You are on page 1of 26

เอกสารในห้องเรียน

บทที 3 Kinetics of Particles (จลนศาสตร์ของอนุภาค)


Section B: Work and Energy
กล่าวนํา
วิธกี ารของงานและพลังงาน (Work and Energy) เป็ นวิธกี ารหนึ%งในสามวิธ ี (Force Mass and Acceleration,
Work and Energy, Impulse and momentum) ทีใ% ช้วเิ คราะห์ระบบการเคลื%อนทีแ% บบ Kinetics ทีไ% ด้นําเอาสมการการ
เคลื%อ นที%ไ ปสัมพันธ์ก ับงาน เพื%อ ให้ไ ด้สมการความสัมพันธ์ระหว่ างงานและการเปลี%ยนแปลงพลัง งานที%เ กิดในการ
เคลื%อนที%
เอกสารนีCเป็ นเอกสารประกอบใช้ระหว่างเรียนในห้อง ทีส% รุปเนืCอหา สมการวิเคราะห์ และโจทย์ปญั หาตัวอย่าง
ต่างๆ ในตําราอ้างอิง [1] (แบบปกปิ ดวิธกี ารวิเคราะห์บางส่วน) ทังC นีCเพื%อให้นักศึกษามีเอกสารในระหว่างเรียน และ
สามารถจดบันทึกไปพร้อมกับการบรรยายในห้องเรียนได้อย่างสะดวก

Section B: Work and Energy (วิ ธีการของ งาน และ พลังงาน)


1. งาน (Work)
งาน (Work) คือ “ปริ มาณของแรงในส่วนที ใช้ เคลือนที อนุภาคไปเป็ นระยะทาง s ” กล่าวคือ การเคลื%อนที%
ของอนุ ภาคมวล m ไปตามเส้นทางการเคลื%อนที% (path) เป็ นระยะทาง ds จะมีแรงเพียงส่วนหนึ%งเท่านันC ที%ใช้เลื%อน
ตําแหน่ งของอนุ ภาค นันC คือแรงมีทศิ ทางเดียวกันกับทิศการเคลื%อนที% ds หรือทีเ% รียกว่าแรงในแนวสัมผัส Ft
v
F v
m dr
α
Fn
path v
F v
v v ds = dr
r r′ α α
v sα m
co
Ft = F
O
(a) (b)

รูปที 3.1
v
พิจารณารูปที% 3.1 แรง F กระทํากับอนุ ภาคมวล m ทํามุม α กับเส้นทางการเคลื%อนทีส% ่งผลให้อนุ ภาค
เคลื%อนทีไ% ปเป็ นระยะทาง ds ดังนันC แรงในทิศการเคลื%อนทีค% อื F = F cosα หากพิจารณาเวกเตอร์ระบุตําแหน่ งของ
t
v v
อนุ ภาค r ไป r′ v
มีการกระจัดคือ dr ขนาดของการกระจัดคือ drv ซึ%งเท่ากับระยะทาง ds ดังนันC งาน dU ที%เกิด
v
จากแรงกระทํา F คือ
dU = ( F cos α ) ds

จะพบว่างานเป็ นปริมาณเสกลาร์ ซึง% สามารถเขียนในรูปของผลคูณเชิงเสกลาร์ (scalar dot product) ของ


เวกเตอร์แรงและเวกเตอร์การกระจัดตามคํานิยามของงาน ได้เป็ น
1
v v
dU = F ⋅ dr
ตามระบบ SI แรงมีหน่ วยเป็ นนิวตัน ( N ) และระยะทางมีหน่ วยเป็ นเมตร (m) ดังนันC หน่ วยของงานคือผลคูณ
หน่ วยของแรงกับหน่ วยของระยะทางนันC คือ N ⋅ m อ่านว่า นิวตันเมตร หรือเรียกชื%อหนึ%งว่าหน่ วย “จูล” (joule, J )
ความหมายคือ งาน 1 จูล เกิดขึนC เมือ% มีแรงขนาด 1 นิวตัน กระทํากับอนุ ภาคให้เคลื%อนทีไ% ปในทิศเดียวกันกับแรงกระทํา
เป็ นระยะทาง 1 m นันC คือ งาน 1 J =1 N .m

การคํานวณงาน
1.1) งานจากแรงไม่คงที
จากรูปที% 3.2 งานทีใ% ช้เคลื%อนตําแหน่ งของอนุ ภาค
v
จาก s1 ไป s2 ทีเ% ป็ นผลมาจากแรงกระทํา F คือ
1 v v 2
U = ∫2 F ⋅ dr = ∫1 ( Fx dx + Fy dy + Fz dz )
หรือ
S1
U = ∫S Ft ds เท่ากับ พท. ใต้กราฟ Ft − s (3.1)
2

