You are on page 1of 75

กรมชลประทาน

หลักการสารวจและทาแผนที่

จัดทาโดย
คณะทางานปรับปรุ งวิธีปฏิบตั ิงานสารวจทาแผนที่ภูมิประเทศ
สานักสารวจด้านวิศวกรรมและธรณี วิทยา

โครงการสัมมนาเชิงปฏิบตั ิการ
เรื่ อง การสารวจภูมิประเทศและสารวจธรณี วทิ ยาในงานชลประทาน
วันที่ 25-27 สิ งหาคม 2548

1
2
3
4
5
หลักการสารวจและทาแผนที่

1. การสารวจโยงค่าพิกดั และค่ าระดับ


1.1 วัตถุประสงค์ เพื่อหาค่าพิกดั และ / หรื อค่าระดับของหมุดหลักฐานที่สร้างขึ้นใหม่ในเขตงานซึ่ งจะใช้
เป็ นค่าอ้างอิ งส าหรั บ งานสารวจท าแผนที่ งานส ารวจทางด้านวิศวกรรม และงานส ารวจเพื่ อการก่ อสร้ าง
โครงการนั้น
1.2 ลักษณะของงาน
1.2.1 งานสร้ างหมุดหลักฐานถาวร (MONUMENTING)
1.2.1.1 การเลือกทีต่ ้ งั หมุดหลักฐาน
ตาแหน่ งที่ ส ร้ างหมุ ดหลัก ฐานต้องพิ จารณาเลื อกตาแหน่ งที่ เหมาะสม เพื่ อให้ห มุ ด
หลักฐานที่สร้างขึ้นมีความมัน่ คง ข้อพิจารณาในการเลือกที่ต้ งั มีดงั นี้
▪ เป็ นตาแหน่งที่มนั่ คง แข็งแรง พื้นดินมีการอัดตัวแน่น
▪ เป็ นตาแหน่ งที่ ยากแก่ ก ารท าลาย ควรเลื อกสร้ างในสถานที่ ราชการ วัด โรงเรี ย น
หรื อบริ เวณที่คาดว่าจะไม่มีการก่อสร้างที่เป็ นอุปสรรคในการใช้หมุดที่สร้างขึ้นไม่
ควรสร้างหมุดหลักฐานถาวรบนไหล่ถนน เพราะอาจถูกทาลายได้ง่าย
▪ เป็ นตาแหน่งที่เด่นชัดง่ายต่อการค้นหา
▪ หมุดคู่ที่สร้างขึ้นต้องไม่มีสิ่งอื่นมาบังแนวเล็ง ระยะระหว่างหมุดประมาณ 200–500
ม.
▪ กรณี ของการสร้ างหมุดหลักฐานเพื่อรังวัดพิกดั ด้วยเครื่ องรับสัญญาณดาวเทียม ให้
เลือกตาแหน่งที่เหมาะสม ซึ่ งจะต้องอยูใ่ นพื้นที่โล่งแจ้ง เพื่อให้สามารถรับสัญญาณ
จากดาวเทียม ที่โคจรอยูบ่ นท้องฟ้าได้ทุกทิศทาง
1.2.1.2 วัสดุและวิธีการสร้ างหมุดหลักฐาน
วัสดุที่สร้างหมุดหลักฐานส่ วนใหญ่ จะเป็ นคอนกรี ตที่มีส่วนผสมระหว่าง ปูน – ทราย
– หิน เป็ นอัตราส่ วน 1 : 2 : 4 ส่ วน วิธีการสร้างแบ่งได้เป็ น 3 ลักษณะ คือ
▪ นาวัสดุไปหล่อในภูมิประเทศ ณ ตาแหน่งที่เลือกตามลักษณะในข้อ 1.2.1.1
▪ หล่อหมุดคอนกรี ตตามแบบมาตรฐานของสานักสารวจฯ ไว้ก่อนแล้วนาไปฝัง
▪ กรณี ที่ มี วตั ถุ ธ รรมชาติ หรื อสิ่ งก่ อสร้ างที่ ม นั่ คง เช่ น บนยอดเขาที่ มี ก้อนหิ น ใหญ่
อาคารคอนกรี ต หรื อ คอสะพานรถไฟ สามารถใช้เป็ นที่สร้างหมุ ดได้โดยสกัดลง
ไปให้ลึกประมาณ 3 – 5 นิ้ ว เทคอนกรี ตและใช้หัวน๊อตเหล็กหรื อหมุดทองเหลือง
เป็ น หัวหมุด

6
1.2.1.3 แบบของหมุดหลักฐาน
เพื่อให้หมุดหลักฐานถาวรของงานทุกชนิ ด และทุกหน่วยงานมีแบบมาตรฐานเดียวกัน
จึงกาหนดแบบหมุดหลักฐานถาวรของสานักสารวจด้านวิศวกรรมและธรณี วทิ ยา เป็ น 3 แบบ มีลกั ษณะรู ปร่ าง
และขนาดตาม ผนวก ก. ดังนี้
• หมุดหลักฐานถาวรแบบ ก.
เป็ นหมุดหล่อด้วยคอนกรี ตสองชั้น ผิวหน้าเป็ นรู ปสี่ เหลี่ยมจัตุรัส มีหวั หมุดทาด้วย
ทองเหลื อ ง ขนาดเส้ น ผ่ า ศู น ย์ก ลาง 5 ซม. ขนาดของหมุ ด 0.60  0.60  0.70 ม. ตอกเข็ ม ไม้ ข นาด
เส้นผ่าศูนย์กลาง 3 1 ม. จานวน 4 ต้น (ดูรูปผนวก ก. แบบ ก.)
• หมุดหลักฐานถาวรแบบ ข.
เป็ นหมุดหล่อด้วยคอนกรี ต ผิวหน้าเป็ นรู ปสี่ เหลี่ยมจัตุรัส มีหวั หมุดทาด้วยโลหะ
อยูต่ รงกลาง ขนาดของหมุด 0.30  0.30  0.50 ม. ตอกเข็มไม้ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 3  1 ม. จานวน 4
ต้น (ดูรูปผนวก ก. แบบ ข.)
• หมุดหลักฐานถาวรแบบ ค.
เป็ นหมุดหล่อด้วยคอนกรี ต มี 2 ลักษณะ คือ
▪ หมุดท่อกลม ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 0.10  0.30 ม.
▪ หมุดสี่ เหลี่ยม ขนาด 0.15  0.15  0.30 ม.
บนผิว หน้าของหมุ ด ทั้ง 3 แบบ ให้ ระบุ ชื่ อย่อของกรมฯ โดยใช้ค าว่า “ชป.” และ
หมายเลขหมุด พร้อมกับอักษรเต็มหรื อย่อของโครงการนั้น โดยให้ตวั อักษรชี้ไปทางทิศเหนือ (ดูรูปผนวก ก.)
กรณี ที่ไม่สามารถสร้างหมุดหลักฐานถาวรได้ ให้ใช้หมุดชัว่ คราว (TBM : Temporary
Bench Mark ) ให้ใช้หมุดไม้ขนาด 1 1 ยาว 10 – 20 ซม. หรื อ ตะปูขนาด 3 ตอกลงบนพื้นดิ น หรื อ ผิว
ถนน ตามตาแหน่งที่เหมาะสมในการปฏิบตั ิงาน
1.2.1.4 หมายพยาน (REFERENCE MARKS)
เพื่อความสะดวกในการค้นหา หมุ ดหลักฐานถาวรแต่ละหมุ ด จะต้องมี หมายพยาน
อย่างน้อย 2 แห่ ง หมายพยานนี้อาจจะเป็ นสิ่ งก่อสร้างถาวร หรื อวัตถุตามธรรมชาติที่เด่นชัด ซึ่ งอยูใ่ กล้หมุดใน
รัศมีประมาณ 30 ม. วัตถุหมายพยานเหล่านี้คาดว่าจะไม่ถูกทาลายหรื อสู ญหายไป เช่น ต้นไม้ใหญ่ มุมบ้าน เสา
ธง และสามารถวัดระยะระหว่างหมุดกับหมายพยานได้โดยตรง ทั้งนี้ เพื่อที่จะสามารถหาตาแหน่ งของหมุ ด
โดยวิธีสกัดกลับได้ ในกรณี ที่หมุดหลักฐานถูกดินกลบหรื อถูกทาลายไป
1.2.1.5 แบบแสดงรายละเอียดหมุดหลักฐาน (DESCRIPTIONS)
แบบแสดงรายละเอี ยดหมุ ดหลักฐาน เป็ นแบบบันทึ กรายละเอี ยดที่ ต้ งั และข้อมูล ที่
สาคัญของหมุดหลักฐาน เพื่อให้สามารถค้นหาหมุดหลักฐานนั้นได้ง่าย ข้อความอธิ บายรายละเอียดในแบบ
แสดงที่ต้ งั หมุดหลักฐานต้องสั้น กะทัดรัด มีใจความที่สมบูรณ์ และเป็ นแบบเดี ยวกัน ภาพสเก็ตที่ต้ งั หมุด

7
จะต้องชัดเจน มี รายละเอี ยดที่ จาเป็ นส าหรั บ ค้นหาหมุ ดเท่ านั้น เช่ น แสดงวัตถุ ถาวรที่ มี ล ักษณะเด่ นตาม
ธรรมชาติ การแสดงทิศทางต้องถูกต้อง รายละเอียดในแบบประกอบด้วย
▪ ตาแหน่ งทัว่ ไป ระบุบริ เวณที่ต้ งั ของหมุด สถานที่ต้ งั ของหมุด ตาบล อาเภอ จังหวัด
รวมทั้งเส้นทางในการเข้าถึงหมุด โดยเริ่ มจากจุดที่หาง่ายที่สุด
▪ ตาแหน่งที่แน่นอน ระบุวตั ถุถาวรหรื อกึ่งถาวรที่ใกล้เคียงที่สุด เช่น อาคารเรี ยน เสา
ธง ถังประปา ต้นไม้ใหญ่
▪ ลักษณะของหมุดหลักฐาน เช่น เป็ นหมุดหลักฐานถาวรแบบ ข. หมุดสกัดบนก้อน
หิน
▪ หมายพยาน แสดงลักษณะของหมายพยาน ทิศทาง และระยะจากหมุดไปยังหมาย
พยาน
▪ หมุดคู่ ให้แสดงตาแหน่งและทิศทางของหมุดคู่ไว้เพื่อสะดวกในการใช้งาน
เมื่องานสารวจของโครงการเสร็ จลงแล้ว ให้ตรวจสอบและเพิ่มเติมรายละเอียดข้อความต่างๆ
ในแบบ สร.9 – 11 ให้สมบูรณ์ พร้ อมทั้งทาบัญชี ค่าพิกดั และ/หรื อค่าระดับของหมุดทุ กหมุด รวมทั้งแผนที่
สารบัญแสดงตาแหน่ งของหมุ ด และภาพถ่ายของหมุ ด แล้วรวบรวมส่ งให้หน่ วยงานที่ รับผิดชอบ เก็บเป็ น
หลักฐานไว้ใช้งานต่อไป
1.2.2 งานสารวจโยงค่ าพิกดั
1.2.2.1 งานรังวัดพิกดั ด้ วยเครื่ องรับสั ญญาณดาวเทียม
เป็ นวิธีการรังวัดเพื่อกาหนดตาแหน่งจากดาวเทียม จี พี เอส (GPS : Global
Positioning System) หรื อระบบดาวเทียมอื่น โดยนาเครื่ องรังวัดไปตั้งรับสัญญาณที่ตาแหน่งหมุดหลักฐาน
หรื อจุดที่ตอ้ งการหาค่าพิกดั ตามเส้นโครงข่ายการรังวัดที่ได้จดั เตรี ยมไว้ล่วงหน้า แล้วนาผลการรังวัดมา
ประมวลผลและปรับแก้โครงข่าย ค่าพิกดั ที่คานวณได้ตอ้ งมีค่าพิกดั ทางยีออเดซี (Geodetic Coordinates) และ
ค่าพิกดั กริ ด ยู ที เอ็ม (UTM : Universal Transverse Mercator) บนพื้นหลักฐานสากล WGS 84 (World
Geodetic System 1984) และบนพื้นหลักฐานอินเดียน 2518 (Indian 1975 Datum)
1.2.2.2 งานวงรอบ (Traverse)
เป็ นวิธีการรังวัด เพื่อคานวณหาพิกดั ตาแหน่งของจุดต่างๆ โดยการวัดมุมและวัดระยะ
ที่เชื่ อมต่อระหว่างจุ ดในลักษณะต่อเนื่ องกัน ค่าพิกดั ต้องคานวณเป็ นค่าพิกดั กริ ด ยู ที เอ็ม บนพื้นหลักฐาน
อินเดียน 2518 หรื อพื้นหลักฐาน WGS 84
1.2.3 งานสารวจโยงค่ าระดับ (Spirit Levelling)
เป็ นวิธีการรังวัดเพื่อคานวณหาค่าระดับความสู ง (กาหนดสู ง – ผท.ทหาร) ของหมุดหลักฐาน
ห รื อ จุ ด ต่ า ง ๆ ซึ่ ง อ้ า ง อิ ง กั บ พื้ น ร ะ ดั บ น้ า ท ะ เล ป า น ก ล า ง ( ร ท ก . : MEAN SEA LEVEL )
โดยการวัดค่าต่างระดับต่อเนื่องจาก จุด ถึง จุด ด้วยกล้องระดับและไม้แบ่งส่ วนม.

