You are on page 1of 35

ความหมาย ตาม ป.พ.พ.

มาตรา 680 “อันว่ าคา้


ประกันนั้น คือสั ญญาซึ่งบุคคลภายนอกคนหนึ่ง
เรี ยกว่ าผ้ คู า้ ประกัน ผูกพันตนต่ อเจ้ าหนี้คนหนึ่ง
เพื่อชาระหนีใ้ นเมื่อลกู หนี้ไม่ ชาระหนี้น้ นั
อนึ่ง สั ญญาคา้ ประกันนั้น ถ้ ามิได้ มีหลักฐาน
เป็ นหนังสื ออย่ างใดอย่ างหนึ่งลงลายมื อชื่ อผ้ คู า้
ประกันเป็ นสาคัญ ท่ านว่ าจะฟ้องร้ องให้ บังคับคดี
หาได้ ไม่ ”
สาระสาคัญของสั ญญาคา้ ประกัน
1.เป็ นสั ญญาระหว่ างเจ้ าหนีก้ บั ผ้ ูคา้ ประกัน
2.เป็ นสั ญญาที่มีวัตถุประสงค์เพื่อประกันหนี้
ก.ลักษณะของหนีท้ ี่ประกัน หนีอ้ นั สมบรู ณ์ หนีใ้ น
อนาคต หนีม้ ีเงื่อนไข หนีอ้ นั เกิดแต่ สัญญาซึ่งไม่ ผูกพัน
ลกู หนีเ้ พราะทาด้ วยความสาคัญผิดหรื อเพราะเป็ นคนไร้
ความสามารถ
3.เป็ นสั ญญาที่ไม่ ต้องทาตามแบบ
ผ้ ค
ู า้ ประกันต้ องรั บผิดเพื่อหนีอ้ ะไรบ้ าง
1.กรณีคา้ ประกันอย่ างไม่ มีจากัดนั้น ย่ อมคุ้มถึงดอกเบีย้
และค่าสิ นไหมซึ่งลกู หนี้ค้างชาระ
2.ผ้ คู า้ ประกันย่ อมต้ องรั บผิดเพื่อค่าฤชาธรรมเนียม ซึ่ง
ลกู หนีต้ ้ องใช้ ให้ แก่เจ้ าหนี้ แต่ ถ้าเจ้ าหนีฟ้ ้องคดีโดยมิได้
เรี ยกผ้ คู า้ ประกันชาระหนีน้ ้ นั ผ้ คู า้ ประกันก็ไม่ ต้องรั บผิด
3.เมื่อบังคับคดีตามสั ญญาคา้ ประกัน ถ้ าผ้ คู า้ ประกันไม่
ชาระหนีท้ ้ งั หมดของลกู หนี้ รวมทั้งดอกเบีย้ ค่าสิ นไหม
ทดแทน หนีเ้ หลือเท่ าใด ลกู หนีย้ ังคงต้ องรั บผิด
การคา้ ประกันแบบจากัดความรั บผิด เช่ น หนีม้ ีจานวน
10,000 บาท ผ้ คู า้ ประกันทาสั ญญาว่ า จะรั บผิดชดใช้ ให้
เพียง 5,000 บาท
การคา้ ประกันแบบไม่ จากัดความรั บผิด คือการที่ผ้ ค ู า้
ประกันรั บผิดเต็มตามจานวนหนีท้ ี่ลกู หนีต้ ้ องชาระคืน
แก่เจ้ าหนี้ เช่ น หนีม้ ีจานวน 10,000 บาท ผ้ คู า้ ประกันทา
สั ญญาว่ าจะรั บผิดทั้งหมดหากลกู หนี้ไม่ ชาระหนี้
ผลของสั ญญาคา้ ประกันก่อนการชาระหนี้
1.สิ ทธิของเจ้ าหนีใ้ นการเรี ยกให้ ผ้ คู า้ ประกันชาระหนี้
ก.เมื่อลกู หนีผ้ ิดนัดไม่ ชาระหนี้
ข.โดยหลักผ้ คู า้ ประกันไม่ ต้องรั บผิดถ้ าหนีย้ ังไม่ ถึง