รูปที 3.2

1.2) งานจากแรงคงทีและทําให้อนุภาคเคลือนทีเป็ นเส้นตรง

จากรูปที% 3.3 งานทีใ% ช้เคลื%อนตําแหน่ งของอนุ ภาค


จากจุด 1 ไป 2 เป็ นระยะทาง L ทีเ% ป็ นผลมาจากแรง
v
กระทํา P คือ
1 v v
U1− 2 = ∫2 F ⋅ dr
รูปที 3.3 v
2 v v
= ∫1 ( P cos α ) i + ( P sin α ) j  ⋅ dx i
x2
= ∫ P cos α dx = P cos α ( x2 − x1 )
x1

= PL cosα (3.2)

2
2. ความสัมพันธ์ของงานและพลังงาน (Work and Energy Relation)
พลังงาน (Energy) หมายถึงความสามารถในการทํางานของระบบ แบ่งเป็ น 2 ประเภท ได้แก่

1) พลังงานจลน์ (Kinetic Energy: T ) คือ พลังงานทีเ% กิดจากการเคลื%อนทีข% องอนุ ภาค (อนุ ภาคมีความเร็ว)
และนิยามสมการความสัมพันธ์ของพลลังงานจลน์ คือ
T = 1 mv2 (3.3)
2
พลังงานจลน์ T มีหน่ วยเป็ น จูล (J ) หรือ นิวตันเมตร (N ⋅ m) เครือ% งหมายของพลังงานจลน์จะมีค่าเป็ นบวกเสมอ

2) พลังงานศักย์ (Potential Energy: V ) คือ พลังงานทีเ% กิดจากการเปลีย% นตําแหน่ งของอนุ ภาค เมือ% วัดเทียบ
กับระดับอ้างอิงอยูก่ บั ที% (fixed datum) ตัวอย่างของพลังงานศักย์ เช่น พลังงานศักย์โน้มถ่วง (Gravitational potential
energy) และ พลังงานศักย์ยดื หยุ่นของสปริง (Elastic potential energy)

ความสัมพันธ์ งานและพลังงานจลน์
v v v v
dU = F ⋅ dr = ma ⋅ dr
= mat ds = m v dv
dU = m v dv

หากต้องการทราบงานทีใ% ช้ในการเคลื%อนทีจ% าก
จุด 1 ไป 2 จะต้องทําการอินทิเกรต นันC คือ
2 v v v2
U1−2 = ∫1 F ⋅ dr = ∫v m v dv
1

U1−2 = 1 m( v22 − v12 ) (3.5)


รูปที 3.4 2

พิจารณารูปที% 3.4 อนุ ภาคมวล m ทีเ% คลื%อนทีไ% ป สมการที% (3.5) สามารถในรูปของพลังงานจลน์ ได้เป็ น
ตามเส้นทาง (path) จากตําแหน่ ง 1 ไป 2 ภายใต้แรง
v v U1−2 = 1 m( v22 − v12 ) = 1 mv22 − 1 mv12
กระทํ า F งาน dU ที%เ ป็ น ผลมาจากแรงกระทํ า F 2 2 2

ส่งผลให้อนุ ภาคเคลื%อนทีใ% นช่วงการกระจัด drv คือ U1− 2 = T2 − T1 = ∆T (3.6)


v v
dU = F ⋅ dr (3.4) สมการที% (3.6) เรีย กว่ า “สมการงานและ
พลังงาน” (work-energy equation) กล่าวคือ งาน
v v
จากกฎข้อที%สองของนิวตัน F = ma หากแทน ทัง* หมดทีเ. กิดจากแรงทีก. ระทําต่ออนุ ภาค จะเท่ากับ การ
v v เปลีย. นแปลงพลังงานจลน์
ลงในสมการ (3.4) จะได้ a ⋅ dr = at ds และหากใช้
สมการความสัมพันธ์ Kinematic จาก v dv = at ds การประยุกต์ใช้สมการที% (3.6) สามารถเขียน
ดังนันC จากมการ (3.4) จะได้เป็ น ใหม่ได้เป็ น
T1 + U1−2 = T2 (3.6a)
3
ความหมายของสมการ (3.6a) คือ พลังงานจลน์ของอนุ ภาคทีจ. ดุ เริม. ต้น บวกกับ งานทัง* หมดทีเ. กิดจากแรงทุก
แรงทีก. ระทําต่ออนุ ภาค ทีส. ่งผลให้อนุ ภาคเคลือ. นทีจ. ากจุดเริม. ต้นไปจุดสุดท้าย จะเท่ากับ พลังงานจลน์ของอนุ ภาคทีจ. ดุ
สุดท้าย

ความสัมพันธ์ งานและพลังงานศักย์
1) พลังงานศักย์โน้ มถ่วง (Gravitational Potential Energy: Vg )

รูปที 3.5

Case(a): g = constant (อนุ ภาคอยูใ่ กล้ผวิ โลก)


