You are on page 1of 49

เทคโนโลยีสารสนเทศสาหรับโลจิสติกส์

และซัพพลายเชน
อาจารย์ธรรมรัฐ ทองดี
สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ

1
ความหมายและสาคัญของเทคโนโลยี
ทรัพยากร
• คน
• เครื่องจักร สินค้า/บริการ
กระบวนการที่ซับซ้อน (ยุ่งยาก
• เงินทุน ของเสีย
• เครื่องมือ/อุปกรณ์ เทคโนโลยี
• วิธีการ

ทรัพยากรโดยรวม สินค้า/บริการดีขึ้น
ลดลง
กระบวนการที่ง่ายขึ้น ของเสียลดลง

• ต้นทุนที่ต่าลง • ความสูญเสียลดลง • คุณค่าที่มากขึ้น • เร็วขึ้น ดีขึ้น ถูกขึ้น

เทคโนโลยี เป็นเครื่องมือที่ช่วยในการลดทรัพยากรในการดาเนินงานกิจกรรมต่างๆ ลง และช่วยเพิ่ม


ประสิทธิภาพ ประสิทธิผลให้เพิ่มสูงขึ้น 2
องค์ประกอบหลักของ E- Business
Business Value

Business Stretegy & Process


Business Services
Knowledge Management

Customer
Suppliers

SCM ERP CRM

Business Intelligence
Enablement Services
Web & IT Integration

Technology Value
3
กิจกรรมโลจิสติกส์ (Logistics Activities)
Information Feedback

Packaging QC &
Waste
Suppliers / Downstream

Forecasting Purchasing Inbound Warehouse


logistics transport Production transport Warehouse

Outbound
Production Scheduling

logistics
Planning

Order
Fulfillment Return
goods
Customer Distribution
Customer/Upstream services
RO
Location
DC = Distribution Center Planning
RO = Repairs Operation

Information Feedback 4
เหตุผลหลักที่ต้องนา Information Technology (IT) เข้ามาใช้ในระบบโลจิสติกส์

• โลจิสติกส์ต้องการความรวดเร็วในการขนส่งอย่างถูกต้องแม่นยา
• ระบบโลจิสติกส์ต้องมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลกันตลอดเวลา
• สารสนเทศที่ถูกต้องและทันเวลาจะช่วยกิจการลดระดับสินค้าคงคลังได้
• IT จะช่วยเรื่องการปรับเส้นทางและตารางเวลาขนส่งให้เหมาะสม
• ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการบริการแก่ลูกค้า
• สามารถช่วยลดค่าแรงงานในการบริหารโลจิสติกส์ได้
• ช่วยเพิ่มอัตราการใช้ประโยชน์จากปริมาตรในคลังสินค้าได้

5
เทคโนโลยีสารสนเทศสาหรับโลจิสติกส์และซัพพลายเชน

เคลื่อนย้ายสินค้าหรือผลิตภัณฑ์
Physical Movement
เทคโนโลยีสารสนเทศ Technologies
บ่งบอกลักษณะตัวตนและติดตาม Information Technologies
ผลิตภัณฑ์ Tracking and • ใช้คนควบคุม Mechanized
Identification of Product System
• EDI • กึ่งอัตโนมัติ Semi Automated
• ERP System
• Barcode
• DSS • อัตโนมัติ Automated System
• RFID
• GPS

6
IT ในระบบโลจิสติกส์
• Hardware
• Software
• Database
- Data Warehouse
- Data Mining
• Detection Technology
• Network
–ระบบเครือข่ายในการติดต่อสื่อสาร เช่น เครือข่าย EDI , Internet หรือ
เครือข่ายโทรศัพท์
7
Hardware Computer
Processing