กาหนดชาระ เว้ นแต่ ลกู หนีถ้ กู พิทักษ์ ทรั พย์ ในคดี
ล้มละลาย,ลกู หนีไ้ ม่ ให้ ประกันไว้ ,ลกู หนี้ได้ ทาลายหรื อทา
ให้ ลดน้ อยถอยลงซึ่งประกันอันได้ ให้ ไว้ ,ลกู หนีน้ า
ทรั พย์ สินของบคุ คลอื่นมาให้ ประกัน
1.สิ ทธิของผ้ คู า้ ประกันในการประวิงเวลา
ก.เมื่อเจ้ าหนีท้ วงให้ ผ้ คู า้ ประกันชาระหนี้ ผ้ คู า้
ประกันจะขอให้ เรี ยกลกู หนีช้ าระก่อนก็ได้
ข.ถ้ าผ้ คู า้ ประกันพิสูจน์ ได้ ว่าลกู หนีน้ ้ นั มีทางที่จะ
ชาระหนีไ้ ด้
ค.เมื่อเจ้ าหนีม้ ีทรั พย์ ของลกู หนีย้ ึดถือไว้ ผ้ คู า้
ประกันจะร้ องขอให้ เจ้ าหนีช้ าระหนี้จากทรั พย์ ประกัน
นั้นก่อน
ง.ผ้ คู า้ ประกันต้ องรั บผิดร่ วมกันกับลกู หนี้ ผ้ คู า้
ประกันไม่ มีสิทธิตาม ข้ อ ก. ข. และ ค.
ผลของสั ญญาคา้ ประกันในเรื่ องอายุความ
อายคุ วามสะดดุ หยดุ ลงเป็ นโทษแก่ลกู หนีน้ ้ ัน ย่ อมเป็ น
โทษแก่ผ้ คู า้ ประกันด้ วย เช่ น ก ยืมเงิน ข จานวน 10,000
บาท และมี ค เป็ นผ้ คู า้ ประกัน หนีใ้ กล้ขาดอายคุ วามแล้ว
ก ไปทาหนังสื อรั บสภาพหนี้กบั ข เป็ นเหตทุ าให้ อายุ
ความสะดดุ หยดุ ลง ดังนั้น อายคุ วามของ ค ก็ต้องสะดดุ
หยดุ ลงด้ วย
การหลด
ุ พ้นจากความรั บผิดชอบของผ้ คู ้าประกัน
1.เพราะการกระทาของลกู หนีท้ าให้ ผ้ ูคา้ ประกันไม่ อาจ
รั บช่ วงสิ ทธิได้ ท้ งั หมดหรื อแต่ บางส่ วน
2.ถ้ าหนีม้ ีกาหนดชาระที่แน่ นอน แต่ เจ้ าหนีย้ อมผ่ อน
เวลาให้ กบั ลกู หนี้ ผ้ คู า้ ประกันก็หลดุ พ้นความรั บผิด
3.ผ้ คู า้ ประกันขอชาระหนี้ ถ้ าเจ้ าหนีไ้ ม่ ยอมรั บชาระหนี้
ผ้ คู า้ ประกันก็หลดุ พ้นจากความรั บผิด
ผลของสั ญญาคา้ ประกันหลังจากการชาระหนี้
เมื่อผ้ คู า้ ประกันชาระหนีแ้ ทนลกู หนี้ไปแล้ว อาจเกิดผล
ต่ อผ้ คู า้ ประกันดังต่ อไปนี้
1.ผ้ คู า้ ประกันซึ่งได้ ชาระหนีแ้ ล้ว ย่ อมมีสิทธิไล่เบีย้ เพื่อ
ต้ นเงินกับดอกเบีย้ ที่ตนต้ องชาระไป ป.พ.พ. มาตรา 693
2.นอกจากข้ อต่ อส้ ู ที่ผ้ คู า้ ประกันที่มีต่อเจ้ าหนีแ้ ล้ว ผ้ คู า้
ประกันยังอาจยกข้ อต่ อส้ ู ท้ งั หลายที่ลกู หนีม้ ีต่อเจ้ าหนี้
