You are on page 1of 35

Design for Earthquake

หลักการออกแบบอาคารสูงต้านแรงแผ่นดินไหว
และ ข้อกาหนดที่เกี่ยวข้อง

METHA CHAIYO
B.Eng. (Civil Engineering)
M.Eng. (Civil Engineering and
Construction Management)
M.Eng. (Structure Engineering)
Earthquake in Thailand

รอยเลือ่ นในไทย ระหว่างปี พ.ศ. 2548 – 2558 Thailand and its surrounding seismicity from 1912 to 2007

Source : Probabilistic seismic hazard assessment for Thailand 2


วัตถุประสงค์
เพื่อให้ผู้เข้าฟังบรรยายมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมาย
และมาตรฐานว่าด้วยการออกแบบอาคารต้านทานแรงสั่นสะเทือน
จากแผ่นดินไหวของประเทศไทย

กฎกระทรวง ปี 64 ประกาศ
กระทรวงมหาดไทยปี 64

3
กฎหมาย และ มยผ. ด้านแผ่นดินไหว

Ministry Law And


Department of Public Works and Town & Country
Planning Standard
ภาพรวม กฎหมาย และ มยผ. ด้านแผ่นดินไหว

5
แหล่งที่มาของข้อมูล :
กฎกระทรวงฯ แผ่นดินไหว พ.ศ. 2564
“บริเวณที่ 1” เป็นบริเวณหรือพื้นที่ที่ต้องเฝ้าระวัง
ได้แก่ กระบี่ ชุมพร ตรัง นครพนม นครศรีธรรมราช
บึงกาฬ ประจวบคีรีขันธ์ พิษณุโลก เพชรบุรี เลย
สงขลา สตูล สุราษฎร์ธานี และหนองคาย (รวม 14
จังหวัด)

“บริเวณที่ 2” เสี่ยงภัยในระดับปานกลาง ได้แก่


กรุงเทพมหานคร กาแพงเพชร ชัยนาท นครปฐม
นครสวรรค์ นนทบุรี ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา
พังงา ภูเก็ต ระนอง ราชบุรี สมุทรปราการ
สมุทรสงคราม สมุทรสาคร สุพรรณบุรี และ
อุทัยธานี (รวม 17 จังหวัด)

“บริเวณที่ 3” เสี่ยงภัยในระดับสูง ได้แก่


กฎกระทรวง ปี 64
กาญจนบุรี เชียงราย เชียงใหม่ ตาก น่าน พะเยา
แพร่ แม่ฮ่องสอน ลาปาง ลาพูน สุโขทัย และ
อุตรดิตถ์ (รวม 12 จังหวัด)

