You are on page 1of 49

รายวิชา วิทยาศาสตร์

รหัสวิชา ว21101
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เรื่อง สมบัติของสารในสถานะ
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส (2)
ผู้สอน ครูนันทรัตน์ เจริญสุข
ั ข
สมบต ิ องสารในสถานะ
็ ของเหลว แกส
ของแขง ๊ (2)
ตัวชี้วัด
อธิ บ ายและเปรี ย บเที ย บการจั ด เรี ย งอนุ ภ าค
แรงยึ ด เหนี่ ย วระหว่ า งอนุ ภ าค และการเคลื่ อ นที่ ข อง
อนุ ภ าคของสสารชนิ ด เดี ย วกั น ในสถานะของแข็ ง
ของเหลว และแก๊ส โดยใช้แบบจาลอง
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิ บ ายและเปรี ย บเที ย บการจั ด เรี ย งอนุ ภ าค แรงยึ ด เหนี่ ย ว
ระหว่ า งอนุ ภ าค และการเคลื่ อ นที่ ข องอนุ ภ าคของสสาร
ชนิดเดียวกันในสถานะของแข็ง ของเหลว และแก๊ส โดยใช้
แบบจาลอง
2. อธิ บ ายการเปลี่ ย นอุ ณ หภู มิ ข องสสารเนื่ อ งจากได้ รั บ หรื อ
สูญเสียความร้อน
จุดประสงค์การเรียนรู้
3. สร้ างแบบจ าลองที่ อ ธิ บ ายการขยายตั ว หรื อ หดตั ว ของสสาร
เนื่องจากได้รับหรือสูญเสียความร้อน
4. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างความร้อนกับการเปลี่ยนสถานะ
ของสสาร โดยใช้แบบจาลอง
แนวคิดคลาดเคลื่อน แนวคิดที่ถูกต้อง
อนุภาคของของแข็งสั่นอยู่กับที่ อนุภาคของ อนุภาคของของแข็งสั่นอยู่กับที่ อนุภาคของ
ของเหลวและแก๊ส ไม่มีการสั่น ของเหลวและแก๊ส สั่นและเคลื่อนที่ได้

แป้งฝุ่น น้้าตาลทราย มีสถานะเป็นของเหลว แป้งฝุ่น น้้าตาลทราย มีสถานะเป็นของแข็ง

ข้อมูลจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สสวท.


ตอบคำถำม

้ คด
กระตุน

ภาพ www.freepik.com
@Watcartoon @rawpixel.com
จากภาพการระเหิดของไอโอดีน
แบบจาลองอนุภาคของไอโอดีน
ี บในภาพดังกล่าว
ในสถานะท่พ
ควรมีลักษณะอย่างไร
ให้วาดภาพ พร้อมอธิบาย

การระเหิดของไอโอดีน ข้อมูลจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สสวท.


ภาพวาด แบบจาลองอนุภาคของไอโอดีน
ในสถานะของแข็ง

อนุภาค………………………………………….
…………………………………………………..
แรงยึดเหนี่ยว……………………………….
…………………………………………………….
กาหนดให้ แทนอนุภาคของสสาร แทนขนาดและทิศทางความเร็วของอนุภาค แทนการสั่ นของอนุภาค

ข้อมูลจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สสวท.


ภาพ เฉลย แบบจาลองอนุภาคของไอโอดีน
ในสถานะของแข็ง
ของไอโอดีนในสถานะของแข็ง
อนุภาค………………………………………….
จะเรียงชิดติดกัน
…………………………………………………..
ระหว่างอนุภาคมากกว่า
แรงยึดเหนี่ยว……………………………….
ไอโอดีนในสถานะแก๊ส
……………………………………………………
และอนุภาคสั่นอยู่กับที่
……………………………………………………
กาหนดให้ แทนอนุภาคของสสาร แทนขนาดและทิศทางความเร็วของอนุภาค แทนการสั่ นของอนุภาค

ข้อมูลจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สสวท.


ภาพวาด แบบจาลองอนุภาคของไอโอดีน
ในสถานะแก๊ส

อนุภาค………………………………………….
…………………………………………………..
แรงยึดเหนี่ยว……………………………….
…………………………………………………….
กาหนดให้ แทนอนุภาคของสสาร แทนขนาดและทิศทางความเร็วของอนุภาค แทนการสั่ นของอนุภาค

ข้อมูลจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สสวท.