Input Unit Output

Storage 8
Hardware
Peripherals

9
• Software ที่ใช้ในระบบโลจิสติกส์มักครอบคลุมทุกๆ ส่วนของ Supply Chain แต่สามารถ
แบ่งออกเป็นสองส่วนใหญ่ๆ ดังนี้
– ส่วนที่ 1 เกี่ยวกับการวางแผนและควบคุมการผลิต ประกอบด้วย
• CAD : (Computer Aided Design)
• CAM : (Computer Aided Manufacturing) Software
• CIM : (Computer Integrated Manufacturing)
• PLC : (Programmable Logical Control)
• ERP : (Enterprises Resource Planning)
– ส่วนที่ 2 เกี่ยวกับโปรแกรมการจัดการวัสดุ ประกอบด้วย
• โปรแกรมเกี่ยวกับการบริหารสินค้าคงคลัง (Inventory Control)
• โปรแกรมบริหารความต้องการวัสดุ (MRP ; Material Requirement Planning)
10
ERP
• ปัจจุบันระบบ Supply Chain Management ถูกพัฒนาให้มีการบริหารที่สะดวกรวดเร็วมาก
ขึ้น โดยน าคอมพิว เตอร์ เ ข้ ามาเป็น เครื่อ งช่ว ยส าคั ญ เรี ย กว่า ระบบ ERP (Enterprise
Resource Planning)
• มีบริษัทขนาดใหญ่หลายรายได้น าระบบนี้เข้ามาใช้งาน โดยหลัก การเบื้อ งต้น ของ Supply
Chain Management เป็นเรื่องของการจัดการวัตถุดิบเป็นหลักก่อน ต่อมาก็จะเป็นเรื่อ งของการ
ดูแลสินค้าคงคลัง และเป็นที่นิยมมากขึ้น จนเป็นเรื่องของการตอบสนองลูกค้าอย่างมีประสิทธิภาพ
และทั้งหมดจะใช้บาร์โค้ดเป็นตัวหลัก เพื่อ เป็นการประหยัดเวลา เพราะหากสต็อ กของผู้ที่รับ
สินค้าเราไปขายหมดลงเมื่อไหร่ระบบ Supply Chain จะแจ้งเราทันทีทางคอมพิว เตอร์ และแจ้ง
ต่อไปยังซัพพลายเออร์ที่ขายวัตถุดิบให้กับเรา ส่งต่อไปให้โกดังที่ทากล่อ งกระดาษบรรจุสิน ค้าเรา
โดยจะส่งต่อไปหมดทุกที่ เช่นหากมีคนไปซื้อสินค้าของเราในห้างสรรพสิน ค้า เมื่อ ไปถึงแคชเชียร์
แคชเชียร์อ่านรหัสบาร์โค้ด ระบบก็จะตัดสต็อกทันที ซึ่งระบบจะเป็นแบบนี้ต ลอดไปทาให้ง่ายต่อ
การควบคุมสต็อกและการทางาน จึงสามารถลดต้นทุนค่าแรงงานคนงาน ค่าจ้างพนักงานขายและ
ต้นทุนอื่นๆ ได้อีกมาก
• ERP เป็น Software ขนาดใหญ่ที่บริหารองค์กรได้ทั้งต้นน้าตลอดปลายน้า
11
คุณลักษณะและการใช้งานโปรแกรม ERP
Planning Source Make Deliver Marketing
Enterprises Purchasing Manufacturing Warehouse CRM
Management Management planning Management Marketing
System -Aggregate plan -Inventory control Management
Human resource -Order system -MPS Distribution Product
Management -EOQ -MRP Management Development
System -P/O -CRP
Accounting -VMI Production Fleet Management Market Analysis
-GL,AR,AP,IC, -QC/inspection Planning ;
-AS ,PR,CHQ -GPS
Finance Sales Support
- Capital / Asset -Call center
Management -Order entry
-Sales Quotation

12
ERP คืออะไร ?

R P
E

ERP : Enterprise Resource Planning หมายถึง การวางแผนทาง


ธุรกิจขององค์กรโดยรวม เป็นระบบที่ใช้ในการจัดการและวางแผนใช้ทรัพยากรต่างๆ
ขององค์กร
13
กาเนิด ERP
ERP เกิดขึ้นครั้งแรกในประเทศสหรัฐอเมริกา ในปี ค.ศ. 1990 มาจากแนวคิดของการพัฒนา
ระบบบริหารการผลิตรวม ของอุตสาหกรรมการผลิตในอเมริกา (Material Requirement
Resource Planning / Manufacturing Resource Planning : MRP Systems ) หรือ MRP ซึ่งได้มี
การพัฒนามาเป็น ERP นั่นเอง
ภาพแสดงพัฒนาการของ ERP