ขึน้ ต่ อส้ ู ได้ ด้วย ป.พ.พ. มาตรา694
3.ผ้ คู า้ ประกันละเลยไม่ ยกข้ อต่ อส้ ู ของลูกหนีข้ นึ้ ต่ อส้ ู
เจ้ าหนีท้ ่ านว่ าย่ อมสิ้นสิ ทธิที่จะไล่ เบีย้ จากลูกหนีเ้ ท่ าที่ไม่
ยกข้ อต่ อส้ ู น้ นั เว้ นแต่ ผ้ คู า้ ประกันไม่ ร้ ู ว่ามีข้อต่ อส้ ู
เช่ นนั้น และเหตุที่ไม่ ร้ ู ไม่ ใช่ ความผิดของผ้ ูคา้ ประกัน
ด้ วย ป.พ.พ. มาตรา 695
4.ผ้ คู า้ ประกันไม่ มีสิทธิไล่เบีย้ หากว่ า ตนได้ ชาระหนี้
แทนไปโดยไม่ ได้ บอกลกู หนี้ และลกู หนีย้ ังไม่ ร้ ู แล้วมา
ชาระหนีซ้ ้าอีก ผ้ คู า้ ประกันได้ แต่ เพียงฟ้องเจ้ าหนี้เรี ยก
คืนฐานลาภมิควรได้ เท่ านั้น ป.พ.พ. มาตรา 696
ความระงับสิ้นไปแห่ งการคา้ ประกัน
1.ผ้ คู า้ ประกันหลดุ พ้นความรั บผิดในขณะเมื่ อหนีข้ อง
ลกู หนีร้ ะงับสิ้นไปไม่ ว่าเพราะเหตใุ ดๆ ป.พ.พ. มาตรา 698
2.การคา้ ประกันเนื่องกันไปหลายคราวไม่ มีจากัดเวลาเป็ น
คุณแก่เจ้ าหนีน้ ้ นั ผ้ คู า้ ประกันไม่ ต้องรั บผิดหนีท้ ี่เกิดใน
อนาคต โดยบอกกล่าวความประสงค์น้ นั แก่เจ้ าหนี้
ป.พ.พ. มาตรา699
ความหมายของสั ญญาจานอง
ป.พ.พ. มาตรา 702 “อันว่ าจานองนั้น คือสั ญญาซึ่งบุคคลคน
หนึ่งเรียกว่ าผ้จู านอง เอาทรัพย์สินตราไว้ แก่ บคุ คลอีกคน
หนึ่ง เรียกว่ าผ้รู ับจานอง เป็ นการประกันการชาระหนี้ โดยไม่
ส่ งมอบทรัพย์สินนั้นให้ แก่ ผ้รู ับจานอง
ผ้รู ับจานองชอบที่จะได้ รับชาระหนี้จากทรัพย์สินที่
จานองก่ อนเจ้ าหนี้สามัญ มิพกั ต้องพิเคราะห์ ว่ากรรมสิ ทธิ์ใน
ทรัพย์สินจะโอนไปยังบุคคลภายนอกแล้ วหรื อไม่ ”
สาระสาคัญของสั ญญาจานอง
1.เป็ นสั ญญาระหว่ างผ้จู านองกับผ้รู ับจานอง โดยผ้จู านอง
อาจจะเป็ นตัวลูกหนี้เองหรื อบุคคลภายนอกก็ได้
2.เป็ นการเอาทรัพย์สินตราไว้ กับผ้รู ับจานอง ดังนั้น
ทรัพย์สินที่จะจานองได้ น้ัน ได้ แก่ อสั งหาริมทรัพย์ หรื อ
สั งหาริมทรัพย์พเิ ศษ
3.การตราทรัพย์สินนั้น เพื่อเป็ นการประกันการชาระหนี้ คือ
ถ้ าลูกหนี้ไม่ ชาระหนี้เจ้ าหนี้มีสิทธิบังคับชาระหนี้จาก
ทรัพย์สินที่จานองก่ อนเจ้ าหนี้สามัญรายอื่น