ภาพ เฉลย แบบจาลองอนุภาคของไอโอดีน
ในสถานะแก๊ส

ของไอโอดีนในสถานะแก๊ส
อนุภาค………………………………………….
จะอยู่ห่างกัน
…………………………………………………..
ระหว่างอนุภาคน้อยมาก
แรงยึดเหนี่ยว……………………………….
อนุภาคจึงเคลื่อนที่ได้อย่างอิสระทุกทาง
……………………………………………………
กาหนดให้ แทนอนุภาคของสสาร แทนขนาดและทิศทางความเร็วของอนุภาค แทนการสั่ นของอนุภาค

ข้อมูลจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สสวท.


ถ้าขยายภาพแล้วมองเข้าไปในหน่วยย่อย ๆ ของสสาร
จะพบกับอนุภาค ซึ่งอาจเป็นอะตอม โมเลกุล หรือไอออน
ซึ่ ง ไม่ ส ามารถมองเห็ น ได้ ด้ ว ยตาเปล่ า เนื่ อ งจากเรา
ไม่ ส ามารถมองเห็ น อนุ ภ าคของสสารได้ เราจึ ง เรี ย นรู้
เกี่ยวกับการจัดเรียงอนุภาค แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค
และการเคลื่อนที่ของอนุภาคของสสารโดยใช้แบบจาลอง
ข้อมูลจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สสวท.
ซึ่งเป็นการนาเสนอข้อมูลแนวคิด ความคิดรวบยอด
เ พื่ อ อ ธิ บ า ย ป ร า ก ฏ ก า ร ณ์ ใ ห้ ผู้ อื่ น เ ข้ า ใ จ
โดยอาจน าเสนอในรู ป แบบต่ า ง ๆ เช่ น กราฟ
รู ป ภาพ สมการ แผนผั ง ภาพเคลื่ อ นไหว หรื อ
สิ่งประดิษฐ์
ข้อมูลจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สสวท.
คำถำมสำคั ญ
การจัดเรียงอนุภาค แรงยึดเหนี่ยว
ระหว่างอนุภาค และการเคลื่อนที่
ของอนุ ภ าคของสสารมี ผ ลต่ อ
รู ป ร่ า งและปริ ม าตรของสสารใน
แต่ละสถานะอย่างไร ภาพ www.freepik.com
@Watcartoon
ข้อมูลจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สสวท.
เมื่อเปรียบเทียบแบบจาลองอนุภาคของของแข็ง
กับของเหลวและแก๊ส พบว่าอนุภาคของของแข็งจะ
เรี ย งชิ ด ติ ด กั น โดยมี แ รงยึ ด เหนี่ ย วระหว่ า งอนุ ภ าค
มากกว่าของเหลวและแก๊ส และสั่นอยู่กับที่ จึงทาให้
ของแข็งมีรูปร่างและปริมาตรคงที่
ข้อมูลจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สสวท.
กำรจัดเรียงอนุภำค
และกำรสั่นอยู่กับท่ี
ของอนุภำคของของแข็ง
กาหนดให้ แทนอนุภาคของสสาร
แทนการสั่นของอนุภาค

ข้อมูลจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สสวท.


ก้อนหินในภาชนะต่าง ๆ

ข้อมูลจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สสวท.

ก้อนหินเป็นของแข็งมีลักษณะเป็นก้อนท่ม
ี ีรูปร่ำง
และปริมำตรเหมือนเดิมไม่ว่ำจะใส่ไว้ในภำชนะใด
ภำพกำรจัดเรียงอนุภำค
และกำรเคลื่อนท่ี
ของอนุภำคของของเหลว
กาหนดให้ แทนอนุภาคของสสาร
แทนขนาดและทิศทางความเร็ว
ของอนุภาค

ข้อมูลจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สสวท.


น้าสีปริมาตร 100 cm3

ในกระบอกตวง
ขวดรูปกรวย และบีกเกอร์

ข้อมูลจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สสวท.