งานเนื องจากนํRาหนัก พิจารณารูป 3.5a อนุ ภาคมวล m เคลื%อนที%ตามเส้นทาง 1-2 มีแรงเนื%องจาก
v v v v v
นํCาหนักคือ W = −mg j ทีม% ที ศิ ตรงข้ามการกระจัด drv = dx i + dy j + dz k ดังนันC งานเนื%องจากนํC าหนักทีก% ระทําต่อ
อนุ ภาค คือ
2 v v 2 v v v v
U1− 2 = ∫1 F ⋅ dr = ∫1 ( − mg j ) ⋅ ( dx i + dy j + dz k )
y2
= −mg ∫y dy = −mg ( y2 − y1 )
1

v
หมายเหตุ: สมการข้างต้น อนุ ภาคมีการกระจัดเป็ น + ( y2 − y1 ) ซึง. ทิศตรงข้ามกับแรง W (พุ่งลง: − y ) งานทีไ. ด้จงึ มี
เครือ. งหมายเป็ นลบ ดังนัน* หากทิศของการกระจัดเป็ นลบ (พุ่งลง) งานทีไ. ด้จะมีเครือ. งหมายเป็ นบวก

พลังงานศักย์โน้ มถ่วง พิจารณารูปที% 3.5b อนุ ภาคมวล m ทีอ% ยู่ใกล้ผวิ โลกซึง% ถือว่าความโน้มถ่วง g มี
ค่าคงที% อนุ ภาค ณ ตําแหน่ งอ้างอิง (datum) กําหนดให้มคี ่าพลังงานศักย์โน้ มถ่วง Vg = 0 และอนุ ภาคที%อยู่จากระดับ
อ้างอิงเป็ นระยะ h จะมีค่าพลังงานศักย์โน้มถ่วง คือ
Vg = mgh

ดังนันC หากอนุ ภาคเคลื%อนทีจ% ากระดับ h ไป h การเปลีย. นแปลงพลังงานโน้มถ่วง คือ


1 2

∆ V g = mg ( h2 − h1 ) = mg ∆ h (3.7)

4
และงานเนือ. งจากนํ*าหนักของการเคลือ. นที . จากระดับ h ไป h คือ 1 2

U 1− 2 = − mg ( h2 − h1 ) = − mg ∆h (3.8)
จากสมการที% (3.7) และ (3.8) จะพบว่า งานเนือ. งจากนํ* าหนักของอนุ ภาคกับการเปลีย. นแปลงพลังงานศักย์
โน้มถ่วงจะมีขนาดทีเ. ท่ากันแต่ทศิ ทางตรงกันข้ามเสมอ

รูปที 3.6

Case(b): g ≠ constant (อนุ ภาคอยูไ่ กลผิวโลกมาก)


งานเนื องจากนํR าหนั ก พิจารณารูป 3.6b อนุ ภาคมวล m เคลื%อนที%ตามเส้นทาง 1-2 (ห่างจากจุด
ศูนย์กลางโลกจาก r1 ไป r2 ) ซึง% มีแรงปฏิกริ ยิ าดึงดูดของโลกกระทําต่ออนุ ภาคมีทศิ พุ่งเข้าโลก (ตรงข้ามทิศการกระจัด)
v
คือ F = − Gm2e m eˆr ดังนันC งานเนื%องจากแรงดึงดูดของโลกทีก% ระทําต่ออนุ ภาค คือ
r
2 v
U1−2 = ∫1 F ⋅ dr = ∫1 − 2e eˆr ⋅ ( dr eˆr ) = Gme m  1 − 1  = −mgR 2  1 − 1 
v 2 Gm m
r  r2 r1   r1 r2 

พลังงานศักย์โน้ มถ่วง พิจารณารูปที% 3.6b ในกรณีทอ%ี นุ ภาคอยู่ห่างจากผิวโลกผิวโลกมาก ค่าความ


โน้มถ่วงจะเปลีย% นแปลงตามความสูง เมือ% กําหนดให้ระดับอ้างอิงอยู่ทต%ี ําแหน่ งห่างจากผิวโลกเป็ นระยะ ∞ (ระดับอ้างอิง
Vg = 0 ) และเมือ% อนุ ภาคทีอ% ยูจ่ ดุ ศูนย์กลางโลกเป็ นระยะ r (ตํ%ากว่าระดับอ้างอิง) จะมีค่าพลังงานศักย์โน้มถ่วง คือ
− mgR 2
Vg =
r
ดังนันC หากอนุ ภาคเคลื%อนทีส% งู ขึนC จากระดับ r1 ไป r2 การเปลีย. นแปลงพลังงานโน้มถ่วง คือ
 
∆Vg = mgR2  1 − 1  (3.9)
 r1 r2 

5
และงานเนือ. งจากแรงดึงดูดของโลกของการเคลือ. นที . ทีส% งู ขึนC จากระดับ r1 ไป r2

 
U1−2 =− mgR 2  1 − 1  (3.10)
 r1 r2 

จากสมการที% (3.9) และ (3.10) จะพบว่า งานเนือ. งจากนํ* าหนักของอนุ ภาคกับการเปลีย. นแปลงพลังงานศักย์
โน้มถ่วงจะมีขนาดทีเ. ท่ากันแต่ทศิ ทางตรงกันข้ามเสมอ

