You are on page 1of 9

คนละครึ่ง จากเฟสแรกถึงเฟส 4 เครื่องมือรัฐปลุกกาลังซือ้

“คนละครึ่ง” เครื่องมือหลักรัฐบาล ในการเยียวยาประชาชน และกระตุ้นเศรษฐกิจ ผ่านการร่วมจ่ายค่าอาหาร เครื่องดื่ม และ


สินค้ าทัว่ ไป ในฝ่ ายของผู้ซื ้อ 50% โดยไม่เกิน 150 บาทต่อคนต่อวัน ได้ เดินทางมาถึง เฟสที่ 4 ถือเป็ นโครงการที่ได้ รับความ
นิยมเป็ นอย่างมาก

โครงการ “คนละครึ่ง” กว่าจะก้ าวมาถึง เฟส 4 ระหว่างทางก็ได้ รับเสียงวิพากษ์ วิจารณ์จากผู้ใช้ งานไม่น้อ ย

ย้ อนกลับไปที่ “คนละครึ่ง” เฟสแรก รัฐบาลประกาศออกโครงการกระตุ้นเศรษฐกิจในช่วงท้ ายปี เริ่มโครงการในช่วงเดือนต.ค.-


ธ.ค.63 ด้ วยการเปิ ดลงทะเบียน รับเงิน 3,000 บาท บนเว็บไซต์ www.คนละครึ่ง.com กาหนดจานวนผู้เข้ าร่วมโครงการ 10
ล้ านสิทธิ และใช้ จ่ายผ่านแอปพลิเคชัน “เป๋ าตัง”

ช่วงแรกในการเปิ ดลงทะเบียนมีปัญหาระบบไม่เสถียร ทังในเรื ้ ่อง otp และระบบล่ม ด้ านการใช้ จ่ายผ่านแอปเป๋ าตัง ก็ยงั ติดขัด
ระบบสแกนไม่เสถียรบ้ าง จนทาให้ ผ้ ใู ช้ งานวิพากษ์ วิจารณ์อยู่บ่อยครัง้ แต่ถึงกระนั ้นรัฐบาลก็ได้ มีการพัฒนาระบบ แก้ ไข
ข้ อผิดพลาดไปทีละจุดๆ จนทาให้ “คนละครึ่ง” ถูกเรี ยกร้ องให้ ไปต่อ จนนามาสู่เฟสที่ 2

โครงการ “คนละครึ่งเฟส 2” เป็ นภาคต่อจาก “คนละครึ่ง” เฟสแรก ที่คนส่วนใหญ่ใช้ จ่ายไม่ทนั รัฐบาลก็ขยายเวลาให้ สามารถ
ใช้ จ่ายออกไปอีกได้ ตังแต่
้ ม.ค.-มี.ค.64 เพียงกดรับสิทธิผ่านแอปเป๋ าตังเท่านั ้น และจะได้ รับเงินเพิ่มมาอีก 500 บาท

นอกจากนี ้ ก็ได้ เปิ ดลงทะเบียนเพิ่มเติมด้ วย โดยเพิ่มสิทธิอีก 5 ล้ านสิ ทธิ เข้ ามาลงทะเบียนรับเงิน จานวน 3,500 บาท การ
ลงทะเบียนในรอบนี ้ระบบพัฒนาดีขึ ้น สามารถรองรับการเข้ ามาลงทะเบียนของประชาชนได้ เป็ นอย่างดี

ทาให้ ตลอดระยะเวลาของโครงการ “คนละครึ่ง” เฟส 1 และ 2 มีผ้ ใู ช้ สิทธิ 14.79 ล้ านคน มียอดใช้ จ่าย 102,065 ล้ านบาท
แบ่งเป็ นเงินภาคประชาชน 52,251 ล้ านบาท และภาครัฐ 49,814 ล้ านบาท

ต่อมาในเฟสที่ 3 รัฐบาลต้ องการกระตุ้นการบริโภคในช่วงครึ่งหลังของปี ได้ ออกโครงการ “คนละครึ่ง” เฟส 3 ในระยะเวลาที่


ยาวขึ ้น นานกว่า 6 เดือน ตังแต่
้ ก.ค.-ธ.ค.64 รับเงินจานวน 3,000 บาท เปิ ดกว้ างให้ ประชาชนเข้ ามาร่วมโครงการกว่า 31 ล้ าน
คน

