญิงครับนี่คืออาจารย์สมชาย อาจารย์ใหญ่ครับและอาจารย์สมชายนี่อาจารย์สมหญิงประธานหลักสูตรครับ”
2.1.3 การแนะนาวิทยากร มีจุดมุ่งหมายเพื่อแนะนาให้ผู้ฟังรู้จักผู้พูดที่ได้รับเชิญมาบรรยายให้
ความรู้ด้วยการปาฐกถาหรือเป็นวิทยากร ซึ่งผู้แนะนาควรติดต่อขอรายละเอียดไว้ล่วงหน้า มีหลักในการแนะนา
ดังนี
1) แนะนาชื่อและนามสกุล
2) บอกคุณวุฒิ
3) กล่าวถึงหน้าที่การงานในปัจจุบัน
4) กล่าวถึงเกียรติคุณที่เคยได้รับเพื่อเป็นเกียรติและสร้างศรัทธาของผู้ฟัง
5) ความรู้และประสบการณ์เกี่ยวข้องกับเรื่องที่พูด
2.2 การกล่าวต้อนรับ โอกาสที่จะพูดได้แก่ เมื่อมีแขกนสาคัญมาเยี่ยม และเมื่อมีผู้ร่วมงานใหม่ เพื่อ
แสดงอัธยาศัยไมตรีอันดี สร้างความรู้สึกอบอุ่น ความรู้สึกที่ดีงามต่อกันและเป็นเกียรติแก่ผู้มาเยี่ยม หรือผู้มาใหม่
ด้วย หรือในโอกาสการกล่าวต้อนรับผู้มาประชุม
2.2.1 กล่าวถึงความรู้สึกยินดี หรือเป็นเกียรติเจ้าของสถานที่
2.2.2 พูดเรื่องที่เกี่ยวกับส่วนดีของผู้มาใหม่ให้ผู้ฟังรู้จักเพื่อเป็นการให้เกียรติ ถ้าเป็นการมา
ประชุมก็กล่าว ถึงความสาคัญของการประชุม วัตถุประสงค์ ความเป็นมา ประโยชน์ที่จะได้รับ และต้อนรับผู้มา
ประชุมให้รู้สึกผ่อนคลาย เกิดความเป็นกันเอง
2.2.3 พูดเรื่องความปรารถนาดีของเจ้าของสถานที่ และแสดงความยินดีที่จะช่วยเหลือ
2.2.4 กล่าวสรุปว่า ผู้มาเยือนนันจะมีความสุข สบายใจ ประสบความสาเร็จ ถ้าเป็นผู้มาเยือน
ก็หวังว่า คงกลับมาเยี่ยมเยือนอีก
2.3 การกล่าวตอบการต้อนรับ
2.3.1 กล่าวขอบคุณที่ได้รับการต้อนรับเป็นอย่างดี
2.3.2 แสดงความซาบซึงในความเอาใจใส่ ด้วยนาเสียงที่แสดงความจริงใจ
2.3.3 จบลงด้วยความหวังว่าจะมีโอกาสกลับมาอีกครัง
2.4 การกล่วมอบรางวัลหรือของขวัญ ในการที่มีพิธีมอบของรางวัล หรือการมอบของขวัญ มักจะมี
การกล่าวก่อนที่จะมอบ มีหลักในการพูด ดังนี
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 133

2.4.1 กล่าวถึงโอกาสว่า มอบรางวัลหรือของขวัญนีในโอกาสใด


2.4.2 กล่าวถึงหน่วยงานหรือในนามของผู้ใด ซึ่งผู้พูดต้องจดจาข้อเท็จจริงต่าง ๆ ให้แม่นยา
เช่น หน่วยงาน ชื่อของบุคคล โดยเฉพาะชื่อบุคคลที่ได้รับเกียรติให้รับของขวัญ หรือรางวัล
2.4.3 กล่าวถึงเหตุผลที่สมควรได้รับรางวัล ว่าผู้ได้รับของขวัญหรือรางวัลมีคุณสมบัติสมควร
ได้รับเกียรตินีอย่างไร
2.4.4 กล่าวถึงของขวัญ หรือ ของรางวัล ว่าเป็นเพียงสิ่งที่ตอบแทนความดี หรือเป็นของที่
ระลึกแทนความดีนัน
2.4.5 อาจกล่าวถึงผู้ฟัง และการกระตุ้นให้ผู้ฟังเกิดกาลังใจ ที่จะเป็นผู้มีโอกาสได้รับรางวัล
เพื่อตอบแทนความดี และความสามารถเช่นนีบ้าง
2.4.6 เมื่อกล่าวจบ จึงมอบของขวัญและอาจสัมผั สมือเพื่อแสดงความยินดีแบสากลนิยมด้วย
ก็ได้
2.5 การกล่าวตอบการรับมอบรางวัลและของขวัญ การกล่าวตอบต้องระวังอย่างให้สันเกินไปจน
อาจกลายเป็นไม่สุภาพ ควรเป็นการกล่าวเพื่อแสดงว่า
2.5.1 ผู้รับมีความรู้สึกยินดีเพียงใด
2.5.2 แสดงความรู้สึกขอบคุณผู้มาร่วมงานหรือผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ที่ช่วยให้ประสบความสาเร็จ
(ถ้ามี)
2.5.3 กล่าวถึงของขวัญว่ามีความหมายสาหรับผู้รับอย่างไร
2.5.4 แสดงความตังใจว่าจะรักษาเกียรตินันไว้นานเท่านาน
2.6 การกล่าวแสดงความอาลัย เป็นการกล่าวเพื่อแสดงความรัก และความอาลัยต่อบุคคลที่ต้องจา
ไปหรือการกล่าวเพื่อไว้อาลัยผู้ล่วงลับ มีหลักในการกล่าวดังนี
2.6.1 การกล่าวคาอาลัย เมื่อมีผู้ ย้ายไปปฏิบัติงานในหน้าที่ใหม่ ลาออกจากงาน หรือพ้น
ตาแหน่งหน้าที่จะมีการจัดเลียงส่งหรืออาลา ในโอกาสนีมักจะเป็นการเชิญบุคคลต่าง ๆ ขึนกล่าวแสดงความรู้สึก
ซึ่งมีหลักเกณฑ์ดังนี
1) กล่าวอย่างจริงใจ
2) ยกย่องชมเชย คุณงามความดี หรือกล่าวถึงผลงานที่เคยปฏิบัติมาแล้ว
3) กล่าวถึงความรัก และอาลัยของเพื่อนร่วมงาน
4) แสดงความหวังว่า ความสาเร็จที่ได้กระทามาแล้ว จะเป็นแนวทางให้ผู้อื่นนาไปปฏิบัติ
เพื่อความสาเร็จต่อไป
5) กล่ า วอวยพรให้ ป ระสบความส าเร็ จ ในหน้า ที่ ก ารงานใหม่ ถ้ า ต้ อ งเดิ น ทางก็ ข อให้
เดินทางโดยสวัสดิภาพ
6) มอบของที่ระลึก
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 134

2.6.2 การกล่าวแสดงความอาลัยแก่ผู้ล่วงลับ เป็นการกล่าวอาลัยในงานศพเพื่อเป็นการให้


เกียรติแก่ผู้เสียชีวิต และมักจะค่อนข้างเป็นพิธีการ มีหลักการกล่าวดังนี
1) กล่าวถึงชีวประวัติของผู้ลาวงลับโดยสังเขป
2) กล่าวถึงผลงานและคุณความดี
3) กล่าวถึงสาเหตุที่ต้องเสียชีวิต
4) แสดงความอาลัยของผู้ที่ยังอยู่
5) ขอให้ดวงวิญญาณไปสู่ที่สุขคติ
2.7 การกล่าวอาลา ในวงการธุรกิจหรือราชการ เมื่อมีผู้ออกจากงาน โยกย้ายตาแหน่งหน้าที่ มักจะ
มีการจัดเลียงส่งเพื่ออาลา ผู้กล่าวคาอาลาควรระมัดระวังการใช้ถ้อยคาใช้คาพูดที่มีความจริงใจ โดยยึดหลักดังนี
2.7.1 พูดถึงสาเหตุที่ต้องจากไป ถ้าผู้ ฟังทราบมาก่อนแล้ว ก็ควรกล่าวเริ่มต้นกล่าวถึงความ
อาลัยในการจาก
2.7.2 กล่าวถึงความสัมพันธ์อันดีระหว่างเพื่อนร่วมงาน การช่วยเหลือเกือกูล ความซาบซึงใน
นาใจ และความประทับใจ ขณะที่ได้รับเมื่ออยู่ที่ที่ทางานเดิม
2.7.3 พูดถึงตาแหน่งใหม่ งานใหม่ หรือสถานที่ใหม่ แต่ต้องไม่ให้ผู้ฟังรู้สึกดีใจที่จะจากไป
2.7.4 กล่าวเชิญชวนให้เพื่อนร่วมงานไปเยี่ยมเยือน ณ ที่ทางานใหม่
2.7.5 แสดงความหวังว่าจะได้กลับมาอีก
2.7.6 ขอบคุณในไมตรีจิตของผู้ร่วมงาน และผู้เกี่ยวข้องในการจัดงานเลียงอาลานี
2.8 การกล่ าวแสดงความยิ น ดี เป็น การกล่ าวแสดงความชื่นชมในความส าเร็จของบุค คลหรื อ
หน่วยงาน เพื่อเป็นการให้เกียรติและเพื่อการประสานความร่วมมือกันต่อไป เช่นการกล่าวแสดงความยินดีใน
โอกาสที่บุคคลนันได้รับตาแหน่งใหม่ ได้รับการยกย่องประกาศเกียรติคุณ หน่วยงานได้รับยกย่องหรือได้รับรางวัลมี
หลักในการกล่าวดังนี
2.8.1 บอกให้ทราบว่ากล่าวในนามของใคร
2.8.2 แสดงความยินดีอย่างจริงใจ
2.8.3 กล่าวยกย่องในความวิริยะอุตสาหะ คุณความดีที่บุคคล หรือหน่วยงานนันกระทาจน
ประสบความสาเร็จ
2.8.4 กล่าวอวยพรและมอบดอกไม้หรือของที่ระลึกเพื่อแสดงความยินดี
2.9 การกล่าวตอบแสดงความยินดี ผู้กล่าวตอบควรแสดงความภูมิใ จในความสาเร็จของตนเอง ถ้า
เป็นผู้นาต้องแสดงความเข้มแข็งจริงจัง เพื่อแสดงให้เห็นความสามารถในการเป็นผู้นา แต่มีข้อระวัง คือ อย่าแสดง
ความอวดตัว คือ อย่าแสดงความไม่มั่นใจ มีหลักในการกล่าว ดังนี
2.9.1 แสดงความรู้สึกยินที่ที่ได้มาทางานร่วมกัน
2.9.2 ยกย่องสถาบัน หรือหน่วยงานที่ทางานอยู่
2.9.3 กล่าวถึงหลักการหรืออุดมคติในการทางานของตนเอง
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 135

2.9.4 แสดงให้เห็นว่าผู้ร่วมงานทุกคนมีความรับผิดชอบ และมีความสาคัญต่อหน่วยงานและ


ขอให้ทุกคนร่วมมือกันทางาน
2.10 การกล่าวมอบตาแหน่ง ในการทางานย่อมมีโอกาสโยกย้ายเปลี่ยนแปลงตาแหน่งใหม่ การ
สับเปลี่ยนดังกล่าวต้องมีการมอบงาน มอบตาแหน่ง เพื่อเป็นเกียรติและให้กาลังใจแก่ผู้มารับตาแหน่งใหม่ มีหลัก
ดังนี
2.10.1 กล่าวถึงความสาคัญของตาแหน่ง เพื่อให้ผู้รับตาแหน่งเกิดความภูมิใจ
2.10.2 กล่าวยกย่องในความสามารถและคุณสมบัติพิเศษของผู้มารับตาแหน่ง
2.10.3 ฝากความหวังว่ากิจการงานทังหลายจะดาเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ
2.10.4 อวยพรให้ประสบความสาเร็จในการทางานตาแหน่งใหม่
2.11 การกล่าวตอบรับมอบตาแหน่ง เพื่อแสดงความจริงใจและความตังใจในการที่จะทางานใน
ตาแหน่งที่จะได้รับมอบ มีหลักในการกล่าวดังนี
2.11.1 แสดงความขอบคุณที่ได้รับเกียรติจากผู้มอบตาแหน่ง และการต้อนรับจากผู้ร่วมงาน
2.11.2 แสดงความเชื่อมั่นว่าจะได้รับความร่วมมือร่วมใจจากผู้ร่วมงานทุกคน
2.11.3 กล่าวแสดงความมุ่งมั่นที่จะทางานให้ประสบความสาเร็จอย่างมีประสิทธิภาพ
2.12 การกล่าวมอบถาวรวัตถุและสิ่งก่อสร้าง การกล่าวมอบถาวรวัตถุไว้เป็นสาธารณประโยชน์
นิยมทากันทั่วไปในสังคม เช่น ห้องสมุด ถนน อาคาร ครุภัณฑ์ ศาลาที่พักคนเดินทาง มีหลักดังนี
2.12.1 แสดงเจตนารมณ์ของผู้มอบ เช่น เพื่อเป็นสาธารณกุศล เพื่อเป็นการศึกษา เพื่อเป็น
ระทึกหรือเพื่ออุทิศแก่ผู้ล่วงลับ
2.12.2 กล่าวถึงประโยชน์ที่จะได้รับ
2.12.3 ฝากความหวังว่าถาวรวัตถุนีจะเป็นประโยชน์ตามเจตนารมณ์ของผู้มอบ
2.13 การกล่าวรับมอบถาวรวัตถุและสิ่งก่อสร้าง
2.13.1 แสดงความขอบคุณแก่ผู้มอบ
2.13.2 แสดงความตังใจที่จะใช้สิ่งที่รับมอบให้สมเจตนารมณ์ของผู้มอบ
2.13.3 กล่ าวคาอวยพร โดยขออานาจบุญกุศลดลบันดาลให้ ผู้ มอบมีความสุ ข ความเจริญ
ตลอดไป
2.14 การกล่าวอวยพร ในการอยู่ร่วมกันในสังคม มีโอกาสที่คนในสังคมจะกล่าวอวยพรแก่กันใน
โอกาสต่าง ๆ เพื่อแสดงความรักความเอืออาทรให้กาลังใจ และเกิดความเป็นสิริมงคลแก่ผู้รับ ถือเป็นประเพณีนิยม
และมารยาทอันดีงามในสังคม โอกาสและหลักในการกล่าวอวยพรมีดังนี
2.14.1 การอวยพรเนื่องในวันคล้ายเกิด มีหลักการกล่าว ดังนี
1) กล่าวแสดงความรู้สึกเป็นเกียรติที่ได้มากล่าวอวยพร
2) กล่าวถึงความสาคัญวันนี
3) กล่าวถึงความสัมพันธ์หรือความคุ้นเคยของผู้พูดที่มีต่อเจ้าภาพ
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 136

4) กล่าวถึงคุณความดีของเจ้าของวันเกิด
5) กล่าวถึงความสามารถและความก้าวหน้าในอนาคต
6) อวยพรให้มีอายุยืนยาว มีความสุข ความเจริญ
2.14.2 การกล่าวอวยพรในงานขึนบ้านใหม่
1) แสดงความรู้สึกเป็นเกียรติที่ได้มาร่วมงาน
2) กล่าวถึงความสวยงาม ความสะดวกสบายของบ้านใหม่
3) กล่าวถึงความสาเร็จของครอบครัวที่มีบ้านเรือนเป็นรากฐาน
4) กล่าวถึงความสามารถของเจ้าของบ้านที่มีความขยันหมั่นเพียรในการก่อร่างสร้างบ้าน
5) แสดงความยินดีในความสาเร็จ
6) อวยพรให้สมาชิกทุกคนในบ้านประสบแต่ความสุข และความเจริญรุ่งเรือง
2.14.3 การกล่าวอวยพรเนื่องในวันขึนปีใหม่
1) แสดงความยินดีที่ได้รับเกียรติให้มากล่าวอวยพร หากเป็นผู้แทนให้กล่าวว่ากล่าว
ในนามใคร
2) กล่าวถึงความสาคัญของวันปีใหม่
3) อวยพรให้ทุกคนมีชีวิตที่ดีและมีความสุขในวันขึนปีใหม่
2.14.4 การกล่าวอวยพรเนื่องในงานมงคลสมรส ในงานมงคลสมรสผู้ได้รับเชิญมากล่าวอวยพร
นัน ส่วนใหญ่จะเชิญบุคคลที่มีเกียรติ เป็นที่เคารพนับถือของเจ้าภาพ และคู่สมรสมีประวัติครองเรือนที่ดี มีหลัก
ปฏิบัติในการกล่าวดังนี
1) กล่าวแสดงความรู้สึกยินดีและเป็นเกียรติที่ได้รับเชิญมากล่าวอวยพรแก่คู่สมรส
2) กล่าวถึงว่าท่านกล่าวในฐานะใด เช่น เป็นประธาน เป็นผู้แทน เจ้าภาพฝ่ายเจ้าสาว
ฝ่ายเจ้าบ่าว หรือผู้บังคับบัญชา
3) กล่าวถึงความสัมพันธ์ของผู้พูดกับคู่บ่าวสาว หรือครอบครัวของคู่บ่าวสาว
4) แสดงความยินดีให้เกียรติยกย่องคู่บ่าวสาว ว่ามีความเหมาะสมกันในการครองชีวิตคู่
5) ให้ข้อคิดเกี่ยวกับชีวิตการครองเรือน
6) แสดงความขอบคุณผู้มาร่วมงาน
7) กล่าวอวยพรและเชิญชวนผู้มีเกียรติร่วมกันดื่มอวยพร
ในการกล่าวอวยพรเนื่องในวันมงคลสมรส หากเป็นการสมรสซึ่งคู่สมรสได้รับพระมหา
กรุณาธิคุณสมรสพระราชทาน ผู้มีเกียรติที่ได้รับเชิญมากล่าวอวยพรจะไม่ต้องกล่าว อวยพร แต่จะเชิญชวนผู้มี
เกียรติที่มาร่วมงานร่วมดื่มถวายพระพร
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 137