ภำพกำรจัดเรียงอนุภำค
และกำรเคลื่อนท่ี
ของอนุภำคของแก๊ส
กาหนดให้ แทนอนุภาคของสสาร
แทนขนาดและทิศทางความเร็ว
ของอนุภาค

ข้อมูลจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สสวท.


กำรเปล่ียนแปลงรู ปร่ำงและปริมำตรของแก๊ส
เมื่อแก๊สจำกลูกโป่งเคลื่อนท่ีไปยังถุงมือยำง
ข้อมูลจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สสวท.
อนุภาคของ
ของแข็ง

อนุภาคของ
ของเหลว

อนุภาคของแก๊ส

แบบจำลองอนุภำคของของแข็ง ของเหลว และแก๊ส


ข้อมูลจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สสวท.
กิจกรรมของแข็ง ของเหลวและแก๊ส

ข้อมูลจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สสวท.


แบบฝึกหัด

ภาพ www.freepik.com
@Watcartoon
1. สสารชนิ ด เดี ย วกั น ในสถานะต่ า ง ๆ มี ก ารจั ด เรี ย ง
อนุภาค แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค และการเคลื่อนที่
ของอนุภาคเป็นอย่างไร
………………………………………………………………………………………………….….………
…………..………………………………………………………………………………………….……..
…………………………………………………………………………………………….……….………
……………………………………………………………………………………………………….…….
………………………………………………………………………………………………………….….
ข้อมูลจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สสวท.
1. สสารชนิ ด เดี ย วกั น ในสถานะต่ า ง ๆ มี ก ารจั ด เรี ย ง
อนุภาค แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค และการเคลื่อนที่
ของอนุภาคเป็นอย่างไร เฉลย
อนุ ภ าคของของแข็ ง จะเรี ย งชิ ด กั น โดยมี แ รงยึ ด เหนี่ ย วระหว่ า งอนุ ภ าคของ
ของแข็งมากกว่าของเหลวและแก๊ส และสั่นอยู่กับที่ อนุภาคของของเหลวอยู่ใกล้
กัน โดยแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคของของเหลวน้อยกว่าของแข็งแต่มากกว่า
แก๊ ส อนุ ภ าคของของเหลวจึ ง เคลื่ อ นที่ ไ ด้ ร อบ ๆ อนุ ภ าคใกล้ เ คี ย ง
อนุ ภ าคของแก๊ ส อยู่ ห่ า งกั น มาก โดยแรงยึ ด เหนี่ ย วระหว่ า งอนุ ภ าคน้ อ ยมาก
อนุภาคจึงเคลื่อนที่ได้อย่างอิสระทุกทิศทาง ข้อมูลจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สสวท.
2.
ของแข็ง
แบบจาลองอนุภาคของสสาร
ภาพวาด
.....................................................................................
ระยะห่างระหว่างอนุภาค .....................................................................................
.....................................................................................
ข้อมูลจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สสวท.
2. เฉลย
ของแข็ง
แบบจาลองอนุภาคของสสาร
ภาพวาด

ระยะห่างระหว่างอนุภาค อนุภาคอยู่ชิดติดกัน
ข้อมูลจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สสวท.
3.
ของแข็ง
แบบจาลองอนุภาคของสสาร
ภาพวาด
.....................................................................................
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค .....................................................................................
.....................................................................................
ข้อมูลจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สสวท.
3. เฉลย
ของแข็ง
แบบจาลองอนุภาคของสสาร
ภาพวาด
มีแรงยึดเหนี่ยว
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค
ระหว่างอนุภาคมากที่สุด
ข้อมูลจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สสวท.
4.
ของแข็ง
แบบจาลองอนุภาคของสสาร
ภาพวาด
.....................................................................................
การเคลื่อนที่ของอนุภาค .....................................................................................
.....................................................................................
ข้อมูลจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สสวท.
4. เฉลย
ของแข็ง
แบบจาลองอนุภาคของสสาร
ภาพวาด