8
1.3 ชนิดของงาน
1.3.1 งานโยงค่ าพิกดั ด้ วยวิธีการวงรอบชั้นที่ 2
1.3.1.1 ข้ อกาหนดเฉพาะและมาตรฐานความถูกต้ อง
▪ การวัดมุม
• ใช้กล้องวัดมุมที่มีความละเอียด 1 หรื อดีกว่า
• จานวนศูนย์ของการวัด 4 ศูนย์
• ความต่างของแต่ละศูนย์กบ ั ค่าปานกลางไม่เกิน 5
▪ การวัดระยะ
• ใช้เครื่ องวัดระยะอิ เลคทรอนิ คส์ ที่ มี ความละเอี ย ด  (5 mm.  5 ppm. D)
หรื อดีกว่า
• ระยะระหว่างหมุดไม่นอ ้ ยกว่า 200 ม.
• วัดระยะ 2 เที่ ยว ( ไป – กลับ ) ความละเอียดของการวัดระยะ 1 / 15,000 หรื อ
ดีกว่า
▪ การวัดอาซิมุท ดาราศาสตร์ (ASTRONOMICAL AZIMUTH)
• ทาการรังวัดอาซิ มุท ทุก 20 – 25 มุม
• จานวนศูนย์ของการวัด 12 – 16 ศูนย์
• Probable Error ของผลปานกลางไม่เกิน 2.0
• จานวนแก้ของมุมวงรอบเมื่อตรวจสอบกับค่าอาซิ มุทไม่เกิ นมุมละ3หรื อ
10N (N เป็ นจานวนมุม)
• ความคลาดเคลื่ อ นในการบรรจบทางต าแหน่ ง เมื่ อ ปรั บ แก้ มุ ม แล้ ว ไม่ เกิ น
1 / 10,000
1.3.1.2 การกรุ ยแนวและสร้ างหมุดหลักฐาน
▪ ค้นหาหมุดหลักฐานที่จะใช้ออกงาน และเข้าบรรจบ ซึ่ งเป็ นหมุ ดหลักฐานชั้นที่ 2
หรื อชั้นที่สูงกว่า
▪ กรุ ยแนวเส้ นวงรอบจากหมุ ดหลัก ฐานที่ ท ราบค่าแล้ว เข้าเขตโครงการพร้ อมทั้ง
กาหนดตาแหน่ง ของหมุดวงรอบและตาแหน่งที่จะสร้างหมุดหลักฐานถาวร
▪ สร้างหมุดหลักฐานถาวร
• แบบ ข. เป็ นคู่ทุกระยะ 4 – 5 กม.
• แบบ ค. เป็ นคู่ทุกระยะ 2 กม.
▪ สร้างหมุดชัว่ คราว (หมุดไม้) ทุกหมุดวงรอบ

9
1.3.1.3 การวัดมุมและวัดระยะ
▪ วัดมุมทุกหมุดวงรอบ
▪ วัดระยะระหว่างหมุดวงรอบ
▪ วัดอาซิมุทดาราศาสตร์ เพื่อควบคุมทิศทางของเส้นวงรอบทุก 20 - 25 มุม
1.3.1.4 การคานวณ
▪ ตรวจสอบค่ามุมและระยะให้อยูใ่ นเกณฑ์ตามข้อ 1.3.1.1
▪ คานวณค่าพิกดั ในระบบพิกดั ยู ที เอ็ม
1.3.2 งานโยงค่ าพิกดั ด้ วยวิธีการวงรอบชั้นที่ 3
1.3.2.1 ข้ อกาหนดเฉพาะและมาตรฐานความถูกต้ อง
▪ การวัดมุม
• ใช้กล้องวัดมุมที่มีความละเอียด 1หรื อดีกว่า กรณี ที่ใช้กล้องวัดมุมอีเลคทรอ
นิคส์ตอ้ งมีความละเอียด 20 หรื อดีกว่า
• จานวนศูนย์ของการวัด 2 ศูนย์
• ความต่างของแต่ละศูนย์กบ ั ค่าปานกลางไม่เกิน 10
• สถานีแรกและสถานี สุดท้ายของการวัดมุมต้องไม่เป็ นหมุดเดียวกัน
▪ การวัดระยะ
• ใช้เครื่ องวัดระยะอิเลคทรอนิ คส์ หรื อโซ่ ลานเหล็ก (STEEL TAPE)
• ความละเอียดของการวัดระยะ 1/7,500 หรื อดีกว่า
▪ การวัดอาซิมุทดาราศาสตร์
• ทาการรังวัดอาซิ มุท ทุก 30 – 40 มุม
• จานวนศูนย์ของการวัด 8 – 12 ศูนย์
• Probable Error ของผลปานกลางไม่เกิน 5
• จานวนแก้ของมุมวงรอบเมื่อตรวจสอบกับค่าอาซิ มุทไม่เกิ นมุมละ5หรื อ
15N (N เป็ นจานวนมุม)
• ความคลาดเคลื่อนในการบรรจบทางตาแหน่ง เมื่อปรับแก้มุมแล้วไม่เกิน
1/5,000
1.3.2.2 การกรุ ยแนวและสร้ างหมุดหลักฐาน
▪ ค้นหาหมุดหลักฐานที่จะใช้ออกงานและเข้าบรรจบ ซึ่ งเป็ นหมุดหลักฐานชั้นที่ 3
หรื อชั้นที่สูงกว่า
▪ กรุ ยแนวเส้ นวงรอบจากหมุ ดหลัก ฐานที่ ท ราบค่าแล้ว เข้าเขตโครงการพร้ อมทั้ง
กาหนดตาแหน่ง ของหมุดวงรอบและตาแหน่งที่จะสร้างหมุดหลักฐานถาวร

10
▪ สร้างหมุดหลักฐานถาวร
• แบบ ข. เป็ นคู่ทุกระยะ 4 – 5 กม.
• แบบ ค. เป็ นคู่ทุกระยะ 2 กม.
▪ สร้างหมุดชัว่ คราว (หมุดไม้) ทุกหมุดวงรอบ
1.3.2.3 การวัดมุมและวัดระยะ
▪ วัดมุมทุกหมุดวงรอบ
▪ วัดระยะระหว่างหมุดวงรอบ
▪ วัดอาซิมุทดาราศาสตร์ เพื่อควบคุมทิศทางของเส้นวงรอบทุก 40 มุม หรื อน้อยกว่า
1.3.2.4 การคานวณ
▪ ตรวจสอบค่ามุมและระยะให้อยูใ่ นเกณฑ์ตามข้อ 1.3.2.1
▪ คานวณค่าพิกดั ในระบบพิกดั ยู ที เอ็ม
1.3.3 งานโยงค่ าระดับ โดยวิธีการระดับชั้นที่ 2
1.3.3.1 ข้ อกาหนดเฉพาะและมาตรฐานความถูกต้ อง
▪ เครื่ องมือและอุปกรณ์
• ใช้ก ล้อ งระดับ อัต โนมัติ ซ่ ึ งมี ความคลาดเคลื่ อนเฉลี่ ย ในการปรับ เส้ นเล็ง 0.5 ฟิ
ลิบดาหรื อ กล้อง Tilting ซึ่งมีความไวของหลอดระดับ 30 ฟิ ลิบดา ต่อ 2 มม. หรื อ
ดีกว่า และประกอบด้วย Parallel Plate Micrometers และมีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ของการทาระดับไป – กลับ (Double – run) 1.5 มม./กม. หรื อดีกว่า
• ใช้ไม้แบ่งส่ วนเมตร ที่ทาด้วยโลหะอินวาร์ มีหลอดระดับฟองกลมประกอบ และ
เหล็กรองรับไม้แบ่งส่ วนเมตร (Ground Plates)
หรื อ
• ใช้กล้องระดับดิจิตอล (Digital Level) ซึ่ งมีกาลังขยายของกล้องส่ อง (Telescope)
ไม่ น้อยกว่า 30 เท่ า และความเบี่ ย งเบนมาตรฐานของการท าระดับ ไป – กลับ
(Double – run) 1.5 มม./กม. หรื อดี ก ว่า มี ระบบบัน ทึ ก ข้อ มู ล ภายในตัวเครื่ อ ง
(Internal Memory) หรื อแผ่นบันทึกข้อมูล (Memory Card)
• ใช้ไม้แบ่งส่ วนเมตร ชนิ ดแถบรหัส (Bar Code) มีหลอดระดับฟองกลมประกอบ
และเหล็กรองรับไม้แบ่งส่ วนเมตร (Ground Plates)
▪ การปฏิบัติงานสนาม
• ความยาวของสายการระดับ ไม่เกิน 60 กม.
• ทาระดับ เที่ ย วเดี ยว (Single Run) ถ้าหมุ ดหลัก ฐานที่ ใ ช้ออกงานและเข้าบรรจบ
อยูห่ ่างกันไม่เกิน 20 กม. ถ้าเกิน 20 กม.ให้ทาระดับแบบไป – กลับ

11
• ถ้าไม่มีหมุดหลักฐานเข้าบรรจบ ให้ทาระดับแบบไป – กลับ โดยเดินระดับเที่ยว
ทากลับ ผ่านหมุดหลักฐานทุกหมุดของเที่ยวทาไป
• แบ่งสายระดับออกเป็ นตอนการระดับทุกช่วง 1 – 3 กม.
• ระยะไกลสุ ดระหว่างกล้องกับไม้แบ่งส่ วนม. ไม่เกิน 80 ม.
• ความต่างระหว่างระยะไม้หน้าและระยะไม้หลัง ไม่เกิน 10 ม.
• ความต่ างสะสมระหว่างผลรวมระยะไม้หน้า กับ ผลรวมระยะไม้หลัง ของตอน
การระดับไม่เกิน 10 ม.
• หมุดออกงาน และหมุดเข้าบรรจบ ต้องไม่ใช่หมุดเดียวกัน
• ความคลาดเคลื่ อ นระหว่างเที่ ย วท าไปกับ เที่ ย วท ากลับ หรื อในการเข้า บรรจบ
หมุด ไม่เกิน 8.4 มม.K (K = ระยะทางเป็ นกม.)
1.3.3.2 การกรุ ยแนวและสร้ างหมุดหลักฐาน
▪ ค้นหาหมุดหลักฐาน การระดับชั้นที่ 1 หรื อชั้นที่ 2 เพื่อใช้ออกงานและเข้าบรรจบ
▪ กรุ ยแนวสายการระดับ และกาหนดตาแหน่งที่จะสร้างหมุดหลักฐาน
▪ สร้างหมุดหลักฐานถาวร
• แบบ ข. ทุกระยะ 4 – 5 กม.
• แบบ ค. ทุกระยะ 2 กม.
1.3.3.3 การวัดระดับ
▪ เครื่ องมือ วิธีการรังวัด และการคานวณปรับแก้ให้เป็ นไปตามเกณฑ์กาหนดเฉพาะ
ของงานระดับชั้นที่ 2
1.3.4 งานโยงค่ าระดับ โดยวิธีการระดับชั้นที่ 3
1.3.4.1 ข้ อกาหนดเฉพาะและมาตรฐานความถูกต้ อง
▪ เครื่ องมือและอุปกรณ์
• ใช้กล้องระดับอัตโนมัติ หรื อกล้องTilting ซึ่ งมีความไวของหลอดระดับ 60 ฟิ ลิป
ดา ต่อ 2 มม. หรื อดีกว่า
• ใช้ไม้แบ่งส่ วนเมตร แบบธรรมดา
หรื อ
• ใช้กล้องระดับดิจิตอล (Digital Level) ซึ่ งมีกาลังขยายของกล้องส่ อง ไม่นอ้ ยกว่า
24 เท่ า และความเบี่ ยงเบนมาตรฐานของการท าระดับไป – กลับ 2.0 มม./กม.
หรื อดีกว่า
• ใช้ไม้แบ่งส่ วนเมตร ชนิ ดแถบรหัส (Bar Code) มีหลอดระดับฟองกลมประกอบ
และเหล็กรองรับไม้แบ่งส่ วนเมตร (Ground Plates)

12
▪ การปฏิบัติงานสนาม
• ความยาวของสายการระดับ ไม่เกิน 40 กม.
• ทาระดับเที่ยวเดียว (Single Run) ถ้าหมุดหลักฐานที่ใช้ออกงานและเข้าบรรจบ
อยูห่ ่างกันไม่เกิน 20 กม. ถ้าเกิน 20 กม.ให้ทาระดับแบบไป – กลับ
• ถ้าไม่มีหมุดหลักฐานเข้าบรรจบ ให้ทาระดับแบบไป – กลับ โดยเดินระดับเที่ยว
ทากลับ ผ่านหมุดหลักฐานทุกหมุดของเที่ยวทาไป
• แบ่งสายการระดับออกเป็ นตอน ความยาวตอนละ 1 – 3 กม.
• การอ่ า นค่ า ระดับ ให้อ่า นทั้ง สามสายใย คื อ สายใยบน ( U ) สายใยกลาง ( M )
และสายใยล่าง ( L ) โดยให้ ผลบวกของสายใยบนกับสายใยล่าง เทียบกับ 2เท่า
ของสายใยกลาง ต้องไม่เกิน 2 มม.
• ระยะไกลสุ ดระหว่างกล้องกับไม้ระดับ ไม่เกิน 100 ม.
• หมุดออกงาน และหมุดบรรจบต้องไม่ใช่หมุดเดียวกัน
• ความคลาดเคลื่อนระหว่างเที่ยวทาไปกับเที่ยวทากลับ และในการเข้าบรรจบหมุด
ไม่เกิน 12 มม.K (K= ระยะทางเป็ น กม.)
1.3.4.2 การกรุ ยแนวและสร้ างหมุดหลักฐาน
▪ ค้นหาหมุดหลักฐาน การระดับชั้นที่ 3 หรื อชั้นสู งกว่า เพื่อใช้ออกงานและเข้า
บรรจบ
▪ กรุ ยแนวสายการระดับ และกาหนดตาแหน่งที่จะสร้างหมุดหลักฐาน
▪ สร้างหมุดหลักฐานถาวร
• แบบ ข. ทุกระยะ 4 – 5 กม.
• แบบ ค. ทุกระยะ 2 กม.
1.3.4.3 การวัดระดับ
▪ เครื่ องมือ วิธีการวัด และคานวณปรับแก้ให้เป็ นไปตามเกณฑ์กาหนดของงาน
ระดับชั้นที่ 3
2. การสารวจทาแผนทีท่ างพืน้ ดิน
2.1 การสารวจทาแผนทีโ่ ครงการชลประทาน (มาตราส่ วน 1 : 10,000 เส้ นชั้ นความสู ง ชั้ นละ 1 ม.)
2.1.1 วัตถุประสงค์ เพื่อทาแผนที่รายละเอียดและเส้นชั้นความสู งของภูมิประเทศ สาหรับใช้ในการ
พิ จารณาวางโครงการ การพิ จารณาความเหมาะสม การออกแบบเบื้ องต้น ของโครงการชลประทานและ
กิจกรรมอื่นๆ
▪ ท าการส ารวจรายละเอียดภู มิป ระเทศ เช่ น ล าน้ า, ล าห้วย, คลอง, บ้าน, วัด, ปู ชนี ยสถาน,
โรงเรี ยน, อาคารสาคัญๆ, ถนน, ไร่ , นา, สวน ฯลฯ