6
กฎกระทรวงฯ แผ่นดินไหว พ.ศ. 2564
อาคารที่บังคับตามกฎกระทรวงฯ (บริเวณที่ ๓/ บริเวณที่ ๑ และ ๒)
(๑/๑) อาคารที่จาเป็นต่อการช่วยเหลือและบรรเทาภัยหลังเกิดเหตุการณ์แผ่นดินไหว ได้แก่ สถานพยาบาลที่ รับผูป้ ่วยไว้ค้างคืน สถานีดับเพลิง อาคารศูนย์
บรรเทาสา ธารณภัย อาคารศูนย์สื่อสาร ท่าอากาศยาน โรงไฟฟ้า หรือโรงผลิตและเก็บน้าประปา
(๒/๒) คลังสินค้าที่ใช้เป็นสถานที่เก็บรักษาวัตถุอันตรายตามกฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตรายประเภทวัตถุระเบิดได้ วัตถุไวไฟ วัตถุมีพิษ หรือวัตถุกัมมันตรังสี
(๓/--) อาคารสาธารณะ
(--/๓) โรงมหรสพ หอประชุม ศาสนสถาน สนามกีฬา อัฒจันทร์ สถานีขนส่ง สถานบริการ หรือท่าจอดเรือ ที่มพี ื้นที อาคารตั้งแต่ ๖๐๐ ตารางเมตรขึน้ ไป
(--/๔) หอศิลป์ พิพิธภัณฑสถาน หรือสถานศึกษา ที่มีพื้นที่อาคารตั้งแต่ ๑,๐๐๐ ตารางเมตรขึ้นไป
(--/๕) หอสมุดที่มีพื้นที่อาคารตั้งแต่ ๒,๐๐๐ ตารางเมตรขึ้นไป
(--/๖) ตลาด ห้างสรรพสินค้า หรือศูนย์การค้า ที่มีพื้นที่อาคารตั้งแต่ ๑,๕๐๐ ตารางเมตรขึ้นไป
(--/๗) โรงแรม อาคารอยู่อาศัยรวม อาคารชุด หรือหอพัก ที่มีพื้นที่อาคารตั้งแต่ ๔,๐๐๐ ตารางเมตรขึน้ ไป
(--/๘) อาคารจอดรถที่มีพื้นทีอ่ าคารตั้งแต่ ๔,๐๐๐ ตารางเมตรขึน้ ไป
(๔/๙) สถานรับเลี้ยงเด็กอ่อน สถานให้บริการดูแลผู้สงู อายุ หรือสถานสงเคราะห์ผู้สูงอายุ (ที่มพี ื้นที่อาคารตั้งแต่ ๓๐๐ ตารางเมตรขึน้ ไป)
(๕/๑๐) เรือนจาตามกฎหมายว่าด้วยราชทัณฑ์
(๖/๑๑) อาคารขนาดใหญ่พิเศษ
(๗/๑๒) อาคารที่มคี วามสูงตั้งแต่ ๑๐ เมตร หรือ ๓ ชั้นขึ้นไป (๑๕ เมตร หรือ ๕ ชั้นขึ้นไป)
(๘/๑๓) สะพานหรือทางยกระดับที่มชี ว่ งระหว่างศูนย์กลางตอม่อยาวตั้งแต่ ๕ เมตร (๑๐ เมตร) ขึ้นไป รวมถึงอาคารที่ใช้ในการควบคุมการจราจรของสะพาน
หรือทางยกระดับดังกล่าว
(๙/๑๔) อุโมงค์ที่ใช้เป็นเส้นทางคมนาคมขนส่ง
(๑๐/๑๕) เขื่อนเก็บกักน้า เขื่อนทดน้า หรือฝายทดน้า ที่ตัวเขื่อนหรือตัวฝายมีความสูงตั้งแต่ ๑๐ เมตรขึ้นไป รวมถึงอาคารประกอบที่ใช้ในการบังคับหรือ
ควบคุมน้า ของเขื่อนหรือของฝายดังกล่าว
(๑๑/๑๖) อาคารที่ทาการของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และองค์การของรัฐที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมาย
(๑๒/--) อาคารอยูอ่ าศัยและอาคารพาณิชย์ที่ดาเนินการตามกฎหมายว่าด้วยการจัดสรรทีด่ ิน
(๑๓/๑๗) เครื่องเล่นตามกฎกระทรวงว่าด้วยการควบคุมเครื่องเล่นที่โครงสร้างมีความสูงตั้งแต่ ๑๐ เมตร (๑๕ เมตร) ขึ้นไป 7
ประกาศกระทรวงมหาดไทยฯ พ.ศ. 2564 และ มยผ. 1302
I : Importance Factor

8
ประกาศกระทรวงมหาดไทยฯ พ.ศ. 2564
ประกาศกระทรวงมหาดไทยฯ
พ.ศ. 2564

การกาหนดรายละเอียด กาหนดระดับ
วิธีการคานวณ
โครงสร้างให้มีความ ความรุนแรงของ
แรงแผ่นดินไหว
เหนียวที่เหมาะสม แผ่นดินไหว

ประกาศกระทรวงมหาดไทยปี 64 9
ประกาศกระทรวงมหาดไทยฯ พ.ศ. 2564
ประกาศกระทรวงมหาดไทยฯ
พ.ศ. 2564

การกาหนดรายละเอียด
วิธีการคานวณแรง กาหนดระดับความรุนแรง
โครงสร้างให้มีความ
แผ่นดินไหว ของแผ่นดินไหว
เหนียวที่เหมาะสม

บริเวณ ๑ / บริเวณ ๒ หรือ ๓ การออกแบบประเภท ก วิธีแรงสถิตเทียบเท่า พื้นที่นอกแอ่งกรุงเทพฯ


• โครงสร้าง ค.ส.ล. เสา และ แผ่นพื้นไร้คาน เสริมเหล็ก
ขั้นต่่าตาม ประกาศฯ วิธีทางพลศาสตร์ พื้นที่ในแอ่งกรุงเทพฯ
• โครงสร้างอื่น ชิ้นส่วนโครงสร้างทางดิ่ง เสริมเหล็กให้มี
วิธีอื่นๆ
ความเหนียวปานกลาง ตาม มยผ./มาตรฐานอื่น

บริเวณ ๒ หรือ ๓ การออกแบบประเภท ข ค ง


• ออกแบบรายละเอียดโครงสร้างให้มีความเหนียวตาม
ระดับที่เหมาะสม ตาม มยผ./มาตรฐานอื่น

10
ภาพรวม มยผ. ด้านแผ่นดินไหว

มาตรฐาน มยผ. เกี่ยวกับการก่อสร้าง


อาคารในพื้นที่เสี่ยงภัยแผ่นดินไหว

คู่มือปฏิบัติเกี่ยวกับการก่อสร้างอาคาร
ในพื้นที่เสี่ยงภัยแผ่นดินไหว

11
มาตรฐาน มยผ.
มาตรฐาน มยผ.
การออกแบบอาคารด้านทานแรงแผ่นดินไหว
• ภัยแผ่นดินไหวในแต่พื้นที่
• มีการก่าหนดแรงในการออกแบบในรูปแบบของ
สเปกตรัมผลตอบสนอง
• วิธีค่านวณออกแบบ
• ก่าหนดการให้รายละเอียดโครงสร้างคอนกรีดเสริมเหล็ก
และมาตรฐานอ้างอิงด้านการให้รายละเอียดอื่นๆ