2) พลังงานศักย์ยืดหยุ่นของสปริ ง (Elastic Potential Energy: Ve )

รูปที 3.7

งานเนื องจากแรงสปริ งที กระทําต่ ออนุภาค พิจารณารูปที% 3.7 อนุ ภาคถูกยึดติดทีป% ลายด้านหนึ%งของสปริง
ยืดหยุ่นเชิงเส้น (Linear elastic spring) ทีม% คี ่าคงทีค% วามเข็งตัวของสปริง (spring stiffness, k ) หากเลื%อนตําแหน่ ง
อนุ ภาคออกไปจากตําแหน่ งดุลเป็ นระยะ x ดังรูป 3.7b จะส่งผลให้สปริงหยุบตัวหรือยืดออกเป็ นระยะ x เช่นกัน หาก
พิจารณาที%อนุ ภาค จะพบว่ามีแรงกระทําจากสปริงทีม. ที ศิ ตรงข้ามกับการกระจัดของอนุ ภาค ซึ%งแรงสปริงที%กระทําต่ อ
v v
อนุ ภาคเป็ น F = − kx i (เครื%องหมายลบ คือทิศของแรงจากสปริงกระทําต่ออนุ ภาคจะตรงข้ามกับทิศการกระจัดของ
อนุ ภาค ในทุกกรณี (ยุบตัวและยืดออก)) ดังนันC งานเนือ. งจากแรงกระทําของสปริงต่ออนุ ภาคจะมีเครือ. งหมายเป็ น ลบ
(negative work) ในทุกกรณีเช่นกัน นันC คือ
2 v v x v v 1
U1−2 = ∫1 F ⋅ dr = ∫x ( −kx i ) ⋅ dx i = −∫x kx dx = − k ( x22 − x12 )
x
2 2
(3.11)
1 1 2

พลังงานศักย์ยืดหยุ่นของสปริ ง พิจารณารูปที% 3.7b เมื%อสปริงถูกดึงหรือกดเป็ นระยะ x จากจุดสมดลหรือ


ความยาวอิสระเดิม จะทําสปริงสะสมพลังงาน ทีเ% รียกว่า พลังงานศักย์ยดื หยุน่ (Ve ) เขียนเป็ นสมการได้ดงั C นีC
Ve = + 1 kx 2
2
พลังงานศักย์ยดื หยุ่น (Ve ) จะเป็ น บวก เสมอ เพราะเมือ% สปริงเปลีย% นรูปไป (ไม่ว่าจะกดหรือยืดออก) แรงจาก
สปริงทีก% ระทําต่ออนุ ภาคจะทําให้เกิดงานทีเ% ป็ นบวกเมือ% สปริงดีดตัวหรือหดตัวกลับสู่ตําแหน่ งสมดุล

6
ดังนันC หากอนุ ภาคติดสปริงเคลื%อนทีจ% ากจุด x1 ไป x2 การเปลีย. นแปลงพลังงานศักย์ยดื หยุน่ คือ

(
∆Ve = 1 k x22 − x12
2 ) (3.12)

และงานเนือ. งจากแรงสปริงทีก. ระทําต่ออนุ ภาค เมือ% อนุ ภาคติดสปริงเคลื%อนทีจ% ากจุด x1 ไป x2 คือ

(
U1− 2 = − 1 k x22 − x12
2 ) (3.13)

จากสมการที% (3.12) และ (3.13) จะพบว่า งานเนือ. งจากแรงกระทําของสปริงต่ออนุ ภาคกับการเปลีย. นแปลง


พลังงานศักย์ยดื หยุ่น จะมีขนาดทีเ. ท่ากันแต่ทศิ ทางตรงกันข้ามเสมอ

สมการความสัมพันธ์งานและพลังงาน สมการอนุรกั ษ์พลังงาน


หากนํ าสมการที% (3.6) โดยพิจารณางานเนื%องจากนํC าหนัก และงานเนื%องจากแรงกระทําจากสปริง ให้อยูใ่ นรูป
ของการเปลีย% นแปลงพลังงานศักย์โน้มถ่วง และพลังงานศักย์ยดื หยุ่น จากสมการ (3.6) จะได้เป็ น
U1−2 = ∆T
U1′−2 − ∆Vg − ∆Ve = ∆T
จะได้สมการความสัมพันธ์ งานและพลังงานเป็ น
U1′−2 = ∆T + ∆Vg + ∆Ve (3.14)
เมือ% U1′− 2 คืองานเนื%องจากแรงทีก% ระทําต่ออนุ ภาค ยกเว้น งานเนื%องจากนํCาหนัก และงานเนื%องจากแรงกระทํา
จากสปริง
หากเขียนสมการที% (3.14) ใหม่ ให้อยูใ่ นรูปของสมดุลงานและพลังงานของเคลื%อนทีจ% ากจุด 1 ไป 2 จะได้เป็ น
T1 + Vg ,1 + Ve,1 + U1′−2 = T2 + Vg ,2 + Ve,2
(3.15)
1 mv 2 + mgh + 1 kx 2 + U ′ = 1 mv 2 + mgh + 1 kx 2
1− 2
2 1 1 2 1 2 2 2 2 2