4.เป็ นสั ญญาที่มีแบบ คือทาเป็ นหนังสื อและจดทะเบียนต่อ
พนักงานเจ้ าหน้ าที่
สิ ทธิจานองครอบทรั พย์ สินเพียงใด
1.ขอบเขตของหนีท้ ี่ประกัน คือ ต้ นเงิน ค่าดอกเบีย้ ค่า
สิ นไหมทดแทน ค่าฤชาธรรมเนียมในการบังคับจานอง
2.สิ ทธิจานองย่ อมครอบคลุมไปถึงทรั พย์ สินอื่นบาง
ประการ เช่ น จานองบ้ านย่ อมครอบไปถึงโรงจอด
รถยนต์ ด้วย
ข้ อยกเว้ นที่สิทธิจานองครอบไปไม่ ถึง
1.จานองที่ดินไม่ ครอบไปถึงโรงเรื อนอันผ้ ูจานองปลูก
สร้ างลงในที่ดินภายหลังวันจานอง เว้ นแต่ ตกลงกันไว้
โดยเฉพาะว่ าให้ ครอบไปถึง
2.จานองโรงเรื อน หรื อสิ่ งปลกู สร้ างอย่ างอื่นซึ่งทาไว้ บน
ที่ดินนั้น สิ ทธิจานองย่ อมไม่ ครอบไปถึงที่ดินนั้น
3.จานองย่ อมไม่ ครอบไปถึงดอกผลแห่ งทรั พย์ สินซึ่ง
จานอง เว้ นแต่ จะได้ ตกลงกันไว้ ว่าผ้ รู ั บจานองต้ องการ
จะบังคับจานองครอบไปถึงด้ วย
สิ ทธิและหน้ าที่ความรั บผิดของผ้ รู ั บจานองและผ้ จ
ู านอง
สิ ทธิของผ้ รู ั บจานอง
1.ให้ ลกู หนีล้ บทะเบียนภาระจายอม ถ้ าเป็ นการจด
ทะเบียนภาระจายอมภายหลังจากการจดทะเบียนจานอง
แล้ว
2.บังคับจานองก่อนหนีถ้ ึงกาหนดชาระ เพราะถ้ าปล่อย
ทิง้ ไว้ อาจเกิดผลเสี ยหายแก่ผ้ รู ั บจานอง
สิ ทธิของผ้ จ
ู านอง
1.เรี ยกให้ ลกู หนีใ้ ช้ เงินคืน ป.พ.พ. มาตรา 724 วรรค1
2.แต่ ถ้าต้ องถกู บังคับจานอง ท่ านว่ าผ้ จู านองชอบที่จะ
ได้ รับเงินใช้ คืนตามจานวนซึ่งผ้ รู ั บจานองได้ รับใช้ หนีจ้ าก
การบังคับจานอง ป.พ.พ. มาตรา 724 วรรค2
3.ถ้ ามีผ้ จู านองหลายคนและไม่ ได้ ระบุลาดับการจานองไว้
ผ้ จู านองคนที่ถูกบังคับจานองไม่ มีสิทธิไล่เบีย้ จากผ้ ู
จานองรายอื่น เว้ นระบุลาดับไว้ ก็ให้ สิทธิบงั คับจานองเอา
จากทรั พย์ ของผ้ จู านองที่จานองทรั พย์ ก่อน
5.ถ้ าเป็ นบุคคลภายนอกจานองเป็ นประกันหนี้ของลูกหนี้ ผู้
จานองมีสิทธิดังนี้
5.1ถ้ าผ้จู านองไม่ อาจรับช่ วงสิ ทธิได้ ท้งั หมดหรื อแต่
บางส่ วน เพราะการกระทาของลูกหนี้ ผ้จู านองหลุดพ้นจาก
ความรับผิดเท่ าที่ตนเสี ยหาย
5.2ถ้ าเจ้ าหนี้ยอมผ่อนเวลาให้ แก่ ลูกหนี้เมื่ อหนี้ถึง