ครัง้ นี ้ “คนละครึ่ง” เฟส 3 ก็อานวยความสะดวกให้ กับประชาชนที่เคยได้ รับสิทธิแล้ วเช่นเดิม โดยผู้ที่เคยรับสิทธิใน “คนละครึ่ง”


เฟส 1 และ 2 ไม่ต้องลงทะเบียนใหม่ สามารถกดรับสิทธิได้ เลยผ่านแอปเป๋ าตัง และลงทะเบียนเฉพาะผู้ที่ไม่เคยรับสิทธิเท่านั น้
ในรอบนี ้ “คนละครึ่ง” รองรับการใช้ งานบนแอปเป๋ าตังมากขึ ้น ในช่วงแรกระบบล่ม และไม่เสถียรบ้ าง แต่รัฐบาลก็สามารถแก้ ไข
ปั ญหาได้ อย่างรวดเร็ว ทาให้ ผ้ ใู ช้ งานคนละครึ่ง สามารถสแกนใช้ จ่ายได้ อย่างไม่สะดุด

นอกจากนี ้ คนละครึ่ง เฟส 3 ยังได้ พฒั นาให้ ตอบโจทย์กับวิถีชีวิตใหม่ ในช่วงที่สถานการณ์โควิดรุนแรง ผู้คนไม่สามารถออกไป


จับจ่ายใช้ สอยข้ างนอกบ้ านได้ รัฐบาลก็ได้ เร่งตอบโจทย์ปัญหา โดยการพัฒนาระบบร่วมกับแพลตฟอร์ มเดลิเวอรี่ ให้ สามารถ
สัง่ อาหารออนไลน์ได้ ซึ่งเป็ นการอานวยความสะดวกให้ กับประชาชนเป็ นอย่างมาก

และด้ วยสถานการณ์โควิดยังไม่ดีขึ ้น และเพื่อบรรเทาภาระค่าครองชีพของประชาชน ในช่วงเดือนพ.ย.-ธ.ค.64 รัฐบาลก็ได้ เพิ่ม


เงินใน “คนละครึ่ง” เฟส 3 ให้ อีก 1,500 บาท หรือเรียกว่า “คนละครึ่ง” เฟส 3 พลัส เพื่อเป็ นแรงส่งการใช้ จ่ายในช่วงปลายปี 64

โดยคนละครึ่ง เฟส 3 และ 3 พลัสนี ้ มีผ้ ใู ช้ สิทธิสะสม จานวน 26.35 ล้ านราย และมีจานวนผู้ใช้ สิทธิครบ 4,500 บาท แล้ วกว่า
10.87 ล้ านราย โดยมียอดการใช้ จ่ายสะสม รวม 223,921.8 ล้ านบาท แบ่งเป็ น เงินที่ประชาชนจ่ายสะสม 113,936 ล้ านบาท
และรัฐร่วมจ่ายสะสม 109,985.8 ล้ านบาท

และล่าสุด ในปี 2565 รัฐบาลได้ งดั โครงการ “คนละครึ่ ง” ออกมาใช้ อีกครัง้ ซึ่งเป็ นรอบที่ 4 แล้ ว เพื่อบรรเทาภาระค่าครองชีพ
เนื่องจากสินค้ าสาหรับดารงชีพในตอนนี ้มีราคาแพงขึ ้น เช่น หมู ไก่ ไข่ เป็ นต้ น โดยรอบนีจ้ ะเปิ ดลงทะเบียน 14 ก.พ.นี ้ และเริ่ม
ใช้ จ่ายได้ เลยในวันที่ 21 ก.พ.

อ้ างอิง https://www.prachachat.net/finance/news-853878
โครงการคนละครึ่ง

โครงการคนละครึ่ง" เป็ นหนึ่งในมาตรการที่ดาเนินการโดยรัฐบาล มีวตั ถุประสงค์หลักเพื่อกระตุ้นการจับจ่ายใช้ สอย