สมการที% (3.15) จะเรียกว่า “สมการอนุรกั ษ์พลังงาน” (Conservation of Energy Equation) ความหมาย


คือ พลังงานอนุ รกั ษ์ท%จี ุดที% 1 (พลังงานจลน์ และพลังงานศักย์) บวก งานจากแรงไม่อนุ รกั ษ์ (เช่น งานจากแรง
เสียดทาน งานจากแรงดึงภายนอก เป็ นต้น) เท่ากับ พลังงานอนุ รกั ษ์ทจ%ี ดุ ที% 2

3. กําลังและประสิ ทธิ ภาพ


กําลัง (Power: P ) คือ พลังงานหรืองานต่อหน่ วยเวลา ดังนันC สมการความสัมพันธ์ของกําลัง คือ
v v
dU F ⋅ dr v drv
P= = =F⋅
dt dt dt
v v
P = F ⋅V (3.9)
หน่ วยของกําลังในระบบ SI คือ วัตต์ (Watt, W ) ซึง% 1W = 1 J / s = 1 N.m / s

7
ประสิ ทธิ ภาพของเครืองจักรกล (Mechanical Efficiency: em ) คือ อัตราส่วนของกําลังงานเชิงกลทีไ. ด้
จากเครือ. งจักร ต่อกําลังงานเชิงกลทีใ. ห้กบั เครือ. งจักร ดังนันC สมการความสัมพันธ์ของกําลัง คือ
power output Poutput
em = = (3.10)
power input Pinput
ประสิ ทธิ ภาพเชิ งรวม (Overall Efficiency: e) เครื%องจักรหนึ%งมีการสูญเสียทางกล (Mechanical loss) มี
การสูญเสียเชิงไฟฟ้า (Electrical loss) การสูญเสียเชิงความร้อน (thermal loss) ซึ%งในแต่ ละส่ว น
ประสิทธิภาพเป็ น em , ee , et ตามลําดับ ดังนันC ประสิทธิภาพเชิงรวมของเครือ% งจักร คือ
e = em ee et (3.11)

4. การวิ เคราะห์ปัญหา ด้วยวิ ธีงานและพลังงาน


- กําหนดแกนอ้างอิง และเขียนแผนภาพแรงอิสระ (Free Body Diagram: FBD)
- ประยุกต์ใช้หลักการของงานและพลังงาน T1 + U 1− 2 = T2
หรือใช้สมการอนุ รกั ษ์พลังงาน T1 + Vg,1 +Ve,1 + U ′ = T2 + Vg,2 + Ve,2
1− 2

- เครือ% งหมายของพลังงานจลน์ทจ%ี ุดเริม% ต้นและจุดสุดท้ายเป็ นบวกเสมอ T = 12 mv2 ( v2 เป็ นบวกเสมอ)


- แรงทีท% ําให้เกิดงาน จะต้องมีทศิ ทางเดียวกันกับทิศการกระจัด
- เครือ% งหมายของงาน เป็ นบวก หากแรงและการกระจัดทีทศิ เดียวกัน, เป็ นลบ หากแรงและการกระจัดทีทศิ
ตรงข้ามกัน
- งานจากแรงทีเ% ป็ นฟงั ก์ชนั ของการกระจัด U = ∫ Ft ds หรือพืนC ทีใ% ต้กราฟ Ft − s
1S

S2

- งานจากแรงสปริง U1−2 = 12 k ( x12 − x22 ) งานมีเครื%องหมายเป็ นลบเสมอ (ทิศของแรงกระทําจากสปริงต่ออนุ ภาค


จะตรงข้ามกับทิศการกระจัด เสมอ)
หรือใช้สมการพลังงานศักย์ยดื หยุ่นของสปริง คือ Ve = 12 k x2
 
- งานจากนํCาหนักและแรงดึงดูดของโลก U1−2 = mg ( y2 − y1 ) , U1−2 = mgR2  12 − 12  เครือ% งหมายของงาน
 r2 r1 
เป็ นบวกหากการกระจัดมีทศิ พุ่งลง หรือ พุ่งเข้าสู่จดุ ศูนย์การของโลก และเป็ นลบหากทิศตรงกันข้าม
หรือใช้สมการพลังงานศักย์โน้มถ่วง คือ Vg = mgh (กรณีอนุ ภาคอยูใ่ กล้ผวิ โลก)
หรือ Vg = −mgR (กรณีอนุ ภาคอยูไ่ กลจากโลก) ซึง%
2
r คือระยะระหว่างจุดศูนย์กลางโลกกับอนุ ภาค
r

8
ส่วนที 1.1 ตัวอย่าง Section B: Work and Energy (วิ เคราะห์จากสมการ T1 + U1−2 = T2 )