คากล่าวอวยพรในวันขึ้นปีใหม่*

ท่านผู้มีเกียรติทังหลาย
ย่อมเป็นที่น่ายินดีปรีดาในการที่ท่านทังหลายได้ผ่านชีวิตการต่อสู้ในรอบปี …. มาด้วยดี ไม่ว่าในการ
ประกอบอาชีพใดๆ หรือการกระทากิจการใดๆ ย่อมมีอุปสรรคขัดขวางบ้างไม่มากก็น้อย การที่ได้พ้นอุปสรรค หรือ
ฝ่าพ้นอุปสรรคมาได้ จึงเป็นสิ่งที่ควรภูมิใจและนับว่าเป็นโชคลาภที่ควรพึงพอใจ นอกจากนันการดารงชีวิตอยู่ได้มา
ครบรอบปีโดยปราศจากโรคาพยาธินัน นับเป็นลาภอันประเสริฐสมดังคากล่าวในพุทธภาษิต “อโรคยาปรมา ลาภา
ความไม่มีโรคเป็นลาภอันประเสริฐ”
เพื่อให้พวกเราทังหลายได้ดาเนินต่อไปในอนาคตในปีใหม่นี ด้วยความราบรื่นปราศจากทุกข์โรคภัย และ
ไข้เจ็บทังหลาย จึงขอได้โปรดตังปณิธานและตังจิตยึดมั่นในคติธรรมทางศาสนา กล่าวคือ ละเว้นจากความชั่วทัง
มวล ประกอบแต่คุณความดี และทาให้จิตใจบริสุทธิ์ผ่องใสถ้าจะมีสิ่งใดเป็นเหตุให้เกิดความเศร้าหมอง ในรอบปีที่
หรือจะมีสิ่งใดบกพร่องผิดพลาดในปีเก่า ก็ขอให้พวกเราได้เริ่มต้นชีวิตด้วยการทิงสิ่งที่เศร้าหมอง และความไม่ดีไม่
งามสุดสินไปตามปีเก่า มาเริ่มต้นสิ่งที่สดใสบริสุทธิ์ผุดผ่องในปีใหม่ คือ พ.ศ. ……นี
ในโอกาสอันเป็นศุภมงคลแห่งวันขึนปีใหม่นี ข้าพเจ้าของชวนท่านทังหลายตังจิตอธิษฐานราลึ กถึงคุณพระ
ศรีรัตนตรั ย และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทังหลายที่ท่านเคารพนับถือ ได้ดลบันดาลให้พวกเราทังหลายและครอบครัว จง
เพียบพร้อมด้วยคุณธรรมอันดีงาม และถึงพร้อมด้วยจตุรพิธพร คือ อายุ วรรณะ สุขะ พละ ตลอดจนมีทรัพย์
สมบัติ มีกาลังกายและกาลังใจในอันที่จะประกอบอาชีพ เพื่อความสมบูรณ์ทังกายและใจเทอญ

* คัดมากจากฉัตรวรุณ ตันนะรัตน์ (2534 : 122)

คากล่าวอวยพรเนื่องในงานพิธีมงคลสมรส*

สวัสดีท่านผู้มีเกียรติทังหลาย
ดิฉันรู้สึกยินดีและเป็นเกียรติอย่างยิ่งที่ได้มากล่าวให้โอวาท เนื่องในงานพิธีมงคลสมรสของคุณดวงแขกับ
คุณมนัส
เนื่องในงานพิธีมงคลสมรส ซึ่งเป็นการแสดงให้เห็นถึงความสาคัญในการที่แต่ละฝ่ายจะได้ใช้ชีวิตและได้
ผจญชีวิตร่วมทุกข์ร่วมสุขกัน ซึ่งเป็นเครื่องเตือนใจให้คู่บ่าวสาวซึ่งจะต้องไปสร้างฐานะของตนเอง ซึ่งคุรดวงแข
และคุณมนัสเปรียบเหมือนกับลูกของดิฉันเองและดิฉันก็สามารถว่ากล่าวตักเตือนได้คนทัง 2 ได้ เพราะการไปใช้
ชีวิตคู่ก็ย่อมจะมีการกระทบกระเทียบกันบ้าง เหมือนกับสุภาษิตที่ว่า ลินกับฟันยังกระทบกัน ก็เป็นธรรมดาของ
สามีภรรยาก็ย่อมจะมีปากเสียงกันบ้าง ร้อนและเย็นเป็นของคู่กัน ถ้าฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเป็นคนอารมณ์ร้อนอีกฝ่ายก็
ควรจะเย็นเอาไว้ และทังสองควรจะหันมาปรึกษาหารือเมื่อมีปัญหาเกิดขึนภายในครอบครัว อีกประการหนึ่งคู่
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 138

สมรสทัง 2 คน จะต้องคิดถึงปัญหาที่จะอบรมสั่งสอนลูกให้เป็นคนดีต่อไปในอนาคต จะต้องรับทราบปัญหาเกือบ


ทุกด้านคือ
1. ปัญหาเกี่ยวกับค่าครองชีพ คือ สามีและภรรยาจะต้องมีความซื่อสัตย์ต่อกันและกันในเรื่องทรัพย์สิน
เงินทอง ฝ่ายหญิงจะต้องเป็นแม่บ้านที่ดีของสามีและลูก ๆ ต่อไปในวันข้างหน้า
2. สามีและภรรยาจะต้องมีความเอือเฟื้อเผื่อแผ่ต่อกัน เช่น มีการให้ของขวัญเนื่องในวันเกิดของสามีและ
ภรรยา ซึ่งแสดงถึงความมีนาใจต่อกัน
3. เป็นที่ปรึกษาปัญหาแก่ลูก ๆ ต่อไปในวันข้างหน้า ซึ่งสามีและภรรยานันอาจจะกล่าวได้ว่าเหมือนกับ
เงาติดตามกัน ซึ่งจากการให้คติเตือนใจแก่คู่บ่าวสาวทัง 2 คนนี ซึ่งดิฉันเองได้ประสบกับการใช้ชีวิตคู่มาแล้วซึ่ง
จะต้องใช้ความอดทนทังกาลังกาย กาลังใจ และกาลังความคิด จะทาอะไรต้องปรึกษาร่วมกัน ในกิจการทุกด้าน
และตัดสินใจให้รอบคอบ ฉะนัน ดิฉันคิดว่าการที่มีโอกาสขึนมากล่าวคาอวยพรและได้ให้คติเตือนใจแก่คู่บ่าวสาว
ทัง 2 พอแล้ว และต่อไปดิฉันก็จะขอดื่มและกล่าวคาอวยพรแด่คู่บ่าวสาวทัง 2 คือ ขอให้สิ่งศักดิ์สิทธิ์ทังหลายจง
คุ้มครองคุณดวงแขกับคุณมนัสให้ครองรักครองเรือนไปจนแก่เฒ่า เหมือนดังคาโบราณกล่าวไว้ว่า ขอให้ครองรัก
กันเหมือนกับถือไม้เท้ายอดทองกระบองยอดเพชร มีลูกหลานที่เป็นเด็กว่านอนสอนง่าย อยู่ในโอวาทของพ่อแม่
เป็นที่รักของพ่อแม่ เป็นกาลังใจของทุก ๆ คน ขอให้คู่สมรสทัง 2 ก้าวดาเนินชีวิตไปได้อย่างราบรื่น มีสุขภาพจิต
สุขภาพกายดี แข็งแรงเหมือนกับนก ซึ่งพร้อมที่จะบินไปในโลกกว้าง ขณะนีได้เวลาอันเป็นฤกษ์มงคล ดิฉันขอเชิญ
ชวนแขกผู้มีเกียรติทังหลายที่มางานนีดื่มอวยพรให้เป็นเกียรติแด่คู่สมรสทัง 2 พร้อมกัน และอีกทังโอวาทพร้อมทัง
ให้คติเตือนใจแก่คู่บ่าวสาวซึ่งคิดว่าคงจะเป็นประโยชน์แก่คู่บ่าวสาวทัง 2 ได้ยืดถือและปฏิบัติร่วมกัน
สวัสดีค่ะ

* คัดมากจากฉัตรวรุณ ตันนะรัตน์ (2534 : 88-89)

การพูดเป็นพิธีและโฆษก
พิธีกร หมายถึง ผู้ทาหน้าที่ดาเนินรายการในกิจการนันๆ ให้เป็นไปตามจุดมุ่งหมายประสานประโยชน์ให้
เกิดแก่ผู้ฟังและร่วมรายการ หรือสร้างความเข้าใจอันดีระหว่างผู้แสดงในรายการนันกับผู้ฟัง ผู้ชม
โฆษก หมายถึง ผู้ที่ทาหน้าที่ป ระกาศเรื่องราวต่าง ๆ เพื่อสื่อความหมายแก่ผู้ฟัง แต่พิธีกรนันเป็นผู้ ที่
หน้าที่ในงาน ซึ่งผู้รับเชิญมาพูดมากกว่าหนึ่งขึ นไป เช่น งานสัมมนาทางวิชาการ งานมงคลสมรส งานเริงรื่นใน
โอกาสต่าง ๆ ส่วนโฆษกนันมักทาหน้าที่ในหน้าที่มีผู้รับเชิญมาพูดคนเดียว หรือในงานที่จะต้องมีผู้เป็นตัวกลางใน
การสื่อความหมายกับผู้ฟัง เพื่อให้การจัดงานนันดาเนินไปได้อย่างเรียบร้อย
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 139

1. จุดมุ่งหมายของการพูดในฐานะพิธีกรหรือโฆษก
1.1 เพื่อแจ้งข้อมูลหรือกิจกรรมต่าง ๆ ให้ผู้ฟังหรือผู้ร่วมงานทราบ
1.2 เพื่อดาเนินรายการให้ราบรื่น มีบรรยากาศเหมาะสมกับโอกาสของงาน
2. ความรู้พืนฐานของพิธีกรหรือโฆษก
2.1 รู้ลาดับรายการ
2.2 รู้จุดมุ่งหมายของรายการ
2.3 รู้รายละเอียดของแต่ละรายการ
2.4 รู้จักผู้เกี่ยวข้องในแต่ละรายการ
2.5 รู้กาลเทศะ
3. หลักการพูดในฐานะพิธีกรหรือโฆษก
3.1 เริ่มรายการตามแผนที่ได้วางไว้ล่วงหน้า
3.2 ใช้ภาษาให้เหมาะสมกับโอกาสของงาน
3.3. พูดสัน กระชับ มีชีวิตชีวา
3.4 พูดเสียงดัง กระชับ มีจังหวะพอเหมาะ
3.5 แนะนาผู้พูดด้วยการเอ่ยชื่อ นามสกุล ตาแหน่งให้ถูกต้อง
3.6 ก่อนเชิญคนต่อไปพูด ควรมีการคั่นจังหวะด้วยคาพูดสัน ๆ ที่น่าสนใจและเชื่อมโยง เพื่อผ่อน
อารมณ์ผู้ฟัง
3.7 ใช้คาพูดนุ่มนวล หลีกเลี่ยงการพูดหรือการแสดงทีท่าโอ้อวด หรือดูถูกผู้ฟัง
4. เทคนิคการเป็นพิธีกรหรือโฆษก
4.1 ต้องมีความพร้อมทังร่างกายและจิตใจ
4.2 มาถึงงานก่อนเวลา
4.3 สารวจความพร้อมของเวลา แสง สี และเสียง
4.4 เปิดรายการด้วยความสดชื่น กระปรีกระเปร่า
4.5 ดึงดูดความสนใจมาสู่เวทีได้เวลาตลอด
4.6 แก้ปัญหาหรือควบคุมสถานการณ์เฉพาะหน้าได้อย่างดี
4.7 ดาเนินรายการได้จนจบ บรรลุตามจุดประสงค์ที่วางไว้

ปัญหาและอุปสรรคในการพูด
1. ขาดการเตรียมตัวที่ดี
2. ไม่ได้ศึกษาเรือ่ งที่พูดอย่างลึกซึง
3. จังหวะลีลาและเสียงพูดไม่น่าสนใจ
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 140

4. ขาดมารยาทในการพูด
5. ขาดการวิเคราะห์ผู้ฟัง
6. ใช้ภาษาไม่ถูกต้อง
7. ไม่สามารถรักษาอารมณ์ได้
8. ลาดับเรื่องไม่ดี
9. ไม่รักษาเวลา
10. สรุปจบไม่ลง

แนวทางแก้ไขปัญหาในการพูด
ผู้พูดที่ควรฝึกฝนตนเองด้วยการศึกษาจากตัวอย่าง รู้จักสังเกต จดจาและนาไปใช้ให้เหมาะแก่กาลเทศะ
แนวทางการแก้ปัญหาในการพูดมีดังนี
1. ประเมินตนเอง ว่ามีข้อบกพร่องในการพูดอย่างไร และพยายามปรับปรุงแก้ไขด้วยการหมั่นฝึกฝน
ด้วยตนเอง
2. รับฟังการประเมินการพูดจากผู้ฟัง ผู้พูดที่ดีควรใส่ใจรับฟังข้อติชม ข้อเสนอแนะของผู้รับฟังและรับมา
ปรับปรุงแก้ไข
3. หมั่นศึกษาหาตัวอย่างจากนักพูดที่มีชื่อเสียง ด้ วยการสังเกตเทคนิควิธีการต่าง ๆ ที่จะทาให้การพูด
น่าสนใจ
4. ฝึกฝนทักษะการใช้ภาษา ทังในด้านเสียงพูด จังหวะลีลา การออกเสียง การพูดประโยคให้กระชับ
สามารถสื่อความหมายได้รวดเร็วตรงตามจุดประสงค์
5. ปรับปรุงบุคลิกภาพ ด้านการแต่งกาย อากัปกิริยาท่าทาง ฝึกฝนปรับบุคลิกภาพให้เข้ากับการพูด
6. ฝึกฝนมารยาทในการพูด เช่น มีความสุภาพ มีกิริยามารยาทสง่างามนุ่มนวล พูดจาไพเราะให้เกียรติ
ผู้ฟัง รู้จักพุดในโอกาสที่พอเหมาะและมีความจริงใจกับผู้ฟัง
7. รู้จักควบคุมอารมณ์ การเตรียมตัวให้พร้อมจะทาให้เกิดความเชื่อมั่นในตนเอง ไม่เกิดความประหม่า
เขินอาย ตื่นเต้น หรือการรู้จักควบคุมอารมณ์ให้มีความหนักแน่น สารวมไม่แสดงท่าทีโกรธ หรือแสดงกิริยาท่าทาง
ไม่เหมาะสม
8. ฝึ ก ฝนความมี ป ฏิ ภ าณไหวพริ บ สามารถแก้ ไ ขปั ญหาได้ ฉั บไว ด้ ว ยการฝึ ก ให้ เ ป็ น คนช่า งสั ง เกต
ตอบสนองต่อสถานการณ์ต่าง ๆ ได้รวดเร็ว คิดเร็วแต่ต้องอยู่บนพืนฐานของความสมเหตุสมผล
9. หมั่นศึกษาหาความรู้อยู่เสมอ เพื่อให้เกิดความรอบรู้สมารถนาความรู้มาใช้ในการพูดเพื่อสร้างศรัทธา
จากผู้ฟังได้
10. มีอารมณ์รื่นเริง สามารถสร้างบรรยากาศในการพูดได้ดี แต่ต้องพอเหมาะแก่กาลเทศะ
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 141

จากแนวทางในการพัฒนาทักษะการพูดดังที่ กล่าวมาแล้ว จะทาให้ผู้เรียนสามารถฝึกฝนใช้ทักษะการพูด


ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจาวัน ซึ่งทุกคนต้องอยู่ร่วมกันในสังคม ทักษะการสื่อสารที่จาเป็นคือการพูด ฉะนันการ
พูดจึงก่อให้เกิดการประสานใจ ประสานความคิดแก่คนในสังคมได้ ถ้าผู้พูดรู้จักพูดเพื่อสร้างสรรค์ รู้จั กให้เกียรติ
และมีมารยาทอันงาม ย่อมทาให้มนุษย์มีความรู้สึกที่ดีต่อกัน โลกย่อมสวยงามและสงบสุข
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 142

บทที่ 8
การพัฒนาทักษะการเขียน

การเขียนเป็นทักษะที่สาคัญยิ่งในการสื่อสารของมนุษย์ เพราะนอกจากจะใช้ถ่ายทอดความรู้ ความรู้สึก


นึกคิด อารมณ์ไปยังผู้อ่านแล้ว ยังใช้เป็นเครื่องมือสาหรับจดบันทึกเรื่องราวและข้อมูลต่าง ๆ ไว้เพื่อป้องกัน การ
สูญหาย เป็นประโยชน์แก่คนรุ่นหลังจะได้ศึกษาเพื่อสืบทอดและพัฒนาศิลปวิทยาการต่าง ๆ ได้อย่างต่อเนื่อง การ
เขียนนับเป็นสื่อที่คงทนถาวรและมีพัฒนาการที่ลาหน้ากว่าทักษะอื่น ๆ ทังสิน