ภายในประเทศ ด้ วยการแบ่งเบาภาระค่าใช้ จ่ายของประชาชน และช่วยเพิ่มสภาพคล่องให้ แก่ร้านค้ ารายย่อยทั่วประเทศ
เป็ นการสนับสนุนเศรษฐกิจฐานรากและฟื น้ ฟูเศรษฐกิจของประเทศทังระบบ ้ การลงทะเบียนโครงการคนละครึ่งจะมีด้วยกัน
2 ส่วน คือ การลงทะเบียนรับสิทธิสาหรับประชาชน และการลงทะเบียนโครงการคนละครึ่งสาหรับร้ านค้ า โดยรัฐบาลได้ เข้ า
มาดาเนินการอุดหนุนการจับจ่ายใช้ สอยในส่วนของประชาชนที่ได้ รับสิทธิในโครงการคนละครึ่งและให้ ร้านค้ าที่ต้องการเข้ า
ร่วมโครงการคนละครึ่ง ซึ่งลงทะเบียนผ่านเว็บไซต์คนละครึ่ง โดยรัฐจะช่วยออกค่าใช้ จ่ายให้ ครึ่งหนึ่งของมูลค่ าสินค้ า ในขณะ
ที่ผ้ ไู ด้ รับสิทธิจะต้ องจ่ายเพิ่มอีกครึ่งหนึ่งของมูลค่าสินค้ า โดยผู้เข้ าร่วมโครงการที่มีคุณสมบัติตามที่รัฐบาลกาหนดจะต้ อง
ลงทะเบียนเข้ าร่ วมโครงการ คือ
1) มีบัตรประจาตัวประชาชนและเป็ นบุคคลสัญชาติไทย
2) มีอายุตงแต่
ั ้ 18 ปี บริบูรณ์ขึน้ ไป ณ วันที่ลงทะเบียน
3) ไม่เป็ นผู้ได้ รับสิทธิโครงการบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ โครงการเพิ่มกาลังซื ้อให้ แก่ผ้ ทู ี่ต้องการความช่วยเหลือเป็ นพิเศษ (ผ่าน
บัตรประชาชน) และโครงการยิ่งใช้ ยิ่งได้
การลงทะเบียนเพื่อรับสิทธิโครงการคนละครึ่งสามารถลงทะเบียนได้ 2 ช่องทาง ได้ แก่ ลงทะเบียนผ่าน www.คนละครึ่ง.com
และลงทะเบียนผ่านแอปพลิเคชันที่มีชื่อว่า "เป๋ าตัง" พร้ อมผูกกับกระเป๋ าสตางค์อิเล็กทรอนิกส์ที่มีชื่อว่า G-Wallet (กดแถบ
โครงการคนละครึ่ง) สาหรับการใช้ งานสามารถใช้ สิทธิผ่านแอปพลิเคชัน "เป๋ าตัง" โดยผู้ใช้ จะต้ องเติมเงินเข้ ากระเป๋ าสตางค์
อิเล็กทรอนิกส์ (G –Wallet) โดยสามารถเติมได้ ผ่าน 3 ช่องทาง คือ 1. Mobile Banking 2. QR code Prompt pay 3. ตู้
ATM ทังนี
้ ้ ประเภทร้ านค้ าที่ร่วมโครงการคนละครึ่งสามารถเป็ นร้ านค้ าที่เป็ นร้ านอาหาร เครื่ องดื่ม และร้ านค้ าทัว่ ไป ยกเว้ น
สลากกินแบ่งรัฐบาล เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ยาสูบ และการบริการ
ผู้เข้ าร่ วมโครงการคนละครึ่งจะได้ รับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลไม่เกินวันละ 150 บาท ซึ่งปั จจุบันโครงการคนละครึ่งจะ
ดาเนินการจ่ายทังโครงการสู
้ งสุดไม่เกิน 3000 บาทต่อคน ตัวอย่างเช่น หากผู้ได้ รับสิทธิโครงการคนละครึ่งจะซื ้อสินค้ าที่มี
มูลค่า 200 บาท รัฐจะดาเนินการจ่ายให้ ครึ่งหนึ่ง คือ 100 บาท และผู้ที่ได้ รับสิทธิโครงการคนละครึ่งจะต้ องจ่ายเองอีก 100
บาท แต่หากผู้ได้ รับสิทธิโครงการคนละครึ่งจะซือ้ สินค้ าที่มีมลู ค่า 500 บาท รัฐจะดาเนินการจ่ายสูงสุดที่ 150 บาทเท่านั ้น
โดยอีก 350 บาทผู้ที่ได้ รับสิทธิโครงการคนละครึ่งต้ องดาเนินการจ่ายเอง ประชาชนที่มีความประสงค์จะซือ้ สินค้ าที่เข้ าร่ วม
โครงการคนละครึ่งจะต้ องสังเกตป้ายโครงการคนละครึ่ง โดยประโยชน์ที่ได้ รับจากโครงการคนละครึ่ง เช่น การดึงร้ านค้ า
อิสระให้ มาเป็ นร้ านที่เข้ าร่ วมโครงการทาให้ รัฐบาลสามารถจัดเก็บภาษีได้ มากขึน้ และทาให้ ผ้ ทู ี่เข้ าร่ วมโครงการมีรายได้ เพิ่ม
มากขึน้ ซึ่งอาจเป็ นการช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจอีกทางหนึ่ง โดยคาดว่าปริมาณเงินในโครงการจะช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจได้ 1.85
เท่า หรือเทียบเท่า 55,500 ล้ านบาท
ความคืบหน้ าของโครงการคนละครึ่ง แบ่งออกเป็ น
1. โครงการคนละครึ่ง ระยะที่ 1 ระยะเวลาโครงการตังแต่
้ วนั ที่ 23 ตุลาคม 2563 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2563 ผู้ที่ได้ รับสิทธิจะ
ได้ รับวงเงินใช้ จ่ายจานวน 3,000 บาท มีประชาชนลงทะเบียน จานวน 10 ล้ านสิทธิ
2. โครงการคนละครึ่ง ระยะที่ 2 ระยะเวลาโครงการตังแต่
้ วนั ที่ 1 มกราคม 2564 ถึงวันที่ 31 มีน าคม 2564 ผู้ที่ได้ รับสิทธิจะ
ได้ วงเงินใช้ จ่าย 3,500 บาท มีประชาชนลงทะเบียน จานวน 5 ล้ านสิทธิ (มีเงื่อนไขต่าง ๆ เช่นเดียวกับระยะที่ 1)
3. โครงการคนละครึ่ง ระยะที่ 3 มีทงสิ
ั ้ ้น 3 รอบ
รอบที่ 1 ระยะเวลาโครงการตังแต่
้ วนั ที่ 1 กรกฎาคม 2564 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2564 ผู้ที่ได้ รับสิทธิจะได้ วงเงินใช้ จ่าย
1,500 บาท เปิ ดให้ ประชาชนลงทะเบียนจานวน 13 ล้ านสิทธิ
รอบที่ 2 ระยะเวลาโครงการตังแต่
้ วนั ที่ 1 ตุลาคม ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2564 ผู้ที่ได้ รับสิทธิจะได้ วงเงินใช้ จ่าย 1,500 บาท
เปิ ดให้ ประชาชนลงทะเบียนจานวน 119,974 สิทธิ
รอบที่ 3 ระยะเวลาโครงการตังแต่
้ วนั ที่ 1 พฤศจิกายน 2564 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2564 ผู้ที่ได้ รับสิทธิจะได้ วงเงินใช้ จ่าย
1,500 บาท เปิ ดให้ ประชาชนลงทะเบียนจานวน 119,974 สิทธิ ทัง้ นี ้ สาหรับผู้ที่ไม่เคยลงทะเบียนมาก่อนจะได้ รับวงเงินใช้
จ่ายรวมทังสิ้ ้น 4,500 บาท