วิ ธีทาํ
1) เขียน FBD ของแรงทีก% ระทําต่อมวล 50 kg

2) หา vB จากสมการ งานและพลังงาน ของการเคลื%อนทีจ% ากจุด A-B


1 mv2 +U = 1 mv2
[T1 + U 1− 2 = T2 ] 2 1 1−2
2 2
(1)

โดยที% [U1−2 = Fs ]

U1−2 = ( mg sin15o ) s − ( µk R ) s = ( 50(9.81)sin15o − 0.3(50)(9.81) cos15o )10 = −15


151.9 J .

แทนค่า U1−2 = −151.9 J ใน (1) จะได้


1 (50)42 −151.9 = 1 (50)v2 → v = 3.15 m / s Ans
2 2
2 2

9
วิ ธีทาํ
1) เขียน FBD ของแรงทีก% ระทําต่อกล่องมวล 80 kg

2) หาความเร่งของรถบรรทุก (เป็
เป็ นกรณีความเร่งคงที)% จากนันC หาแรงทีก% ระทําต่อกล่องจากความเร่งนีC
v 2 = v02 + 2a ( s − s0 )  → ( 72 / 3.6 ) = 02 + 2a ( 75 − 0 ) → a = 2.67 m / s 2 #
2

แรงทีก% ระทําต่อกล่อง
F = m a = (80 kg )(2.67 m / s 2 ) = 213 N #
3) ตรวจสอบว่ากล่องเลื%อนไถลหรือไม่ (พิจารณาการใช้ สปส. แรงเสียดทาน) จากนันC หาขนาดแรงเสียดทาน และ
งานจากแรงเสียดทานทีก% ระทําต่อกล่อง
Case a): µ s = 0.3, µ k = 0.28
F f ,max = µ s N = 0.3(80)(9.8 1) = 235 N > 21 3 N ( n o sl ip )
กรณี No slip: แรงเสียดทาน = แรงกระทําภายนอก ดังนันC F f = F = 213 N
Work done by friction : [U = Fs ] → F f s = ( 213 N )( 75 m ) = 16 kJ Ans

Case b): µ s = 0.25, µ k = 0.20


F f ,max = µ s N = 0.25(80)(9.81) = 196.2 N < 2 1 3 N ( slip )
กรณี Slip: แรงเสียดทาน = แรงเสียดทานจลน์ ดังนันC
F f = µ k N = 0.2 ( 80 )( 9.81) = 157.0 N
ดังนันC ความเร่งของกล่อง คือ [ F = m a ] → 157.0 = 80 a → a = 1.962 m / s 2 #
 1.962
ระยะทีก% ล่องเคลื%อนที% คือ s =  ( 75 m ) = 55.2 m.#
 2.67 
Work done by frictiontion : [U = Fs ] → F f s = (157.0 N )( 55 .2 m ) = 8.6 6 kJ Ans

หมายเหตุ: จะพบว่างานจากแรงเสียดทาน มีเครือ. งหมายเป็ นบวกทัง* สองกรณี

10
วิ ธีทาํ
1) เขียน FBD ของแรงทีก% ระทําต่อกล่องมวล 50 kg

2) หา vB จากสมการ งานและพลังงาน ของการเคลื%อนทีจ% ากจุด A-B

1 mv2 +U = 1 mv2
[T1 + U 1− 2 = T2 ] 2 1 1−2
2 2
(1)

โดยที% U1− 2 = U1−2, Spring + U1−2, Cable 

U1−2, Spring = 1 k  x12 − x22  = 1 80 0.2332 − ( 0.233 +1.2)  = −80.0 J


2

2 2  

(
U1−2,Cable = Fscable = 300 1.22 − 0.92 − 0.9 = 180 J )
แทนค่า U1−2, Spring = −80.0 J และ U1− 2, Cable = 180 J ใน (1) จะได้

0 + ( −80 +180) = 1 (50)v22 → v2 = 2.00 m / s Ans


2

หมายเหตุ: จะพบว่างานจากแรงสปริงเครือ. งหมายเป็ นลบ นัน* เป็ นเพราะทิศของแรงสปริงทีก. ระทําต่ออนุ ภาคมีทศิ ตรง
ข้ามกับทิศการกระจัดของอนุ ภาค เสมอ

11
วิ ธีทาํ
a. หา สปส. แรงเสียดทานจลน์ : µ k
1) เขียน FBD ของแรงทีก% ระทําต่อท่อนซุง (log) มวล 360 kg

2) เขียนสมการการเคลื%อนทีม% ี ตัวแปรทีต% อ้ งการหา (µk ) นันC คือ


[Σ Fx = 0 ] ⇒ T − µk N − mg sin 30o = 0

T − µk ( mg cos 30o ) − mg sin 30o = 0 (1)


ปิดตัวแปร T ในสมการ (1) โดยใช้สมการกําลังงาน (Power) นันC คือ
v v
 P = F ⋅V  ⇒ P = Tv → 4, 000 = T 1.2 ⇒ T = 3,330 N #