13
▪ ทาการสารวจระดับความสู งของภูมิประเทศครอบคลุ มพื้นที่ โครงการ เพื่อนามาใช้ในการ
พิจารณากาหนดชนิ ด ขนาดของอาคารบริ เวณหัวงาน ระบบการส่ งน้ า ระบบการระบายน้ า
และอาคารประกอบอื่นๆ
2.1.2 ลักษณะของงาน
2.1.2.1 การเตรียมงานเบื้องต้ น
▪ จัด หาแผนที่ ม าตราส่ ว น 1 : 50,000 ของกรมแผนที่ ท หาร มาก าหนดขอบเขต
โครงการ โดยกาหนดขอบระวางเป็ นวง วงหนึ่งมีพ้นื ที่ไม่เกิน 8 กม.2
▪ กาหนดขอบระวาง ให้กาหนดแนววงรอบไปทางทิศเหนื อ – ใต้ ยาว 4 กม. และไป
ทางทิศตะวันออก – ตก ยาว 2 กม. หรื อตามความเหมาะสมของสภาพภูมิประเทศ
▪ จัดหาค่าพิกดั ค่าระดับ และหมายพยานของหมุดหลักฐานในบริ เวณใกล้เคียง เพื่อ
ใช้เป็ นค่าอ้างอิง
▪ พล็อตค่าพิกดั และค่าระดับของหมุดหลักฐานที่ทราบค่าแล้ว ลงในแผนที่
▪ ค านวณปริ ม าณงานที่ จะต้อ งด าเนิ น การ เพื่ อ ตั้ง ประมาณการ และวางแผนงาน
สารวจ
▪ จัดทาแผนที่สารบัญ (Index Map) มาตราส่ วนตามความเหมาะสม เพื่อประกอบการ
เขียนแผนที่ และรายงานความก้าวหน้าของงาน
▪ จัดหาเครื่ องมือและอุปกรณ์การสารวจ ให้เหมาะสมกับงาน
2.1.2.2 การสารวจงานวงรอบและงานระดับ
▪ ทาการโยงค่าพิกดั และค่าระดับ จากหมุดหลักฐานที่ทราบค่าแล้วอย่างน้อย 2 หมุด
ไปยังมุมระวางที่กาหนดไว้ตอนต้น จากนั้นให้วางแนววงรอบ และระดับสายหลัก
ครอบคลุมพื้นที่กรอบนอก โดยวิธีการวงรอบและระดับชั้นที่ 2 แต่ถา้ ไม่มีเครื่ องมือ
สาหรับงานชั้นที่ 2 ก็ให้อนุโลมทาโดยวิธีการวงรอบและระดับชั้นที่ 3 ได้
▪ วางแนววงรอบและระดับสายรองตามขอบระวางที่ กาหนดในข้อ 2.1.2.1 แล้วเข้า
บรรจบเป็ นวงๆ โดยวิธีการวงรอบและระดับชั้นที่ 3 พร้อมฝังหมุดหลักฐานถาวร
แบบ ข.เป็ นคู่ๆ ไว้ทุกมุมของระวาง
▪ วางแนววงรอบและระดับ เลี ยบตามลาน้ าสายส าคัญ ๆ ตามถนน ทางรถไฟ(ถ้ามี )
และฝังหมุดหลักฐานแบบ ค. เป็ นคู่ ตรงบริ เวณเส้นวงรอบขอบระวางตัดผ่านไว้ดว้ ย
▪ กาหนดจุดตามแนววงรอบขอบระวางด้านทิศเหนื อ–ใต้ และตอกหมุดไม้ทุกระยะ
200 ม. เพื่อใช้สาหรับการออกหรื อเข้าบรรจบในการสารวจแนวเส้นซอย
▪ วางแนวเส้นซอย โดยออกจากหมุดไม้ที่ตอกไว้แล้ว ไปตามแนวทิศตะวันออก–ตก
โดยให้ต้ งั ฉากกับเส้นขอบระวางทิศเหนื อ–ใต้ ด้วยเข็มทิศ หรื อออกฉากด้วยกล้อง
วัดมุม แล้วกรุ ยแนวเส้นซอยวัดระยะ และปักหมุดไม้ทุก ระยะ 40 – 50 ม.

14
▪ วัดระยะความคลาดเคลื่อนของแนวเส้นซอย ที่เข้าบรรจบหมุด ณ ขอบระวางตรง
ข้าม ว่าเป็ นระยะห่างเท่าใด และบันทึกไว้ เพื่อนามาพล็อตแนวเส้นซอยให้ถูกต้อง
ตามความเป็ นจริ ง แล้ววัดระยะรวมสุ ดท้ายของเส้นซอยนั้น เพื่อคานวณหาจานวน
แก้แต่ละจุด โดยวิธีเฉลี่ยในการพล็อตจุดระดับของเส้นซอย
▪ รังวัดระดับตามแนวเส้นซอย ทุกระยะ 40 – 50 ม. หรื อ ณ จุดที่มีระดับภูมิประเทศ
เปลี่ยนแปลงมาก โดยวิธีการระดับชั้นที่ 3
2.1.2.3 การฝังหมุดหลักฐาน ให้เป็ นไปตามหลักการสร้างหมุดหลักฐาน ข้อ 1.2.1 และเพื่อ
ป้ องกันการถูกทาลาย ถึงแม้วา่ จะเป็ นหมุดหลักฐานมุมระวางก็อนุ โลมให้เลื่อนไปยังตาแหน่งที่ปลอดภัยได้
เช่น คันนา หรื อมุมเขตที่ดิน
2.1.2.4 การเก็บรายละเอียดภูมิประเทศ
▪ เก็บ รายละเอี ยดพร้ อมนามศัพ ท์ตามแนวทั้งสองข้างเส้ นส ารวจ โดยวิธีออกฉาก
หรื อส่ องสกัดรายละเอียดต่อไปนี้
• อาคารสาคัญๆ เช่น สถานที่ราชการ วัด โรงเรี ยน หมู่บา้ น ป่ าช้า โบสถ์ฝรั่ง เจดีย ์
สะพาน อาคารชลประทาน แนวเหมือง ฝายราษฎร ฯลฯ
• รายละเอียดทัว่ ไป เช่น ไร่ นา ป่ า สวน ลาน้ า ลาห้วย หนอง บึง คลอง ที่ชายเลน
เขตหมู่บา้ น เขตอุตสาหกรรม เขตป่ าสงวน ฯลฯ
• ให้ใช้ภาพถ่ายประกอบในการลงรายละเอียด (ถ้ามี)
2.1.2.5 การเขียนแผนที่
▪ จัดท าแผ่นระวางแผนที่ ขนาด 60  100 ซม. โดยใช้ก ระดาษโพลี เอสเตอร์ แบ่ ง
ออกเป็ นตารางๆละ 10  10 ซม.
▪ ลงตาแหน่งหมุดหลักฐานในแผ่นระวาง ตามค่าพิกดั ที่คานวณตรวจสอบแล้ว และ
เขียนรายละเอียดภูมิประเทศ และเส้นชั้นความสู ง
▪ เขียนรายละเอียดขอบระวางแผนที่ เช่ น สารบัญแผ่นต่อ ศูนย์กาเนิ ด หมายเหตุ
รายละเอียดการสารวจ ฯลฯ ตามแบบที่สานักสารวจด้านวิศวกรรมและธรณี วิทยา
กาหนด ในภาคผนวก ค.
2.2 การสารวจแผนทีบ่ ริเวณอ่างเก็บนา้ (มาตราส่ วน 1: 10,000 เส้ นชั้ นความสู งชั้ นละ 1 – 2 ม.)
2.2.1 วัตถุประสงค์ เพื่อทาแผนที่รายละเอียด และระดับความสู งของภูมิประเทศบริ เวณที่จะสร้างอ่าง
เก็บน้ า ( Reservoir ) และใช้ในการ : -
▪ กาหนดขอบเขตบริ เวณน้ าท่วม
▪ พิจารณาวางโครงการสร้ างเขื่ อนเก็บกักน้ า คานวณความจุ และพื้นที่ ผิวน้ าของอ่างเก็บน้ า
ตลอดจนทรัพยากรธรรมชาติในบริ เวณอ่างเก็บน้ านั้น ๆ

15
2.2.2 ลักษณะของงาน
2.2.2.1 การเตรียมงานเบื้องต้ น
▪ จัดหาแผนที่ ม าตราส่ วน 1 : 50,000 หรื อใหญ่ กว่า มากาหนดพื้ นที่ ส ารวจให้ มี ค่ า
ระดับสู งกว่าระดับน้ าสู งสุ ดไม่นอ้ ยกว่า 5 ม. โดยอาศัยค่าระดับของเส้นชั้นความสู ง
ในแผนที่เป็ นหลัก
▪ กาหนดแนววงรอบขอบอ่าง แนววงรอบสองฝั่ งตามลาน้ าสายใหญ่ และลาน้ าสาขา
ตามความเหมาะสมหรื อถ้ามีเส้นทางรถยนต์ ทางเกวียน ก็ให้กาหนดแนววงรอบให้
ต่อเนื่องเป็ นวงๆ ไว้ดว้ ย
▪ จัดหาค่าพิกดั ค่าระดับและหมายพยานของหมุดหลักฐานในบริ เวณใกล้เคียงเพื่อใช้
เป็ นค่าอ้างอิง
▪ คานวณปริ มาณงานสาหรับตั้งประมาณการ และวางแผนงานสารวจ
▪ จัดทาแผนที่สารบัญ (Index Map) มาตราส่ วนตามความเหมาะสม เพื่อประกอบการ
เขียนแผนที่ และรายงานความก้าวหน้าของงาน
▪ จัดหาเครื่ องมืออุปกรณ์การสารวจที่จาเป็ นและเหมาะสมกับงาน
2.2.2.2 การสารวจงานวงรอบและงานระดับ
▪ ทาการโยงค่าพิกดั และค่าระดับจากหมุดหลักฐานที่ทราบค่าแล้ว อย่างน้อย 2 หมุด
ไปยังขอบอ่างหรื อหัวงานเขื่อน ที่กาหนดไว้ตอนต้น จากนั้นให้วางแนววงรอบ และ
ระดับ รอบขอบอ่างโดยอาศัยค่ าระดับ ที่ กาหนดไว้ในชั้นต้นเป็ นหลัก โดยวิธีการ
วงรอบและระดับชั้นที่ 3
▪ วางแนววงรอบและระดับ เลียบลาน้ าทั้ง 2 ฝั่ง (ถ้าลาน้ าใหญ่) หรื อตามถนน, ทางน้ า
และลาน้ าสาขา ตามความเหมาะสม และเข้าบรรจบกันเป็ นวง โดยวิธีการวงรอบ
และการระดับ ชั้น ที่ 3 พร้ อมฝั งหมุ ดหลัก ฐานถาวร แบบ ข. เป็ นคู่ ไว้ทุ ก วงที่ เข้า
บรรจบ ฝังหมุดหลักฐานถาวรแบบ ค. (หมุดท่อ) เป็ นคู่ทุกระยะ 2 กม.
▪ สาหรับร่ องน้ าหรื อทางน้ าซึ่ งไม่มีลกั ษณะเป็ นลาน้ า ให้ทาการเก็บรายละเอียดโดย
การวัดมุมวัดระยะออกจากหมุดคู่ของเส้นฐานเลียบลาน้ าสายหลักหรื อลาน้ าสาขา
ไปตามร่ อ งน้ า หรื อ ทางน้ า นั้น ๆ จนถึ ง ระดับ น้ า สู ง สุ ด ของอ่ า งเก็ บ น้ าที่ ก าหนด
ก าหนดเส้ น ซอยตามแนวเส้ น ฐานทุ ก ระยะประมาณ 200ม. ให้ ต้ งั ฉากกับ แนว
ศูนย์กลางร่ องน้ าหรื อทางน้ า เดินระดับปี กเส้นซอยทั้งสองข้างให้ถึงระดับที่สูงกว่า
ระดับน้ าสู งสุ ดของอ่างเก็บน้ าที่กาหนด ประมาณ 3-5 ม.
▪ กาหนดจุดและตอกหมุดไม้ เพื่อออกเส้นซอย ทุกระยะประมาณ 200 ม.โดยอาศัย
เส้นฐานเลียบลาน้ า หรื อเส้นฐานรอบขอบอ่าง

16
▪ กรุ ย แนวเส้ น ซอย ที่ ก าหนดไว้ข ้างต้น ด้วยเข็ม ทิ ศ หรื อ กล้องวัด มุ ม ไปทางทิ ศ
ตะวันออก – ตะวันตก หรื อ เหนื อ – ใต้ หรื อให้แนวที่ กรุ ยนั้นตัดขวางกับเส้ นชั้น
ความสู งเป็ นส่ วนใหญ่ของขอบอ่างเก็บน้ านั้นๆ หรื ออาจจะให้ต้ งั ฉากกับศูนย์กลาง
ลาน้ าก็ได้ ถ้าพิจารณาแล้วเห็ นว่าเหมาะสม ทั้งนี้ เพื่ อให้ได้มาซึ่ งความต่างของจุ ด
ระดับมากที่สุด
▪ การวัดระยะและการทาระดับ ทาเช่ นเดี ยวกับข้อ 2.1.2.2 และให้ทา B.M. (Bench
Mark) ไว้ตามโคนต้นไม้รอบขอบอ่างด้วย เพื่อเป็ นประโยชน์ในการสารวจกันเขต
ขอบอ่างเก็บน้ า หรื อการถางป่ าบริ เวณที่ถูกน้ าท่วม ต่อไป
2.2.2.3 การเก็บรายละเอียดภูมิประเทศ
▪ เก็บ รายละเอี ยดพร้ อมนามศัพ ท์ตามแนวทั้งสองข้างเส้ นส ารวจ โดยวิธีออกฉาก
หรื อส่ องสกัดรายละเอียดต่อไปนี้
• อาคารสาคัญๆ เช่น สถานที่ราชการ วัด โรงเรี ยน หมู่บา้ น ป่ าช้า โบสถ์ฝรั่ง เจดีย ์
สะพาน อาคารชลประทาน แนวเหมือง ฝายราษฎร ฯลฯ
• รายละเอียดทัว่ ไป เช่น ไร่ นา ป่ า สวน ลาน้ า ลาห้วย หนอง บึง คลอง ที่ชายเลน
เขตหมู่บา้ น เขตอุตสาหกรรม เขตป่ าสงวน ฯลฯ
• ให้ใช้ภาพถ่ายประกอบในการลงรายละเอียด (ถ้ามี)
▪ ให้บนั ทึกเพิ่มเติมเกี่ยวกับ ประเภทป่ าไม้และพืชพันธุ์
2.2.2.4 การเขียนแผนที่
▪ จัดท าแผ่นระวางแผนที่ ขนาด 60  100 ซม. โดยใช้ก ระดาษโพลี เอสเตอร์ แบ่ ง
ออกเป็ นตารางๆละ 10  10 ซม.
▪ ลงตาแหน่งหมุดหลักฐานในแผ่นระวาง ตามค่าพิกดั ที่คานวณตรวจสอบแล้ว และ
เขียนรายละเอียดภูมิประเทศ และเส้นชั้นความสู ง
▪ เขียนรายละเอียดขอบระวางแผนที่ เช่ น สารบัญแผ่นต่อ ศูนย์กาเนิ ด หมายเหตุ
รายละเอียดการสารวจ ฯลฯ ตามแบบที่สานักสารวจด้านวิศวกรรมและธรณี วิทยา
กาหนด ในภาคผนวก ค.
▪ เส้นชั้นความสู งปิ ดที่ระดับ…...ม.(รทก.) ตามความต้องการของ……(หน่ วยงานที่
ขอ)
2.3 การสารวจเพื่อทาแผนที่มาตราส่ วน 1 : 4,000 หรื อ 1 : 5,000 เส้ นชั้ นความสู ง ชั้นละ 0.25 - 1.00 ม.
โดยวิธีเส้ นซอย
2.3.1 วัตถุประสงค์ เพื่อสารวจทาแผนที่รายละเอียด และระดับความสู งของภูมิประเทศ ในกรณี
ต่อไปนี้
2.3.1.1 แผนทีบ่ ริเวณอ่างเก็บนา้ ซึ่ งมีพ้นื ที่ผวิ น้ าที่ระดับเก็บกักไม่เกิน 15 กม2