ปั จจุบันโครงการคนละครึ่งมีผ้ ใู ช้ สิทธิสะสม 26.15 ล้ านสิทธิ ยอดใช้ จ่ายสะสม 172,820 ล้ านบาท แบ่งเป็ นส่วนที่ประชาชน
จ่ายสะสม 87,808 ล้ านบาท และรัฐร่ วมจ่ายสะสม 85,012 ล้ านบาท

อ้ างอิง https://library.parliament.go.th/th/radioscript-rr2564-dec1
“คนละครึ่ง” กับรู้สึกว่ า มีผลดีต่อเศรษฐกิจ
โครงการ “คนละครึ่ง” มาตรการกระตุ้นกาลังซื ้อที่รัฐบาลประกาศว่าจะขยายเฟสสองไปจนถึงเทศกาลตรุษจีนปี หน้ า หลังมีเสียง
ตอบรับคึกคักมากกว่ามาตรการอื่นๆ ที่รัฐบาลเคยออกมาก่อนหน้ าทัง้ ที่ใช้ งบประมาณน้ อยกว่า โดยจะเปิ ดให้ ลงทะเบียน “คน
ละครึ่งเฟสสอง” วันที่ 1 มกราคม 2564

หนึ่งในมุมสะท้ อนต่อโครงการคนละครึ่งคือ การสารวจความเห็นของพ่อค้ าแม่ค้าต่อโครงการคนละครึ่งในเขตกรุงเทพฯ และ