14
โครงสร้างของระบบ ERP

15
16
หน้าต่าง Interface ของ Program ERP ยี่ห้อ SAP R/3

SAP R/3

17
Computer Networks
เครือข่ายการสื่อสารและคอมพิวเตอร์ในระบบโลจิสติกส์
• Internet , Extranet , Intranet
• Simplified Networks Topology
• EDI (Electronic Data Interchange)
• VPN (Virtual Private Networks)
• GSM (Global System for Mobile Communication)
• GPRS (General Packets Radio Services)
• GPS (Global Positioning System)
• Tracking System
18
Internet
INTERNET (อินเทอร์เน็ต) เป็นระบบเครือ ข่ายขนาดใหญ่ เครื่อ งคอมพิว เตอร์ทั่ว โลกสามารถ
เชื่อ มต่อ กัน ได้โดยใช้ มาตรฐานในการรับ ส่งข้อ มูลที่ เป็น หนึ่งเดียวทั่ว โลก ในระบบโลจิสติก ส์
สามารถใช้อิ น เทอร์ เนต ในการส่ง ผ่า นข้อ มูล ต่า งๆ ระหว่ า งกิ จ กรรมเพื่ อ ประสานงานและ
แลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันอย่างเปิดเผย

19
ที่มาของข้ อมูล http://cyberlab.lh1.ku.ac.th/elearn/faculty/educate/edu48/les16.htm
Intranet

เครือข่ ายในคลังสิ นค้า เครือข่ ายในโรงงาน


• เครือข่ายตั้งแต่ 2 เครือข่าย ขึ้นไปเชื่อมโยงติดต่อกัน ตัวอย่างเช่นในการติดต่อระหว่าง
แผนก 1 กับแผนก 2 ภายในองค์กรเดียวกันมิได้ติดต่อออกไปภายนอก ใช้สาหรับ
สานักงานสาขา หรือการติดต่อภายในระบบโลจิสติกส์ของบริษทั เดียวกัน เช่น โกดังสินค้า
กับโรงงานเป็ นต้น เพือ่ ให้สะดวกต่อการติดต่อสื่อสารข้อมูลการเคลื่อนย้ายผลิตภัณฑ์ใน
เครือข่าย โดยที่บุคคลภายนอกเข้ามาไม่ได้เลย
20
ที่มาของข้ อมูล http://cyberlab.lh1.ku.ac.th/elearn/faculty/educate/edu48/les16.htm
Extranet

Network @ Factory Network @ Retail store


• การติดต่อระบบเครือข่ายออกไปภายนอกองค์กร เช่น การติดต่อระหว่างโรงงานของ
Supplier กับ ร้านค้าปลีกที่มีสัญญาระหว่างกัน การเชื่อมต่อโครงข่ายแบบ Extranet จะมี
ผู้ให้บริการเครือข่ายที่มีหน้าที่เข้ารหัสสัญญาณ ไม่ให้ข้อมูลสาคัญถูกลักลอบในเครือข่าย

ที่มาของข้ อมูล http://cyberlab.lh1.ku.ac.th/elearn/faculty/educate/edu48/les16.htm 21


EDI (Electronic Data Interchange)
EDI เป็นเครือข่ายการสือสารข้อมูลสาหรับการบริหารโลจิสติกส์ที่มีมานานแล้ว ส่วนมากเริ่มต้นใน
วงการส่งออก ชิปปิ้ง การศุลกากร ปัจจุบันเครือข่าย EDI เปลี่ยนชื่อเรียกไปหลายอย่าง เช่น VPN ,
Extranet