17
2.3.1.2 แผนทีภ่ ูมิประเทศโครงการขนาดเล็ก เพื่อใช้ในการออกแบบ
2.3.1.3 แผนทีภ่ ูมิประเทศบริเวณทีไ่ ม่ มีภาพถ่ ายหรื อบริ เวณทีไ่ ม่ สามารถ Identify จุดได้
แสดงเส้นชั้นความสู งชั้นละ 25 ซม. หรื อใช้ในการออกแบบงานจัดรู ปที่ดิน งานพัฒนาในแปลงนา ฯลฯ
2.3.2 ลักษณะของงาน
2.3.2.1 การเตรียมงานเบื้องต้ น
▪ จัด หาแผนที่ ม าตราส่ ว น 1:50,000 หรื อ ใหญ่ ก ว่ า มาก าหนดขอบเขตโครงการ
โดยกาหนดเป็ นวง วงหนึ่งมีพ้นื ที่ไม่เกิน 1  2 กม. โดยให้เส้นซอยยาว 1 กม.
▪ กาหนดขอบระวาง โดยการวางแนววงรอบสายหลัก ขนาด 2  4 กม.
▪ จัดหาค่าพิกดั ค่าระดับ และหมายพยานของหมุดหลักฐาน ในบริ เวณใกล้เคียงเพื่อ
ใช้เป็ นค่าอ้างอิง
▪ พล็อตค่าพิกดั และค่าระดับของหมุดหลักฐานที่ทราบค่าแล้วลงในแผนที่
▪ จัดทาแผนที่สารบัญ (Index Map) มาตราส่ วนตามความเหมาะสมเพื่อประกอบการ
เขียนแผนที่ และอุปกรณ์การสารวจที่จาเป็ นและเหมาะสมกับงาน
2.3.2.2 การสารวจงานวงรอบและงานระดับ
▪ ท าการโยงค่ าพิ ก ัดและค่ าระดับ จากหมุ ด หลัก ฐานที่ ท ราบค่ าแล้ว ไปยังมุ มขอบ
ระวางที่ ก าหนดไว้ต อนต้น จากนั้น ให้ วางแนววงรอบและแนวระดับ สายหลัก
ครอบคลุ ม พื้ น ที่ ก รอบนอก โดยวิธี ก ารวงรอบและระดับ ชั้น ที่ 3 พร้ อมฝั งหมุ ด
หลักฐานถาวรแบบ ข. เป็ นคู่ ตามแนววงรอบสายหลัก ทุก 4 กม.
▪ วางแนววงรอบ และระดับสายรองตามขอบระวางที่กาหนดไว้ ในข้อ2.3.2.1 ให้เข้า
บรรจบเป็ นวงๆ ขนาด 1  2 กม. โดยวิธีการวงรอบและระดับชั้นที่ 3 พร้อมฝังหมุด
หลัก ฐานถาวรแบบ ค. ไว้เป็ นคู่ ทุ ก มุ ม ของขอบระวาง หรื อ บริ เวณใกล้เคี ย งที่
ปลอดภัย
▪ วางแนววงรอบและระดับ เลี ยบตามลาน้ าสายสาคัญๆ ตามถนน ทางรถไฟ(ถ้ามี )
และฝังหมุดหลักฐานถาวรแบบ ค. เป็ นคู่ ตรงบริ เวณเส้นวงรอบขอบระวางตัดผ่าน
ไว้ดว้ ย
▪ กาหนดจุดและตอกหมุดไม้เพื่อออกเส้นซอยตามแนววงรอบขอบระวางทุก ระยะ
80 ม.
▪ วางแนวเส้นซอยให้ต้ งั ฉากกับเส้นขอบระวาง ด้วยเข็มทิศหรื อกล้องวัดมุม แล้ววัด
ระยะตามแนวเส้นซอยที่กรุ ยไว้ พร้อมทั้งปั กหมุดไม้ทุกระยะ 40 ม.
▪ วัดระยะความคลาดเคลื่อน ของแนวเส้นซอยที่เข้าบรรจบหมุด ณ ขอบระวางตรง
ข้ามว่าเป็ นระยะห่ างเท่าใด และบันทึกไว้เพื่อนามาพล็อตแนวเส้นซอยให้ถูกต้อง

18
ตามความเป็ นจริ ง แล้ววัดระยะรวมสุ ดท้ายของเส้นซอยนั้น เพื่อคานวณหาจานวน
แก้แต่ละจุดโดยวิธีเฉลี่ย ในการพล็อตจุดระดับของเส้นซอย
▪ รังวัดระดับตามแนวเส้นซอยทุกระยะ 40 ม. โดยวิธีการระดับชั้นที่ 3 สาหรับกรณี
ท าแผนที่ เพื่ อ ใช้ใ นงานพัฒ นาในแปลงนา ต้อ งรั ง วัด ระดับ ณ จุ ด ที่ มี ค่ า ระดับ
เปลี่ยนแปลงมากกว่า 25 ซม. ด้วย
2.3.2.3 การฝั งหมุ ดหลักฐาน ให้เป็ นไปตามหลักการสร้ างหมุดหลักฐาน ข้อ 1.2.1 และเพื่ อ
ป้ องกันการถู กทาลาย ถึ งแม้วา่ จะเป็ นหมุดหลักฐานมุมระวางก็อนุ โลมให้เลื่ อนไปยังตาแหน่ งที่ปลอดภัยได้
เช่น คันนา หรื อมุมเขตที่ดิน
2.3.2.4 การเก็บรายละเอียดภูมิประเทศ
▪ เก็บ รายละเอี ยดพร้ อมนามศัพ ท์ตามแนวทั้งสองข้างเส้ นส ารวจ โดยวิธีออกฉาก
หรื อส่ องสกัดรายละเอียดต่อไปนี้
• อาคารสาคัญๆ เช่น สถานที่ราชการ วัด โรงเรี ยน หมู่บา้ น ป่ าช้า โบสถ์ฝรั่ง เจดีย ์
สะพาน อาคารชลประทาน แนวเหมือง ฝายราษฎร ฯลฯ
• รายละเอียดทัว่ ไป เช่น ไร่ นา ป่ า สวน ลาน้ า ลาห้วย หนอง บึง คลอง ที่ชายเลน
เขตหมู่บา้ น เขตอุตสาหกรรม เขตป่ าสงวน ฯลฯ
• ให้ใช้ภาพถ่ายประกอบในการลงรายละเอียด (ถ้ามี)
▪ แต่ถา้ เป็ นการสารวจทาแผนที่อ่างเก็บน้ า ให้บนั ทึกเพิ่มเติมเกี่ยวกับ ประเภทป่ าไม้
และพืชพันธุ์ ด้วย
2.3.2.5 การเขียนแผนที่
▪ จัดท าแผ่นระวางแผนที่ ขนาด 60  100 ซม. โดยใช้ก ระดาษโพลี เอสเตอร์ แบ่ ง
ออกเป็ นตารางๆละ 10  10 ซม.
▪ ลงตาแหน่งหมุดหลักฐานในแผ่นระวาง ตามค่าพิกดั ที่คานวณตรวจสอบแล้ว และ
เขียนรายละเอียดภูมิประเทศ และเส้นชั้นความสู ง
▪ เขียนรายละเอียดขอบระวางแผนที่ เช่ น สารบัญแผ่นต่อ ศูนย์กาเนิ ด หมายเหตุ
รายละเอียดการสารวจ ฯลฯ ตามแบบที่สานักสารวจด้านวิศวกรรมและธรณี วิทยา
กาหนด ในภาคผนวก ค.
2.4 งานสารวจรายละเอียดภูมิประเทศ เพื่อทาแผนที่มาตราส่ วน 1 : 4,000 หรื อมาตราส่ วน 1 : 5,000 เส้ น
ชั้ นความสู งชั้ นละ 25 ซม. โดยใช้ แผนที่ภาพถ่ าย มาตราส่ วน 1 : 4,000 หรื อ 1 : 5,000 ประกอบการสารวจจุ ด
ระดับภูมิประเทศ (Spot Height Survey)
2.4.1 วัตถุประสงค์ เพื่อทาแผนที่สาหรับการออกแบบ การจัดรู ปที่ดินและการพัฒนาในแปลงนา ฯลฯ
โดยอาศัย กรรมวิธี ก ารผลิ ต แผนที่ จ ากภาพถ่ า ยทางอากาศ (Photogrammetry) ผลิ ต เป็ นแผนที่ ภ าพดัด แก้
(Rectified Photo) หรื อแผนที่ภาพออโธ (Ortho Photo) มาตราส่ วน 1 : 4,000 หรื อมาตราส่ วน 1 : 5,000 แล้วนา

19
แผนที่น้ ี ไปสารวจระดับภูมิประเทศของจุดต่างๆ ที่ เห็ นเด่นชัดบนแผนที่ โดยวิธี Identify นามาเขียนเส้นชั้น
ความสู งชั้นละ 25 ซม. ต่อไป
2.4.2 ลักษณะของงาน
2.4.2.1 การเตรียมงานเบื้องต้ น
▪ จัดหาแผนที่ส ารบัญ (Index Map) มาตราส่ วน 1 : 50,000 หรื อเล็ก กว่า มากาหนด
ขอบเขตพื้นที่ที่จะทาการสารวจ
▪ จัดหาภาพดัดแก้มาตราส่ วน 1 : 4,000 หรื อ 1 : 5,000 มากันขอบเขตที่จะต้องสารวจ
ของแต่ละภาพให้ต่อเนื่องกัน
▪ กาหนดขอบเขตบล็อกใหญ่ (Main Block) ลงในภาพขนาดพื้นที่ ไม่เกิ น 1,000 ไร่
ตามแนวทิศเหนือ – ใต้ และตะวันออก – ตก โดยประมาณ หรื ออาศัยแนวถนน ทาง
และแนวคลองส่ งน้ า เป็ นขอบเขตบล็อก
▪ กาหนดขอบเขตบล็อกเล็ก (Sub Block) ลงในบล็อกใหญ่ ขนาดพื้นที่ไม่เกิ น 30 ไร่
โดยอาศัยคันนาที่เห็นเด่นชัด หรื อกาหนดจากตารางเส้นกริ ด
▪ จัดหาค่าพิกดั ค่าระดับ และหมายพยานของหมุดหลักฐานในบริ เวณที่ จะทาการ
สารวจหรื อบริ เวณใกล้เคียง เพื่อใช้เป็ นค่าอ้างอิง
▪ พล็อตค่าพิกดั และค่าระดับของหมุดหลักฐานที่ทราบค่าแล้ว ลงในภาพดัดแก้ และ
แผนที่สารบัญ
▪ คานวณปริ มาณงานที่ตอ้ งดาเนินการ เพื่อตั้งงบประมาณและวางแผนงานสารวจ
▪ จัดหาเครื่ องมือและอุปกรณ์การสารวจที่จาเป็ นและเหมาะสมกับงาน
2.4.2.2 การฝังหมุดหลักฐาน
▪ ฝังหมุดหลักฐานถาวรแบบ ข. ทุกระยะ 4 กม. ในตาแหน่งที่มนั่ คงและเหมาะสม
▪ ฝังหมุดหลักฐานถาวรแบบ ค. ทุกมุมบล็อกใหญ่ และตามอาคารชลประทาน ( ถ้ามี
)ควรทาเป็ น หมุดสกัดพร้อมกับทาหมายพยานของหมุดไว้ดว้ ย
▪ ตอกหมุดไม้ขนาด 11 ทุกมุมบล็อกเล็ก และปักหลักไม้ ไว้เป็ นที่หมาย
2.4.2.3 การรังวัดระดับ
▪ ฝังหมุดหลักฐานถาวรแบบ ข. ทุกระยะ 2 กม. ตามแนวเส้นฐาน
▪ โยงค่าระดับจากหมุดหลักฐานใกล้เคียงที่ทราบค่าแล้ว ไปยังหมุดหลักฐานที่สร้าง
ไว้ทุกหมุดและหมุดไม้ เฉพาะตามแนวขอบเขตบล็อกใหญ่ ด้วยวิธีการระดับชั้นที่
3
▪ รังวัดค่าระดับ ของจุ ดที่ เห็ นเด่ นชัดภายในบล็อกเล็ ก ให้มี จานวนเพี ยงพอโดยถื อ
เกณฑ์ระยะห่ างของแต่ละจุดระดับประมาณ 60 – 80 ม. หรื อขึ้นอยูก่ บั สภาพความ

20
ลาดเทของภูมิประเทศ และค่าความสู งต่าง ของระดับแต่ละจุดไม่เกิ น 25 ซม. ถ้า
เกินจะต้องเพิ่มจุดระดับแทรก
▪ การอ่านค่าระดับ ให้อ่านสามสายใย และอ่านค่ามุมราบประกอบด้วย
▪ รังวัดค่าระดับ ตลิ่ง ซ้าย – ขวา – กลาง หลังคันของคูน้ าและหลังท่อลอด ท่อระบาย
น้ า ฯลฯ
▪ การสารวจระดับจะต้องออกและเข้าบรรจบหมุดหลักฐานอย่างน้อย 2 หมุด
2.4.2.4 การเก็บรายละเอียดภูมิประเทศ
▪ จาแนกประเภทและนามศัพ ท์ข องรายละเอี ย ด ที่ ป รากฏบนแผนที่ ภาพถ่ ายและ
เก็บรายละเอียดที่เกิดขึ้นใหม่หรื อเปลี่ยนแปลงสภาพ ในภูมิประเทศ
2.4.2.5 การเขียนแผนที่
▪ การเขี ยนแผนที่ แสดงรายละเอี ยดภู มิป ระเทศ เส้ นชั้นความสู งชั้นละ 25 ซม. เพื่ อ
แสดงลักษณะความสู งต่าของพื้นที่ภูมิประเทศ
▪ ในกรณี ที่สงสัยการกาหนดจุดจากสนาม (โดยวิธี Identify) ให้นาค่ามุมและระยะมา
ตรวจสอบ
▪ เขียนค่าระดับของหมุดหลักฐาน และอาคารชลประทานต่างๆ ที่ได้รังวัดไว้
2.5 การสารวจแผนทีห่ ัวงาน มาตราส่ วน 1:1,000 ถึง 1:2,000 เส้ นชั้ นความสู ง ชั้นละ 0.25 ม. หรื อ 1.00 ม.
2.5.1 วัตถุประสงค์ เพื่อทาแผนที่รายละเอียดและระดับความสู งของภูมิประเทศ ณ บริ เวณที่จะสร้าง
เขื่อน ทานบ ฝาย ที่ทาการ บ้านพัก ฯลฯ สาหรับใช้ในการพิจารณาออกแบบที่ต้ งั อาคารชลประทานนั้น ๆ
2.5.2 ลักษณะของงาน
2.5.2.1 การเตรียมงานเบื้องต้ น
▪ เตรี ยมแผนที่โครงการที่สานักออกแบบฯกาหนดขอบเขตและที่ต้ งั อาคารต่างๆ
▪ จัด หาค่ าพิ ก ัด ค่ าระดับ และหมายพยานของหมุ ด หลัก ฐานในขอบเขตงานหรื อ
บริ เวณใกล้เคียง เพื่อใช้เป็ นค่าอ้างอิง
▪ พล็อตค่าพิกดั และค่าระดับของหมุดหลักฐานที่ทราบค่าแล้ว ลงในแผนที่โครงการ
▪ คานวณปริ มาณงานที่จะต้องดาเนินการ เพื่อตั้งงบประมาณและวางแผนงานสารวจ
2.5.2.2 การสารวจงานวงรอบและงานระดับ
▪ ทาการโยงค่าพิกดั และค่าระดับจากหมุดหลักฐานที่ทราบค่าแล้วไปยังขอบเขตหัว
งานที่สานักออกแบบฯ กาหนด โดยวิธีการวงรอบและระดับชั้นที่ 3
▪ วางแนวศูนย์กลางอาคาร พร้อมสร้างหมุดหลักฐานถาวรแบบ ข. ไว้อย่างน้อย 2 คู่
(ฝั่งซ้าย 1 คู่ ฝั่งขวา 1 คู่) และควรเขียนค่าระดับไว้ที่หมุดหลักฐาน หลังการคานวณ
ปรับแก้แล้ว