ปริมณฑล ระหว่างวันที่ 20-25 พฤศจิกายนที่ผ่านมา ของศูนย์วิจยั มหาวิทยาลัยกรุงเทพ หรือกรุงเทพโพลล์ ในประเด็น
ภาพรวมโครงการคนละครึ่ง ช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจให้ ประเทศมากน้ อยเพียงใด? ที่ 63.5% บอกว่าช่วยได้ ค่อนข้ างมากถึงมาก
ที่สดุ อีก 35.8% บอกว่าช่วยได้ ระดับปานกลาง และ 0.7% บอกว่า ช่วยได้ ค่อนข้ างน้ อยถึ งน้ อยที่สดุ

หรือคาถามที่ว่า “หากมีมาตรการโครงการคนละครึ่งอีกในปี หน้ าท่านจะเข้ าร่ วมโครงการหรือไม่? ปรากฏว่า 97.9% บอกว่าจะ


เข้ าร่วม 1.9% ไม่แน่ใจ และ 0.9% บอกว่าจะไม่เข้ าร่วม บ่งบอกถึงความรู้สึกที่ดีต่อโครงการซึ่งปรากฏน้ อยครัง้ ในช่วงที่ผ่านมา

สัปดาห์ที่แล้ วคุณพรชัย ฐี ระเวช ที่ปรึกษาด้ านเศรษฐกิจการเงิน สานักงานเศรษฐกิจการคลัง ในฐานะรองโฆษก


กระทรวงการคลัง ออกมาให้ ข้ อมูลว่า ณ วันที่ 27 พฤศจิกายน 2563 ตอนเที่ยงตรง มีร้านค้ าเข้ าร่วมโครงการแล้ วกว่า 8.5 แสน
ร้ านค้ า มีผ้ มู าใช้ สิทธิ 9,493,942 คน ยอดใช้ จ่ายสะสม 28,609 ล้ านบาท แบ่งเป็ นส่วนที่ประชาชนจ่ายเอง 14,599 ล้ านบาท
และรัฐร่วมจ่ายอีก 14,100 ล้ านบาท จังหวัดที่มีการใช้ จ่ายสะสมสูงสุด 5 อันดับแรกคือ กรุงเทพฯ สงขลา นครศรีธรรมราช สุ
ราษฎร์ ธานี และเชียงใหม่

หากเราย้ อนกลับไปดูมาตรกระตุ้นการบริโภคที่รัฐบาลประยุทธ์หนึ่งและสองขับเคลื่อนออกมานับจากเปิ ดตัว บัตรสวัสดิการ


แห่งรัฐในปี 2560 ตามด้ วยมาตรการ “ช้ อปช่วยชาติ” ที่กาหนดให้ นาค่าใช้ จ่ายจากกาชอปมาหักลดหย่อนภาษีได้ ไม่เกิน
15,000 บาท

ต่อมาในปี 2562 รัฐบาลประยุทธ์ภูมิใจนาเสนอ “ชิมช้ อปใช้ ” ที่ใช้ “เป๋ าตัง” เป็ นช่องทางมอบสิทธิสาหรับ การชอป 1,000 บาท
จานวน 10 ล้ านคน และเพิ่มแรงจูงใจ ให้ เกิดการบริโภคเพิ่มเติม ด้ วยการให้ ส่วนที่จบั จ่ายเกินสามารถใช้ เป็ นค่าใช้ จ่ายนามา
ลดหย่อนภาษีได้ เช่นไม่เกิน 30,000 บาท ได้ ชดเชยไม่เกิน 4,500 บาท เป็ นต้ น โดยร้ านค้ าที่เข้ าร่ วมโครงการมีทงค้
ั ้ าปลีกขนาด
ใหญ่ รวมทังร้้ านธงฟ้า

ชิมช้ อปใช้ กระแสค่อนข้ างดี รัฐบาลถึงกับต่อเฟสสอง เพิ่มจานวนผู้รับสิทธิอีก 3 ล้ านคน และเฟสสามมอบสิทธิใช้ เงินผ่านเป๋ า