กาหนดชาระ โดยผ้จู านองไม่ ได้ รู้ เห็นด้ วย ผ้จู านองหลุดพ้น
จากความรับผิด
5.3เมื่อหนี้ถึงกาหนดชาระและผ้จู านองขอชาระหนี้ แต่
ผ้รู ับจานองไม่ ยอมรับชาระหนี้ ผ้จู านองหลุดพ้นความรับผิด
การบังคับจานอง
คือ การที่เจ้ าหนีบ้ ังคับชาระหนีจ้ ากทรั พย์ สินที่นามา
จานองโดยอาจจะ
1.ยื่นฟ้องต่ อศาลเพื่อขอให้ ศาลพิพากษาให้ ยึดทรั พย์ สิน
ที่จานองออกขายทอดตลาดแล้ว ปรากฏว่ า ได้ เงินสุทธิ
น้ อยกว่ าจานวนเงินที่ลกู หนี้เป็ นหนีอ้ ย่ ู ลกู หนีไ้ ม่ จาต้ อง
รั บผิดในเงินที่ขาดอย่ นู ้ นั หรื อ
2.ขอให้ ศาลสั่ งบังคับให้ ทรั พย์ สินที่จานองหลดุ เป็ นของ
เจ้ าหนี้
วิธีการบังคับจานอง
1.เอาทรั พย์ สินที่จานองออกขายทอดตลาด ป.พ.พ. มาตรา
728 ต้ องปฏิบัติดังนี้
ก.ผ้ รู ั บจานองต้ องมีมีจดหมายบอกกล่าวไปยังลูกหนี้
ก่อนว่ าให้ ชาระหนีภ้ ายในเวลาอันสมควร ซึ่งกาหนดในคา
บอกกล่าวนั้น
ข.ถ้ าและลกู หนีล้ ะเลยไม่ ปฏิบัติตามคาบอกกล่าว
ผ้ รู ั บจานองจะฟ้องคดีต่อศาล เพื่อให้ พพิ ากษาสั่ งให้ ยึด
ทรั พย์ สินซึ่งจานองและให้ ขายทอดตลาดได้
2.ให้ ทรั พย์ จานองหลดุ เป็ นสิ ทธิของตน โดยมีเงื่อนไข 3
ประการ ตาม ป.พ.พ. มาตรา 729
ก.ลกู หนีข้ าดส่ งดอกเบีย้ มาแล้ วเป็ นเวลาถึง 5 ปี
ข.ผ้ จู านองไม่ ได้ แสดงให้ เป็ นที่พอใจแก่ศาลว่ าบรรดา
ทรั พย์ สินนั้นท่ วมจานวนเงินอันค้างชาระ และ
ค.ไม่ มีการจานองรายอื่น หรื อบุริมสิ ทธิอนื่ ได้ จด
ทะเบียนไว้ เหนือทรั พย์ สินอันเดียวกัน
การเอาทรั พย์ จานองหลดุ เป็ นการบังคับจานอง
ดังนั้นต้ องมีการบอกกล่าวไปยังลูกหนีใ้ ห้ ชาระหนี้ก่อน
ตาม ป.พ.พ.มาตรา 728 ด้ วย
ทรั พย์ สิ่งเดียวแต่ มีผ้ รู ั บจานองหลายคน
1.ให้ ถือลาดับผ้ รู ั บจานองเรี ยงตามวันและเวลาจด
ทะเบียน ป.พ.พ. มาตรา 730
2.ผ้ รู ั บจานองคนหลังจะบังคับจานองให้ เสี ยหายแก่ผ้ รู ั บ
จานองคนก่อนนั้นไม่ ได้ ป.พ.พ. มาตรา 731
3.ทรั พย์ สินซึ่งจานองขายทอดตลาดได้ เงินเป็ นจานวน
สุทธิเท่ าไร ให้ จัดใช้ แก่ผ้ รู ั บจานองเรี ยงตามลาดับและถ้ า
ยังมีเงินเหลืออย่ อู กี ก็ให้ ส่งมอบแก่ผ้ ูจานอง ป.พ.พ.