การเคลื่อนที่ของอนุภาค อนุภาคสั่นอยู่กับที่
ข้อมูลจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สสวท.
5.
ของเหลว
แบบจาลองอนุภาคของสสาร
ภาพวาด
.....................................................................................
ระยะห่างระหว่างอนุภาค .....................................................................................
.....................................................................................
ข้อมูลจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สสวท.
5. เฉลย
ของเหลว
แบบจาลองอนุภาคของสสาร
ภาพวาด
อนุภาคอยู่ห่างกันมากกว่า
ระยะห่างระหว่างอนุภาค
ของแข็งแต่น้อยกว่าแก๊ส
ข้อมูลจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สสวท.
6.
ของเหลว
แบบจาลองอนุภาคของสสาร
ภาพวาด
.....................................................................................
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค .....................................................................................
.....................................................................................
ข้อมูลจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สสวท.
6. เฉลย
ของเหลว
แบบจาลองอนุภาคของสสาร
ภาพวาด
มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค
น้อยกว่าของแข็งแต่มากกว่าแก๊ส
ข้อมูลจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สสวท.
7.
ของเหลว
แบบจาลองอนุภาคของสสาร
ภาพวาด
.....................................................................................
การเคลื่อนที่ของอนุภาค .....................................................................................
.....................................................................................
ข้อมูลจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สสวท.
7. เฉลย
ของเหลว
แบบจาลองอนุภาคของสสาร
ภาพวาด
อนุภาคเคลื่อนที่รอบ ๆ
การเคลื่อนที่ของอนุภาค
อนุภาคใกล้เคียง
ข้อมูลจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สสวท.
8.
แก๊ส
แบบจาลองอนุภาคของสสาร
ภาพวาด
.....................................................................................
ระยะห่างระหว่างอนุภาค .....................................................................................
.....................................................................................
ข้อมูลจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สสวท.
8. เฉลย
แก๊ส
แบบจาลองอนุภาคของสสาร
ภาพวาด

ระยะห่างระหว่างอนุภาค อนุภาคอยู่ห่างกันมากที่สุด
ข้อมูลจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สสวท.
9.
แก๊ส
แบบจาลองอนุภาคของสสาร
ภาพวาด
.....................................................................................
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค .....................................................................................
.....................................................................................
ข้อมูลจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สสวท.
9. เฉลย
แก๊ส
แบบจาลองอนุภาคของสสาร
ภาพวาด
มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่าง
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค
อนุภาคน้อยที่สุด
ข้อมูลจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สสวท.
10.
แก๊ส
แบบจาลองอนุภาคของสสาร
ภาพวาด
.....................................................................................
การเคลื่อนที่ของอนุภาค .....................................................................................
.....................................................................................
ข้อมูลจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สสวท.
10. เฉลย
แก๊ส
แบบจาลองอนุภาคของสสาร
ภาพวาด
อนุภาคเคลื่อนที่ได้อย่าง
การเคลื่อนที่ของอนุภาค
อิสระทุกทิศทาง
ข้อมูลจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สสวท.
ควำมรู ้ท่ไี ด้

ภาพ www.freepik.com
@Watcartoon @rawpixel.com
แก๊ส (Gas) ของเหลว (liquid) ของแข็ง (solid)
https://www.chem.purdue.edu/gchelp/atoms/states.htm
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
แบบจาลอง
อนุภาคของสสาร

อนุภาคอยู่ห่างกันมากกว่า
ระยะห่างระหว่างอนุภาค อนุภาคอยู่ชิดกัน อนุภาคอยู่ห่างกันมากที่สุด
ของแข็งแต่น้อยกว่าแก๊ส

มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่าง
แรงยึดเหนี่ยวระหว่าง มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่าง มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่าง
อนุภาคน้อยกว่าของแข็ง
อนุภาค อนุภาคมากที่สุด อนุภาคน้อยที่สุด
แต่มากกว่าแก๊ส

อนุภาคเคลื่อนที่รอบ ๆ อนุภาคเคลื่อนที่ได้อย่าง
การเคลื่อนที่ของอนุภาค อนุภาคสั่นอยู่กับที่
อนุภาคใกล้เคียง อิสระทุกทิศทาง
ข้อมูลจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สสวท.
ั่ โมงต่อไปทากจ
ชว ิ กรรม
ั งานความร้อนกบ
่ ง พลง
เรือ ั
ี่ นแปลงสถานะของสาร(1)
การเปลย

You might also like