22
EDI คือวิธีการแลกเปลี่ยนข้อมูลเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ระหว่างองค์กร ด้วยรูปแบบมาตรฐาน โดยองค์กรส่วนใหญ่
เลือกใช้มาตรฐาน X12 จาก ANSI (American National Standard) และ EDIFACT องค์กรส่วนใหญ่ที่ใช้
ระบบ EDI ในการแลกเปลี่ยนข้อมูลจะเป็นบริษัทผลิตวัตถุดิบ บริษัทจัดจาหน่ายสินค้า บริษัททางการเงิน
ธนาคาร บริษัทขนส่ง ผู้ส่งออกสินค้า ผู้นาเข้าสินค้า ศุลกากร ท่าเรือ คลังสินค้าสนามบิน และหน่วยงานราชการ
เป็นต้น
รูปแบบในการใช้งานระบบ EDI สามารถแบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ
สามารถรับข้อมูลได้อย่างเดียว(EDIFax) หรือทั้งรับและส่งข้อมูลได้ (EDI/EDIWeb)
ในระบบ EDI/EDIWeb ผู้ส่งสามารถส่งข้อมูลโดยคียข้อมูลผ่านโปรแกรม EDI หรือ Web Browser เข้าสู่ระบบเครือข่าย
EDI และคอมพิวเตอร์ในระบบเครือข่าย EDI ส่งข้อมูลผ่านไปยังผู้รับ ซึ่งผู้รับสามารถอ่านข้อมูลได้บน
จอคอมพิวเตอร์ผ่านโปรแกรม EDI หรือ Web Browser
รูปแบบการใช้งานของระบบ EDI/EDIWeb สาหรับผู้ส่งและผู้รับสามารถใช้ Web Browser และระบบเครือข่าย
อินเทอร์เน็ตในการส่งข้อมูลเข้าเครือข่าย EDI จะเหมาะสมกับบริษัทขนาดเล็กและขนาดกลางที่ไม่ต้องการ
เชื่อมโยงข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์กับระบบคอมพิวเตอร์อื่น ๆ เช่นระบบบัญชี ระบบคงคลัง ระบบวางแผนการผลิต
เป็นต้น หากผู้รับหรือผู้ส่งใช้โปรแกรม EDI ในการรับส่งข้อมูลจะสามารถเชื่อมโยงข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์เข้าสู่
ระบบงานอื่น ๆ ได้ประโยชน์ในการใช้ระบบ EDI
23
ประโยชน์ของ EDI
• ช่วยลดข้อผิดพลาดในเรื่องของการส่งข้อมูล
• ช่วยลดงบประมาณ หมายถึงช่วยลดงบประมาณในเรื่องของเอกสาร
• ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน เพราะระบบ EDI จะเข้าไปแทนที่ระบบ
เอกสารทาให้การทางานรวดเร็วขึ้น
• ช่วยเพิ่มความสามารถในการแข่งขันธุรกิจ

บริษัท A บริษัท B
EDI
Communication
Network

24
Thai Trade Net Co.,Ltd
www.ttn.co.th/

EDI Service Provider

Tiffa EDI Services Co.,Ltd.


www.tiffaedi.com/

25
GPS (Global Positioning System)
• GPS เป็นระบบเดียวในปัจจุบัน ที่สามารถ แสดง
ตาแหน่งที่อยู่ ที่แน่นอนว่าอยู่ ณ. ตาแหน่งใด บน
พื้นโลกได้ทุกเวลา ทุกสภาพอากาศ ระบบนี้มี
ดาวเทียม 24 ดวง หมุนอยู่รอบโลก อยู่สูงขึ้นไป
11,000 nautical miles หรือประมาณ 20,200
kms. จากพื้นโลก ดาวเทียมหมุนรอบโลก แบ่งเป็น
6 ระนาบ ระนาบละ 4 ดวง โดยทามุมเอียง 55
องศา ดาวเทียมทั้งหมดจะได้รับการควบคุมดูแล
จากสถานีภาคพื้นดินทั่วโลกตลอดเวลา
• ระบบโลจิสติกส์ปัจจุบันประยุกต์ใช้ GPS ในการ
ติดตามระบบขนส่ง ทาให้ทราบตาแหน่งของยาน
พานะได้ตลอดเวลา

26
GPS Satellite Navigator Interfacing

27
Database
• ฐานข้อมูลเป็นส่วนสาคัญอย่างยิ่งต่อระบบโลจิสติกส์ เพราะเป็น แหล่ง รวบรวม
ข้อมูลทั้งระบบเพื่อการคานวณค่าต่างๆ ที่จาเป็นต่อการบริหารโลจิสติกส์ เพื่อ
ความแม่นยา ถูกต้องและให้มีข้อมูลอยู่ที่แหล่งเดียว

Production data ERP

Inventory data Database CAD

Purchasing data Inventory Control


Data from different sources Applications
28
Warehous
e

Data Mining / Pattern


Logistics Data

Data Warehouse / Data Mining 29


Data Warehouse / Data Mining

• Data Warehouse เป็นคลังเก็บข้อมูลจานวนมาก เป็นแหล่งเก็บข้อมูลที่


มีการคัดกรอง รวบรวม จับกลุ่มพร้อมต่อการถูกสกัดในขั้นตอน Mining
ต่อไป
• Data Mining คือ การร่อนตะแกรงข้อมูลที่ได้มาจาก Database/
Datawarehouse แม้ว่า Data Base/Data Warehouse จะมีระบบ
Inquiry ที่ดีแต่ Mining เหมือนการขุดเหมืองแร่ที่มีการสกัดเฉพาะ
ข้อมูลที่สาคัญ เกี่ยวกับเรื่องที่ต้องการวิเคราะห์ มีการคัดเลือกข้อมูล
และเปลี่ยนแปลงรูปแบบข้อมูลให้พร้อมต่อการประเมินและนาเสนอ
30
Data Warehouse / Data Mining