21
▪ วางแนวเส้ น ฐานขอบเขตหัวงานให้ ต้ งั ฉากจากปลายแนวศู น ย์ก ลางทั้งสองข้า ง
ออกไป ทางด้านเหนื อน้ าและท้ายน้ า จนสุ ดเขตหัวงาน กาหนดจุดเส้นซอยทุก 20 –
40 ม. และกรุ ยแนวเส้นฐานเชื่ อมปลายทั้งสองข้างให้เป็ นกรอบสี่ เหลี่ ยม พร้ อมทั้ง
สร้างหมุดหลักฐานถาวรแบบ ข.เป็ นคู่ ทุกมุมขอบเขตหัวงานหรื อบริ เวณใกล้เคียง
ในตาแหน่งที่ปลอดภัย
▪ กรุ ยแนวเส้นซอยให้ขนานกับแนวศูนย์กลาง จนถึงขอบเขตหัวงานอีกด้านหนึ่ ง แล้ว
รังวัดระดับทุกระยะ 10 – 20 ม. หรื อทุกจุดที่ระดับเปลี่ยนแปลงมาก และให้วดั ระยะ
ความคลาดเคลื่ อนของแนวเส้นซอยที่เข้าบรรจบหมุดขอบเขตหัวงาน เพื่ อนามา
พล็อตให้ได้แนวและระยะจริ งตรงกับภูมิประเทศ
2.5.2.3 การรังวัดรู ปตัดขวาง
▪ วางแนววงรอบและระดับเลียบลาน้ า โดยออกจากแนวศูนย์กลางอาคารไปทางด้าน
เหนือน้ า 1 กม. และด้านท้ายน้ า 1 กม. และกาหนดจุดรู ปตัดขวางทุกระยะ 100 ม.
▪ กรุ ยแนวรู ปตัดขวาง ให้ต้ งั ฉากกับแนวศูนย์กลางลาน้ า และต่อปี กรู ปตัดออกไปด้าน
ละ 100 ม. แล้วรังวัดระดับทุกระยะ 5 ม. หรื อทุกจุดที่ระดับเปลี่ยนแปลงมาก
▪ บันทึกสถิติระดับส่ งน้ าต่าสุ ดและสู งสุ ด ตลอดจนระดับน้ า และ วัน เวลา ขณะที่ทา
การสารวจ และให้ระบุดว้ ยว่าระดับน้ า และคราบน้ าสู งสุ ดที่หาได้น้ นั เป็ นสถิ ติใน
พ.ศ. ใด
2.5.2.4 การเก็บรายละเอียดภูมิประเทศ
▪ เก็บ รายละเอี ยดพร้ อมนามศัพ ท์ตามแนวทั้งสองข้างเส้ นส ารวจ โดยวิธีออกฉาก
หรื อส่ องสกัดรายละเอียดต่อไปนี้
• อาคารสาคัญๆ เช่น สถานที่ราชการ วัด โรงเรี ยน หมู่บา้ น ป่ าช้า โบสถ์ฝรั่ง เจดีย ์
สะพาน อาคารชลประทาน แนวเหมือง ฝายราษฎร ฯลฯ
• รายละเอียดทัว่ ไป เช่น ไร่ นา ป่ า สวน ลาน้ า ลาห้วย หนอง บึง คลอง ที่ชายเลน
เขตหมู่บา้ น เขตอุตสาหกรรม เขตป่ าสงวน ฯลฯ
• ให้ใช้ภาพถ่ายประกอบในการลงรายละเอียด (ถ้ามี)
2.5.2.5 การเขียนแผนที่
▪ จัด ท าแผ่ น ระวางแผนที่ ขนาด 60  100 ซม. โดยใช้ ก ระดาษโพลี เอสเตอร์
แบ่งออกเป็ นตารางๆละ 10  10 ซม.
▪ ลงตาแหน่งหมุดหลักฐานในแผ่นระวาง ตามค่าพิกดั ที่คานวณตรวจสอบแล้ว และ
เขียนรายละเอียดภูมิประเทศ และเส้นชั้นความสู ง

22
▪ เขียนรายละเอียดขอบระวางแผนที่ เช่ น สารบัญแผ่นต่อ ศูนย์กาเนิ ด หมายเหตุ
รายละเอียดการสารวจ ฯลฯ ตามแบบที่สานักสารวจด้านวิศวกรรมและธรณี วิทยา
กาหนด ในภาคผนวก ค.
▪ เขี ย นแผนที่ แ สดงรายละเอี ย ดภู มิ ป ระเทศของล าน้ า ทั้ง ด้านเหนื อ น้ า – ท้า ยน้ า
มาตราส่ วนและเส้นชั้นความสู ง เท่ากันกับแผนที่หวั งาน
▪ เขียนแผนที่รูปตัดตามยาว มาตราส่ วน ทางตั้ง 1:100 มาตราส่ วนทางราบเท่ากันกับ
มาตราส่ วนของแผนที่หวั งาน โดยแสดงระดับตลิ่งซ้าย แนวศูนย์กลาง และตลิ่งขวา
▪ เขียนแผนที่ รูปตัดขวาง มาตราส่ วน ทางตั้งและทางราบ 1:100 โดยแสดงลักษณะ
ตลิ่งซ้าย ก้นคลอง และตลิ่งขวา ระดับน้ าขณะสารวจ ระดับน้ าสู งสุ ด
2.6 การสารวจแผนที่ผงั บริเวณอาคารชลประทาน (Site Plan) มาตราส่ วน 1 : 500 เส้ นชั้ นความสู ง ชั้นละ
25 ซม.
2.6.1 วัตถุประสงค์ เพื่อใช้ในการออกแบบอาคารชลประทานต่างๆ เช่นประตูระบายท่อลอด สะพาน
น้ า จุดที่แนวคลอง แนวถนน หรื อแนวคันกั้นน้ า ตัดผ่านถนน ลาน้ า ซึ่งจะมีขนาด 200  200 ม.หรื อขนาดที่
เหมาะสมกับตัวอาคารชลประทาน
2.6.2 ลักษณะของงาน
2.6.2.1 การเตรียมงานเบื้องต้ น
▪ เตรี ยมงานโครงการ ที่สานักออกแบบฯ กาหนดขอบเขตและที่ต้ งั อาคารต่างๆ
▪ จัดหาค่าพิกดั ค่าระดับและหมายพยานของหมุดหลักฐาน บริ เวณใกล้เคียงเพื่อใช้ใน
การออกและเข้าบรรจบงาน
2.6.2.2 การสารวจงานวงรอบและงานระดับ
▪ เลือกหาและกาหนดจุดศูนย์กลางของอาคารที่จะทาการก่อสร้างในภูมิประเทศ และ
ต่อแนวเส้ นฐานออกจากจุดศู นย์กลางออกไปข้างละ 100 ม. หรื อ จนสุ ดขอบเขต
ผังบริ เวณ
▪ วางแนวเส้ น ฐานขอบเขตงานให้ ต้ งั ฉากจากจุ ด ปลายแนวศู น ย์ก ลางทั้ง สองข้า ง
ออกไปด้านละ 100 ม. หรื อจนสุ ดขอบเขตผังบริ เวณ และกรุ ยแนวเส้นฐานเชื่ อ ม
ปลายทั้งสองข้างให้เป็ นกรอบสี่ เหลี่ยม
▪ สร้ า งหมุ ดหลัก ฐานถาวร แบบ ข. ในแนวศู น ย์ก ลางอย่างน้อ ย 1 คู่ และฝั งหมุ ด
หลักฐานถาวร แบบ ค. ที่ปลายทั้งสองของแนวศูนย์กลางอาคารชลประทาน และ
บริ เวณขอบผังบริ เวณอีก 1 คู่
▪ โยงค่าพิกดั และค่าระดับ จากหมุดหลักฐานบริ เวณใกล้เคียงที่ท ราบค่าแล้ว ไปยัง
หมุดหลักฐานที่สร้างไว้ทุกหมุด โดยวิธีการวงรอบและระดับชั้นที่ 3

23
▪ วางแนววงรอบและระดับเลี ยบลาน้ า โดยออกจากแนวศูนย์กลางไปทางเหนื อน้ า
และท้ายน้ า จนสุ ดขอบเขตผังบริ เวณ
▪ กาหนดจุดเส้นซอย ทุกระยะ 10 ม. ตามแนวเส้นฐาน ตามลาน้ า
▪ กรุ ยแนวเส้นซอยให้ต้ งั ฉากกับแนวเส้นฐาน จนสุ ดขอบเขตผังบริ เวณ อีกด้านหนึ่ ง
แล้วรังวัดระดับทุกระยะ 5 – 10 ม. หรื อทุกจุดที่ระดับเปลี่ยนแปลงมาก
2.6.2.3 การเก็บรายละเอียดภูมิประเทศ
▪ เก็บ รายละเอี ยดพร้ อมนามศัพ ท์ตามแนวทั้งสองข้างเส้ นส ารวจ โดยวิธีออกฉาก
หรื อส่ องสกัดรายละเอียดต่อไปนี้
• อาคารสาคัญๆ เช่น สถานที่ราชการ วัด โรงเรี ยน หมู่บา้ น ป่ าช้า โบสถ์ฝรั่ง เจดีย ์
สะพาน อาคารชลประทาน แนวเหมือง ฝายราษฎร ฯลฯ
• รายละเอียดทัว่ ไป เช่น ไร่ นา ป่ า สวน ลาน้ า ลาห้วย หนอง บึง คลอง ที่ชายเลน
เขตหมู่บา้ น เขตอุตสาหกรรม เขตป่ าสงวน ฯลฯ
• ให้ใช้ภาพถ่ายประกอบในการลงรายละเอียด (ถ้ามี)
2.6.2.4 การรังวัดรู ปตัดขวาง
▪ กาหนดตาแหน่งเพื่อสารวจรู ปตัดลาน้ าทุกระยะ 20 ม. ตามแนวศูนย์กลางลาน้ าไป
ทางด้านเหนือน้ า และท้ายน้ า ข้างละไม่นอ้ ยกว่า 2 รู ป
▪ รังวัดระดับตามแนวรู ปตัด ทุกระยะ 5 ม. และทุกจุดที่ภูมิประเทศเปลี่ยนแปลงมาก
2.6.2.5 การเขียนแผนที่
▪ เขียนแผนที่มาตราส่ วน 1 : 500 แสดงรายละเอียดภูมิประเทศ และความสู งต่าของ
พื้นที่ดว้ ยเส้นชั้นความสู ง ชั้นละ 25 ซม.
▪ เขียนแผนที่แสดงรู ปตัดของลาน้ า มาตราส่ วนทางตั้ง 1 : 100 ทางราบ 1 : 100
2.7 การสารวจวางแนวคลองส่ งนา้
2.7.1 วัตถุ ประสงค์ เพื่อจั ด ทาแผนที่รายละเอียดและระดั บภู มิประเทศของแนวคลองส่ งน้า (Strip
Topographic Map) ใช้ ในการกาหนด หรื อเลือกแนวคลองทีเ่ หมาะสม เพื่อใช้ ในการออกแบบแนวคลองส่ งนา้
2.7.2 ลักษณะของงาน แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท
2.7.2.1 ประเภททีม่ ีแผนที่โครงการ ( มาตราส่ วน 1:4,000 – 1:10,000 )
2.7.2.1.1 การเตรียมงานเบื้องต้ น
▪ จัดเตรี ยมแผนที่ โครงการที่ ส านักออกแบบฯ กาหนดแนวมาให้เพื่อใช้
เป็ นแนวทางในการส ารวจวางแนวคลองส่ งน้ า พร้ อมทั้งรายละเอี ย ด
และข้อมูลต่างๆ เช่น ระดับ Full Supply ตาแหน่งของอาคารต่างๆ ความ
ลาดเทของคลอง