ความหมายของการเขียน
มีผู้ให้ความหมายของการเขียนไว้มากมายดังนี
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 (2556: 212) ได้กล่าวว่า เขียน หมายถึง ขีดให้เป็น
ตัวหนังสือหรือเลข, ขีดให้เป็นเส้นหรือรูปต่าง ๆ, วาด, แต่งหนังสือ
เสาวณีย์ สิกขาบัณฑิต (2533: 7) ได้กล่าวถึงความหมายของการเขียนเป็นการสื่อสารความรู้ ข้อเท็จจริง
ความเข้าใจ จินตนาการ อารมณ์ และความคิดเห็นระหว่างผู้ส่งสารและผู้รับสาร เป็นวิธีการสื่อสารที่ได้ผลดีและ
สะดวกรวดเร็วสามารถส่งไปได้ไกลทั่วโลก
ธนู ทดแทนคุณ และกานต์ร วี แพทย์พิทักษ์ (2552: 117) กล่ าวว่า การเขียน หมายถึง การเรียบ
เรี ย งความคิ ด ในสิ่ ง ที่ จ ะสื่ อ สารเป็ น ตั ว หนั ง สื อ อย่ า งมี จุ ด มุ่ ง หมายเพื่ อ ถ่ า ยทอดความรู้ สึ ก ความนึ ก คิ ด
ความต้องการ และข้อมูลต่าง ๆ ไปยังผู้อ่าน
จุไรรัตน์ ลักษณะศิริ และบาหยัน อิ่มสาราญ (2550: 181) ได้กล่าวถึง การเขียนเป็นการสื่อสารด้วย
ตัวอักษรเพื่อถ่ายทอดความรู้ ความคิด อารมณ์ ความรู้สึก ประสบการณ์ ข่าวสาร และจินตนาการจากผู้เขียนไปสู่
ผู้อ่าน
จากความหมายของการเขียนทังหมด อาจกล่าวโดยสรุปได้ว่า การเขียนเป็นการถ่ายทอดความรู้ ความคิด
ความรู้สึก ประสบการณ์ จินตนาการ และอารมณ์ต่าง ๆ ผ่านสื่อที่เป็นตัวอักษร หรือสัญลักษณ์ใด ๆ ที่สามารถสื่อ
ความให้ผู้อื่นได้ทราบและเข้าใจ

ความสาคัญของการเขียน
การเขียนมีความสาคัญต่อมนุษย์หลายประการ สรุปได้ดังนี
1. การเขียนเป็นเครื่องมือสื่อสารอย่างหนึ่งของมนุษย์ที่มนุษย์ใช้ถ่ายทอดความรู้ ความคิด ประสบการณ์
ตลอดจนการสื่อสารอารมณ์ ความรู้สึกต่าง ๆ
2. การเขีย นเป็ น การแสดงออกถึงบุคลิ กภาพและภูมิปัญญาของผู้เขียน ทังในด้านความรู้ ความคิด
อารมณ์ และความรู้สึก
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 143

3. การเขียนเป็ น เครื่ องมือส าคัญในการพัฒ นาบุคคลในด้านต่าง ๆ ทังด้านสติปัญญา ด้านความคิด


สร้างสรรค์ ด้านความสามารถ และบุคลิกภาพ
4. การเขียนเป็นอาชีพที่สามารถสร้างรายได้และเกียรติยศให้กับบุคคลได้
5. การเขียนเป็นเครื่องมือสาคัญในการถ่ายทอดมรดกทางวัฒนธรรมและมรดกทางด้านสติปัญญาของ
มนุษย์จากสมัยหนึ่งไปสู่อีกสมัยหนึ่ง
6. การเขียนเป็นเครื่องหมายแสดงความเป็นชาติ ก่อให้เกิดความรักและความภาคภูมิใจในความเป็นชาติ

จุดมุ่งหมายของการเขียน
การเขียนจะบรรลุผลตามวัตถุประสงค์หรือไม่นัน สิ่งสาคัญที่ผู้เขียนจะต้องคานึงถึงคือ จุดมุ่งหมายในการ
เขียน ซึ่งสามารถจาแนกได้ดังนี (จุไรรัตน์ ลักษณะศิริ และบาหยัน อิ่มสาราญ. 2550: 181-182)
1. การเขียนเพื่อเล่าเรื่อง
การเขียนเพื่อเล่าเรื่อง คือ การนาเหตุการณ์หรือเรื่องราวที่เป็นลาดับอยู่แล้วมาถ่ายทอดเป็นข้อเขียน อาจ
เป็นเรื่องราวที่ผู้เขียนประสบเอง หรือเป็นเรื่องราวที่เกิดขึนกับบุคคลใดบุคคลหนึ่ง หรือเกิดขึนในสังคมโดยทั่วไป
การเขียนเพื่อเล่าเรื่องส่วนใหญ่เป็นการเขียนเล่าประวัติ เล่าเหตุการณ์ หรือประสบการณ์ต่าง ๆ โดยอาจนามา
เขียนในรูปแบบการเขียนประเภทต่าง ๆ เช่น การเขียนสารคดีและการเขียนข่าว เป็นต้น
สิ่งสาคัญสาหรับการเขียนเล่าเรื่อง คือ จะต้องคานึงถึงความถูกต้องตามความเป็นจริง และต้องเล่าเรื่องไป
ตามลาดับเหตุการณ์ที่เกิดขึน
2. การเขียนเพื่ออธิบาย
การเขียนเพื่ออธิบาย คือ การเขียนเพื่อชีแจง อธิบาย โดยมีวัตถุประสงค์ให้ผู้อ่านเกิดความเข้าใจและ
ปฏิบั ติต ามได้ เช่น เช่น อธิบ ายวิ ธีใ ช้ วิธี ทา ขั นตอนการทา อธิบ ายวิธี ใช้ เครื่อ งมื อ ขั นตอนการปรุง อาหาร
เป็นต้น การเขียนเพื่ออธิบายต้องระมัดระวังเรื่องการใช้ภาษา ต้องใช้ภาษาที่สัน กระชับ เข้าใจง่าย และเป็นไป
ตามลาดับขันตอน
3. การเขียนเพื่อแสดงความคิดเห็น
การเขียนเพื่อแสดงความคิดเห็นเป็นการเขียนเพื่อวิเคราะห์ วิจารณ์ แนะนา หรือแสดงความคิดเห็ น
เกี่ ย วกั บ เรื่ อ งใดเรื่ อ งหนึ่ ง อาจเป็ น การแสดงความคิ ดเห็ นอย่า งเดี ย ว หรื อ อาจมี ข้ อเสนอแนะประกอบด้ ว ย
โดยต้องคานึงถึงพืนฐานของข้อเท็จจริง อีกทังต้องมีหลักเกณฑ์และมีเหตุผล เช่น การเขียนบทความ การเขียนบท
วิจารณ์ และการเขียนบทบรรณาธิการหนังสือพิมพ์ เป็นต้น
4. การเขียนเพื่อสร้างจินตนาการ
การเขียนเพื่อสร้างจินตนาการเป็นการเขียนที่ผู้เขียนมีจุดมุ่งหมายที่จะให้ผู้อ่านมีอารมณ์คล้อยตาม และ
เกิดจินตนาการเห็นภาพตามที่ผู้เขียนต้องการ การใช้ถ้อยคาภาษาในงานเขียนลักษณะนี ต้องใช้ถ้อยคาภา ษาที่
ประณีต งดงาม สามารถสื่ออารมณ์ และความรู้สึกให้เกิดแก่ผู้อ่านได้ ซึ่งในบางครังก็ต้องใช้ถ้อยคาที่มีความหมาย
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 144

แฝง มีความหมายเชิงสัญลักษณ์ หรือมีความหมายเชิงเปรียบเทียบ เพื่อช่วยสร้างจินตนาการให้เกิดแก่ผู้อ่าน การ


เขียนตามจุดมุ่งหมายนีจะปรากฏในการเขียนประเภทบันเทิงคดีเป็นส่วนใหญ่
5. การเขียนเพื่อโน้มน้าวใจ
การเขียนเพื่อโน้มน้าวใจเป็นการเขียนที่ผู้เขียนมีจุดประสงค์ที่จะชักจูง โน้มน้าวใจให้ผู้อ่านยอมรับในสิ่งที่
ผู้เขียนเสนอ เช่น การเขียนโฆษณา การเขียนคาขวัญ การใช้ภาษาในงานเขียนประเภทนีต้องใช้ภาษาที่สัน กระชับ
รัดกุม สะดุดใจผู้อ่าน อาจเล่นคา สานวน เพื่อให้เกิดความคล้องจองทาให้ผู้อ่านจดจาได้ในเวลาอันรวดเร็ว
6. การเขียนเพื่อล้อเลียนเสียดสี
การเขียนเพื่อล้อเลียนเสียดสีเป็นการเขียนที่ผู้เขียนมีจุดประสงค์ที่จะตาหนิสิ่งใดสิ่งหนึ่ง อาจเป็นบุคคล
เหตุการณ์ หรือสถานการณ์ แต่เป็นการตาหนิอย่างนุ่มนวล การเขียนลักษณะนีต้องไม่มีลักษณะการกล่าวร้ายหรือ
มุ่งทาลาย การใช้ภาษาในงานเขียนประเภทนีต้องสุภาพ นุ่มนวล อาจแทรกอารมณ์ขันทานองยั่วล้อด้วยถ้อยคา
หรือด้วยเรื่องราว
7. การเขียนเพื่อกิจธุระ
การเขียนเพื่อกิจธุระ คือ การเขียนที่ ผู้เขียนมีจุดประสงค์อย่างใดอย่างหนึ่ง การเขียนชนิดนีจะมีรูปแบบ
การเขียน และลักษณะการใช้ภาษาที่แตกต่างกันไปตามประเภทของงานเขียน เช่น การเขียนหนังสือราชการ การ
เขียนจดหมายธุรกิจ การเขียนโทรเลข และการเขียนประกาศแจ้งความ เป็นต้น
การเขียนให้บรรลุวัตถุประสงค์นั น นอกจากผู้เขียนจะต้องกาหนดจุดมุ่งหมายในการเขียนที่แน่นอนและ
เลือกรูปแบบการเขียนที่เหมาะสมแล้ว ผู้เขียนยังต้องคานึงถึงปัจจัยอื่น ๆ อีกหลายประการที่จะช่วยให้งานเขียน
เป็นงานเขียนที่ดีมีคุณภาพ เช่น การเลือกใช้ถ้อยคา การใช้โวหาร สานวนภาษา และระดับภาษา เป็นต้น

ประเภทของการเขียน
การแบ่ งประเภทของการเขีย น ถ้า ยึด ตามจุด มุ่ง หมายของการเขีย นเป็นหลั ก จะแบ่ งการเขีย นได้ 2
ประเภทคือ (ธนู ทดแทนคุณ และกานต์รวี แพทย์พิทักษ์. 2552: 127-128)
1. บันเทิงคดี (Fiction) เป็นงานเขียนที่มุ่งให้ความบันเทิงเป็นหลัก เป็นเรื่องที่เขีย นขึนโดยการสมมุติ
จากจินตนาการของผู้เขียน แต่เขียนให้สมจริงมากที่สุด ประเภทของบันเทิงคดี ได้แก่ นวนิยาย เรื่องสัน บทละคร
หัสคดี หรือปกิณกคดีอื่น ๆ
2. สารคดี (Non-Fiction) เป็นงานเขียนที่มุ่งให้ความรู้หรือเนือหาสาระเชิงวิชาการเป็นหลัก และให้
ความบันเทิงเป็นรอง สารคดีนันมีหลายประเภท เช่น สารคดีเชิงท่องเที่ยว สารคดีเชิงชีวประวัติ บทความ และ
บทวิจารณ์ต่าง ๆ
ถ้ายึดตามรูปแบบหรือลักษณะการเขียนเป็นหลัก จะแบ่งการเขียนได้ 2 ประเภท คือ
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 145

1. งานเขียนที่เป็นร้อยแก้ว (Prose) เป็นงานเขียนที่ไม่มีข้อกาหนดในการบังคับจานวนคา จานวนวรรค


ไม่มีข้อกาหนดในเรื่องการใช้คาสัมผัส ไม่ต้องเป็นต้องนาถ้อยคามาเรียงร้อยให้คล้องจองกัน เช่น บันทึก รายงาน
เรียงความ บทความ จดหมาย โครงการ ตารา สารคดี บทละคร เรื่องสัน นวนิยาย ฯลฯ
งานเขีย นที่เป็น ร้อยแก้ว นี มีจุดเด่นอยู่ที่การคัดเลื อกถ้อยคาที่ถูกต้องเหมาะสมมาเรียบเรียงเป็น
ประโยค เป็นย่อหน้า และเป็นเรื่องเป็นราวได้อย่างสละสลวย
2. งานเขียนที่เป็นร้อยกรอง (Poetry) เป็นงานเขียนที่มีการบังคับลักษณะคาประพันธ์ เช่น บังคับ
จานวนคา บังคับคาสัมผัส บังคับคาครุ-ลหุ คาเอก คาโท เป็นต้น ได้แก่ โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน ร่าย ลิลิต
งานเขียนที่เป็นร้อยกรองนี มุจุดเด่นอยู่ที่การคัดเลือกถ้อยคาที่หลากหลาย มีความสละสลวยมาเรียง
ร้อยต่อกันจนมีลักษณะคล้องจองเป็นเรื่องเป็นราว ถือเป็นความงดงามของภาษาอย่างแท้จริง

โวหารในการเขียน
โวหาร หมายถึง ท่วงทานองในการเขียนเพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจหรือเกิดความรู้สึกตรงตามความต้องการของ
ผู้เขียนด้วยลีลาของการใช้ภาษาอย่างมีชันเชิง และมีศิลปะเหมาะกับเนือความที่จะเขียน
โวหารในการเขียนโดยทั่วไปแบ่งเป็น 5 ประเภท คือ บรรยายโวหาร พรรณนาโวหาร เทศนาโวหาร อุปมา
โวหาร และสาธกโวหาร ลักษณะของโวหารต่าง ๆ มีดังนี (คณาจารย์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย .
2551: 190-192)
1. บรรยายโวหาร
บรรยายโวหารเป็นโวหารที่ใช้เขียนเพื่อบอกเล่าเรื่อง หรืออธิบายเรื่องราวต่าง ๆ ตามลาดับเหตุการณ์
งานเขียนที่ควรใช้บรรยายโวหาร ได้แก่ งานเขียนประเภทให้ความรู้ เช่น บทความ ตารา รายงาน วิทยานิพนธ์ เล่า
เรื่องตานาน บันทึกจดหมายเหตุ
หลักการเขียนบรรยายโวหารที่ดี มีดังนี
1. เรื่องที่เขียนเป็นความจริง ผู้เขียนควรมีความรู้เรื่องที่เขียนเป็นอย่างดี
2. เลือกเขียนเฉพาะสาระสาคัญเท่านัน ไม่เน้นรายละเอียด และต้องเขียนอย่างตรงไปตรงมา
3. ใช้ภาษาให้เข้าใจง่าย อาจใช้อุปมาโวหาร และสาธกโวหารเข้าช่วย เพื่อช่วยให้ได้ความชัดเจน แต่
ต้องไม่มากจนเกินไป
4. เรียบเรียงความคิดให้ต่อเนื่องสัมพันธ์กันตังแต่ต้นจนจบ
2. พรรณนาโวหาร
พรรณนาโวหารเป็นโวหารที่ใช้เล่าเรื่องโดยการสอดแทรกอารมณ์ ความรู้สึกของผู้เขียน นิยมเล่นคา เล่น
เสียงเพื่อโน้มน้าวให้ผู้อ่านเกิดภาพพจน์ และให้เกิดอารมณ์คล้อยตาม
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 146

หลักในการเขียนพรรณนาโวหาร สรุปได้ดังนี
1. ต้องใช้คาดี หมายถึง การเลือกสรรถ้อยคา เพื่อให้สื่อความหมาย สื่อภาพ สื่ออารมณ์เหมาะสม
กับเนือเรื่องที่ต้องการบรรยาย ควรเลือกคาที่ให้ความหมายชัดเจน ทังอาจจะต้องเลือกให้เสียงของคาสัมผัสกันเพื่อ
เกิดเสียงเสนาะอย่างสัมผัสสระ สัมผัสอักษรในงานร้อยกรองด้วย
2. ต้องมีใจความดี ใจความของเรื่องต้องมุ่งให้เกิดภาพ และอารมณ์ความรู้สึกที่สอดคล้ องกับเนือหา
ที่กาลังพรรณนา
3. อาจต้องใช้อุปมาโวหาร คือ การเปรียบเทียบเพื่อให้ได้ภาพชัดเจน และมักใช้ศิลปะการใช้คาที่
เรียกว่า พจน์ประเภทต่าง ๆ ทังนีเป็นวิธีการที่จะทาให้พรรณนาโวหารเด่นชัด ทังการใช้คาและการให้ภาพที่
เด่นชัด อ่านแล้วเกิดจินตนาการและความรู้สึกคล้อยตาม
4. ในบางกรณีอาจต้องใช้สาธกโวหารประกอบด้วย คือ การยกตัวอย่างเพื่อให้เกิดความแจ่มแจ้ง
โดยยกตัวอย่างสิ่งที่ละม้ายคล้ายคลึงกัน เพื่อให้เกิดภาพอารมณ์ที่เด่นชัด
3. เทศนาโวหาร
เทศนาโวหารเป็นโวหารที่ผู้เขียนมุ่งอธิบายชีแจงอย่างชัดเจนแจ่มแจ้งด้วยเหตุผล ชีให้เห็นคุณประโยชน์
หรือโทษของสิ่งที่กล่าวถึง โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อโน้มน้าวชักจูงผู้อ่านให้เห็นดีเห็นงามและคล้อยตามความคิดของ
ตน โวหารชนิดนีเหมาะกับการเขียนเรื่องที่เป็นคาสอน โอวาท การอภิปราย ชักชวนหรือโต้แย้ง
การเขียนเทศนาโวหารที่ดี ควรคานึงถึงเรื่องต่าง ๆ ดังนี
1. มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องที่จะเขียนเป็นอย่างดี
2. ควรรู้จักคัดสรรโวหารชนิดบรรยายโวหาร พรรณนาโวหาร อุปมาโวหาร และสาธกโวหารมาใช้
อย่างเหมาะสม เพื่อให้ผู้อ่านเกิดความเข้าใจอย่าลึกซึงอย่างชัดเจน
3. ควรรู้จักใช้เหตุผลและหลักฐานอ้างอิง เข้ามาสนับสนุนความคิดเห็นของตนได้อย่างเหมาะสม
4. จัดลาดับเนือความให้สัมพันธ์กันอย่างมีเหตุผล
4. สาธกโวหาร
สาธกโวหารเป็นโวหารเสริมโวหารอื่น ๆ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อยกอุทาหรณ์หรือตัวอย่างประกอบ เพื่อให้
ผู้อ่านเข้าใจเรื่องนันชัดเจนแจ่มแจ้ง และมีนาหนักน่ าเชื่อถือยิ่งขึน การเลือกอุทาหรณ์หรือตัวอย่าง ผู้เขียนควรมี
หลักคือ ควรเลือกตัวอย่างให้เข้ากับเนือความที่กาลังกล่าวถึง อาจเป็นบุคคล สถานที่ หรือนิทาน ก็ได้
5. อุปมาโวหาร
อุ ป มาโวหาร เป็ น โวหารเสริ ม โวหารชนิ ด อื่ น ๆ อี ก ชนิ ด หนึ่ ง เป็ น โวหารแสดงความเปรี ย บเที ย บ
โดยนาสิ่งที่คล้ายคลึงกันมาเปรียบเพื่อให้เกิดความเข้าใจและความชัดเจนในเรื่องได้ดียิ่งขีน
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 147