12
ขั้นตอนการคานวณแรงแผนดินไหว

Design for Earthquake


การออกแบบ
Design Concept

14
การออกแบบอาคารตาม มาตรฐาน มยผ. 1302
(4.1)
วิธีแรงสถิตเทียบเท่า
(1) กาหนดพื้นที่
แผ่นดินไหว

(5)
(3) เลือกระบบ การให้
โครงสร้างและตัว หรือ รายละเอียด
ประกอบอาคาร เหล็กเสริม
โครงสร้าง
(4.2)
(2) ประเภทอาคาร วิธีเชิงพลศาตร์

15
การออกแบบอาคารตาม มาตรฐาน มยผ. 1302

16
การออกแบบอาคารตาม มาตรฐาน มยผ. 1302
DESIGN EQ.
❖ Equivalent Static Load
• Base shear
• Limited to basic structures
❖ Response Spectrum Analysis
• Specific response spectrum for Bangkok
• Base shear must not be less than 85% of that of equivalent static base shear
❖ Pushover , Time History Analysis
• No time-history suites available in the standard

17
❖ . ❖ . ❖ . ❖ .
การออกแบบอาคารตาม มาตรฐาน มยผ. 1302
❖ Equivalent Static Load

18
การออกแบบอาคารตาม มาตรฐาน มยผ. 1302
❖ Equivalent Static Load

19
การออกแบบอาคารตาม มาตรฐาน มยผ. 1302
❖ Response Spectrum Analysis

20
การออกแบบอาคารตาม มาตรฐาน มยผ. 1302
❖ Response Spectrum Analysis

21
การออกแบบอาคารตาม มาตรฐาน มยผ. 1302
การเลือกประเภทการออกแบบ

22
การออกแบบอาคารตาม มาตรฐาน มยผ. 1302
การเลือกประเภทโครงสร้างตามข้อกาหนดด้านแผ่นดินไหว

ตาแหน่งอาคาร

ความเร่ง Ss และ S1

ตัวประกอบชนิดของดิน (Fa)

ความเร่งผลตอบสนอง
SMS, SM1 และ SDS, SD1

ประเภทความสาคัญ
(I, II, III, IV)

ประเภทการออกแบบ
(ข, ค, ง)

ระบบโครงสร้าง
23
การออกแบบอาคารตาม มาตรฐาน มยผ. 1302

24
Load Combination

• Load combinations
– 1.2D + 1.0L + 1.0E
– 0.9D + 1.0E
• E is the effect of horizontal earthquake alone (need not consider vertical
component of earthquake)
• Direction combination of Ex and Ey
– 1.0 Ex + 0.3 Ey
– 0.3 Ex + 1.0 Ey

25
Interstory Drift

• Lateral deflection from elastic analysis is multiplied by


deflection amplification factor Cd

Cd δelastic
δ=
I

26
Interstory Drift
• Story drift limit is the same as that in ASCE-7

27
Time History Analysis


Earthquake 1
Not less than 3 sets of time histories (each 0.5

Acceleration (g)
set consists of X, and Y accelerations) 0

• 5% damped SRSS Spectrum must not less -0.5


0 5 10 15 20 25 30

than 1.17 of the specified dynamic analysis Time (sec)

Earthquake 2

spectrum 0.5

Acceleration (g)
• Force responses magnified by I/R 0

– If using more than 7 sets of acceleration -0.5


0 5 10 15 20
Time (sec)
25 30 35 40

→ use average of response 0.5


Earthquake 3

– If using less than 7 sets of acceleration →

Acceleration (g)
0

use maximum of response


-0.5
0 5 10 15 20 25
Time (sec)

28
รายละอียดการเสริมเหล็ตาม มาตรฐาน มยผ. 1301
ความเหนียว คือ ความสามารถในการรับแรงต่อไปได้แม้ชิ้นส่วน
โครงสร้างนั้นจะเกิดความเสียหายรุนแรงแล้ว

29
รายละอียดการเสริมเหล็ตาม มาตรฐาน มยผ. 1301
จุดหมุนพลาสติก (plastic hinge)

30
รายละอียดการเสริมเหล็ตาม มาตรฐาน มยผ. 1301

31
รายละอียดการเสริมเหล็ตาม มาตรฐาน มยผ. 1301

32
รายละอียดการเสริมเหล็ตาม มาตรฐาน มยผ. 1301

33
รายละอียดการเสริมเหล็ตาม มาตรฐาน มยผ. 1301

34
Design for Earthquake

Q&A

You might also like