24
▪ จัดหาค่าพิ ก ัด ค่ าระดับ และหมายพยานของหมุ ดหลัก ฐาน ในบริ เวณ
ใกล้เคียง เพื่อใช้เป็ นค่าอ้างอิง
▪ คานวณหาค่ามุ มเบน และระยะจากหมุดหลักฐาน ไปยังจุดเริ่ มต้น และ
จุด PI. ทุกจุด โดยต่อเนื่องกันจนตลอดแนว
2.7.2.1.2 การสารวจวางแนว
▪ ทาการโยงค่าพิกดั และระดับจากหมุดหลักฐานที่ทราบค่าแล้ว ไปยังจุด
ต้นคลอง ที่สานักออกแบบฯ กาหนด
▪ วางแนวศูนย์กลาง วัดมุม วัดระยะ จากจุด ต้นคลอง (กม.0 + 000) ไปยัง
จุด PI. ทุกจุด โดยต่อเนื่องกัน
▪ การวางแนวจากจุ ด ถึ งจุ ด ให้ใ ช้วิธี เฉลี่ ย ความคลาดเคลื่ อนของกล้อ ง
หน้าซ้ายและหน้าขวา ( Double Centering ) พร้ อมกับ ท าการวัดมุ มทุ ก
ครั้ง
▪ ในกรณี ที่คลองยาวมาก ให้หาหมุดหลักฐานเข้าบรรจบหรื อเข้าบรรจบ
ตัวเอง เพื่อตรวจสอบงานทุก 6 – 8 กม. โดยวิธีการวงรอบและระดับชั้น
ที่ 3
▪ กรุ ยแนววัดระยะเพื่อสารวจรู ปตัดขวาง โดยให้ต้ งั ฉากกับแนวศูนย์กลาง
คลอง ทุกระยะ 100 ม. ในกรณี ภูมิประเทศเป็ นลูกเนิ นให้ทารู ปตัดขวาง
ทุก 50 ม. และต่อปี กออกไปทั้งสองข้างๆละ 100 ม.
▪ เมื่อแนวศูนย์กลางตัดผ่านลาน้ า ถนน ทางรถไฟ ให้รังวัดมุ มเฉ (Skew)
และระยะ กม.ของถนน ทางรถไฟ ไว้ด้วย ทั้งนี้ มุ มเฉต้องไม่เกิ น 30
องศาจากแนวตั้งฉากกับแนวศูนย์กลางคลอง จากนั้นให้สารวจแผนที่ผงั
บริ เวณ (Site Plan) มาตราส่ วน 1:500 ขนาด 200  200 ม. หรื อขนาดที่
เหมาะสมที่สามารถพิจารณาออกแบบอาคารได้
▪ ในกรณี ที่แนวศูนย์กลางหรื อเขตคลอง ผ่านสถานที่สาคัญ เช่น วัด หรื อ
ที่ธรณี สงฆ์ โบสถ์ ป่ าช้า โรงเรี ยน ฯลฯ ให้รีบรายงานสานักออกแบบฯ
หรื อหัวหน้าโครงการโดยด่วน เพื่อออกไปพิจารณาแก้ไขแนว ตามความ
เหมาะสม
▪ รัศมีความโค้งของคลอง ( Radius of Curvature ) ต้องไม่น้อยกว่า 5 เท่า
ของความกว้างผิวน้ าในคลอง ถ้าน้อยกว่าต้องปรึ กษาสานักออกแบบฯ
ก่อน
▪ การวางโค้ง การก าหนดระยะเส้ น สั ม ผัส ให้ปฏิ บตั ิ ตามหลัก วิชาการ
และกฎเกณฑ์ที่สานักสารวจฯ ได้วางไว้

25
2.7.2.1.3 การสร้ างหมุดหลักฐานและหมายพยาน
▪ ตอกหมุ ดไม้ทุ ก ระยะ 100 ม. ตามแนวศู น ย์ก ลางคลองส่ งน้ า เพื่ อการ
สารวจรู ปตัดขวาง
▪ ฝังหมุดหลักฐานถาวร แบบ ค. (หมุดท่อ) ณ จุดต้นคลอง จุดต้นโค้ง จุด
PI. จุดปลายโค้ง และในแนวตรงให้ฝังหมุดท่อทุกระยะประมาณ 500 ม.
โดยให้อยูใ่ นตาแหน่งที่ปลอดภัย
▪ ฝังหมุดหลักฐานถาวร แบบ ข. เป็ นคู่ ตามแนว BC. – PI. หรื อ PI. – EC.
หรื อทุกระยะไม่เกิน 2 กม. ให้อยู่นอกเขตคลอง แนวใดแนวหนึ่ง ที่เห็น
ว่าเหมาะสมและปลอดภัย เพื่อใช้สาหรับอ้างอิง
▪ ให้ทาหมายพยานหมุดหลักฐาน พร้อมคาอธิ บายที่ต้ งั ไว้โดยละเอียด
2.7.2.1.4 การรังวัดระดับ
▪ รังวัดระดับตามแนวศูน ย์กลาง ทุ ก ระยะ 20 ม. จุ ด BC. , PI. , EC. และ
หมุดหลักฐานทุกหมุด
▪ รั ง วัด ระดั บ ตามแนวรู ปตั ด ขวางทุ ก 5–10 ม. และทุ ก จุ ด ที่ ร ะดั บ
เปลี่ยนแปลงมาก
▪ ณ ตาแหน่ งที่ ศูนย์กลางคลอง ผ่านถนน ทาง ทางรถไฟ ให้ท าระดับ
หลังถนน เชิ งลาด ถนน หรื อสั นราง ถ้าเป็ นลาน้ าให้ท าระดับ ที่ ตลิ่ ง
ซ้าย ตลิ่งขวา และก้นคลอง
▪ บันทึ กสถิ ติระดับน้ าต่ าสุ ดและสู งสุ ด ตลอดจนระดับน้ า และวัน เวลา
ขณะที่ทาการสารวจ และให้ระบุ ดว้ ยว่าระดับน้ า และคราบน้ าสู งสุ ดที่
หาได้น้ นั เป็ นสถิติใน พ.ศ. ใด
2.7.2.1.5 การเก็บรายละเอียด
▪ การเก็บรายละเอียดภูมิประเทศทั้งสองข้างแนวศูนย์กลาง และแนวรู ปตัด
ทุกเส้นอย่างละเอียด
2.7.2.1.6 การคานวณรายละเอียดโค้ ง ( Data Of Curve )
▪ ให้นาค่าพิกดั ฉาก ณ จุด PI. มาคานวณหาระยะ และBearing ระหว่าง PI.
เพื่อใช้เป็ นรายละเอียดโค้งในการคานวณและเขียนแผนที่
2.7.2.1.7 การเขียนแผนที่
▪ เขี ยนแผนที่ แสดงรายละเอี ยดภู มิ ป ระเทศของคลองส่ งน้ า มาตราส่ วน
1:4,000 เส้นชั้นความสู ง ชั้นละ 1 ม. โดยแสดงค่าระดับของรู ปตัดขวาง
ไว้ดว้ ย

26
▪ เขียนแผนที่แสดงรู ปตัดตามยาว มาตราส่ วนทางตั้ง1:100 และทางราบ
1:4,000 ให้ อ ยู่ ส่ วนล่ า งของกระดาษในแผ่ น เดี ย วกั บ แผนที่ แ สดง
รายละเอียดภูมิประเทศ
▪ ในกรณี ที่ใช้คลองธรรมชาติ หรื อเหมืองเป็ นคลองส่ งน้ า ให้เขียนแผนที่
แสดงรู ปตัดขวาง มาตราส่ วนทางตั้ง 1:100 และทางราบ 1:100
▪ เขี ย นรายละเอี ย ดขอบระวางแผนที่ เช่ น สารบัญ แผ่น ต่ อ ศู น ย์ก าเนิ ด
หมายเหตุ รายละเอี ย ดการส ารวจ ฯลฯ ตามแบบที่ ส านั ก ส ารวจฯ
กาหนดในภาคผนวก ค.
2.7.2.2 ประเภททีไ่ ม่ มีแผนที่โครงการ
2.7.2.2.1 การเตรียมงานเบื้องต้ น
▪ นาแผนที่มาตราส่ วน 1:50,000 ของกรมแผนที่ทหาร ซึ่งสานักออกแบบฯ
กาหนดจุ ดเริ่ ม ต้นและแนวคลองโดยประมาณ ความลาดเทของคลอง
พร้อมกับระดับ Full Supply มาทาการสารวจวางแนวคลอง
▪ ทาการคานวณ ทาตารางสาเร็ จ ความลดลาดของคลองไว้
2.7.2.2.2 การสารวจวางแนว
ก) การสารวจวางแนวคลอง
▪ โยงค่าพิกดั และค่าระดับจากหมุดหลักฐานใกล้เคียงไปยังจุดเริ่ มต้น
▪ กรุ ยแนว วัดระยะ ทาระดับศูนย์กลางคลองส่ งน้ า จากจุดปากคลองโดย
ใช้ก ล้องระดับ ส่ ายหาความลดลาด (Slope) ของพื้ น ที่ ทุ ก ระยะ 100 ม.
โดยให้ระดับพื้นดินที่ทาการรังวัดไม่สูง หรื อต่ ากว่า 50 ซม. จากระดับที่
ต้องการ
▪ วัดมุม วัดระยะ ตามแนวที่ทาการสารวจส่ ายหาไว้แล้ว พร้ อมกาหนดจุด
สาหรับสารวจรู ปตัดขวางทุกระยะ 100 ม. ต่อปี ก 2 ข้างๆละ 200 ม.
▪ รังวัดระดับตามแนวรู ปตัดขวางทุกระยะ 20 ม.
▪ เขียนแผนที่แสดงรู ปตัดตามยาว และรู ปตัดขวางของแนวคลอง มาตรา
ส่ วนทางราบ 1:4,000 เส้นชั้นความสู ง ชั้นละ 1 ม.
▪ ส่ งแผนที่รูปตัดตามยาว ให้สานักออกแบบฯ กาหนดแนวคลองจริ ง
ข) การสารวจวางแนวจริง
▪ ให้ดาเนินการเช่นเดียวกันกับการสารวจวางแนวคลองส่ งน้ า ประเภทที่มี
การแผนที่โครงการ (ข้อ 2.7.2.1) ในกรณี ที่แนวเปลี่ยนแปลงไปมาก ให้
สารวจรู ปตัดขวางเพิ่ม ทั้งนี้ให้อยูใ่ นดุลยพินิจของช่างสารวจ

27
2.8 การสารวจวางแนวคลองระบายนา้
2.8.1 วัตถุประสงค์ เพื่อให้ทราบถึงลักษณะความสู งต่าของพื้นที่ และรายละเอียดภูมิประเทศในแนว
ศูนย์กลาง และข้างเคียงทั้งสองด้านของคลองระบายน้ าอย่างละเอียด เพื่อใช้พิจารณาความเหมาะสมในการ
ออกแบบระบบระบายน้ า
2.8.2 ลักษณะของงาน แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท
2.8.2.1 ประเภททีใ่ ช้ คลองธรรมชาติเป็ นคลองระบายนา้
2.8.2.1.1 การเตรียมงานเบื้องต้ น
▪ จัด เตรี ย มแผนที่ โ ครงการหรื อ แผนที่ ภ าพถ่ า ย มาตราส่ ว น 1:10,000
หรื อใหญ่กว่า ที่สานักออกแบบฯได้กาหนดแนวทางระบายน้ าไว้แล้ว
▪ คัดลอกค่าพิกดั ค่าระดับ และหมายพยานของหมุดหลักฐานในบริ เวณ
ใกล้เคียง เพื่อใช้ในการโยงค่าพิกดั และระดับ
2.8.2.1.2 การสารวจวางแนว
▪ ทาการโยงค่าพิ กดั และค่าระดับจากหมุ ดหลักฐานที่ ท ราบค่าแล้วไปยัง
จุดเริ่ มต้นของคลองธรรมชาติที่จะท าการสารวจซึ่ งแยกออกจากแม่น้ า
หรื อคลองระบายใหญ่
▪ เก็บรายละเอียดของแม่น้ าหรื อคลองระบายใหญ่ตรงจุดที่คลองธรรมชาติ
แยกออก เพื่อจะได้กาหนดจุดเริ่ มต้น (กม. 0 + 000) ของคลองธรรมชาติ
นั้น
▪ ทาการกรุ ยแนว วัดมุม วัดระยะแนวเส้นฐานเลียบคลองธรรมชาติ ฝั่งใด
ฝั่งหนึ่ ง หรื อทั้งสองฝั่ งถ้าเป็ นแม่น้ าใหญ่ พร้อมกับเก็บรู ปร่ างลักษณะ
ของคลองธรรมชาติน้ นั ๆ
▪ ในกรณี ที่ คลองธรรมชาติมี ความยาวมาก ให้เข้าบรรจบหมุ ดหลักฐาน
เพื่อตรวจสอบผลงาน ทุกระยะประมาณ 6-8 กม. โดยวิธีการวงรอบชั้นที่
3
▪ นาผลการสารวจมาคานวณ และเขียนรู ปร่ างลักษณะคลอง และกาหนด
แนวศูนย์กลางของคลองหรื อแม่น้ า
▪ กาหนดจุดเริ่ มต้นของคลอง (กม. 0+000) ณ ตาแหน่ งที่จุดศูนย์กลางของ
แม่น้ า หรื อคลองระบายใหญ่ ตัดกับแนวศูนย์กลางของคลองธรรมชาติ
▪ ในกรณี คลองระบายน้ าไหลลงสู่ ทะเล ให้ถือจุดเริ่ มต้น ณ ตาแหน่ งห่ าง
จากชายฝั่งออกไปในทะเลเป็ นระยะ 1 กม.
▪ กาหนดระยะ กม. ( Stationing ) จากจุ ดเริ่ ม ต้น ของคลองธรรมชาติ ไ ป
ทางต้นน้ า ทุกระยะ 100 ม. เพื่อใช้ในการสารวจรู ปตัดขวาง

28
2.8.2.1.3 การสร้ างหมุดหลักฐานและหมายพยาน
▪ ฝังหมุดหลักฐานถาวรแบบ ข. อย่างน้อย 2 คู่ ไว้ที่ปากคลองระบายหรื อ
ปากแม่น้ า ทุกระยะ 2 กม. และทุกจุดคลองแยก
▪ ฝังหมุดหลักฐานถาวรแบบ ค. เป็ นคู่ทุกระยะประมาณ 500 ม.บริ เวณที่
เหมาะสมและปลอดภัย
▪ ตอกหมุดไม้ทุกระยะ 100 ม. ตามแนวเส้นฐานเพื่อการสารวจรู ปตัดขวาง
▪ เมื่ อแนวส ารวจเส้ นฐาน ผ่านถนน ทางรถไฟ และคลองส่ งน้ า ให้ฝัง
หมุดหลักฐานถาวรแบบ ค. เป็ นคู่ พร้อมกับทาหมุดหมายพยานไว้ดว้ ย
2.8.2.1.4 การรังวัดระดับ
▪ ท าการโยงค่ า ระดับ จากหมุ ด หลั ก ฐานที่ ท ราบค่ า แล้ ว ไปยัง หมุ ด
หลักฐานที่ สร้ างไว้ และทุ กหมุ ดที่ กาหนดแนวรู ป ตัดขวาง โดยวิธีการ
ระดับชั้นที่ 3
▪ เมื่อโยงค่าระดับผ่านถนน ทางรถไฟ คลองส่ งน้ า หรื ออาคารก่อสร้างอื่น
ๆ ให้โยงค่าระดับ ใส่ ไว้บนหลังถนน สันรางรถไฟ คันดิ นทั้งสองข้าง
ของคลองส่ งน้ าและอาคารก่อสร้างอื่นๆ ไว้ทุกแห่งด้วย
▪ ส ารวจรู ป ตัดขวางตรงตาแหน่ งที่ ได้ก าหนดไว้แล้ว โดยรั งวัดระดับ
ทุกระยะ 5-10 ม. หรื อทุกจุดที่ระดับเปลี่ยนแปลงมากและต่อปี ก 2 ข้างๆ
ละ 100 ม.
▪ บันทึ กสถิ ติ ระดับ น้ าต่ าสุ ดและสู งสุ ด ตลอดจนระดับ น้ าและวัน เวลา
ขณะที่ทาการสารวจและให้ระบุดว้ ยว่าระดับน้ าและคราบน้ าสู งสุ ดที่หา
ได้น้ นั เป็ นสถิติ พ. ศ. เท่าใด
2.8.2.1.5 การเขียนแผนที่
▪ เขียนแผนที่แสดงรายละเอียดภูมิประเทศของคลองระบายน้ า มาตราส่ วน
1:4,000 เส้นชั้นความสู ง ชั้นละ 1 ม.
▪ เขี ย นแผนที่ รูป ตัดตามยาว มาตราส่ วนทางตั้ง 1:100 ทางราบ 1:4,000
โดยแสดงระดับ ตลิ่ ง ซ้ า ย แนวศู น ย์ก ลางคลองและตลิ่ ง ขวา ให้ อ ยู่
ส่ วนล่ างของกระดาษในแผ่น เดี ย วกัน กับ แผนที่ แสดงรายละเอี ย ดภู มิ
ประเทศ
▪ เขี ย นแผนที่ รูป ตัด ขวาง มาตราส่ วนทางตั้ง 1:100 ทางราบ 1:100 โดย
แสดงลักษณะตลิ่งซ้าย ก้นคลองและตลิ่งขวา ระดับน้ าขณะสารวจ ระดับ
น้ าสู งสุ ด