มาตรา 732
ทรั พย์ สินหลายสิ่ งแต่ มีผ้ รู ั บจานองคนเดียว
1.ในกรณีมีการระบลุ าดับของทรั พย์ ที่จานองไว้ ผ้ รู ั บ
จานองต้ องใช้ สิทธิบังคับจานองแก่ทรั พย์ ที่จานอง
ตามลาดับก่อนหลัง
2.ในกรณีไม่ ได้ ระบุลาดับทรั พย์ ที่จานองไว้ ผ้ รู ั บจานอง
จะใช้ สิทธิบังคับเอาทรั พย์ สินที่จานองทุกชิ้น หรื อแต่ บาง
ชิ้นก็ได้ แต่ จะบังคับเกินกว่ าที่จาเป็ นเพื่อใช้ หนีข้ องตน
ไม่ ได้ และภาระที่ทรั พย์ สินแต่ ละชิ้นจะต้ องรั บใช้ กนั ไป
ตามส่ วนแห่ งราคาทรั พย์ สินนั้น
3.ถ้ าผ้ รู ั บจานองใช้ สิทธิของตน บังคับแก่ทรั พย์ สินอันใด
อันหนึ่งแต่ เพียงสิ่ งเดียว ผ้ รู ั บจานองจะให้ ชาระหนีอ้ นั
เป็ นส่ วนของตนทั้งหมดจากทรั พย์ สินอันนั้นก็ได้ กรณี
เช่ นนั้นท่ านให้ ถือว่ าผ้ รู ั บจานองคนถัดไปโดยลาดับย่ อม
เข้ ารั บช่ วงสิ ทธิของผ้ รู ั บจานองคนก่ อน ซึ่งผ้ รู ั บจานอง
คนก่อนจะพึงได้ รับจากทรั พย์ สินอื่นๆ ป.พ.พ. มาตรา
734
ผ้ จ
ู านองโอนกรรมสิ ทธิ์ในทรั พย์ ที่จานองไปให้ แก่
บคุ คลภายนอก
สิ ทธิและหน้ าที่ของผ้ รู ั บโอน
สิ ทธิของผ้ รู ั บโอนทรั พย์ สินซึ่งจานองจะไถ่ ถอนจานองก็
ได้ หรื อถ้ าผ้ รู ั บโอนได้ ทาให้ ทรั พย์ สินซึ่งจานองเสื่ อม
ราคาลงเพราะการกระทาหรื อความประมาทเลินเล่อแห่ ง
ตนเป็ นเหตใุ ห้ เจ้ าหนีต้ ้ องเสี ยหาย ท่ านว่ าผ้ รู ั บโอน
จะต้ องรั บผิดเพื่อความเสี ยหายนั้น
ความระงับสิ้นไปแห่ งสั ญญาจานอง (ป.พ.พ.มาตรา 744)
1.เมื่อหนีท้ ี่ประกันระงับสิ้นไปด้วยเหตุประการอื่นอันไม่ ใช่
อายคุ วาม เช่ น ระงับด้วยการชาระหนี้ ปลดหนี้
2.เมื่อปลดจานองให้ แก่ ผ้ จู านองด้วยหนังสื อเป็ นสาคัญ
3.เมื่อผ้ จู านองหลุดพ้ น เช่ น ผ้ รู ับจานองผ่ อนเวลาให้ ลูกหนี้
4.เมื่อถอนจานอง
5.เมื่อขายทอดตลาดทรัพย์สินที่จานองตามคาสั่ งศาล
6.เมื่อเอาทรัพย์สินซึ่งจานองหลุดเป็ นสิ ทธิแก่ ตน คือผ้ รู ับ
จานองเป็ นเจ้ าของทรัพย์สินที่จานองนั้น
ความหมายของสั ญญาจานา
ตาม ป.พ.พ. มาตรา747 “อันว่ าจานานั้น คือสั ญญา
ซึ่งบุคคลคนหนึ่งเรี ยกว่ าผ้ ูจานา ส่ งมอบทรั พย์ สิน
สิ่ งหนึ่งให้ แก่บุคคลอีกคนหนึ่ง เรี ยกว่ าผ้ รู ั บจานา
เพื่อเป็ นการประกันหนี”้
สาระสาคัญของสั ญญาจานามีดังนี้
1.เป็ นสั ญญาระหว่ างผ้ รู ั บจานากับผ้ จู านา ผ้ รู ั บจานาคือ
เจ้ าหนี้ ส่ วนตัวผ้ จู านาจะเป็ นลกู หนี้เองหรื อ
บคุ คลภายนอกก็ได้
2.เป็ นสั ญญาที่มีวัตถุประสงค์เพื่อประกันการชาระหนี้
เมื่อลกู หนีไ้ ม่ ชาระหนี้ เจ้ าหนีก้ ส็ ามารถบังคับจานาเพื่อ
นามาชาระหนีไ้ ด้
3.เป็ นสั ญญาที่กฎหมายบังคับให้ ส่งมอบทรั พย์ ซึ่งจานา
ให้ แก่เจ้ าหนีผ้ ้ รู ั บจานา
จานาครอบคลม
ุ เพียงใด
1.ดอกเบีย้
2.ค่าสิ นไหมทดแทนในการไม่ ชาระหนี้
3.ค่าฤชาธรรมเนียมในการบังคับจานา เช่ าค่าธรรมเนียม
ในการขายทอดตลอด
4.ค่าใช้ จ่ายในการรั กษาทรั พย์ สินที่จานา
5.ค่าสิ นไหมทดแทนเพื่อความเสี ยหายอันเกิดแต่ ความ
ชารุดบกพร่ องแห่ งทรั พย์ สินจานา
สิ ทธิและหน้ าที่ของผ้ รู ั บจานา
1.ยึดของจานาไว้ จนกว่ าจะได้ รับชาระหนีท้ ้ ังหมด ป.พ.พ.