แทนค่าทีท% ราบทังC หมดในสมการที% (1) เพื%อหา µk จะได้

3,330 − µk ( 360(9.81) cos 30o ) − 360(9.81)sin 30o = 0 ⇒ µk = 0.513 Ans

b. หาความเร่ง a ของท่อนซุง เมือกําลังของเครืองคว้าน (winch) เพิ มขึRนทันทีเป็ น 6 kW


v v
จาก  P = F ⋅V  ⇒ P = Tv → 6, 000 = T 1.2 ⇒ T = 5,000 N #

ดังนันC จะหาความเร่งจาก สมการการเคลื%อนทีใ% นทิศ x คือ


[ΣFx = max ] ⇒ T − µk ( mg cos30o ) − mg sin 30o = max
5,000 − 0.513( 360(9.81)cos30o ) − 360(9.81)sin 30o = 36
360ax ⇒ ax = 4.63 m / s2 Ans

12
วิ ธีทาํ
1) เขียน FBD ของแรงทีก% ระทําต่อดาวเทียมมวล m

2) หา v2 จากสมการ งานและพลังงาน ของการเคลื%อนทีจ% ากจุด A-B


[T1 + U 1− 2 = T2 ] 1 mv2 +U = 1 mv2
2 1 1−2
2 2
(1)

โดยที% U1−2 = mgR 2  r1 − r1  , ระยะ r วัดจากจุดศูนย์กลางโลกถึงอนุ ภาค แทนในสมการที% (1) จะได้


 2 1 

1 mv2 + mgR2  1 − 1  = 1 mv2


2 1 r r  2 2
 2 1

1 v2 + gR2  1 − 1  = 1 v2 ⇒ v2 = v2 + 2 gR2  1 − 1 
2 1  R+h R+h  2 2 2 1  R+h R+h 
 2 1  2 1

2 
2
⇒ v22 = 
30,000 
 + 2 ( 9.81) ( 6,371×103 )  1 − 1
3 
 3.6   ( 6,371 + 1, 200 ) ×10 ( 6,371 + 500 ) ×10 
3

⇒ v2 = 7, 663 m / s ro v2 = 27,590 km /h Ans

13
ส่วนที 1.2 ตัวอย่าง Section B: Work and Energy (วิ เคราะห์จากสมการ “อนุ
“ รกั พลังงาน”)

วิ ธีทาํ
1) กําหนดระดับอ้างอิงแนวระดับ (กํ
( าหนด อยูใ่ นแนวจุดที% 1)
2) หา v2 จากสมการอนุ รกั ษ์พลังงาน
(Conservation of energy equation) นันC คือ
1 mv2 + mgh + 1 kx2 + U ′ = 1 mv2 + mgh + 1 kx2 → (1)
1−2
2 1 1 2 1 2 2 2 2 2

พิจารณาสมการ (1) ตัดเทอมทีเ% ป็ นศูนย์


นย์
1 mv2 + mgh + 1 kx2 + U ′ = 1 mv2 + mgh + 1 kx2
1− 2
2 1 1 2 1 2 2 2 2 2

จาก (1) จะเหลือเพียง


1 kx2 = 1 mv2 + mgh + 1 kx2 → (2)
2 1 2 2 2 2 2

แทนค่าทีท% ราบ จะได้

( )
2
1 350 0.6 2 = 1 3v 2 + 3(9.81)(−0.6) + 1 350
2
( ) 2 2 2
0.62 + 0.62 − 0.6

69.849 = 1 3v22
2
v2 = 6.824 m / s Ans

หมายเหตุ: การกําหนดเครือ. งหมายระยะ h ในพจน์ของพลังงานศักย์โน้มถ่วง หากตําแหน่ งทีพ. จิ ารณาอยูส่ งู กว่าระดับ


อ้างอิงจะเป็ น + h และหากตําแหน่ งทีพ. จิ ารณาอยูต่ ํา. กว่าอ้างอิงจะเป็ น − h
ซึง. การกําหนดระดับอ้างอิงจะไม่มผี ลต่อคําตอบของสมการ

14
วิ ธีทาํ
1) กําหนดระดับอ้างอิงแนวระดับ (กํ
( าหนด อยูใ่ นแนวกับจุดที% A)
2) หา v2 หรือ vC จากสมการอนุ รกั ษ์พลังงาน
(Conservation of energy equation) นันC คือ
1 mv2 + mgh + 1 kx2 +U ′ = 1 mv2 + mgh + 1 kx2 → (1)
1−2
2 1 1 2 1 2 2 2 2 2

พิจารณาสมการ (1) ตัดเทอมทีเ% ป็ นศูยน์


1 mv2 + mgh + 1 kx2 + U ′ = 1 mv2 + mgh + 1 kx2
1−2
2 1 1 2 1 2 2 2 2 2

จาก (1) จะเหลือเพียง


1 kx2 + U ′ = 1 mv2 + mgh + 1 kx2
1−2
2 1 2 2 2 2 2

1 kx2 + Fs = 1 mv2 + mgh + 1 kx2 → (2)