31
โปรแกรมจัดการคลังสินค้า
(Warehouse Management System : WMS)
• เป็นระบบโปรแกรมที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้ในการบริหารระบบคลังสินค้าทั่วไป ที่มี
การรับสินค้า เก็บสินค้า และกระจายสินค้า ความสาเร็จของธุรกิจค้าส่ง ค้าปลีก
และธุรกิจการขนส่งสินค้า
ประโยชน์ที่ได้รับจาก WMS
• เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ความรวดเร็วและลดความผิดพลาด
• มีความถูกต้องแม่นยาในการจัดการกับระบบคลังสินค้า
• ลดระยะเวลาในการทางานในการจัดสรรพื้นที่
• สามารถใช้พื้นที่ได้อย่างคุ้มค่ามากที่สุด
• ลดปัญหาสินค้าค้างสต็อก
• ควบคุมกระบวนการทางานต่างๆ
• การปฎิบัติงานประจาวัน (Daily Operation)
• การตรวจสอบและวิเคราะห์ข้อมูล (Inventory Control and Analysis)
• งานบัญชีและการเงิน (สาหรับ 3pl)
ระบบโปรแกรมจัดการคลังสินค้า
• ประกอบด้วย ระบบงานหลัก 3 ระบบ คือ
»การรับสินค้า (Receiving)
»การจัดเก็บสินค้า (Storage)
»การส่งมอบสินค้า (Delivery)
ระบบโปรแกรมจัดการคลังสินค้า
1. กระบวนการรับสินค้า (Receiving) :
ระบบ WMS สามารถ Reserve พื้นที่หรือจองพื้นที่ให้ล่วงหน้าเพื่อช่วยในการวางแผนการใช้พื้นที่
ในคลังได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพราะคลังสินค้าบางที่ไม่มีระบบที่ดี เมื่อรับสินค้าเข้าคลังก็เอาไป
ตามใจชอบ สุดท้ายก็จาไม่ได้ว่า นาไปเก็บไว้ที่ไหน
2. กระบวนการจัดเก็บ (Put Away) :
ระบบ WMS สามารถแนะนาตาแหน่งที่เหมาะสมในการจัดเก็บ และมีการยืนยันตาแหน่งการ
จัดเก็บที่ถูกต้อง Manual : โดยผู้ตรวจสอบเซ็นอนุมัติ หลังจากตรวจสอบว่าจัดเก็บในตาแหน่งนั้น
จริง Barcode Scanner : โดยการยิง Barcode Scanner ในตาแหน่งที่จัดเก็บจริงซึ่งตรงนี้จะช่วย
ในการconfirm ตาแหน่งจัดเก็บอย่างถูกต้อง ซึ่งจะช่วยลดปัญหาการหาของไม่เจอได้
3. กระบวนการเบิก (Picking) :
ระบบ WMS จะมีระบบ Search เพื่อช่วยในการค้นหาได้อย่างง่ายดาย แค่กรอกเงื่อนไข ระบบก็
สามารถค้นหาสินค้าให้เอง ไม่ว่าจะเป็นการเบิกแบบ FIFO , LIFO, FEFO หรือสามารถกาหนดเอง
ขั้นตอนการทางานในคลังสินค้า
Detection Technology
• Barcode and Peripherals

• RFID Technology

37
Barcode & Peripherals

Barcode เป็นแท่ง สีขาวด าสลับกัน สามารถอ่าน


และแปลค่ารหัสแท่ง เหล่านี้ได้ด้วย Reader ซึ่ง
เป็น เครื่ องให้ก าเนิ ด แสงอิ นฟราเรด อ่านและ
แปลเป็ น ค่ า ดิ จิ ต อลออกมาเป็ น รหั ส ที่ เ ครื่ อ ง
คอมพิวเตอร์ สามารถรับรู้และนาค่าไปใช้งานได้
Barcode จึงเป็นตัวแทนสินค้า หรือสิ่งของ เพื่อให้
ง่ายต่อการระบุตัวตนของสิ่งของที่จะทาการขนส่ง
ในระบบโลจิสติกส์ได้เป็นอย่างดี เป็นที่นิยมใช้ใ น
ปัจจุบัน เพราะเป็นเทคโนโลยีที่แพร่หลายและใช้
กันทั่วโลกด้วยมาตรฐานเดียวกัน