มาตรา 758
2.รั กษาทรั พย์ สินที่จานาไว้ ป.พ.พ. มาตรา 759
3.รั บผิดเมื่อทรั พย์ สินที่จานานั้นสูญหายหรื อบุบสลาย
ป.พ.พ. มาตรา 760
4.จัดสรรดอกผลที่เกิดจากทรั พย์ สินนั้น ป.พ.พ.
มาตรา 761
5.มีสิทธิได้ ค่าใช้ จ่ายในการบารุงรั กษาทรั พย์ สินที่จานา
ป.พ.พ. มาตรา 762
6.มีสิทธิฟ้องคดี ป.พ.พ. มาตรา 763 กาหนดให้ ต้องฟ้อง
ภายใน 6 เดือน นับแต่ สิ้นสุดสั ญญาจานา หรื อขาย
ทอดตลาดทรั พย์ สินจานา
การบังคับจานา
1.เมื่อบังคับจานา ผ้ รู ั บจานาต้ องบอกกล่ าวเป็ นหนังสื อไป
ยังลกู หนีก้ ่อนว่ าให้ ชาระหนีภ้ ายในเวลาอันสมควร ซึ่ง
กาหนดให้ ในคาบอกกล่าวนั้น
2.ถ้ าลกู หนีล้ ะเลยไม่ ปฏิบัติตามคาบอกกล่าว ผ้ รู ั บจานา
ชอบที่จะเอาทรั พย์ สินซึ่งจานาออกขายได้ แต่ ต้องออก
ขายทอดตลาด ผ้ รู ั บจานาต้ องบอกเวลาและสถานทีข่ าย
ทอดตลาดให้ แก่ผ้ จู านาเอจะได้ เข้ าส้ ู ราคา
3.บังคับจานาได้ เงินสุทธิเท่ าไร ให้ จัดสรรชาระหนี้ และ
อปุ กรณ์ (ดอกเบีย้ ) ถ้ ามีเงินเหลือให้ ส่งคืนผ้ ูจานา
ถ้ ามีการจานาทรั พย์ หลายสิ่ งต่ อเจ้ าหนีร้ ายหนึ่งผ้ รู ั บ
จานาจะเลือกเอาทรั พย์ สินสิ่ งหนึ่งสิ่ งใดออกขายก็ได้ แต่
จะขายเกินกว่ าที่จาเป็ นเพื่อใช้ สิทธิแห่ งตนนั้นหาได้ ไม่
ความระงับแห่ งสั ญญาจานา
1.เมื่อหนีซ้ ึ่งจานาเป็ นประกันอย่ นู ้ ันระงับสิ้ นไป เพราะ
เหตุประการอื่น มิใช่ เพราะอายุความ เพราะหนีท้ ขี่ าดอายุ
ความไม่ ทาให้ สัญญาจานาระงับ กฎหมายยังให้ สิทธิผ้ รู ั บ
จานาที่จะบังคับจานาเอาทรั พย์ สินซึ่ งจานาชาระหนีไ้ ด้ แม้
หนีป้ ระธานขาดอายุความ
2.เมื่อผ้ รู ั บจานายอมให้ ทรั พย์ สินจานากลับคืนส่ ู ความ
ครอบครองผ้ จู านา

You might also like