ตัง 50,000 บาทสาหรับการท่องเที่ยว แต่เสียงตอบรับจากพ่อค้ าแม่ค้าตามตลาดสดเบามากเมื่อเทียบกับห้ างใหญ่
ในช่วงต้ นของวิกฤติโควิดรัฐบาลได้ จดั อภิมหามาตรกระตุ้นการบริโภค “เราไม่ทิ ้งกัน” แจกเงิน 3,000 บาท สามเดือนจานวน
15.3 ล้ านคน (เดิมตังใจจะแจกแค่
้ 3 ล้ านคน เตรี ยมงบฯ ไว้ 45,000 ล้ านบาท) แจกให้ เกษตรกร 10 ล้ านครัวเรือน ครัวเรือนละ
5,000 บาทสามเดือนเช่นเดียวกัน และยังมอบให้ กลุ่มเปราะบาง ผู้สงู อายุ คนพิการอีก 6.7 ล้ านคน คนละ1,000 บาทสาม
เดือน

กลางปี ที่ผ่านมา มีโครงการ “เราเที่ยวด้ วยกัน” ซึ่งรัฐบาลส่งเสริมให้ คนเดินทางท่องเที่ยว เช่น อุดหนุนค่าที่พกั 40 % ค่าอาหาร
600 บาทต่อวัน และโครงการให้ กาลังใจ อสม. (อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่บ้าน) แนวหน้ าซึ่งทาหน้ าที่เฝ้าระวังการระบาดของ
โควิด-19ในชุมชน รวมงบประมาณที่ใส่ไปประมาณ 22,400 ล้ านบาท

ก่อนมาปิ ดท้ ายปี ด้วยโครงการคนละครึ่ง ซึ่งออกมาพร้ อมๆ กับโครงการ เติมเงินผ่านบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ ด้ วยการเพิ่มเงินอีก


500 บาทต่อคน 3 เดือน (ต.ค.-ธ.ค.63) จากเดิมที่รับ 200-300 บาทต่อเดือนเพิ่มเป็ น 700-800 บาท/เดือน งบประมาณ 21,000
ล้ านบาท และโครงการช้ อปดีมีคืน ชอปปิ งแล้ วนาค่าใช้ จ่ายไปหักลดหย่อนภาษีได้ ไม่เกิน 30,000 บาท

ข้ อสังเกตคือ ตลอด 2 ปี เศษที่ผ่านมานับจากรัฐบาลประยุทธ์หนึ่งสู่รัฐบาลประยุทธ์สอง แม้ รัฐบาลโหมอัดโครงการกระตุ้น การ


บริโภคอย่างต่อเนื่อง แต่เสียงบ่นเรื่องกาลังซื ้อหายไปและเศรษฐกิจฝื ดเคืองยังออกมาจากกลุ่มคนฐานรากอย่างต่อเนื่อง พ่อค้ า
แม่ค้าคนทามาหากินพูดเป็ นเสียงเดียวกันว่า “เงียบ” ทังที
้ ่จีดีพีในช่วงที่ผ่านมาเติบโตพอสมควร และมาตรการกระตุ้นแต่ละชุด
ใช้ งบประมาณมหาศาล ซึ่งต่างจากมาตรการ “คนละครึ่ง” กลับมีเสียงตอบรับดังกว่ามาตรการอื่น และให้ ความรู้สึกกับพ่อค้ า
แม่ค้าส่วนใหญ่ว่า “ช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจได้ มากถึงมากที่สดุ ” ตามที่กรุงเทพโพลล์สารวจความคิดเห็นมา และเสียงสะท้ อนผ่าน
สื่อต่างๆ ตลอดสัปดาห์ที่ผ่านมา

การที่โครงการ “คนละครึ่ง” ให้ ความรู้สึกว่าน่าจะมีผลดีต่อเศรษฐกิจน่าจะมาจาก 5 ปั จจัย คือ

หนึ่ง โครงการทาให้ เกิดการบริโภคทันที (ต่างจากเงินที่เติมผ่านบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ)

สอง กิจกรรมนี ้ลงไปถึงร้ านแผงลอย มากที่สดุ หากเปรียบเทียบกับมาตรการอื่นๆ ที่รัฐบาลเคยออกมา

สาม การที่รัฐอุดหนุนค่าใช้ จ่าย “ครึ่งหนึ่ง” เท่ากับเติมเงินเข้ ากระเป๋ าผู้ซื ้อและผู้ขายในเวลาเดียวกัน

สี่ คือประสบการณ์ด้านไอทีของกลุ่มคนฐานรากจากการซื ้อขายโดยไม่ใช้ เงินสดช่วยสร้ างบรรยากาศการค้ าการขายที่