38
• Barcode Printing
• Handheld Barcode reader
• Portable Barcode Printing

39
บาร์โค้ด (Barcode)
• 885 รหัสประเทศไทย
• 0088 รหัสสมาชิกสถาบันรหัสแท่งไทย
• 60801 รหัสสินค้า สมาชิกต้องกาหนด ขึ้นเอง
• 6 ตัวเลขตรวจสอบความถูกต้องของ
คอมพิวเตอร์เพื่อพิสูจน์ว่าตัวเลขทั้งหมดที่อยู่ด้านหน้า
นั้นถูกต้อง เรียกว่า Digit Number

885 0088 6 0 801 6

40
RFID Radio Frequently Identify Detection

• RFID เป็นระบบที่นาคลื่นวิทยุมาเป็นคลื่นพาหะในการระบุลักษณะ เฉพาะของวัตถุ


แต่ละชิ้น เพื่อใช้ในการสื่อสาร ข้อมูลระหว่าง อุปกรณ์สองชนิด ที่เรียกว่าแท็ก (Tag)
และตัวอ่านข้อมูล ( Reader หรือ Interrogator/ Self Check-Out ) โดยมี
ลักษณะการทางานนั้น เช่นเดียวกับบาร์โค้ด แต่รองรับการใช้งานหลายอย่างที่
บาร์โค้ด ไม่สามารถทาได้ เช่น แท็กของระบบ RFID จะสามารถทั้งอ่านและบันทึก
ข้อมูลได้ผิดจากบาร์โค้ดที่อ่านได้อย่างเดียว และไม่สามารถเปลี่ยนข้อมูลที่อยู่บน
บาร์โค้ดได้
41
RFID คืออะไร
•RFID ย่อมาจาก Radio-Frequency Identification
•ระบบบ่งชี้ข้อมูลอัตโนมัติ แบบไร้สาย ซึ่งมีการส่งคลื่นความถี่วิทยุจากอุปกรณ์เครื่อง
อ่าน ไปยังอุปกรณ์ไมโครชิปขนาดเล็กที่มีเสาอากาศติดอยู่ เพื่อส่งข้อมูลเฉพาะของสิ่งที่
ต้องการบ่งชี้ แล้วนาข้อมูลมาประมวลผลยังเครื่องอ่าน หรือระบบที่เกี่ยวข้อง
•ใช้คลื่นความถี่วิทยุ เป็นตัวกลาง ในการอ่านและบันทึกข้อมูล

Reader

Radio Frequency Tag


ระบบ
ฐานข้อมูล
Database

42
RFID Excellent tools for Logistics

43
44
การประยุกต์ใช้งาน RFID

การเลี้ยงปศุสัตว์ 45
การประยุกต์ใช้งาน RFID

การบริการสาธารณสุข
46
การประยุกต์ใช้งาน RFID

บัตรผ่านทางด่วนและตั๋วต่างๆ
47
48
แบบฝึกหัด
1. ให้อธิบายเหตุผลที่ภาคธุรกิจต้องนาเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในระบบ
การดาเนินงานทางด้านโลจิสติกส์และซัพพลายเชน ?
2. การนาเทคโนโลยีสารสนเทศด้านโลจิสติกส์เข้ามาประยุกต์ใช้ในกระบวนการ
ธุรกิจต้องพิจารณาเกี่ยวกับด้านใดบ้าง ?
3. สมมุติว่านิสิตเป็นผู้จัดการของบริษัทผู้ให้บริการทางด้านโลจิสติกส์แห่งหนึ่ง
(LSP และ 3PL) เพื่อให้สามารถตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้าและการ
แข่งขันในปัจจุบัน นิสิตจะนาเทคโนโลยีใดมาประยุกต์ใช้ จงระบุเหตุผลข้อดี
และประโยชน์ที่จะได้รับ

49

You might also like