29
2.8.2.2 ประเภททีไ่ ม่ ใช้ คลองธรรมชาติเป็ นคลองระบายน้า
การสารวจคลองระบายน้ าประเภทนี้ส่วนใหญ่จะเป็ นการวางไปในพื้นที่ลุ่ม การ
สารวจวางแนว ถือปฏิบตั ิเช่นเดียวกันกับการสารวจวางแนวคลองส่ งน้ า
2.8.2.2.1 การเตรียมงานเบื้องต้ น
▪ จัดเตรี ยมแผนที่ โครงการที่ ส านักออกแบบฯ กาหนดแนวมาให้เพื่อใช้
เป็ นแนวทางในการสารวจวางแนวคลองระบายน้ า พร้อมทั้งรายละเอียด
และข้อมูลต่างๆ เช่น ระดับ Full Supply ตาแหน่งของอาคารต่างๆ ความ
ลาดเทของคลอง
▪ จัดหาค่าพิ ก ัด ค่ าระดับ และหมายพยานของหมุ ดหลัก ฐาน ในบริ เวณ
ใกล้เคียง เพื่อใช้เป็ นค่าอ้างอิง
▪ คานวณหาค่ามุ มเบน และระยะจากหมุดหลักฐาน ไปยังจุดเริ่ มต้น และ
จุด PI. ทุกจุด โดยต่อเนื่องกันจนตลอดแนว
2.8.2.2.2 การสารวจวางแนว
▪ ทาการโยงค่าพิกดั และระดับจากหมุดหลักฐานที่ทราบค่าแล้ว ไปยังจุด
ต้นคลอง ที่สานักออกแบบฯ กาหนด
▪ วางแนวศูนย์กลาง วัดมุม วัดระยะ จากจุด ต้นคลอง (กม.0 + 000) ไปยัง
จุด PI. ทุกจุด โดยต่อเนื่องกัน
▪ การวางแนวจากจุ ด ถึ งจุ ด ให้ใ ช้วิธี เฉลี่ ย ความคลาดเคลื่ อนของกล้อ ง
หน้าซ้ายและหน้าขวา ( Double Centering ) พร้ อมกับ ท าการวัดมุ มทุ ก
ครั้ง
▪ ในกรณี ที่คลองยาวมาก ให้หาหมุดหลักฐานเข้าบรรจบหรื อเข้าบรรจบ
ตัวเอง เพื่อตรวจสอบงานทุก 6 – 8 กม. โดยวิธีการวงรอบและระดับชั้น
ที่ 3
▪ กรุ ยแนววัดระยะเพื่อสารวจรู ปตัดขวาง โดยให้ต้ งั ฉากกับแนวศูนย์กลาง
คลอง ทุกระยะ 100 ม. ในกรณี ภูมิประเทศเป็ นลูกเนิ นให้ทารู ปตัดขวาง
ทุก 50 ม. และต่อปี กออกไปทั้งสองข้างๆละ 100 ม.
▪ เมื่อแนวศูนย์กลางตัดผ่านลาน้ า ถนน ทางรถไฟ ให้รังวัดมุ มเฉ (Skew)
และระยะ กม.ของถนน ทางรถไฟ ไว้ด้วย ทั้งนี้ มุ มเฉต้องไม่เกิ น 30
องศาจากแนวตั้งฉากกับแนวศูนย์กลางคลอง จากนั้นให้สารวจแผนที่ผงั
บริ เวณ (Site Plan) มาตราส่ วน 1:500 ขนาด 200  200 ม. หรื อขนาดที่
เหมาะสมที่สามารถพิจารณาออกแบบอาคารได้

30
▪ ในกรณี ที่แนวศูนย์กลางหรื อเขตคลอง ผ่านสถานที่สาคัญ เช่น วัด หรื อ
ที่ธรณี สงฆ์ โบสถ์ ป่ าช้า โรงเรี ยน ฯลฯ ให้รีบรายงานสานักออกแบบฯ
หรื อหัวหน้าโครงการโดยด่วน เพื่อออกไปพิจารณาแก้ไขแนว ตามความ
เหมาะสม
▪ รัศมีความโค้งของคลอง ( Radius of Curvature ) ต้องไม่น้อยกว่า 5 เท่า
ของความกว้างผิวน้ าในคลอง ถ้าน้อยกว่าต้องปรึ กษาสานักออกแบบฯ
ก่อน
▪ การวางโค้ง การก าหนดระยะเส้ น สั ม ผัส ให้ปฏิ บตั ิ ตามหลัก วิชาการ
และกฎเกณฑ์ที่สานักสารวจฯ ได้วางไว้
▪ ในกรณี ที่แนวที่สานักออกแบบฯขีดมาให้น้ นั ไม่อยูใ่ นที่ลุ่มก็ดาเนิ นการ
แก้ แ นวให้ เหมาะสม และให้ ห มายแนวที่ เห็ น ว่ า เหมาะสมนั้ นไว้
ในภู มิ ป ระเทศด้วย พร้ อ มกับ ปรึ ก ษาส านัก ออกแบบฯ และหัว หน้า
โครงการต่อไป
2.8.2.2.3 การสร้ างหมุดหลักฐานและหมายพยาน
▪ ตอกหมุดไม้ทุกระยะ 100 ม. ตามแนวศูนย์กลางคลองระบายน้ า เพื่อการ
สารวจรู ปตัดขวาง
▪ ฝังหมุดหลักฐานถาวร แบบ ค. (หมุดท่อ) ณ จุดต้นคลอง จุดต้นโค้ง จุด
PI. จุดปลายโค้ง และในแนวตรงให้ฝังหมุดท่อทุกระยะประมาณ 500 ม.
โดยให้อยูใ่ นตาแหน่งที่ปลอดภัย
▪ ฝังหมุดหลักฐานถาวร แบบ ข. เป็ นคู่ ตามแนว BC. – PI. หรื อ PI. – EC.
หรื อทุกระยะไม่เกิน 2 กม. ให้อยู่นอกเขตคลอง แนวใดแนวหนึ่ง ที่เห็น
ว่าเหมาะสมและปลอดภัย เพื่อใช้สาหรับอ้างอิง
▪ ให้ทาหมายพยานหมุดหลักฐาน พร้อมคาอธิ บายที่ต้ งั ไว้โดยละเอียด
2.8.2.2.4 การรังวัดระดับ
▪ รังวัดระดับตามแนวศูน ย์กลาง ทุ ก ระยะ 20 ม. จุ ด BC. , PI. , EC. และ
หมุดหลักฐานทุกหมุด
▪ รั ง วัด ระดั บ ตามแนวรู ปตั ด ขวางทุ ก 5–10 ม. และทุ ก จุ ด ที่ ร ะดั บ
เปลี่ยนแปลงมาก
▪ ณ ตาแหน่ งที่ ศูนย์กลางคลอง ผ่านถนน ทาง ทางรถไฟ ให้ท าระดับ
หลังถนน เชิ งลาด ถนน หรื อสันราง ถ้าเป็ นลาน้ าให้ท าระดับ ที่ ตลิ่ ง
ซ้าย ตลิ่งขวา และก้นคลอง

31
▪ บันทึ กสถิ ติระดับน้ าต่ าสุ ดและสู งสุ ด ตลอดจนระดับน้ า และวัน เวลา
ขณะที่ทาการสารวจ และให้ระบุ ดว้ ยว่าระดับน้ า และคราบน้ าสู งสุ ดที่
หาได้น้ นั เป็ นสถิติใน พ.ศ. ใด
2.8.2.2.5 การเขียนแผนที่
▪ เขียนแผนที่แสดงรายละเอียดภูมิประเทศของคลองระบายน้ า มาตราส่ วน
1:4,000 เส้นชั้นความสู ง ชั้นละ 1 ม. โดยแสดงค่าระดับของรู ปตัดขวาง
ไว้ดว้ ย
▪ เขียนแผนที่แสดงรู ปตัดตามยาว มาตราส่ วนทางตั้ง1:100 และทางราบ
1:4,000 ให้ อ ยู่ ส่ วนล่ า งของกระดาษในแผ่ น เดี ย วกั บ แผนที่ แ สดง
รายละเอียดภูมิประเทศ
▪ ในกรณี ที่ ใช้คลองธรรมชาติ หรื อเหมื องเป็ นคลองระบายน้ า ให้เขีย น
แผนที่แสดงรู ปตัดขวาง มาตราส่ วนทางตั้ง 1:100 และทางราบ 1:100
▪ เขี ย นรายละเอี ย ดขอบระวางแผนที่ เช่ น สารบัญ แผ่น ต่ อ ศู น ย์ก าเนิ ด
หมายเหตุ รายละเอี ย ดการส ารวจ ฯลฯ ตามแบบที่ ส านั ก ส ารวจฯ
กาหนดในภาคผนวก ค.
2.9 การสารวจวางแนวถนน
2.9.1 วัตถุประสงค์ เพื่อสารวจรายละเอียดของภูมิประเทศ และลักษณะความสู งต่าของพื้นที่ ตามแนว
ที่จะสร้างถนน และบริ เวณใกล้เคียง เพื่อประกอบการพิจารณาออกแบบ
2.9.2 ลักษณะของงาน
2.9.2.1 การเตรียมงานเบื้องต้ น
▪ จัดเตรี ยมแผนที่โครงการ มาตราส่ วน 1:10,000 ที่สานักออกแบบฯ ได้ขีดแนวถนนไว้
แล้ว เพื่อนาไปใช้เป็ นหลักในการวางแนว หรื อเลือกแนว
▪ จัดหาค่าพิกดั และระดับของหมุดหลักฐานในบริ เวณใกล้เคียง เพื่อใช้ในการออกงาน
และเข้าบรรจบงาน
▪ เตรี ยมภาพถ่ายทางอากาศ (ถ้ามี) เพื่อช่วยในการพิจารณาเลือกแนว
▪ คานวณหาค่ามุมเบน และระยะจากหมุดหลักฐาน ไปยังจุดเริ่ มต้น (กม. 0+000) และ
จุดสกัด ( PI. ) ทุกๆ จุดต่อเนื่องกันไป สุ ดแนว
2.9.2.2 การสารวจวางแนว
▪ ทาการโยงค่าพิกดั และระดับจากหมุดหลักฐานที่ทราบค่าแล้ว ไปยังจุดเริ่ มต้น ตามที่
สานักออกแบบฯ กาหนด
▪ กรุ ยแนว วัดมุม และระยะจากจุดเริ่ มต้น (กม. 0+000) ไปยังจุด PI . ทุกจุดต่อเนื่องกัน

32
▪ การวางแนวจากจุดถึ งจุด ให้ใช้วิธีเฉลี่ยความคลาดเคลื่ อนของกล้องหน้าซ้าย และ
หน้าขวา (Double Centering ) พร้อมกับทาการวัดมุมทุกครั้ง
▪ ส ารวจรู ป ตัด ขวาง โดยให้ ต้ งั ฉากกับ แนวศู น ย์ก ลางทุ ก ระยะ 100 ม. และต่ อ ปี ก
ออกไป 2 ข้างๆ ละ 100 ม.
▪ เมื่ อแนวศูนย์กลางตัดผ่านลาน้ า ถนน ทาง ทางรถไฟ ให้รังวัดมุมเฉ (Skew ) และ
ระยะกม. ของถนน ทางรถไฟไว้ดว้ ย ทั้งนี้ มุมเฉต้องไม่เกิน 30 (ในกรณี ที่เกิน 30
ให้ปรึ กษา สานักออกแบบฯ ) และสารวจผังบริ เวณ ขนาด 200  200 ม. หรื อขนาดที่
เหมาะสม ที่สามารถพิจารณาออกแบบอาคารได้ มาตราส่ วน 1:500 ไว้ดว้ ย
▪ ในกรณี ที่แนวศูนย์กลางหรื อเขตถนน ผ่านสถานที่สาคัญๆ เช่น วัด หรื อที่ธรณี สงฆ์
โบสถ์ ป่ าช้า โรงเรี ยน ฯลฯ ให้รีบรายงานสานักออกแบบฯ หรื อหัวหน้าโครงการ
โดยด่วน เพื่อออกไปพิจารณาแก้ไขแนว ตามความเหมาะสม
▪ รัศมีความโค้งของถนนบนภูเขา ต้องไม่นอ้ ยกว่า 25 ม. ถ้าน้อยกว่าต้องปรึ กษาสานัก
ออกแบบฯ ก่อน
▪ การวางโค้ง การกาหนดระยะเส้นสัมผัส ให้ปฏิบตั ิตามหลักวิชาการและกฎเกณฑ์ที่
สานักสารวจฯ ได้วางไว้
2.9.2.3 การสร้ างหมุดฐานและหมายพยาน
▪ ตอกหมุดไม้ทุกระยะ 100 ม. ตามแนวศูนย์กลางถนน เพื่อการสารวจรู ปตัดขวาง
▪ ฝังหมุดหลักฐานถาวร แบบ ค. (หมุ ดท่อ) ณ จุดหัวถนน จุดต้นโค้ง จุด PI. จุดปลาย
โค้ง และในแนวตรงให้ฝังหมุดท่อทุกระยะประมาณ 500 ม. โดยให้อยูใ่ นตาแหน่งที่
ปลอดภัย
▪ ฝั ง หมุ ด หลัก ฐานถาวร แบบ ข. เป็ นคู่ ตามแนว BC. – PI. หรื อ PI. – EC. หรื อทุ ก
ระยะไม่ เกิ น 2 กม. ให้ อ ยู่น อกเขตถนน แนวใดแนวหนึ่ ง ที่ เห็ น ว่าเหมาะสมและ
ปลอดภัย เพื่อใช้สาหรับอ้างอิง
▪ ให้ทาหมายพยานหมุดหลักฐาน พร้อมคาอธิ บายที่ต้ งั ไว้โดยละเอียด
2.9.2.4 การรังวัดระดับ
▪ รังวัดระดับตามแนวศูนย์กลาง ทุกระยะ 20 ม. จุด BC. , PI. , EC. และหมุดหลักฐาน
ทุกหมุด
▪ รังวัดระดับตามแนวรู ปตัดขวาง ทุก 5–10 ม. และทุกจุดที่ระดับเปลี่ยนแปลงมาก
▪ ในกรณี ที่ภูมิประเทศเป็ นลูกเนินและภูเขา ให้สารวจรู ปตัดขวาง ทุกระยะ 20 ม.
▪ ณ ตาแหน่ งที่ศูนย์กลางคลอง ผ่านถนน ทาง ทางรถไฟ ให้ทาระดับหลังถนน เชิ ง
ลาด ถนน หรื อสันราง ถ้าเป็ นลาน้ าให้ทาระดับที่ตลิ่งซ้าย ตลิ่งขวา และก้นคลอง