แปลกใหม่ขึ ้นมา

ห้ า โครงการคนละครึ่ง ให้ สิทธิกับกิจการของคนตัวเล็กเท่านั ้น ต่างจากโครงการกระตุ้นการบริโภคอื่นๆ ที่เปิ ดให้ ราย


ใหญ่ทงค้ั ้ าปลีกทันสมัย ร้ านสะดวกซื ้อ ธุรกิจใหญ่ เข้ าร่วมโครงการ คนที่รับสิทธิชิมช้ อปใช้ จึงเลือกชอปในห้ างใหญ่
มากกว่าเพราะคุ้นเคย
บทเรียนจากกรณีคนละครึ่ง บอกเราว่า การกระตุ้นให้ ได้ ทงผลบวกต่
ั้ อจีดีพีและคนฐานรากได้ ประโยชน์ ต้ องยึดคนส่วนใหญ่
เป็ นฐาน ทาให้ เกิดการบริโภคทันที ใช้ ไอทีให้ เป็ นประโยชน์ และต้ องล้ วงเงินจากกระเป๋ าประชาชนมาเสริมงบกระตุ้นของรัฐอีก
แรงด้ วย ความคึกคักจึงจะปรากฏ

อ้ างอิง https://thaipublica.org/2020/11/chittisak-nuntapanich05/
นั ก เศรษฐศาสตร์ มธ. ชี โ้ ครงการคนละครึ่ ง กระตุ้ น เศรษฐกิ จ – ผู้ ค้ า ราย
ย่ อ ยได้ ป ระโยชน์

นักเศรษฐศาสตร์ ธรรมศาสตร์ หนุนเดินหน้ า ‘โครงการคนละครึ่ง’ ระบุ เป็ นมาตรการที่กระตุ้นเศรษฐกิจได้ จริง เม็ดเงินลงถึงผู้ค้า


รายย่อยที่ได้ รับผลกระทบโควิด-19 รุนแรง เสนอรัฐคลอดมาตรการเพิ่มเติม โฟกัสธุรกิจท่องเที่ยวขนาดเล็ก ชงปล่อยสินเชื่อ-
ช่วยจ่ายค่าแรงลูกจ้ าง ต่อลมหายใจกิจการขนาดเล็ก

ภาวิน ศิริประภานุกูล คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) เปิ ดเผยว่า ผลกระทบจากวิกฤตโควิด -19 ครัง้ นี ้ไม่ได้
กระทบกับทุกคนในระดับที่เท่ากัน แต่ผลกระทบหลักกระจุกอยู่กับภาคการท่องเที่ยว ร้ านอาหาร ค้ าส่ง -ค้ าปลีก โดยผู้ที่ได้ รับ
ผลกระทบรุนแรงคือคนตัวเล็ก กลุ่มผู้ค้ารายย่อย ผู้ประกอบอาชีพอิสระ ซึ่งมีความสามารถและทรัพยากรในการข้ ามผ่านวิกฤต
ได้ น้อยกว่าผู้ค้ารายใหญ่

ทังนี
้ ้จึงมองว่าโครงการคนละครึ่งซึ่งเป็ นหนึ่งในมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจนั ้นออกแบบมาค่อนข้ างดี สามารถจูงใจให้ เกิดการใช้
จ่ายได้ จริง เพราะผู้ซื ้อจะรู้สึกว่าราคาสินค้ าถูกลงครึ่งหนึ่ง ขณะเดียวกันด้ วยข้ อกาหนดที่ไม่เปิ ดให้ กิจการรายใหญ่เข้ าร่วม
โครงการยิ่งทาให้ เม็ดเงินกระจายลงสู่กิจการรายย่อยได้ เป็ นอย่างดี

ภาวิน กล่าวว่า สาเหตุที่โครงการคนละครึ่งค่อนข้ างมีประสิทธิภาพ ส่วนสาคัญเป็ นเพราะการใช้ นโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจ


ในช่วงที่เกิดภาวะวิกฤต ซึ่งนโยบายจะมีประสิทธิภาพมากกว่าในสภาวะปกติ โดยมีการศึกษาของต่างประเทศที่ยืนยันว่า
ในช่วงปกติ การใช้ จ่ายของภาครัฐเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ 1 บาท จะส่งผลต่อเศรษฐกิจเพียง 0.7 บาท แต่ในช่วงวิกฤตหรือช่วงที่
เศรษฐกิจชะลอตัวอย่างรุนแรงนั ้น การกระตุ้นเศรษฐกิจ 1 บาท จะทาให้ เกิดการใช้ จ่ายหมุนเวียนเพิ่มเติมถึง 1.8-2.2 บาท
ฉะนั ้นประสิทธิภาพของนโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจจึงขึ ้นอยู่กับช่วงเวลาของการออกมาตรการ