ขั้นตอนในการเขียน
เมื่อผู้เขียนต้องการจะเขียนงานประเภทใด ผู้เขียนจะต้องดาเนินการตามขันตอนในการเขียน ดังนี (จุไรรัตน์
ลักษณะศิริ และบาหยัน อิ่มสาราญ. 2550: 182-191)
1. การเลือกเรื่อง
การเลื อ กเรื่ อ งเป็ น ขั นตอนแรกของการเขี ย น ผู้ เ ขี ย นควรจะค านึ งถึ ง วิ ธี ก ารเลื อ กเรื่ อ งในการเขี ย น
ดังต่อไปนี
1.1 ควรเลือกเรื่องที่ตนมีความรู้หรือมีประสบการณ์อยู่บ้างแล้ว
1.2 ควรเลือกเรื่องที่ผู้เขียนสนใจ ควรเลือกเขียนเรื่องที่ตนสนใจและถนัดที่สุด เพราะจะทาให้การ
เขียนสาเร็จด้วยดี
1.3 ควรเลือกเรื่องที่ยังไม่มีผู้ใดเขียนกันอย่างแพร่หลาย ควรเลือกเรื่องที่แปลกและใหม่ หรือเรื่องที่
มีรสชาติ เพราะจะทาให้เรื่องน่าสนใจน่าติดตาม แต่ผู้เขียนควรคานึงด้วยว่าเรื่องที่แปลกใหม่นี มีแหล่งอ้างอิงทัง
ประเภทหนังสือและบุคคลเพียงพอหรือไม่ด้วย
1.4 ควรเลือกเรื่องให้เหมาะแก่กาลเวลา เช่น การเขียนบทความต้องพิจารณาเขียนเรื่องที่ทันสมัย
กาลังเป็นที่สนใจของผู้คนในสังคม ส่วนการเขียนเรียงความเนือหาที่นามาเขียนไม่จาเป็นต้องเลือกเขียนเรื่องที่มี
ผู้คนกาลังสนใจในขณะนันก็ได้
1.5 ควรเลือกเขียนเรื่องให้เหมาะสมแก่ผู้อ่าน ผู้เขียนจะต้องศึกษารายละเอียดของผู้อ่านเกี่ยวกับ
เพศ วัย ความรู้ ความสนใจ เพื่อจะได้เลือกเขียนเรื่องให้เหมาะสม
2. การกาหนดขอบเขตของและจุดมุ่งหมายในการเขียน
เมื่อผู้เขียนเลือกเรื่องที่ จะเขียน และมีข้อมูลพอที่จะเขียนได้แล้ว ยังไม่ควรลงมือเขียนทันที ผู้เขียนควร
จากัดขอบเขตเนือหาที่จะเขียนให้เหมาะสมแก่เวลา จานวนหน้า ผู้อ่าน และข้อมูล หากมีเวลาเขียนน้อยหรือมี
จานวนหน้าจากัดก็ควรกาหนดขอบเขตของเรื่องให้แคบ นอกจากนีอาจต้องจากัดขอบเขตของเรื่อ งตามปริมาณ
ข้อมูลที่มีด้วย คือ ถ้าเป็นเรื่องแปลกใหม่ ยังไม่ค่อยมีการศึกษาค้นคว้า หรือยังไม่มีการเผยแพร่ทั่วไปก็ควรลด
ขอบเขตของเรื่องให้แคบเข้า
เมื่อกาหนดขอบเขตของเรื่องแล้ว ก็ต้องกาหนดวัตถุประสงค์ในการเขียนให้ชัดเจนว่า มีจุดมุ่งหมายในการ
เขียนอย่างไร เมื่อกาหนดจุดมุ่งหมายได้แล้วก็เริ่มขันตอนการเขียน ถ้าผู้เขียนกาหนดขอบเขตของเรื่องได้เหมาะสม
ก็จะทาให้เนือหามีนาหนักและเรื่องที่เขียนก็ดูมีคุณค่าน่าอ่านด้วย
3. การเขียนโครงเรื่อง
การเขียนโครงเรื่องเป็นขันตอนการเขียนที่สาคัญขันตอนหนึ่งเป็นขันตอนที่ผู้เขียนงานทุกประเภทจะ
ละเลยไม่ได้ การเขียนโครงเรื่อง หมายถึง การวางและกรจัดลาดับเค้าโครงอันเป็นความคิดสาคัญของเรื่องที่จะ
เขียน การเขียนโครงเรื่องไว้อย่างดีจะเป็นแนวทางในการเขียน ทาให้งานเขียนสมบูรณ์ และมีคุณภาพ
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 148

4. การแสวงหาความรู้ และการรวบรวมข้อมูล
การเขียนเรื่องต่าง ๆ ผู้เขียนควรมีความรู้ และความคิดที่กว้างขวาง เมื่อผู้เขียนเขียนโครงเรื่องเรียบร้อย
แล้ว ก็ควรเริ่มต้นค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติม เพื่อจะได้เขียนเรื่องได้สมบูรณ์และทันสมัย การค้นคว้าหาข้อเท็จจริง
หลักฐาน และรายละเอียดต่าง ๆ ผู้เขียนสามารถหาได้จากแหล่งความรู้ต่าง ๆ ดังนี
4.1 การค้นคว้าจากหนังสือ วิทยานิพนธ์ หนังสืออ้างอิง เอกสารต่าง ๆ ผู้เขียนสามารถค้นคว้าได้
จากหอสมุดแห่งชาติ ห้องสมุดสถาบันต่างๆ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
4.2 การค้นคว้าจากหนั งสือพิมพ์ นิตยสาร วารสาร และจุลสาร สิ่ งตีพิมพ์เหล่านีจะให้ข้ อมูล ที่
ทันสมัยและทันโลกกว่าหนังสือ เพราะผลิตสู่ตลาดเป็นประจาทุกวัน ทุกสัปดาห์ และทุกเดือน
4.3 การสัมภาษณ์ผู้รู้ ผู้เชี่ยวชาญ หรือผู้เกี่ยวข้อง การสัมภาษณ์นับเป็นวิธีที่รวดเร็ว และได้ข้อมูลที่
ทันสมัยที่สุด นับเป็นวิธีหาข้อมูลที่นิยมใช้กันมากในยุคแห่งโลกสื่อสารปัจจุบัน
4.4 การสนทนากับบุคคลทั่วไปเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้และความคิดเห็ น วิธีนีจะทาให้ ผู้เขียนมี
ความคิดที่กว้างไกล และช่วยพัฒนาความคิด และระบบความคิดของผู้เขียนด้วย
4.5 การบันทึกเหตุการณ์และเรื่องราวต่าง ๆ ที่พบเห็น วิธีนีเป็นวิธีที่ผู้เขียนสร้างแหล่งข้อมูลขึนมาเอง
4.6 การเก็บข้อมูลจากสถานที่จริง การได้รายละเอียดจากแหล่งข้อมูลจริงจะทาให้ได้เนือหาและ
หลักฐานที่เป็นจริง และเชื่อถือได้ นับเป็นแหล่งข้อมูลที่มีค่า
4.7 ข้ อ มู ล จากสื่ อ ต่ า ง ๆ ที่ มี ค วามก้ า วหน้ า ทั น สมั ย และรวดเร็ ว เช่ น อิ น เทอร์ เ น็ ต
วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ วีดิทัศน์ ภาพยนตร์ ฯลฯ
5. การเรียบเรียงเรื่อง
เมื่อได้โครงเรื่องที่แน่นอน และค้นคว้าหาข้อมูล รวมทังรายละเอียดได้พอเพียงแล้ว ผู้เขียนก็ลงมือเรียบ
เรียงเนือหาตามโครงเรื่องที่ได้วางไว้ ถ้าเขียนโครงเรื่องได้สมบูรณ์ดี เรื่องราวที่ เรียบเรียงก็จะเป็นอันหนึ่งอัน
เดียวกันมีสาระครบถ้วน
การเขียนเรื่องต่าง ๆ ผู้เขียนจะต้องพิจารณาด้วยว่าจะใช้โ วหารประเภทใดในการเขียน ผู้ เขียนต้อง
เลือกใช้ให้เหมาะสมแก่เนือเรื่องด้วย เนือหาของเรื่องจะประกอบด้วยข้อมูลความรู้ที่เป็นข้อเท็จจริง ข้อคิด ความ
คิดเห็น ความรู้สึก หลักฐาน อ้างอิง สถิติตัวเลข ตัวอย่าง อุทาหรณ์ และอาจแทรกสานวนไทย สุภาษิต คาพังเพย
เพื่อให้เรื่องน่าสนใจและทาให้ผู้อ่านเข้าใจเรื่องได้เร็วขึน ในการเรียบเรียงเรื่องนัน ผู้เขียนยังต้องคานึงถึงระดับ
ภาษาที่ใช้ในการเขียนด้ว ยว่าเรื่องประเภทใด ควรจะใช้ภ าษาระดับใด เพื่อจะได้ส่งสารไปยังผู้อ่านได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ นอกจากนีผู้เขียนยังต้องคานึงถึงเรื่องของการใช้คา การสร้างประโยค และการใช้โวหารด้วย
6. การตรวจทานแก้ไข
ขันตอนนีเป็นขันตอนสุดท้ายที่ผู้เขียนต้องปฏิบัติ ต้องทบทวนว่าเรื่องที่เขียนทังเรื่ องสมบูรณ์ กลมกลืน
ต่อเนื่องกันดีหรือไม่ นับตังแต่ชื่อเรื่อง การพิจารณาองค์ประกอบทัง 3 ส่วนของงานเขียนว่าแต่ละส่วนได้ทาหน้าที่
สื่อสารความคิดของผู้เขียนได้ครบถ้วนตามต้องการหรือไม่ รวมทังพิจารณาตรวจทานการใช้ถ้อยคาภาษาให้ชัดเจน
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 149

แจ่มแจ้ง เหมาะสมกับประเภทงานเขี ยน หากพบข้อบกพร่องก็ควรแก้ไขเปลี่ยนแปลง การตรวจทานแก้ไขมีส่วน


ทาให้งานเขียนสมบูรณ์

หลักการเขียน
การเขียนเป็นสิ่งจาเป็นที่จะต้องมีการกลั่นกรองเนือหาสาระ โดยอาศัยความรู้และประสบการณ์ของ
ผู้เขียน เพื่อให้การสื่อสารบรรลุผล และนาผู้เขียนไปสู่เป้าประสงค์ที่กาหนดไว้ด้วยความชัดเจนและสมบูรณ์(ดวงใจ
ไทยอุบุญ, 2550: 15-18)
หลักการเขียนมีดังนี้ คือ
1. มีความชัดเจน
ผู้เขียนจะต้องใช้คาที่มีความหมายชัดเจน ใช้ประโยคไม่คลุมเครือหรือกากวม ผู้เขียนต้องคานึงเสมอ
ว่าการที่จะทาให้ผู้อ่านเข้าใจเรื่องตรงกับผู้เขียนนัน ขึนอยู่ที่การใช้คา การใช้ประโยค และการใช้ถ้อยคาสานวน
2. มีความถูกต้อง
ผู้เขียนต้องคานึงถึงระเบียบของการใช้ภาษาและเขียนให้ถูกต้องเหมาะสมตามกาลเทศะ
3. มีความกระชับ
ผู้ เขีย นต้อ งรู้ จั กเลื อ กสรรถ้อยคามาใช้ รู้จักใช้ส านวนโวหาร ภาพพจน์ รู้จัก การรวมประโยคให้
ข้อความชัดเจนและมีนาหนักเพื่อให้ประโยคมีความกระชับ
4. มีความเรียบง่ายในการใช้ภาษา
ผู้เขียนต้องรู้จักใช้คาธรรมดาที่เข้าใจง่าย ไม่ใช้คาฟุ่มเฟือย ไม่ใช้คาปฏิเสธซ้อนปฏิเสธ เพราะสิ่ ง
เหล่านีจะทาให้ผู้อ่านเกิดความเบื่อหน่าย
5. มีความรับผิดชอบในความถูกต้องของเนื้อหา
ผู้เขียนต้องแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุมีผล พินิจพิจารณาปัญหาด้วยความละเอียดถี่ถ้วน ลึกซึง มุ่ง
จะให้เกิดความรู้และทัศนคติที่ดีอันเป็นประโยชน์แก่ผู้อ่าน
6. มีความประทับใจ
การใช้ถ้อยคาสานวนที่มีความหมายลึกซึงกินใจทาให้ผู้อ่านเกิดความประทับใจ ซึ่ง เป็นผลอันเกิดจาก
การใช้คาที่ไพเราะ การเรียงลาดับคาในประโยค การใช้คาที่ทาให้เกิดภาพพจน์ เกิดอารมณ์ความรู้สึกที่ประทับใจ
และชวนให้ติดตามอ่าน
7. มีความไพเราะในการใช้ภาษา
ผู้เขียนควรใช้ภาษาสุภาพ มีความประณีตในการใช้ภาษา ตลอดจนมีความประณีตในการเสนอเนือหา
อ่านแล้วไม่สะดุดหรือขัดหู
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 150

หลักการพัฒนาทักษะการเขียน
การเขียนเป็นทักษะทีต้องเอาใจใส่และฝึกฝนอย่างสม่าเสมอจริงจัง เพื่อให้เกิดความรู้ ความชานาญ และ
สามารถพัฒนาความสามารถในการเขียนให้ดียิ่งขึนเป็นลาดับไป ดวงใจ ไทยอุบุญ (2543: 17-18) ได้กล่าวถึงหลัก
ในการพัฒนาทักษะในการเขียนไว้ มีดังนี
1. ทักษะการเขียนเกิดจากการฝึกฝนและจะต้องทาอย่างมีระบบ คือ
1.1 ต้องฝึกฝนอย่างสม่าเสมอ
1.2 ต้องใช้เวลาฝึกฝนนานจึงจะเกิดความชานาญ
1.3 ต้องฝึกให้ถูกวิธีและถูกหลักเกณฑ์
1.3.1 ต้องสะกดคาให้ถูก เรียบเรียงถ้อยคาให้สื่อความหมายได้ชัดเจนและรู้จักการแบ่งวรรค
ตอนให้ถูกต้อง
1.3.2 ต้องรู้ จั กเทคนิ ค เฉพาะในการเขี ยนเรื่ องประเภทต่า ง ๆ เช่ น การเขีย นเรีย งความ
บทความ ทังในแง่วัตถุประสงค์และเทคนิคการเขียน
2. รู้จักแสดงออกโดยเขียนเรียบเรียงความรู้และความรู้สึกนึกคิดออกมาอย่างเป็นระเบียบ เพื่ อให้ผู้อ่าน
เข้าใจตรงตามที่ต้องการ
3. การเขียนเป็นการใช้ภาษา ซึ่งต้องอาศัยการสั่งสมความรู้ ความคิดจากการอ่านและการฟัง ถ้าฟังมาก
อ่านมากจะทาให้ผู้เขียนมีความรู้ เกิดความคิดกว้างไกล สามารถนาไปใช้ในการเขียนให้มีคุณภาพมากยิ่งขึน
4. การเขียนเป็นหลักฐานที่ผู้อื่นสามารถอ่านและนาไปอ้างอิงได้ ดังนันจึงควรเขียนด้วยความระมัดระวัง
และต้องรู้จักการสรรหาถ้อยคามาใช้ให้ถูกต้องเหมาะสม
5. งานเขียนจะมีคุณค่าได้ก็ต่อเมื่อ ทาให้ผู้อ่านพัฒนาความรู้ความคิดและอารมณ์ งานเขียนที่มีคุณค่า
ประกอบด้วย
5.1 ให้ความรู้แก่ผู้อ่าน
5.2 ให้ความคิดสร้างสรรค์ที่ดีงามแก่ผู้อ่านอย่างมีเหตุมีผล
5.3 ให้ผู้อ่านมีพัฒนาการทางอารมณ์และความรู้สึกไปในทางที่ดี
6. งานเขียนจะต้องคานึงถึงระดับความรู้ ความคิด และสติปัญญาของผู้อ่าน จึงควรระมัดระวังเรื่องการ
ใช้ถ้อยคาภาษา การเสนอความรู้และความคิดที่ผู้อ่านอาจไม่มีพืนฐานในเรื่องนัน ๆ
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 151