2 1 2 2 2 2 2

แทนค่าทีท% ราบ จะได้


( ) ( ) 2 (
1 60 0.6 2 + 250 1.22 + 0.92 − 0.9 = 1 10v2 +10(9.81) +1.2sin30o + 1 60 0.6 +1.2 2
2
( ) 2 2
)
4.74 = 1 10v22
2
v2 = 0.974 m / s Ans

ตําราอ้างอิ ง
[1] Meriam J. L., and Kraige L. G. “Engineering Mechanics: Dynamics,” 6th Ed., John Wiley and Sons, Inc,
Inc 2007.
15
แบบฝึ กหัดท้ายบท
รายวิชา
พลศาสตร์วิศวกรรม
[ENGINEERING DYNAMICS]

บทที' 3 Kinetic of Particles


Section B: Work and Energy

โดย
วิทรู ย์ เห็มสุวรรณ
425203/525203 พลศาสตรวิศวกรรม (ENGINEERING DYNAMICS)
Ch3: Kinetics of Particles, Section B: Work and Energy
ลําดับที่…../……..ที่นั่ง Zone:……………ชื่อ:……………………………………… รหัส:……………………….
แบบฝAกหัดทBายบท Section B: Work and Energy
ขBอที่ 1 ([1] Problems 3/103)

ขBอที่ 2 ([1] Problems 3/104)

1
425203/525203 พลศาสตรวิศวกรรม (ENGINEERING DYNAMICS)
Ch3: Kinetics of Particles, Section B: Work and Energy
ลําดับที่…../……..ที่นั่ง Zone:……………ชื่อ:……………………………………… รหัส:……………………….
ขBอที่ 3 ([1] Problems 3/105)

ขBอที่ 4 ([1] Problems 3/107)

2
425203/525203 พลศาสตรวิศวกรรม (ENGINEERING DYNAMICS)
Ch3: Kinetics of Particles, Section B: Work and Energy
ลําดับที่…../……..ที่นั่ง Zone:……………ชื่อ:……………………………………… รหัส:……………………….
ขBอที่ 5 ([1] Problems 3/110)

ขBอที่ 6 ([1] Problems 3/111)

3
425203/525203 พลศาสตรวิศวกรรม (ENGINEERING DYNAMICS)
Ch3: Kinetics of Particles, Section B: Work and Energy
ลําดับที่…../……..ที่นั่ง Zone:……………ชื่อ:……………………………………… รหัส:……………………….
ขBอที่ 7 ([1] Problems 3/114)

ขBอที่ 8 ([1] Problems 3/123)

4
425203/525203 พลศาสตรวิศวกรรม (ENGINEERING DYNAMICS)
Ch3: Kinetics of Particles, Section B: Work and Energy
ลําดับที่…../……..ที่นั่ง Zone:……………ชื่อ:……………………………………… รหัส:……………………….
ขBอที่ 9 ([1] Problems 3/130)

ขBอที่ 10 ([1] Problems 3/134)

5
425203/525203 พลศาสตรวิศวกรรม (ENGINEERING DYNAMICS)
Ch3: Kinetics of Particles, Section B: Work and Energy
ลําดับที่…../……..ที่นั่ง Zone:……………ชื่อ:……………………………………… รหัส:……………………….
ขBอที่ 11 ([1] Problems 3/143)

ขBอที่ 12 ([1] Problems 3/145)

6
425203/525203 พลศาสตรวิศวกรรม (ENGINEERING DYNAMICS)
Ch3: Kinetics of Particles, Section B: Work and Energy
ลําดับที่…../……..ที่นั่ง Zone:……………ชื่อ:……………………………………… รหัส:……………………….
ขBอที่ 13 ([1] Problems 3/147)

ขBอที่ 14 ([1] Problems 3/149)

7
425203/525203 พลศาสตรวิศวกรรม (ENGINEERING DYNAMICS)
Ch3: Kinetics of Particles, Section B: Work and Energy
ลําดับที่…../……..ที่นั่ง Zone:……………ชื่อ:……………………………………… รหัส:……………………….
ขBอที่ 15 ([1] Problems 3/155)

ขBอที่ 16 ([1] Problems 3/159)

8
425203/525203 พลศาสตรวิศวกรรม (ENGINEERING DYNAMICS)
Ch3: Kinetics of Particles, Section B: Work and Energy
ลําดับที่…../……..ที่นั่ง Zone:……………ชื่อ:……………………………………… รหัส:……………………….
ขBอที่ 17 ([1] Problems 3/165)

ขBอที่ 18 ([1] Problems 3/167)

9
425203/525203 พลศาสตรวิศวกรรม (ENGINEERING DYNAMICS)
Ch3: Kinetics of Particles, Section B: Work and Energy
ลําดับที่…../……..ที่นั่ง Zone:……………ชื่อ:……………………………………… รหัส:……………………….
ขBอที่ 19 ([1] Problems 3/168)

ตําราอ้างอิ ง
[1] Meriam J. L., and Kraige L. G. “Engineering Mechanics: Dynamics,” 6th Ed., John Wiley and Sons, Inc, 2007.
10

You might also like