“เมื่อเทียบกับมาตรการ “ชิม ช้ อป ใช้ ” ที่ออกในช่วงสถานการณ์ปกติ ถึงแม้ ว่าอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจจะต่าแต่ก็ยงั เป็ น


บวก ดังนั ้นมาตรการดังกล่าวจึงไม่ค่อยมีประสิทธิภาพนัก ขณะที่โครงการ “เราเที่ยวด้ วยกัน” แม้ ว่าผลประโยชน์จะตกอยู่กับ
ธุรกิจท่องเที่ยวจริง แต่กลับพบว่าส่วนลด 40% ทาให้ ราคาของโรงแรมขนาดใหญ่จูงใจมากกว่าโรงแรมขนาดเล็ก สุดท้ ายจึงเกิด
ผลกระทบข้ างเคียงที่รัฐไม่ได้ ตงใจ
ั ้ คือกลุ่มธุรกิจขนาดใหญ่จะได้ เปรี ยบมากกว่า” ผศ.ดร.ภาวิน กล่าว
ทังนี
้ ้ โดยสรุปแล้ วจึงเชื่อว่าโครงการ “คนละครึ่ง” ถูกออกแบบมาได้ ดี เป็ นการใช้ จ่ายของภาครัฐในช่วงเวลาที่มีประสิทธิภาพ
และสามารถกระตุ้นเศรษฐกิจได้ ดีขึ ้นอย่างเห็นผล ทาให้ เม็ดเงินลงไปถึงกลุ่มคนรายย่อยซึ่งเป็ นกลุ่มที่ได้ รับผลกระทบจาก
วิกฤตอย่างรุนแรงได้ จริง
ภาวิน กล่าวว่า โครงการเพิ่งเริ่มต้ นจึงอาจยังไม่เห็นผลกระทบหรือมีข้อมูลเพียงพอที่จะประเมินผลได้ ทงหมด
ั้ จึงจาเป็ นต้ องมี
การศึกษาเพิ่มเติม ส่วนการดาเนินโครงการเฟส 2 นั ้น ก็สามารถทาต่อได้ เพื่อให้ เกิดประโยชน์อย่างเต็มที่ โดยอาจให้ สิทธิคน
กลุ่มใหม่ก่อน และหากยังเหลือก็เพิ่มให้ กับคนกลุ่มเดิมได้

สาหรับมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจหลังจากนี ้ ภาวิน กล่าวว่า ควรเพิ่มเติมหรือให้ ความสาคัญกับธุรกิจรายย่อย เช่น การออก


มาตรการช่วยเหลือภาคการท่องเที่ยวรายย่อยที่มีการพึ่งพานักท่องเที่ยวชาวต่างชาติเป็ นหลัก รวมถึงภาคท่องเที่ยวรายย่อยที่
อาจยังไม่สามารถปรับธุรกิจหรือสินค้ าของตัวเองให้ เข้ ากับรสนิยมคนไทยได้ โดยอาจจัดเป็ นกิจ กรรมกระตุ้นการท่องเที่ยวให้ คน
ไทยเที่ยวไทยกันเองในแหล่งท่องเที่ยวที่เคยได้ รับความนิยมจากชาวต่างชาติมากขึ ้น

นอกจากนี ้ ควรออกมาตรการอื่นๆ ควบคู่กันไป เช่น สนับสนุนแหล่งเงินทุนดอกเบีย้ ต่าให้ กลุ่มธุรกิจรายย่อยที่ปัจจุบนั อาจยัง


เข้ าไม่ถึง โดยจะต้ องลดเงื่อนไขต่างๆ ลงให้ ได้ มากที่สดุ หรือการช่วยจ่ายค่าจ้ างให้ กับแรงงานในกิจการขนาดเล็กเพื่อให้
สามารถจ้ างแรงงานต่อไปได้ รวมถึงมาตรการที่รัฐกาลังพิจารณาทดลองอยู่อย่าง Travel Bubble ที่จะต้ องทาต่อและขยายวง
ทดลองต่อไปเรื่อยๆ เช่นกัน

อ้ างอิง https://voicetv.co.th/read/cNHaW5D1J

You might also like