ปัญหาในการเขียน
ข้อผิดพลาดหรือข้อบกพร่องของการใช้ภาษาเขียนมีปัญหาที่สาคัญ 5 ประการ คือ
1. การใช้คาผิด
การใช้คาผิด มีหลายลักษณะที่สาคัญคือ การใช้คาผิดความหมาย ใช้คาผิดหน้าที่ ใช้ภาษาผิดระดับ ใช้
ภาษากากวม ใช้คาฟุ่มเฟือย ใช้คาผิดกาลเทศะ ใช้คาลักษณนามผิด ใช้คาที่มาจากสานวนภาษาอังกฤษ ใช้สานวน
เปรียบเทียบผิด ดังตัวอย่าง
ตารวจกาลังสืบสวนคนร้ายที่ปล้นร้านทอง (ควรใช้สอบสวน)
ภายในห้องยังคละคลุ้งด้วยกลิ่นนาหอมที่เธอชอบใช้ (ควรใช้อบอวล)
เขาสนใจในหนังสือเล่มนีมาก (ควรตัดคาว่า ใน ออก)
พอพลบค่าถนนก็จ้าด้วยแสงไฟ (ควรใช้ สว่างจ้า)
โบราณสถานที่สาคัญในประเทศทุกชินควรได้รับการดูแล (ควรใช้แห่ง)
ลูกเป็นแก้วตาดวงใจของบิดามารดา (ควรใช้ บุตร)
อุบั ติเหตุครั งนี ทุกคนตายหมดไม่มีใครรอดกลั บมาเลย (ควรตัดข้อความที่ขีดเส้ นใต้ออก เพราะ
ฟุ่มเฟือย)
เขาถูกเชิญให้ไปเป็นประธานในการเปิดตัวโครงการใหม่ (ควรใช้ ได้รับเชิญ)
วันนีภิกษุรูปนันป่วยไม่มาบิณฑบาต (ควรใช้ อาพาธ)
เธอทาให้ฉันเสียอีก (ควรใช้ เธอทาให้ฉันเสียใจอีก)
มีของดีอยู่ใกล้ตัวแล้วยังไม่รู้จักใช้เหมือนทองไม่รู้ร้อน (ควรใช้ ใกล้เกลือกินด่าง)
2. การใช้ประโยคผิด
การใช้ ป ระโยคผิ ด ได้ แ ก่ การเขี ย นประโยคไม่ ส มบู ร ณ์ การเรี ย งล าดั บ ค าผิ ด ใช้ รู ป ประโยคแบบ
ต่างประเทศ ดังตัวอย่าง
- ในดินแดนที่แวดล้อมด้วยธรรมชาติ ท่ามกลางเทือกเขาสลับซับซ้อนและผู้คนที่น่ารัก
ควรเติม ประโยคต่อท้ายข้อความ เช่น ข้าพเจ้าสร้างบ้านหลังเล็ก ๆ ขึนที่นี่
- มีผู้บริจาคทุนการศึกษาช่วยเหลือนักศึกษาในมหาวิทยาลัยที่ยากจน
ควรใช้ มีผู้บริจาคทุนการศึกษาช่วยเหลือนักศึกษาที่ยากจนในมหาวิทยาลัย
- เพื่อนของข้าพเจ้าเป็นผู้ชายส่วนใหญ่
ควรใช้ เพื่อนของข้าพเจ้าส่วนใหญ่เป็นผู้ชาย
- มันเป็นวันที่อากาศหนาวเย็น
ควรใช้ วันนีอากาศหนาวเย็น
- เธอมาในชุดสีชมพู
ควรใช้ เธอสวมชุดสีชมพู
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 152

3. การสะกดคาผิด ใช้ตัวการันต์ผิด
การสะกดคาผิด ใช้ตัวการันต์ผิด ได้แก่ การเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ผิด และใช้ตัวการันต์ผิด ดัง
ตัวอย่าง
แท๊กซี,่ แท้กซี่ ควรเขียน แท็กซี่
นะค๊ะ, นะค่ะ ควรเขียน นะคะ
อาไหล่, อะหลั่ย ควรเขียน อะไหล่
บิณฑบาตร ควรเขียน บิณฑบาต
ศรีษะ ควรเขียน ศีรษะ
เบญจเพศ ควรเขียน เบญจเพส
ต่างๆ นาๆ ควรเขียน ต่าง ๆ นานา
โบว์ , โล่ ควรเขียน โบ
สายศิล, สายศีล ควรเขียน สายสิญจน์
4. การใช้เครื่องหมายวรรคตอน
การใช้เครื่องหมายวรรคตอนผิดเพราะไม่ทราบแน่ชัดว่า เครื่องหมายวรรคตอนนันใช้อย่างไร รวมทังเว้น
วรรคหรือไม่เว้นวรรคให้ถูกต้องด้วย ดังตัวอย่าง
- มหาชาติคาหลวง รัชกาลสมเด็จสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
- ลิลิตยวนพ่าย “ ”
(ควรลบ เครื่องหมายสัญประกาศ ออก)
- ท่านจะได้ชมละครนอกเรื่อง สังข์ทอง
(ควรเขียน ท่านจะได้ชมละครนอก เรื่องสังข์ทอง)
- นักศึกษาไหว้พ่อ และแม่ ก่อนไปมหาวิทยาลัย
(ควรเขียน นักศึกษาไหว้พ่อและแม่ ก่อนไปมหาวิทยาลัย)
5. การใช้อักษรย่อผิด
การใช้อักษรย่อผิด เช่น การใช้อักษรย่อในที่ไม่ควรใช้ และกรใช้อักษรย่อผิดจากที่นิยมใช้ เช่น
- สุดสัปดาห์นีเรามีกาหนดการจะไปเที่ยว ต.จ.ว.
(ควรเขียนคาเต็มว่า ต่างจังหวัด)
- โครงการใหม่ที่จะเริ่ มดาเนินงานต้นเดือนนีจะต้องราบรื่นและประสบความสาเร็จ ขอให้เธอ
ย.ห.ส.บ.ม.
(ควรเขียนคาเต็มว่า อย่าห่วงสบายมาก)
- การจะให้นักศึกษาลง ณ. สถานีใด ให้อยู่ในดุลยพินิจของอาจารย์ผู้ควบคุม
(ณ. ควรเขียน ณ)
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 153

หลักเกณฑ์ทางภาษาเกี่ยวกับการเขียนที่ควรทราบ
การเว้นวรรค
การเว้นวรรค คือ การแยกข้อความออกเป็นส่วนย่อยเพื่อให้ดูงามตา น่าอ่าน ที่สาคัญคือ ให้อ่านเข้าใจง่าย
และให้เข้าใจตรงกับความประสงค์ของผู้เขียน ในการเขียนผู้เขียนควรระมัดระวังในเรื่องการเว้นวรรค เพราะถ้า
เว้นวรรคผิดอาจทาให้ความหมายของข้อความนันเปลี่ยนไป ทาให้เกิดความเข้าใจผิดได้
การเว้นวรรคในการเขียนหนังสือไทยมี 2 ประเภท คือ เว้นวรรคเล็ก มีขนาดเท่ากับ 1 ช่วงตัวอักษร และ
การเว้นวรรคใหญ่ มีขนาดเท่ากับ 2 ช่วงตัวอักษร
หลักเกณฑ์ในการเว้นวรรคที่ควรทราบ ได้แก่ กรณีที่ต้องเว้ นวรรคเสมอและกรณีที่ไม่ต้องเว้นวรรค ซึ่ง
ราชบัณฑิตยสถาน (2533: 58-67) ได้ประมวลหลักเกณฑ์ไว้ ดังนี
1. เว้นวรรคใหญ่ เมื่อจบประโยคสมบูรณ์ และเว้นวรรคเล็กระหว่างอนุประโยค เช่น วรรณคดีเป็น
ศิลปกรรมหรือสิ่งสุนทร นักประพันธ์เป็นศิลปินผู้สร้างสรรค์ภาพที่สวยงามขึนด้วยหนังสือ จูงใจให้ผู้อ่านเห็นความ
สวยงามตามไปด้วย หนังสือที่เป็นวรรณคดีมุ่งที่จะแสดงความรู้สึกนึกคิดของ ผู้แต่งออกมา แต่หนังสือที่ถือเพียงว่า
เป็นหนังสือที่มีลักษณะวรรณกรรมยังไม่ใช่วรรณคดี (ประภาศรี สีหอาไพ. 2531: 48)
2. เว้นวรรคเล็กในประโยคความรวมหรือในอเนกรรถประโยคที่มีสันธาน และ หรือ แต่ เพราะ ฯลฯ
เชื่อมประโยค โดยให้เว้นวรรคเล็กหน้าประโยคที่ขึนต้นด้วยคาสันธาน เช่น
เขาตังใจเรียนวิชานีอย่างยิ่ง เพราะเคยสอบตกมาครังหนึ่งแล้ว
เธออยากได้เกรดดี แต่เธอไม่สนใจเรียน
3. เว้นวรรคเล็กระหว่างชื่อกับนามสกุล ระหว่างชื่อบุคคลกับตาแหน่ง และระหว่างยศกับชื่อ เช่น
นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร
พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ ประธานองคมนตรี
พันตารวจโท ทักษิณ ชินวัตร
4. เว้นวรรคเล็กระหว่างตัวหนังสือกับตัวเลข และระหว่างตัวหนังสือไทยกับตัวหนังสือภาษาอื่น เช่น
ขันตอนที่ 1 คือช่วงอายุ 1 ขวบ ทารกเรียนรู้ที่จะพัฒนาความไว้วางใจในสิ่งแวดล้อม เรียกว่า
Trust ขันตอนที่ 2 คือช่วงอายุ 2 ขวบ เด็กวัยเตาะแตะเรียนรู้ที่จะพัฒนาความไว้เนือเชื่อใจตนเอง เรียกว่า
Autonomy (ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์. 2549: 94)
5. เว้นวรรคเล็กระหว่างรายการต่าง ๆ เพื่อแยกให้เห็นแต่ละรายการ เว้นวรรคเล็กระหว่างวัน เวลา ชื่อ
สถานที่ต่าง ๆ เช่น
อริยสัจเป็นชื่อธรรมะสาคัญหมวดหนึ่งในพระพุทธศาสนามี 4 ข้อ คือ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ และมรรค
วันที่ 1 มิถุนายน 2557 เวลา 12:00 น.
มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ถนนแจ้งวัฒนะ แขงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 154

6. เว้นวรรคเล็กระหว่างกลุ่มอักษรย่อ เช่น
นายเสริม วินิจฉัยกุล ป.จ. ม.ป.ช. ม.ว.ม.
ศ.นพ. อรรถสิทธิ์ เวชชาชีวะ
7. เว้นวรรคเล็กระหว่างจานวนและกลุ่มตัวเลข
ปริตตารมณ์ ได้แก่ จิตที่ขึนสู่วิถีรับรู้อารมณ์ที่มีกาลังอ่อน มีจิตเกิดดับ 6ลักษณะ คือ 14 13
12 11 10 และ 9 ขณะ (ราชบัณฑิตยสถาน. 2533: 60)
8. เว้นวรรคเล็กหลังเครื่องหมายวรรคตอน ตลอดจนเครื่องหมายอื่น ๆ เฉพาะที่เป็นข้อความ ได้แก่
เครื่องหมายมหัพภาค จุลภาค อัฒภาค ทวิภาค ปรัศนี อัศเจรีย์ เช่น
ในโลกนี บุรุษผู้หวังความเจริญ พึงหลีกห่างโทษ 6 ประการ คือ ง่วงเหงา, หาวนอน, เงื่องงึมไม่
ว่องไว, ขลาดกลัว, โทษะ, เกียจคร้าน, และผัดเพียนเวลา (ราชบัณฑิตยสถาน. 2533: 62)
9. เว้นวรรคทังข้างหน้าและข้างหลังเครื่องหมายไปยาลใหญ่ ไม้ยมก เสมอภาคหรือเท่ากับ เช่น
เขาเจริญพุทธคุณว่า อิติปิ โส ฯลฯ ภควาติ
วิธีกระจายคา คือ วิธีแยกเนือความออกเป็นคา ๆ แล้วบอกชนิด บอกระเบียบต่าง ๆ เช่น บุรุษ
ลิงค์ พจน์ ฯลฯ
10. เว้นวรรคเล็กเฉพาะข้างหลังเครื่องหมายไปยาลน้อย ในกรณีที่ส่วนที่ละไว้เป็นข้อความที่เขียนติดต่อ
กับข้อความข้างหน้า เช่น
สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ
โปรดเกล้าฯ
แต่ถ้าส่วนที่ละไว้เป็นข้อความที่ต้องเขียนเว้นวรรคหลังข้อความข้างหน้าให้เว้นวรรคเล็ก ทังข้างหน้า
และข้างหลังเครื่องหมายไปยาลน้อย เช่น
สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร
11. เว้นวรรคเล็กหลังข้อความที่เป็นหัวข้อ เช่น
โปรด หมายถึง กรณีที่เป็นการบอกกล่าว ขอร้อง วิงวอน ซึ่งเป็นประโยชน์หรือผลดีแก่คนฟัง
กรุณา หมายถึง กรณีที่บอกกล่าวขอร้องหรือวิงวอน ซึ่งเป็นประโยชน์หรือผลดีแก่ผู้พูด (ดวงใจ
ไทยอุบุญ. 2543: 58)
12. เว้นวรรคเล็กหลังวลีบอกเวลาที่เป็นกลุ่มคายาวๆ เช่น
เมื่อเดือนที่แล้ว ข้าพเจ้าเดินทางไปต่างประเทศนาน 2 สัปดาห์
13. เว้นวรรคเล็กระหว่างคานาหน้านามแต่ละชนิด ระหว่างพระนามกับฐานันดรศักดิ์และเว้นวรรคเล็ก
หลังคานาหน้าพระนามพระบรมวงศานุวงศ์ เช่น
ศาสตราจารย์ นายแพทย์อรรถสิทธิ์ เวชชาชีวะ
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 155

14. เว้นวรรคเล็กระหว่างชื่อบริษัท ธนาคาร ฯลฯ กับคาว่า “จากัด” ที่อยู่ท้ายชื่อ เช่น


ธนาคารกรุงเทพ จากัด
บริษัทไพบูลย์อ๊อฟเซต จากัด
15. เว้นวรรคเล็กระหว่างคา “ห้างหุ้นส่วนจากัด” และ “ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล” กับชื่อ เช่น
ห้างหุ้นส่วนจากัด วิริยะพัฒนาโรงพิมพ์
ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล พัฒนกิจ
16. เว้นวรรคเล็กทังข้างหน้าและข้างหลังคา ณ ธ เช่น
ผลพระคุณ ธ รักษา ปวงประชาเป็นสุขศานต์
ขอเชิญทุกท่านมาร่วมประชุมโดยพร้อมเพรียงกัน ในวันที่ 9 มิถุนายน 2557 เวลา 10:00 น.
ณ ห้องประชุมเฉลิมพระบารมี
17. เว้ น วรรคเล็ ก ทั งข้ า งหน้ า และข้ า งหลั ง ค า ได้ แ ก่ (ที่ ต ามด้ ว ยรายการ) เช่ น (ในความหมายว่ า
ยกตัวอย่าง) ดังตัวอย่าง
พรหมวิหารธรรม ได้แก่ เมตตา กรุณา มุทิตา และอุเบกขา
ร้านนีขายของสารพัดชนิด เช่น พริก กะปิ หอม กระเทียม ผงซักฟอก ยาแก้ปวด ฯลฯ
18. เว้นวรรคเล็กหน้าคาสันธาน “และ” “หรือ” ในรายการที่มีมากกว่า 2 รายการขึนไป หากมีเพียง 2
รายการไม่ต้องเว้นวรรค เช่น
คุณช่วยซือพริก มะนาว กระเทียม และนาตาลทรายให้ด้วย
เธอต้องการจะไปเที่ยวอยุธยา ราชบุรี หรือชลบุรี
19. เว้นวรรคเล็กหน้าคา “เป็นต้น” ที่อยู่หลังรายการ เช่น
เขาเพาะเลียงสัตว์นาหลายชนิด เช่น ปลา ปู กุ้ง และหอย เป็นต้น
20. เว้นวรรคเล็กหลังคา “ว่า” ในกรณีที่ข้อความต่อไปเป็นประโยค เช่น
นายกรัฐมนตรีให้สัมภาษณ์ว่า รัฐบาลจะแก้ปัญหาความยากจนและการฉ้อราษฎร์บังหลวง
อย่างจริงจัง
21. ไม่เว้นวรรคระหว่างคานาหน้าชื่อ นาย นาง นางสาว เด็กชาย เด็กหญิง ท่านผู้หญิง คุณ กับชื่อ เช่น
นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร
คุณรัญจวน อินทรกาแหง
22. ไม่เว้นวรรคระหว่างบรรดาศักดิ์ สมณศักดิ์ ฐานันดรศักดิ์ กับนามหรือราชทินนาม เช่น
หลวงวิจิตรวาทการ
สมเด็จพระญาณสังวร
หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 156

23. ไม่เว้นวรรคระหว่างคานาหน้าชื่อที่เป็นตาแหน่งหรืออาชีพ กับชื่อ เช่น


ศาสตราจารย์ชัยอนันต์ สมุทวณิช
นายแพทย์ดารง เพ็ชรพลาย
24. ไม่เว้นวรรคระหว่างคานาหน้าชื่อที่แสดงฐานะของนิติบุคคล หน่วยงาน หรือกลุ่มบุคคลกับชื่อ เช่น
สมาคมข้าราชการพลเรือนแห่งประเทศไทย
มูลนิธิสายใจไทย
สานักพิมพ์ดวงกมล
บริษัทเงินทุนหลักทรัพย์สินถาวร จากัด
การเขียนคาย่อ
การใช้คาย่อมีประโยชน์ต่อการเขียนในด้านประหยัดเนือที่ในการเขียนหรือการพิมพ์ ราชบัณฑิตยสถาน
(2533: 68-70) ได้กาหนดหลักเกณฑ์ในการเขียนคาย่อ ไว้ดังนี
1. ใช้พยัญชนะต้นพยางค์แรกของคาเป็นตัวย่อ
1.1 ถ้าเป็นคาคาเดียวให้ใช้ตัวย่อตัวเดียว แม้ว่าคานันจะมีหลายพยางค์ก็ตาม เช่น
วา = ว. จังหวัด = จ.
3.00 นาฬิกา = 3.00 น. ศาสตราจารย์ = ศ.
1.2 ถ้าใช้ตัวอักษรย่อเพียงตัวเดียวแล้วทาให้เกิดความสับสน อาจใช้พยัญชนะต้นของคาถัดไปเป็น
ตัวย่อด้วยก็ได้ เช่น
ตารวจ = ตร. อัยการ = อก.
2. ถ้าเป็นคาสมาสให้ถือเป็นคาเดียว และใช้พยัญชนะต้นของพยางค์แรกเพียงตัวเดียวเช่น
มหาวิทยาลัย = ม. วิทยาลัย = ว.
3. ถ้าเป็นคาประสม ใช้พยัญชนะต้นของแต่ละคา เช่น
ชั่วโมง = ชม. โรงเรียน = รร.
4. ถ้าคาประสมประกอบด้วยคาหลายคา มีความยาวมากอาจเลือกเฉพาะพยัญชนะต้นของคาที่เป็น
ใจความสาคัญ ทังนีไม่ควรเกิน 4 ตัว เช่น
คณะกรรมการประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ = กปร.
สานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ = สปช.
5. ถ้าใช้พยัญชนะต้นของแต่ละคาแล้วทาให้เกิดความสับสน ให้ใช้พยัญชนะต้นของพยางค์ถัดไปแทน
เช่น
พระราชกาหนด = พ.ร.ก.
พระราชกฤษฎีกา = พ.ร.ฎ.
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 157

6. ถ้าพยางค์ที่จะนาพยัญชนะต้นมาใช้เป็นตัวย่อมี ห เป็นอักษรนา ให้ใช้พยัญชนะต้นนันเป็นตัวย่อ เช่น


สารวัตรใหญ่ = สวญ.
ทางหลวง = ทล.
7. คาที่พยัญชนะต้นเป็นอักษรควบกลาหรืออักษรนา ให้ใช้อักษรตัวหน้าตัวเดียว เช่น
ประกาศนียบัตร = ป. ถนน = ถ.
8. ตัวอักษรย่อไม่ควรใช้สระ ยกเว้นคาที่เคยใช้มาก่อนแล้ว เช่น
เมษายน = เม.ย. มิถุนายน = มิ.ย.
9. ตัวย่อต้องมีจุดกากับเสมอ ตัวย่อตังแต่ 2 ตัวขึนไปให้จุดที่ตัวสุดท้ายเพียงจุดเดียว ยกเว้น ตัวที่ใช้กัน
มาก่อนแล้ว เช่น
ตาบล = ต. ทบวงมหาวิทยาลัย = ทม.
10. ให้เว้นวรรคหน้าตัวย่อทุกแบบ และเว้นวรรคระหว่างกลุ่มอักษรย่อ เช่น
ประวัติของ อ. พระนครศรีอยุธยา
มีข่าวจาก กทม. ว่า
รศ. นพ. ดารง เพ็ชรพลาย
11. การอ่านคาย่อต้องอ่านเต็ม ยกเว้นในกรณีที่คาเต็มนันยาวมาก และคาย่ อนันเป็นที่เข้าใจและยอมรับ
กัน โดยทั่วไปแล้วอาจอ่านตัวย่อเรียงตัวไปก็ได้ เช่น
6.00 น. อ่านว่า หกนาฬิกา
อ. บางเขน อ่านว่า อาเภอบางเขน
ก.พ. อ่านว่า กอ-พอ
หลักเกณฑ์ที่กล่าวมานีเป็นหลักเกณฑ์ที่ราชบัณฑิตยสถานได้กาหนดขึนไว้ แต่เนื่องจากในปัจจุบัน มี สาขา
อาชีพต่าง ๆ กาหนดคาย่อขึนใช้กันอย่างหลากหลาย แต่ก็เป็นที่รู้จักและเข้าใจกัน หรรษา ผลาผล (2542: 37) ได้
เสนอแนะแนวทางในการใช้คาย่อไว้ว่า
การย่อคาในปัจจุบันนิยมใช้กันมากและมีความหลากหลาย แต่ละวงการพยายามหลีกเลี่ยงไม่ให้ซาซ้อน
กัน การย่อคาจึงผันแปรไปจากหลักเกณฑ์ที่ผู้รู้และที่ราชบัณฑิตยสถานได้วางหลักเกณฑ์ไว้ บางครังจึงยากที่จะ
เข้าใจได้ว่าคาเต็มคือคาใด ดังนันผู้ใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารทุกรูปแบบ ควรบอกความหมายไว้ตังแต่การใช้คาย่อ
นัน ๆ เป็นครังแรก สรุปก็คือการใช้คาย่อนัน ควรคานึงถึงผู้รับสารและกาลเทศะของการสื่อสาร
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 158

การเขียนภาคปฏิบัติ
การเขีย นสารในรู ป แบบต่าง ๆ ที่ใช้มาก และเป็นประโยชน์ในชีวิตประจาวันมีห ลากหลายประเภท
โดยในที่นีจะขอกล่าวถึงงานเขียนที่สาคัญและสามารถพบเจอในชีวิตประจาวันได้ มีดังนี
การเขียนเรียงความ
ความหมายของเรียงความ
เรีย งความเป็ น รู ป แบบงานเขี ย นประเภทร้อยแก้ว ที่เกิ ดจากการที่ ผู้ เขีย นได้น าความรู้ ความคิ ด
เกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งมาเรียบเรียงเป็นเรื่องราวโดยอาศัยข้อเท็จจริง รวมถึงศิลปะในการใช้ภาษาที่ถูกต้อง
สละสลวย และเรียบง่าย เพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจได้ชัดเจน เรียงความถือเป็นงานเขียนที่เป็นพืนฐานสาหรับงานเขียน
ประเภทอื่น ๆ (ศิวาพร วัฒนรัตน์และคณะ. 2552: 135)
องค์ประกอบของเรียงความ
เรียงความมีองค์ประกอบ 3 ส่วน คือ คานา เนือเรื่อง และสรุป งานเขียนทุกประเภทจะต้อง
ประกอบด้วยองค์ประกอบสามส่วนนี คือ (จุไรรัตน์ ลักษณะศิริ และบาหยัน อิ่มสาราญ. 2550: 209-215)

คานา

เนือเรื่อง

สรุป
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 159

1. คานา
คานาเป็นส่วนของเรียงความส่วนแรกที่มีหน้าที่เปิดประเด็นเข้าสู่เรื่ อง เป็นการบอกให้ผู้อ่านทราบว่า
ผู้เขียนจะเขียนเรื่องอะไร เพื่อชักนาให้คนสนใจอ่านเรื่องราวที่เขียน คานาเป็นส่วนที่สาคัญส่วนหนึ่งของเรียงความ
เพราะเป็นส่วนช่วยดึงดูดให้ผู้อ่านหันมาสนใจเรื่องราวที่เขียน
ผู้เขียนจะต้องเลือกวิธีการเขียนคานาให้เหมาะแก่ประเภทของงานเขียน เนือหาที่เขียนรวมทังผู้รับ
สารด้วย
ปัญหาในการเขียนคานา
คานามีความสาคัญต่องานเขียนทุกประเภท ดังนันผู้เขียนควรหลีกเลี่ยงการเขียนคานาที่ไม่
น่าสนใจ ดังนี
1. การเขียนคานาไม่ตรงกับเรื่อง
2. การเขี ย นค าน าที่ อ้ อมค้ อม มีเ นื อหาไกลจากเรื่อ งที่ เขี ย นเกิ นไป ท าให้ ผู้ อ่ านไม่ท ราบ
จุดประสงค์ชัดเจนว่าจะเขียนเรื่องอะไร ควรเขียนให้ผู้อ่านรู้ความคิดที่จะเขียนอย่างรวดเร็ว
3. การเขียนคานายาวเกินไป ไม่ได้สัดส่วนกับเนือเรื่อง
4. การเขียนคานาด้วยเรื่องไม่น่าสนใจ ใช้คาที่ไม่มีความหมาย
5. การเขีย นคาน าด้ว ยการออกตัว เช่น ออกตัว ว่าไม่พร้อมหรือไม่เชี่ยวชาญเรื่องที่เขียน
เพราะผู้อ่านจะไม่มั่นใจในความสามารถของผู้เขียน อาจมีผลทาให้ผู้อ่านไม่สนใจอ่านใด
2. เนื้อเรื่อง
เนือเรื่องเป็นส่วนสาคัญและยาวที่สุดของเรียงความ ประกอบด้วย ความรู้ ความคิด และข้อมูลที่
ผู้เขียนค้นคว้า และเรียบเรียงอย่างเป็นระบบ ระเบียบ การเขียนเนือเรื่องเป็นการขยายความในประเด็นต่าง ๆ
ตามโครงเรื่องที่วางไว้ล่วงหน้าแล้ว ในการเขียนอาจมีการยกตัวอย่าง การอธิบาย การพรรณนา หรือยกโวหารต่าง ๆ
มาประกอบด้วย โดยอาจจะมีย่อหน้าหลายย่อหน้าก็ได้
การเขียนเนื้อเรื่อง ควรยึดแนวทางต่อไปนี้
1. ความถูกต้อง แจ่มแจ้งสมบูรณ์ ผู้อ่านสามารถเข้าใจเจตนารมณ์ของผู้เขียนได้เป็นอย่างดี
ซึ่งเรียกว่า มีสารัตถภาพ
2. ใจความสาคัญแต่ละย่อหน้าจะต้องมีเพียงใจความเดียว ไม่ออกนอกเรื่อง สับสนวกวน ซึ่ง
เรียกว่า มีเอกภาพ
3. เนือหาในแต่ละย่อหน้าจะต้องมีความสัมพันธ์เกี่ยวเนื่องกันโดยตลอด ย่อหน้าที่มาหลัง
จะต้องเกี่ยวเนื่องสัมพันธ์กับย่อหน้าที่มาก่อน ซึ่งเรียกว่า มีสัมพันธภาพ
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 160

3. สรุป
สรุปเป็นส่วนสุดท้ายหรือย่อหน้าสุดท้ายในเรียงความแต่ละเรื่อง ผู้เขียนจะทิ งท้ายให้ผู้อ่านเกิดความ
ประทับใจ สอดคล้องกับเรื่องที่เขียน กระชับรัดกุม ซึ่งการเขียนสรุปมีหลายวิธี เช่น ฝากข้อคิดและความประทับใจ
ให้ผู้อ่าน ยาความคิดสาคัญของเรื่อง ชักชวนให้ปฏิบัติตาม ให้กาลังใจแก่ผู้อ่าน ตังคาถามที่ชวนให้ผู้อ่านคิดหา
คาตอบ และยกคาพูด คาคม สุภาษิต หรือบทกวีที่น่าประทับใจ เป็นต้น การสรุปนับว่ามีส่วนสาคัญเท่ากับคานา
เพราะเป็นส่วนช่วยเสริมให้เรียงความมีคุณค่าขึน
การเขียนสรุปความควรยึดแนวทางต่อไปนี้
1. เขียนสัน ๆ ไม่เยิ่นเย้อ (ความยาวควรจะเท่า ๆ กับคานา)
2. อาจสรุปโดยการอ้อนวอน เชิญชวนหรือแสดงความคิดเห็น
3. ควรหลีกเลี่ยงคาขออภัย หรือคาออกตัวว่าผู้เขียนไม่มีความรู้ไม่ควรเสนอประเด็นใหม่เข้ามา
การสรุ ป ควรมีเ นื อหาสอดคล้ องกับคานาและประเด็นของเรื่อง ย่อหน้าสรุปไม่ ควรยาว แต่ให้ มี
ใจความกระชับ ประทับใจผู้อ่าน
กระบวนการเขียนเรียงความ
กระบวนการเขียนเรียงความมีขันตอนดังนี (มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. 2544. 572)
1. เลือกเรื่องที่เขียน ควรเลือกเรื่องที่ตนเองมีความรู้ ความสนใจ และคาว่าผู้อ่านจะสนใจด้วย แล้ว
ตังชื่อเรื่อง ต่อจากนันจึงหาข้อมูล
2. กาหนดจุดประสงค์และประเด็นหลักของเรื่อ งให้ชัดเจน และรัดกุมเพื่อยึดเป็นหลักในการเขียน
เรียงความเรื่องนัน
3. วางโครงเรื่องโดยนาข้อมูลความคิดที่เลือกสรรไว้แล้วมาจัดเรียงลาดับให้ต่อเนื่องอย่างเหมาะสม
การวางโครงเรื่องอาจจัดทาเป็นแบบหัวข้อ หรือแบบประโยคก็ได้
4. ลงมือเขียนให้จบเรื่อง การเขียนย่อหน้าในเรื่องควรนาหลักการเขียนย่อหน้ามาใช้ ควรเขียนสาระ
ต่าง ๆ ไปตามโครงเรื่องที่วางไว้ และควรระมัดระวังในการใช้สานวนภาษาให้ประณีตเป็นพิเศษ
5. อ่านทบทวนเรื่องที่เขียนไปแล้ว โดยพิจารณาทังในด้านความคิดและภาษา ถ้าพบว่ามีส่วนใด
บกพร่องควรปรับปรุงแก้ไขจนกว่าจะพอใจ
6. เขียนหรือพิมพ์ต้นฉบับ
ลักษณะของเรียงความที่ดี
เรี ย งความที่ ดี ต้ อ งมี ลั ก ษณะ 3 ประการ คื อ ต้ อ งมี เ อกภาพ สั ม พั น ธภาพ และสารั ต ถภาพ
ดังรายละเอียดดังนี (จุไรรัตน์ ลักษณะศิริ และบาหยัน อิ่มสาราญ. 2550: 218)
1. มีเอกภาพ หมายความว่า เนือเรื่องจะต้องมีเนือหาเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ไม่กล่าวนอกเรื่อง
เรียงความจะมีเอกภาพหรือไม่ขึนอยู่กับการวางโครงเรื่อง
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 161

2. มีสั ม พั น ธภาพ หมายความว่ า เนือหาจะต้ องมี ค วามสั ม พั น ธ์ ต่ อ เนื่ อ งกั น ตลอดทั งเรื่ อ ง
ความสัมพันธ์ต่อเนื่องของเนือหาเกิดจากการจัดลาดับ ความคิด และการวางวางโครงเรื่องที่ดี และเกิดจากการ
เรียบเรียงย่อหน้า
3. มีส ารั ต ถภาพ หมายความว่า เรี ย งความแต่ ล ะเรื่ อ งจะต้ องมี ส าระที่ส มบู รณ์ ต ลอดทั งเรื่ อ ง
ความสมบู ร ณ์ของเนื อหาเกิดจากการวางโครงเรื่องที่ดี เรียงความจะมีเนือหาสมบูรณ์ได้ก็ต้องประกอบด้ว ย
ย่อหน้าที่สมบูรณ์ คือ ต้องประกอบด้วยย่อหน้าที่มีประโยคใจความสาคัญเด่นชัด มีประโยคขยายที่เน้นเนือหา
สาคัญของเรื่องชัดเจน และมากกว่าความคิดอื่น

ตัวอย่างเรียงความ

พระนิพนธ์ของสมเด็จพระเทพพระรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

ไทยรักไทย ไทยเจริญ

หวนระลึกย้อนกลับไปเกือบ 800 ปี อันเป็นระยะเวลาก่อนกรุงสุโขทัย พระมหานครแห่งแรกของเราจะ


เจริญรุ่งเรือง ในเวลานันประเทศไทยหรือประเทศสยามนียังไม่บังเกิด ชนเผ่าไทยปกครองกันเป็นแคว้นเล็กแคว้น
น้อย ต่างก็เป็นอิสระแก่กันอยู่ใต้อิทธิพลของขอม พ่อขุนบางกลางท่าว เจ้าเมืองบางยาง กับพ่อขุนผาเมืองเจ้าเมือง
ราด ได้พร้อมใจกันกู้อิสรภาพเป็นผลสาเร็จ พ่อขุนบางกลางท่าวได้ขึนครองราชต์เป็นพระมหากษัตริย์ไทยพระองค์
แรกทรงพระนามว่า พ่อขุนศรีอินทราทิตย์แห่งกรุงสุโขทัย ในระยะนีเป็นระยะที่ชาติไทยมีความรุ่งเรืองที่สุดระยะ
หนึ่ง ทังทางศาสนา ศิลปกรรม และเศรษฐกิจ การปกครอง พระมหากษัตริย์ ทรงรักราษฎรประดุจบิดารักบุตร
ของตน พระราชอาณาเขตกว้างใหญ่ไพศาลขึนชื่อลือกระเดื่องไปทั่วทุกทิศานุทิศ
ครันต่อมาอาณาจักสุโขทัยเสื่อมอานาจลง กรุงศรีอยุธยาเรืองอานาจเป็นราชธานีอยู่ถึง 417 ปี ฉะนัน
เหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ ร ะยะนี จึ งควรแก่การทรงจายิ่งนัก บรรพชนชาวอยุธ ยาได้ส ร้างสรรค์ความเจริญ
นานัปการแก่ชาติ ท่านเหล่านันได้สละแล้วซึ่งเลือดในกายจนกระทั่งชีวิตและรักษาความเป็นไทยที่ท่านรักไม่มีผู้ใด
จะคัดค้านได้ ถ้าข้าพเจ้าจะกล่าวว่าชาวไทยเป็นคนกล้าหาญ เป็นเชือชาติเผ่าพันธุ์นักรบ แต่เหตุไฉนไทยเราจึง
ปราชัยย่อยยับ ต้องตกเป็นเมืองประเทศราชของพม่าข้าศึกทังสองครังสองคราเล่า เมื่อพิจารณาถึงเหตุผลแล้วก็
พอจะสรุปได้ว่าเราขาดความรัก ความสามัคคีในระดับหมู่คณะชาวไทยด้วยกัน เรารักความเป็นใหญ่ส่วนตัว เรื่อง
ทะเลาะเบาะแว้งส่วนตัวเหนือความปลอดภัยของชาติ ความผิดใจกันระหว่างสมเด็จพระมหินทราธิราชกับสมเด็จ
พระมหาธรรมราชา ทาให้สมเด็จพระมหาธรรมราชายืมมือต่างประเทศ คือ พม่าเข้ามาเป็นการชักนาเข้าลึกชักศึก
เข้าบ้าน ทังพระยาจักรียังเข้ามายุแหย่ให้แตกความสามัคคีกันอีก แล้วชาติไทย จะอยู่ได้ อย่างไร การเสียกรุงครังที่
2 ก็เป็นไปในทานองเดียวกันนี กล่าวคือ เป็นการอิจฉาริษยากันเองภายในผู้นาฝ่ายไทยด้วยกัน
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 162

ในปัจจุบันนี ประเทศไทยอันเป็นที่รักยิ่งของเรากาลังอยู่ในหัวเลียวหัวต่อ ประเทศมหาอานาจต่าง ๆ หรือ


พวกฝ่ายตรงข้ามกาลังแผ่อิทธิพลเข้าสู่ประเทศไทยเราอย่างเห็นได้ชัด จากการโฆษณาชวนเชื่อ และการนาทหาร
ผ่านไปรบประเทศอื่น ซึ่งเราจาต้องยอม อย่างหน้าชื่นอกตรม แผ่นดินรอบๆ บ้านเราร้อนเป็นไฟไปทั่วทุกหย่อม
หญ้า เราก็ได้เห็นตัวอย่างจากประวัติศาสตร์มาแล้ว เมื่อใดเรามีความรักความสามัคคีซึ่งกันและกัน เมื่อนันชาติ จะ
เจริญรุ่งเรือง เมื่อใดเราขาดความสามัคคี เมื่อนันเราจะเสียเอกราชความเป็นไท

ชาติใดไร้รักสมัครสมาน จะทาการสิ่งใดก็ไร้ผล
แม้ชาติย่อยยับอับจน บุคคลจะสุขได้อย่างไร

ถ้าเราจะมุ่งผนึกกาลังทังกายและใจด้วยกัน โดยถือพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้ า
เจ้าอยู่หัวว่า สมานสามัคคีให้ดีอยู่ จะสู้ศึกศัตรูทังหลายได้ พลังของชาวไทยกว่า 35 ล้านคน จะไม่สามารถต่อต้าน
ข้าศึกศัตรูทังหลายทังปวงเชียวหรือ เปรียบประดุจดั่งกิ่งไม้ ลาพังแต่กิ่งเดียวแม้แต่เด็กก็หักได้โดยง่าย แต่ถ้ามัด
รวมกัน เป็ นกาใหญ่ก็ยากที่จ ะทาลาย ควรนึ กอยู่เสมอว่า ศัตรูที่เขาจะมารุกรานเราเขาจะยุแหย่ให้ แตกความ
สามัคคีกันก่อน เพราะเมื่อเขาบุกเข้ามาเราไม่รวมกาลังกัน มัวแต่เกี่ยงกัน ทะเลาะชิงดีชิงเด่นระหว่างกันเอง เข้าก็
จะได้ชัยชนะโดยง่าย
เพราะฉะนันชาวไทยจงร่วมรักร่วมสมัครสามัคคีกันไว้ถ้าเผื่อมีข้ าศึกมาย่ายีบีฑาก็จะสู้ได้เต็มแรง ก้อนหิน
น้อยใหญ่หลาย ๆ ก้อนก็สามารถรวมกันเป็นภูผาหลวงได้ฉันใด คนไทยแต่ละคนรวมกาลังเข้าด้วยกันก็สามารถ
สร้างชาติไทยให้เจริญถาวรได้ฉันนัน ข้อสาคัญที่สุดคือ ไทยเราอย่าทาลายกันเอง ดังที่ได้กล่าวมาแล้ว ให้ช่วยกัน
บารุงรักษาประเทศชาติ ศาสนา และวัฒนธรรมให้รุ่งเรืองถาวรอยู่คู่ฟ้าดิน
เหตุที่ชาติไทยเจริญอยู่ได้ เป็นเพราะชาวไทยรักชาวไทยด้วยกัน ต่างก็มั่นอยู่ในความสามัคคีธรรม โดย
ถึงแม้ตนเองเป็นเชือชาติใดนับถือศาสนาใดก็ตาม ต่างก็เป็นข้าแผ่นดินเดียวกันทังนัน เมื่อถือได้เช่นนีจิตใจของคน
ไทยก็ย่อมรวมเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน เมื่อไทยรักไทย ไทยต้องเจริญถาวรอย่างไม่ต้องสงสัย

การเขียนหนังสือราชการ
ความหมายของหนังสือราชการ
หนังสือราชการ คือ เอกสารที่เป็นหลักฐานในราชการ ได้แก่ (ธนู ทดแทนคุณ และกานต์รวี แพทย์พิทักษ์,
2552: 159)
1. หนังสือที่มีไปมาระหว่างส่วนราชการ
2. หนังสือที่ส่วนราชการมีไปถึงหน่วยงานอื่นใด ซึ่งมิใช่ส่วนราชการหรือมีไปถึงบุคคลภายนอก
3. หนังสือที่หน่วยงานอื่นใดซึ่งมิใช่ส่วนราชการ หรือที่บุคคลภายนอกมีมาถึงส่วนราชการ
4. เอกสารที่ทางราชการจัดทาขึนเพื่อเป็นหลักฐานในราชการ
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 163

5. เอกสารที่ทางราชการจัดทาขึนตามกฎหมาย ระเบียบ หรือข้อบังคับ


ผู้ที่ต้องยึดตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยสารบรรณ พ.ศ. 2526 เป็นหลักในการจัดทา
หนังสือราชการ ได้แก่ ส่วนราชการทังหมดซึ่งหมายถึง กระทรวง ทบวง กรม สานักงาน หรือหน่วยงานอื่นใดของ
รัฐทังในราชการบริหารส่วนกลาง ราชการบริหารส่วนภูมิภาค ราชการบริหารส่วนท้องถิ่น หรือในต่างประเทศ
หนังสือราชการ หรือจดหมายราชการจะต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่า
ด้วยงานสารบรรณ พุทธศักราช 2526 ซึ่งใช้ข้อบังคับตังแต่วันที่ 1 มิถุนายน 2526 เป็นต้นมา เพื่อใช้เป็น
มาตรฐานเดียวกันทังประเทศ
ชนิดของหนังสือราชการ (ปรียา หิรัญประดิษฐ์. 2552: 160-162)
หนังสือราชการมี 6 ชนิด คือ
1. หนังสือราชการภายนอก
2. หนังสือราชการภายใน
3. หนังสือประทับตรา
4. หนังสือสั่งการ (คาสั่ง ระเบียบ และข้อบังคับ)
5. หนังสือประชาสัมพันธ์ (ประกาศ แถลงการณ์ และข่าว)
6. หนั งสื อที่เจ้ าหน้าที่จั ดทาขึนหรือรับไว้เป็นหลักฐานในราชการ (หนังสื อรับรอง รายงานการ
ประชุม บันทึก หนังสืออื่น เช่น โฉนด แผนที่ แบบสัญญา แผนผัง หลักฐานการสืบสวนสอบสวน และคาร้อง ฯลฯ)
หลักทั่วไปในการเขียนหนังสือราชการ (ปรียา หิรัญประดิษฐ์. 2552: 163-165)
ข้อความในหนังสือราชการโดยทั่วไปจะแบ่งเป็น 2 ส่วน คือส่วนที่เป็นเนื้อเรื่อง และส่วนความ
ประสงค์
3.1 ส่วนเนื้อเรื่ อง เป็ นส่ว นที่กล่าวถึงสาเหตุที่มีหนังสือราชการไปถึงผู้รับ และให้รายละเอียด
เกี่ยวกับผลต่อเนื่อง ความต้องการ ข้อตกลงต่าง ๆ ในส่วนนีจะเป็นเนือความหลักของหนังสือฉบับนัน ซึ่งอาจมี
เพียงย่อหน้าเดียว หรือมีความยาวหลายย่อหน้าก็ได้
ในย่ อหน้าแรกหรื อวรรคแรกที่เริ่มต้นใจความของหนังสื อ ผู้เขียนจะต้องระบุถึงสาเหตุที่มี
หนังสือราชการไปถึงผู้รับนัน คาขึนต้นที่มักใช้ในหนังสือราชการมี 2 กรณี คือ
1) ในกรณีที่เริ่มต้นแจ้งสาเหตุที่มีหนังสือมักจะขึนต้นด้วยคาว่า “ด้วย” “เนื่องจาก” และไม่
ต้องมีคาว่า “นัน” อยู่ท้ายวรรคหรือท้ายย่อหน้า
2) ในกรณีที่อ้างเรื่องเดิมที่เคยติดต่อกันมาก่อน หรือเป็นเรื่องที่ทราบกั นอยู่ก่อนแล้วมักจะ
ขึนต้นด้วยคาว่า “ตามที”่ “ตาม” หรือ “อนุสนธิ” ในย่อหน้านีต้องลงท้ายคาว่า “นัน” ท้ายวรรค
3.2 ส่วนความประสงค์ เป็นส่วนที่ระบุความต้องการหรือสรุปความต้องการเพื่อยากับผู้รับอีกครัง
หนึ่งว่าจะให้ผู้รับทาอะไร หรือทาอย่างไร ส่วนการสรุปความต้องการนิยมเขียนอีกย่อหน้าหนึ่ง โดยขึนต้นด้วยคา
ว่า “จึง” เช่น
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 164

จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ
จึงเรียนมาเพื่อโปรดนาเสนอ …ต่อไป
จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณา
จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบและถือเป็นหลักปฏิบัติ

หนังสือราชการภายนอก
หนังสือราชการภายนอก คือ หนังสือติดต่อราชการที่เป็นแบบพิธีโดยใช้กระดาษตราครุฑ เป็น
หนังสือติดต่อระหว่างส่วนราชการที่อยู่ต่างกระทรวง ทบวง กรม หรือส่วนราชการที่มีถึงหน่วยราชการอื่นใดซึ่ง
มิใช่ส่วนราชการ หรือที่มีถึงบุคคลภายนอก (ปรียา หิรัญประดิษฐ์. 2552: 177-195)
ต่อไปนีเป็นรูปแบบและตัวอย่างหนังสือราชการภายนอก
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 165
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 166

จากรูปแบบและตัวอย่างหนังสือราชการภายนอกที่ยกมาแสดงนัน มีรายละเอียดในการเขียน
ดังนี
1) ที่ ให้ลงรหัสพยัญชนะ และเลขประจาของเจ้าของเรื่อง ทับเลขทะเบียนหนังสือส่ง สาหรับ
หนังสือของคณะกรรมการให้กาหนดรหัสด้วยตัวพยัญชนะเพิ่มขึนได้ตามความจาเป็น
2) ส่วนราชการเจ้าของหนังสือ ให้ลงชื่อส่วนราชการ สถานที่ราชการ หรือคณะกรรมการที่
เป็นเจ้าของหนังสือนัน โดยปกติให้ลงที่ตังไว้ด้วย การลงชื่อส่วนราชการให้ลงด้านขวาสุดบรรทัดเดียวกับ “ที่” การ
ลงสถานที่ราชการนันควรลงให้ชัดเจนและควรลงรหัสไปรษณีย์ด้วยเพื่อจะได้สะดวกในการติดต่อ
3) วัน เดือน ปี ให้ลงตัวเลขของวันที่ ชื่อเต็มของเดือน และตัวเลขของปีพุทธศักราชที่ออก
หนังสือ โดยไม่ต้องเขียนคาว่า วันที่ เดือน และ พ.ศ. ตาแหน่งของตัวเลขควรให้อยู่กึ่งกลางของหน้ากระดาษ
4) เรื่อง ให้ลงเรื่องย่อที่เป็นใจความสันที่สุดของหนังสือฉบับนัน ในกรณีที่เป็นหนังสือต่อเนื่ อง
โดยทั่วไปให้ลงเรื่องของหนังสือฉบับเดิม
การกาหนดชื่อเรื่อง ผู้เขียนหนังสือจะต้องเข้าใจสาระเรื่องราว ตลอดจนความเป็นมาของ
หนังสือนันเป็นอย่างดี จึงจะสามารถกาหนดชื่อเรื่องที่สัน กะทัดรัด ครอบคลุมสาระที่ยืดยาวได้
5) คาขึ้น ต้น ให้ใช้คาขึนต้นตามฐานะของผู้ รับหนังสือ ตามที่กาหนดไว้ในระเบียบส านัก
นายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ แล้วลงชื่อตาแหน่งของผู้ที่หนังสือนันมีถึง หรือชื่อบุคคลในกรณีที่มีหนังสือถึง
ตัวบุคคลโดยไม่เกี่ยวกับตาแหน่งหน้าที่
6) อ้างถึง (ถ้ามี) ให้อ้างถึงหนังสือที่เคยมีติดต่อกัน เฉพาะหนังสือ ที่ส่วนราชการผู้รับหนังสือ
ได้รับมาก่อนแล้ว จะจากส่วนราชการใดก็ตาม โดยให้ลงชื่อส่วนราชการเจ้าของหนังสือ และเลขที่หนังสือ วันที่
เดือน ปีพุทธศักราชของหนังสือนัน
การอ้างถึง ให้อ้างถึงหนังสือฉบับสุดท้ายที่ติดต่อกันเพียงฉบับเดียว เว้นแต่มีเรื่องอื่นที่เป็น
สาระสาคัญจะต้องนามาพิจารณาจึงอ้างถึงหนังสือฉบับอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับเรื่องนันโดยเฉพาะให้ทราบด้วย
7) สิ่งที่ส่งมาด้วย (ถ้ามี) ให้ลงชื่อสิ่งของเอกสาร หรือบรรณสารที่ส่งไปพร้อมกับหนังสือนัน
ในกรณีที่ไม่สามารถส่งไปในซองเดียวกันได้ ให้แจ้งด้วยว่าส่งไปโดยทางใด เช่น
สิ่งที่ส่ งมาด้วย เอกสารการสอนชุดวิช าพัฒนาการวรรณคดีไทย 1 ชุด (ส่งทางพัส ดุ
ไปรษณีย์)
8) ข้อความ ข้อความในหนังสือราชการให้บอกแต่สาระสาคัญของเรื่องให้ชัดเจน เข้าใจง่าย
หากมีความประสงค์หลายประการให้แยกเป็นข้อ ๆ แต่จะต้องประกอบด้วยหลัก 2 ประการ คือ
8.1 ข้อความในส่วนที่กล่าวถึงสาเหตุที่มีหนังสือ ไป ให้เขียนแจ้งเหตุที่มีหนังสือไปยังผู้รับ
อาจเป็นข้อความตอนเดียว หรือ 2 ตอน หรือ 3 ตอนก็ได้ เขียนให้ชัดเจน และเข้าใจง่าย
8.2 ข้อความในส่วนที่เป็นความประสงค์ เป็นส่วนที่ระบุตามความต้องการว่าจะให้ผู้รั บทา
อะไร หรือทาอย่างไร ให้เขียนในอีกย่อหน้าหนึ่ง โดยขึนต้นด้วยคาว่า “จึง” เช่น
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 167

จึงเรียนมาเพื่อทราบ
จึงเรียนมาเพื่อโปรดนาเสนอ…ต่อไป
จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบและถือเป็นหลักปฏิบัติ
จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณา
9) คาลงท้า ย ให้ใช้คาลงท้า ยตามฐานะของผู้รับหนังสือตามที่กาหนดไว้ในระเบียบส านัก
นายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ สาหรับคาลงท้ายบุคคลธรรมดาใช้ “ขอแสดงความนับถือ” เท่านัน ยกเว้น
ตาแหน่ งที่ร ะบุไว้เฉพาะ คือ ประธานองคมนตรี นายกรัฐ มนตรี ประธานรัฐ สภา ประธานสภาผู้ แทนราษฎร
ประธานวุฒิสภา ประธานศาลรัฐธรรมนูญ ฯลฯ ให้ใช้ว่า “ขอแสดงความนับถืออย่างยิ่ง”
10) ลงชื่อ ให้ ลงลายมือชื่อเจ้าของหนังสือและให้ พิมพ์ชื่อเต็มของเจ้าของลายมือชื่อไว้ใต้
ลายมือชื่อ
11) ตาแหน่ง ให้ลงตาแหน่งของเจ้าของหนังสือ โดยปกติจะเป็นหัวหน้าส่วนราชการ หรือผู้ที่
ได้รับมอบหมาย
12) ส่วนราชการเจ้าของเรื่อง ให้ลงชื่อส่วนราชการเจ้าของเรื่อง หรือหน่วยงานที่ออกหนังสือ
ถ้าส่วนราชการที่ออกหนังสืออยู่ในระดับกระทรวงหรือทบวง ให้ลงชื่อส่วนราชการเจ้าของเรื่อง ทังระดับกรม และ
กอง ถ้าส่วนราชการที่ออกหนังสืออยู่ในระดับกรมลงมา ให้ลงชื่อส่วนราชการเจ้าของเรื่องเพียงระดับกอง หรือ
หน่วยงานที่รับผิดชอบ
13) โทร. ให้ลงหมายเลขโทรศัพท์ของส่วนราชการเจ้าของเรื่อง หรือหน่วยงานที่ออกหนังสือ
การลงนามเลขโทรศัพท์นี จะเป็นประโยชน์ ในกรณีที่ผู้รับหนังสือมีข้อสงสัยหรือต้องการจะประสานงานอย่าง
รวดเร็วและใกล้ชิดก็จะได้ติดต่อได้ นอกจากนีให้ใส่หมายเลขโทรสารไว้ด้วย
14) สาเนาส่ง (ถ้ามี) ในกรณีที่ผู้ส่งจัดทาสาเนาส่งไปให้ส่วนราชการ หรือบุคคลอื่นทราบ
และประสงค์จะให้ผู้รับทราบว่าได้สาเนาส่งไปให้ผู้ใดแล้ว ให้พิมพ์ชื่อเต็มหรือชื่อย่อของส่วนราชการ หรือชื่อบุคคล
ที่ส่งสาเนาไปให้ เพื่อให้เป็นที่เข้าใจระหว่างผู้ส่งและผู้รับ ถ้าหากมีรายชื่อที่ส่งมากให้พิมพ์ว่าส่งไปตามรายชื่อที่
แนบ และแนบรายชื่อไปด้วย
หนังสือราชการภายใน
หนังสือราชการภายใน คือ หนังสือติดต่อราชการที่เป็นแบบพิธีน้อยกว่าหนังสือภายนอกเป็น
หนังสือติดต่อภายในกระทรวง ทบวง กรม หรือจังหวัดเดียวกัน หรือติดต่อบุคคลอื่นให้ทราบ พร้อมทังกาหนดให้
ใช้เฉพาะกระดาษบันทึกข้อความเพื่อให้เห็นข้อแตกต่างจากหนังสือภายนอก กับได้กาหนดหัวข้อการเขียนให้รัดกุม
เพื่อสะดวกแก่ผู้ปฏิบัติ และให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน (ปรียา หิรัญประดิษฐ์. 2552: 200-202)
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 168

การเขียนบันทึกข้อความ
การเขียนบันทึกข้อความเป็นแบบงานเขียนทางราชการอีกประเภทหนึ่งซึ่งเขียนข้อความที่
เป็นเรื่องภายในของหน่วยราชการ กระทรวง ทบวง กรมเดียวกัน อาจเป็นเรื่องเสนอผู้บังคับบัญชาในหน่วยนัน ๆ
หรือผู้บังคับบัญชาบันทึกลงมา การเขียนบันทึกข้อความโดยทั่วไปนิยมบันทึกในลักษณะต่อไปนี คือ บันทึกย่อเรื่อง
บันทึกรายงาน บันทึกความเห็น บันทึกติดต่อและสั่งการ และบันทึกเพื่อขออนุมัติในเรื่องต่าง ๆ
ต่อไปนีเป็นรูปแบบและตัวอย่างบันทึกข้อความ
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 169

จากรูปแบบและตัวอย่างบันทึกข้อความที่ยกมานัน มีรายละเอียดในการเขียน ดังนี


1) ส่วนราชการ ให้ลงชื่อส่วนราชการเจ้า ของเรื่อง หรือหน่วยงานที่ออกหนังสือ โดยมี
รายละเอียดพอสมควร โดยปกติถ้าส่วนราชการที่ออกหนังสืออยู่ในระดับกรมขึนไป ให้ลงชื่อส่วนราชการเจ้าของ
เรื่องทังระดับกรมและกอง ถ้าส่วนราชการที่ออกหนังสืออยู่ในระดับต่ากว่ากรมลงมา ให้ลงชื่อส่วนราชการเจ้าของ
เรื่องเพียงระดับกอง หรือส่วนราชการเจ้าของเรื่องพร้อมทังหมายเลขโทรศัพท์ (ถ้ามี)
2) ที่ ให้ลงรหัสตัวพยัญชนะและเลขประจาของเจ้าของเรื่องทับเลขทะเบียนหนังสือส่ง ซึ่ง
มีแนวปฏิบัติเช่นเดียวกับหนังสือภายนอก
3) วัน ที่ ให้ ล งตั ว เลขของวัน ที่ ชื่ อเต็ม ของเดื อน และตั ว เลขของปีพุ ทธศั กราชที่อ อก
หนังสือ เช่นเดียวกับหนังสือภายนอก
4) เรื่อง ให้ลงเรื่องย่อที่เป็นใจความสันที่สุ ดของหนังสือฉบับนัน ในกรณีที่เป็นหนังสื อ
ต่อเนื่อง โดยปกติให้ลงเรื่องของหนังสือฉบับเดิม
5) คาขึ้นต้น ให้ใช้คาขึนต้นตามฐานะของผู้รับหนังสือ แล้วลงตาแหน่งของผู้ที่มีหนังสือนัน
มีถึง ซึ่งการลงตาแหน่งบางครังก็ใช้ตัวย่อซึ่งเป็นที่เข้าใจในส่วนราชการนัน หรือลงชื่อบุคคลในกรณีที่มีถึงตัวบุคคล
ไม่เกี่ยวกับตาแหน่งหน้าที่เช่นเดียวกับหนังสือภายนอก
6) ข้อความ ให้ลงสาระสาคัญของเรื่องให้ชัดเจนและเข้าใจง่าย หากมีความประสงค์หลาย
ประการให้แยกเป็นข้อ ๆ ในกรณีที่มีการอ้างถึงหนังสือที่เคยมีติดต่อกัน หรือมีสิ่งที่ส่งมาด้วย ให้ระบุไว้ในข้อนี
ลักษณะเด่นชัดเจนอีกอย่างหนึ่ง คือ การเขียนบันทึกข้อความจะไม่มีคาลงท้าย เช่น “ขอแสดงความนับถือ”
7) ลงชื่อและตาแหน่ง ให้ลงลายมือชื่อเจ้ าของหนังสือ และให้พิมพ์ชื่อเต็มของเจ้าของ
ลายมือชื่อไว้ใต้ลายมือชื่อ แล้วลงตาแหน่งของเจ้าของหนังสือ
หลักการเขียนหนังสือราชการ
การเขียนหนังสือราชการที่ดีนัน มีหลักการเขียนดังนี
1. เขียนให้เข้าใจความหมาย คือ การเขียนให้ชัดเจน กระจ่าง ให้ผู้รับเข้าใจได้ง่าย ถ้า
เขียนไม่ชัดเจนผู้รับไม่สามารถปฏิบัติตามวัตถุประสงค์ได้
2. เขียนให้บรรลุจุดประสงค์ คือ การเขียนที่ให้ผู้รับจดหมายเข้าใจชัดเจนว่ามีจดหมายไป
ต้องการอะไร จะให้ผู้รับจดหมายปฏิบัติอย่างไร เช่น
2.1 ถ้าต้องการเพียงให้ ผู้รับทราบ ให้ล งท้ายให้ ชัดเจนว่า “จึงเรียนมาเพื่อทราบ”
หรือ “จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ”
2.2 ถ้าต้องการให้ผู้รับเข้าใจก็ต้องเขียนชีแจงให้ชัดเจนสมเหตุสมผล แล้วลงท้ายให้
ชัดเจนว่าเป็นการชีแจง เช่น ลงท้ายว่า “จึงเรียนชีแจงมาเพื่อขอได้โปรดเข้าใจตามนีด้วย” หรือ “จึงเรียนมาเพื่อ
ถือเป็นหลักปฏิบัติต่อไป”
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 170

2.3 ถ้าต้องการให้ ผู้ รับอนุมัติ ให้ เขียนชีแจงเหตุผ ลความจาเป็นที่จะโน้มน้าวให้ ผู้


พิจารณาอนุมัติ และเขียนตอนท้ายบอกจุดประสงค์ให้ชัดเจนว่าขออนุมัติอะไร
2.4 ถ้าต้องการให้ ผู้รับพิจารณา ให้เขียนในตอนท้ายบอกจุดประสงค์ให้ ชัดเจนว่า
ขอให้พิจารณาอะไร ในประเด็นไหน หากมีประเด็นที่ขอให้พิจารณาหลายประเด็น ควรแยกประเด็นให้เห็นชัดเป็ น
ข้อ ๆ
2.5 ถ้าต้องการให้ผู้รับช่วยเหลือ ให้เขียนอย่างนอบน้อมยกย่อง ขอความกรุณาจาก
ผู้รับและขอบคุณเขาล่วงหน้าด้วย
3. เขียนให้เป็นผลดี หนังสือราชการนันแม้จะมีลีลาการเขียนในลักษณะกะทัดรัด หนักแน่น
รัดกุม ไม่ใช้ถ้อยคาฟุ่มเฟือย แต่ก็ควรจะให้อ่านแล้วมีความรู้สึกที่ “รื่นหู” ไม่ให้ผู้รับมีความรู้สึกที่ไม่ดีได้
4. ถู ก หลั ก ในการเขี ย นจดหมายที่ ดี การเขี ย นหนั ง สื อ ราชการนั นต้ อ งให้ ถู ก ต้ อ งทั ง
ไวยากรณ์ ตัว สะกดการั น ต์ และถูกต้องตามความนิยม คือ ต้องใช้ภ าษาราชการ ไม่ใช้ภ าษาพูด หรือภาษา
นักประพันธ์
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 171

บรรณานุกรม

กิดานันท์ มลิทอง. (2548). เทคโนโลยีและการสื่อสารเพื่อการศึกษา. กรุงเทพฯ : อรุณการพิมพ์.


กิตติชัย พินโน, อมรชัย คหกิจโกศล (บรรณาธิการ). 2554. ภาษากับการสื่อสาร. พิมพ์ครังที่ 2. กรุงเทพฯ:
ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร.
กุสุมา รักษมณี. 2547. เส้นลีลาวรรณกรรม. กรุงเทพฯ: แม่คาผาง.
กุหลาบ มัลลิกะมาส. 2522. วรรณคดีวิจารณ์. พิมพ์ครังที่ 7 (แก้ไขและเพิ่มเติม). กรุงเทพฯ: ภาควิชาภาษาไทย
และตะวันออก คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง.
กุหลาบ สายประดิษฐ์. 2543. ข้อคิดจากใจ. พิมพ์ครังที่ 2. กรุงเทพฯ: แม่คาผาง.
กาชัย ทองหล่อ. 2555 พิมพ์ครังที่ 53. กรุงเทพฯ .
ขวัญดี อัตวาวุฒิชัย และคณะ. 2543. การใช้ภาษาไทย 1. พิมพ์ครังที่ 4. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ไขสิริ ปราโมช ณ อยุธยา. 2526. การเปลี่ยนแปลงถ้อยคาและความหมายของสานวนไทย. กรุงเทพ:
โครงการเผยแพร่งานวิจัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
คณาจารย์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. 2551. ภาษากับการสื่อสาร. กรุงเทพฯ: โครงการผลิตและ
พัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการเรียนรู้พระพุทธศาสนา กองวิชาการ และสานักหอสมุดและ
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
คาผา เพลงพิณ. (นามแฝง). 2532. เสียงสั่งจากอีสาน. มหาสารคาม : อภิชาตการพิมพ์.
เจตนา นาควัชระ. 2542. ทฤษฎีเบื้องต้นแห่งวรรณคดี. พิมพ์ครังที่ 2. กรุงเทพฯ: ศยาม.
จุไรรัตน์ ลักษณะศิริ และบาหยัน อิ่มสาราญ. 2550. ภาษากับการสื่อสาร. พิมพ์ครังที่ 2. กรุงเทพฯ: โครงการ
ตาราและหนังสือคณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ฉวีลักษณ์ บุณยะกาญจน. 2547. จิตวิทยาการอ่าน. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.
ฉัตรวรุณ ตันนะรัตน์. 2534. วาทนิพนธ์. (พิมพ์ครังที่ 4). กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคาแหง.
ชานาญ รอดเหตุภัย. 2519. สัมมนาการใช้ภาษาไทยปัจจุบัน. กรุงเทพฯ: กรุงสยามการพิมพ์.
ดวงใจ ไทยอุบุญ. 2550. ทักษะการเขียนภาษาไทย. พิมพ์ครังที่ 4. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ทัศนาวดี. (นามแฝง). 2545.ในโลกแคบ.กรุงเทพฯ: นาหวาน.
ธนู ทดแทนคุณ และกานต์รวี แพทย์พิทักษ์. 2552. ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร. พิมพ์ครังที่ 3. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
ธเนศ เวศร์ภาดา, ผศ.ดร. 2549. หอมโลกวรรณศิลป์. กรุงเทพฯ: ปาเจรา.
นพดล จันทร์เพ็ญ. 2535. การใช้ภาษาไทย. กรุงเทพฯ : ต้นอ้อ.
นภาลัย สุวรรณธาดา, สุมาลี สังข์ศรี, ธีรยุทธ์ เสนีวงศ์ ณ อยุธยา และธิดา โมสิกรัตน์. (2548). การเขียนผลงาน
วิชาการและบทความ. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
นรินทรธิเบศ (อิน). 2516. โคลงนิราศนรินทร์.กรุงเทพฯ: คุรุสภา.
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 172

นิตยา กาญจนะวรรณ. 2535. “ภาษาพาจร” ใน สตรีสาร ปีที่ 45 ฉบับที่ 47 12 กรกฎาคม 2535.


. 2547. ปัญหาการใช้ภาษาไทย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคาแหง.
บุญเหลือ เทพยสุวรรณ, ม.ล.2539. แว่นวรรณกรรม. พิมพ์ครังที่ 2. กรุงเทพฯ: อมรินทร์.
. 2543. วิเคราะห์รสวรรณคดีไทย. พิมพ์ครังที่ 3. กรุงเทพฯ: ศยาม.
ปราณี กุลละวณิชย์. 2537. ภาษาทัศนา. พิมพ์ครังที่ 3. กรุงเทพฯ: โครงการตาราคณะอักษรศาสตร์. จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
ปรีชา ช้างขวัญยืน. 2525. ศิลปะการเขียน. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์วิชาการ.
. 2525. ศิลปะการฟัง การอ่าน. กรุงเทพฯ : วิชาการ.
ปรีชา ช้างขวัญยืน และคนอื่นๆ. 2539. เทคนิคการเขียนและผลิตตารา. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
ปรียา หิรัญประดิษฐ์. 2552. การใช้ภาษาไทยในวงราชการ. พิมพ์ครังที่ 3. กรุงเทพฯ: ธรรกมลการพิมพ์.
พิทยา ลิมมณี. 2537. การอ่านตีความ. กรุงเทพฯ: โอ.เอส.พรินติง.เฮ้าส์.
ไพรวรินทร์ ขาวงาม. 2538. ม้าก้านกล้วย.กรุงเทพฯ: แพรวสานักพิมพ์.
ไพรถ เลิศพิริยกมล. 2543. การย่อความ. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.
ภาษาไทย, ภาควิชา คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2533. ภาษากับการสื่อสาร. (พิมพ์ครังที่ 3).
กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ภาคภูมิ หรรนภา. 2554. การเขียนเพื่อการสื่อสาร. กรุงเทพฯ: อินทนิล.
มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร. 2549. คู่มือการเขียนผลงานทางวิชาการ. กรุงเทพฯ : ดอกเบีย.
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. 2544. เอกสารการสอนชุดวิชา การใช้ภาษาไทย (ฉบับปรับปรุง). พิมพ์ครังที่ 9.
นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช . 2529. เอกสารการสอนชุดวิชาการใช้ภาษาไทย 1 หน่วยที่ 1-8. นนทบุรี :
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ราชบัณฑิตยสถาน. 2556. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊คส์.
. 2533. หลักเกณฑ์การใช้เครื่องหมายวรรคตอนและเครื่อหงมายอื่นๆ หลักเกณฑ์การเว้นวรรค
หลักเกณฑ์การเขียนคาย่อ. พิมพ์ครังที่ 5. กรุงเทพฯ: เพี่อนพิมพ์.
ราชภัฏพระนคร, มหาวิทยาลัย. 2550. ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์สานักงานพระพุทธศาสนา
แห่งชาติ.
. 2553. ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร Thai for Communication รหัสวิชา 1500105. กรุงเทพฯ:
สานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ.
ล้อม เพ็งแก้ว. (2548, ตุลาคม). ท้องถิ่นของเรา. ศิลปวัฒนธรรม.26 (12), 74
วาสนา เกตุภาค. ( ม.ป.ป.). การเขียน. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
วิทย์ ศิวะศริยานนท์. 2518. วรรณคดีและวรรณคดีวิจารณ์. พิมพ์ครังที่ 5. กรุงเทพฯ: แพร่พิทยา.
ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมาย 173

วิภา กงกะนันทน์. 2520. วรรณคดีศึกษา. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร


วิวัฒน์ เลิศวิวัฒน์วงศา. 2556. ยูโทเปียชารุด. กรุงเทพฯ: เม่นวรรณกรรม.
ศิริพร ลิมตระการ. 2543. อ่านอย่างเร็วเข้าใจง่าย. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
สนิท ตังทวี, ผู้ช่วยศาสตราจารย์. 2528. ความรู้และทักษะทางภาษา. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
สมเด็จพระญาณสังวร. 2530. แสงส่องใจ. กรุงเทพฯ:มหามกุฎราชวิทยาลัย.
สวนิต ยมาภัย. 2526. กรุงเทพฯ:
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สวนิต ยมาภัย และถิรนันท์ อนวัชศิริวงศ์. 2540. หลักการพูดขั้นพื้นฐาน. (พิมพ์ครังที่ 9). กรุงเทพฯ: ข้าวฟ่าง.
สวนิต ยมาภัยและวีระวรรณ ประกอบผล. 2537. แบบจาลองการสื่อสาร สาหรับศึกษาการสื่อสารมวลชน. แปล
จาก Mcqual, Dannis, Windahl, Sven. Communication Models. สานักพิมพ์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุโขทัยธรรมมาธิราช, มหาวิทยาลัย. 2541. เอกสารการสอนชุดวิชาการใช้ภาษาไทย. พิมพ์ครังที่ 4. กรุงเทพ:
ผู้เขียน.
เสาวณีย์ สิกขาบัณฑิต. 2533. การเขียนสาหรับสื่อการสื่อสาร. กรุงเทพฯ: ดวงกมล.
สารวม วารายานนท์. 2554. “ การฟังสารเพื่อการรับสาร” ใน ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและการสืบค้น. ลพบุรี :
สถาบันราชภัฏเทพสตรี.
วิไลวรรณ ขนิษฐานันท์. 2521. ภาษาและภาษาศาสตร์. กรุงเทพฯ .
อังคาร กัลยาณพงศ์. 2533. กวีนิพนธ์. กรุงเทพฯ: ศยาม.
อุปกิตศิลปสาร, พระยา. 2544. หลักภาษาไทย. พิมพ์ครังที่ 10.กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพาณิชย์.
โอรส์ แก้วจาปา. 2556. เทคนิคการเขียน. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.

You might also like