33
▪ บันทึ กสถิ ติระดับน้ าต่ าสุ ดและสู งสุ ด ตลอดจนระดับน้ าและวัน เวลาขณะที่ทาการ
สารวจ และให้ระบุดว้ ยว่าระดับน้ า และคราบน้ าสู งสุ ด ที่หาได้น้ นั เป็ นสถิติ พ.ศ. ใด
2.9.2.5 การเก็บรายละเอียด
▪ เก็ บ รายละเอี ย ดภู มิ ป ระเทศทั้ง สองข้า งแนวศู น ย์ก ลาง และแนวรู ป ตัด ทุ ก เส้ น
อย่างละเอียด
2.9.2.6 การคานวณรายละเอียดโค้ ง ( Data Of Curve )
▪ ให้นาค่าพิกดั ฉาก ณ จุด PI. มาคานวณหาระยะ และBearing ระหว่าง PI. เพื่อใช้เป็ น
รายละเอียดโค้งในการคานวณและเขียนแผนที่
2.9.2.7 การเขียนแผนที่
▪ เขียนแผนที่แสดงรายละเอียดภูมิประเทศของแนวถนน มาตราส่ วน 1:4,000 เส้นชั้น
ความสู ง ชั้นละ 1 ม. โดยแสดงค่าระดับของรู ปตัดขวางไว้ดว้ ย
▪ เขียนแผนที่แสดงรู ปตัดตามยาว มาตราส่ วนทางตั้ง1:100 และทางราบ 1:4,000 ให้อยู่
ส่ วนล่างของกระดาษในแผ่นเดียวกับแผนที่แสดงรายละเอียดภูมิประเทศ
▪ ในกรณี ที่ใช้แนวถนนเดิม ให้เขียนแผนที่แสดงรู ปตัดขวาง มาตราส่ วนทางตั้ง 1:100
และทางราบ 1:100
▪ เขี ย นรายละเอี ย ดขอบระวางแผนที่ เช่ น สารบัญ แผ่น ต่ อศู น ย์ก าเนิ ด หมายเหตุ
รายละเอียดการสารวจ ฯลฯ ตามแบบที่สานักสารวจฯ กาหนดในภาคผนวก ค.
2.10 การสารวจวางแนวคันกั้นนา้
2.10.1 วัตถุประสงค์ เพื่อสารวจรายละเอียดภูมิประเทศ และลักษณะความสู งต่าของพื้นที่ สาหรับใช้
ในการพิจารณาออกแบบคันกั้นน้ า
2.10.2 ลักษณะของงาน
2.10.2.1 การเตรียมงานเบื้องต้ น
▪ จัดเตรี ยมแผนที่ภูมิประเทศ ที่สานักออกแบบฯ กาหนดแนวมาให้ เพื่อนาไปใช้
เป็ นหลักการในการวางแนวคันกั้นน้ า
▪ จัดหาค่าพิกดั และค่าระดับของหมุดหลักฐานในบริ เวณใกล้เคียง เพื่อใช้ในการ
ออกและเข้าบรรจบงาน
▪ จัดหาภาพถ่ายทางอากาศ (ถ้ามี) เพื่อใช้ในการพิจารณาเลือกแนวที่จะวางคันกั้น
น้ า
▪ พล็อตค่าพิกดั และค่าระดับของหมุดหลักฐานที่ทราบค่าแล้ว ลงในแผนที่
▪ คานวณหามุม เบน และระยะจากหมุ ดหลักฐานไปยังจุดเริ่ มต้น และทุ กจุด PI.
โดยต่อเนื่องกันตลอดแนว

34
2.10.2.2 การสารวจวางแนว
▪ ทาการโยงค่าพิกดั และค่าระดับจากหมุดหลักฐานที่ทราบค่าแล้ว ไปยังจุดเริ่ มต้น
คันกั้นน้ า (กม.0+000) ตามที่ได้คานวณเตรี ยมไว้ในข้อ 2.10.2.1
▪ กรุ ยแนว วัดมุม และวัดระยะจากจุดเริ่ มต้น ไปยังจุด PI. ทุกจุดต่อเนื่องกัน
▪ การวางแนวจากจุดถึงจุด ให้ใช้วธิ ีเฉลี่ยความคลาดเคลื่อนของกล้องหน้าซ้ายและ
หน้าขวา (Double Centering ) พร้อมกับทาการวัดมุมทุกครั้ง
▪ สารวจรู ปตัดขวาง โดยให้ต้ งั ฉากกับแนวศูนย์กลาง ทุกระยะ 100 ม.และต่อปี ก
ออกไปทั้งสองข้างๆละ 100 ม.
▪ เมื่อแนวศูนย์กลางตัดผ่านลาน้ า ถนน ทาง ทางรถไฟ ให้รังวัดมุมเฉ(Skew )
และระยะกม. ของถนน ทางรถไฟ ไว้ดว้ ย ทั้งนี้ มุมเฉต้องไม่เกิ น 30 องศา (ใน
กรณี ที่เกิน 30 องศา ให้ปรึ กษาสานักออกแบบฯ ) และให้สารวจแผนที่ผงั บริ เวณ
(Site Plan) มาตราส่ วน 1:500 เส้น ชั้นความสู งชั้นละ 25 ซม. ขนาด 200  200
ม.หรื อขนาดที่เหมาะสม
2.10.2.3. การสร้ างหมุดหลักฐานและหมายพยาน
▪ ตอกหมุ ดไม้ทุ ก ระยะ 100 ม. ตามศู นย์ก ลางแนวคันกั้น น้ า เพื่ อการส ารวจรู ป
ตัดขวาง
▪ ฝังหมุดหลักฐานถาวร แบบ ค. (หมุดท่อ) ณ จุดต้นแนวคันกั้นน้ า จุดต้นโค้ง จุด
PI. จุดปลายโค้ง และในแนวตรงให้ฝังหมุดท่อทุกระยะประมาณ 500 ม. โดยให้
อยูใ่ นตาแหน่งที่ปลอดภัย
▪ ฝังหมุดหลักฐานถาวร แบบ ข. เป็ นคู่ ตามแนว BC. – PI. หรื อ PI. – EC. หรื อทุก
ระยะไม่ เกิ น 2 กม. ให้ อ ยู่น อกเขตแนวคัน กั้น น้ า แนวใดแนวหนึ่ ง ที่ เห็ น ว่า
เหมาะสมและปลอดภัย เพื่อใช้สาหรับอ้างอิง
▪ ให้ทาหมายพยานหมุดหลักฐาน พร้อมคาอธิ บายที่ต้ งั ไว้โดยละเอียด
2.10.2.4 การรังวัดระดับ
▪ รั ง วัด ระดับ ตามแนวศู น ย์ก ลาง ทุ ก ระยะ 20 ม. จุ ด BC. , PI. , EC. และหมุ ด
หลักฐานทุกหมุด
▪ รังวัดระดับตามแนวรู ปตัดขวางทุก 5–10 ม. และทุกจุดที่ระดับเปลี่ยนแปลงมาก
▪ ในกรณี ที่ใช้แนวคันกั้นน้ า หรื อถนนเดิม ให้เขียนแผนที่รูปตัดขวางไว้ดว้ ย
▪ ณ ตาแหน่ งที่ศูนย์กลางคลอง ผ่านถนน ทาง ทางรถไฟ ให้ทาระดับหลังถนน
เชิงลาด ถนน หรื อสันราง ถ้าเป็ นลาน้ าให้ทาระดับที่ตลิ่งซ้าย ตลิ่งขวา และก้น
คลอง

35
▪ บันทึกสถิติระดับน้ าต่ าสุ ดและสู งสุ ด ตลอดจนระดับน้ า และวัน เวลาขณะที่ทา
การส ารวจ และให้ระบุ ด้วยว่าระดับ น้ า และคราบน้ าสู งสุ ดที่ หาได้น้ นั เป็ น
สถิติใน พ.ศ. ใด
2.10.2.5 การเก็บรายละเอียด
▪ การเก็บรายละเอียดภูมิประเทศทั้งสองข้างแนวศูนย์กลาง และแนวรู ปตัดทุ กเส้น
อย่างละเอียด
2.10.2.6 การเขียนแผนที่
▪ เขียนแผนที่แสดงรายละเอียดภูมิประเทศของแนวคันกั้นน้ า มาตราส่ วน 1:4,000
เส้นชั้นความสู ง ชั้นละ 1 ม. โดยแสดงค่าระดับของรู ปตัดขวางไว้ดว้ ย
▪ เขียนแผนที่แสดงรู ปตัดตามยาว มาตราส่ วนทางตั้ง1:100 และทางราบ 1:4,000
ให้อยูส่ ่ วนล่างของกระดาษในแผ่นเดียวกับแผนที่แสดงรายละเอียดภูมิประเทศ
▪ ในกรณี ที่ใช้แนวคันกั้นน้ าหรื อถนนเดิม ให้เขียนแผนที่แสดงรู ปตัดขวาง มาตรา
ส่ วนทางตั้ง 1:100 และทางราบ 1:100
▪ เขียนรายละเอียดขอบระวางแผนที่ เช่น สารบัญแผ่นต่อศูนย์กาเนิด หมายเหตุ
รายละเอียดการสารวจ ฯลฯ ตามแบบที่สานักสารวจฯ กาหนดในภาคผนวก ค.
2.11 การสารวจลานา้
2.11.1 วัตถุประสงค์ เพื่อให้ ทราบถึงสภาพ ลักษณะรู ปร่ างขนาดลาน้า ความลาดเทและรายละเอียด
ภูมิประเทศทั้งสองฝั่งของลานา้ สาหรับใช้ ในการพิจารณาวางโครงการป้ องกันอุทกภัย การวางโครงการระบาย
น้า การแปรสภาพลาน้า ตลอดจนเพื่ อใช้ ประกอบในการพิจ ารณาออกแบบ และเพื่ อศึ กษาผลกระทบจาก
อิทธิพลของนา้ ในลานา้ นั้น
2.11.2 ลักษณะของงาน แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท
2.11.2.1 ประเภทใช้ ภาพถ่ ายดัดแก้ มาตราส่ วน 1:4,000 หรื อ 1:5,000
2.11.2.1.1 การเตรียมงานเบื้องต้ น
▪ จัดเตรี ยมแผนที่ ภาพถ่ ายมาตราส่ วน 1:4,000 หรื อ 1:5,000 ซึ่ งคลุ ม
พื้นที่บริ เวณที่จะทาการสารวจ
▪ จัดหาค่าระดับ และหมายพยานของหมุดหลักฐานในบริ เวณใกล้เคียง
เพื่อใช้ในการโยงค่าระดับ กาหนดแนวศูนย์กลางลาน้ าและกาหนดจุด
พร้อมแนวรู ปตัดขวางลงในแผนที่ภาพถ่าย ให้แนวรู ปตัดขวางตั้งฉาก
กับแนวศูนย์กลางลาน้ า ระยะห่ างระหว่างรู ปตัดขวาง 100 ม., 200 ม.,
500 ม.หรื อตามความประสงค์ของผูใ้ ช้งาน

36
2.11.2.1.2 การสารวจวางแนวรู ปตัด
▪ ก าหนดจุ ดรู ป ตัดในภู มิ ป ระเทศ ให้ ตรงกัน กับ ที่ ไ ด้ก าหนดไว้แล้ว
ในแผนที่ภาพถ่ายโดยวิธี Identify และวางแนวให้ถูกต้องตามทิศทาง
ที่กาหนดไว้
▪ ต่ อปี กรู ป ตัด ไปตามแนวที่ ก าหนดทั้งสองฝ่ าย ความยาวปี กรู ป ตัด
ด้านละ100 ม. หรื อตามความจาเป็ นของงาน
▪ ตอกหมุดไม้เพื่อกาหนดระยะในแนวรู ปตัด โดยถื อระยะศูนย์ที่ตลิ่ ง
ซ้าย
▪ ฝังหมุดหลักฐานถาวรแบบ ค.ในแนวรู ปตัด ณ ที่เหมาะสมบนตลิ่งทั้ง
สอง และถ้ารู ปตัดขวางมีความยาวมากก็ให้ฝังที่ปลายแนวรู ปตัดด้วย
2.11.2.1.3 การรังวัดระดับ
▪ ทาการโยงค่าระดับจากหมุ ดหลักฐานที่ ทราบค่าแล้ว ไปยังหมุดไม้
และหมุ ด หลัก ฐานถาวรที่ ว างไว้ใ นแนวรู ป ตัด ขวาง โดยวิธี ก าร
ระดับชั้นที่ 3
▪ ในกรณี ที่ ล าน้ า ซึ่ งส ารวจนั้น มี ค วามยาวมาก ให้ พ ยายามหาหมุ ด
หลักฐานเข้าบรรจบข้างหน้า เพื่อตรวจสอบผลงานทุกระยะ6-8 กม.
โดยวิธีการระดับชั้นที่ 3
▪ รัง วัด ระดับ ตามแนวรู ป ตัด ขวาง โดยรั งวัดระดับ ทุ ก ระยะ5-10 ม.
หรื อทุกจุดที่ระดับเปลี่ยนแปลงมาก
▪ บันทึกสถิติระดับน้ าต่าสุ ดและสู งสุ ด ตลอดจนระดับน้ า และวัน เวลา
ขณะที่ทาการสารวจ และให้ระบุดว้ ยว่า ระดับน้ าที่หาได้น้ นั เป็ นสถิติ
ใน พ. ศ.ใด
▪ จาแนกรายละเอียดและนามศัพ ท์ตามแนวและใกล้เคียงแนวรู ปตัด
เช่น ชื่อหมู่บา้ น ฯลฯ
2.11.2.1.4 การเขียนแผนที่
▪ เขี ย นแผนที่ แ สดงรายละเอี ย ดภู มิ ป ระเทศของล าน้ า มาตราส่ ว น
1:4,000แสดงเส้นชั้นความสู งชั้นละ1ม. พร้ อมกับแสดงแนวและชื่ อ
รู ปตัดขวางไว้ดว้ ย
▪ เขียนแผนที่รูปตัดตามยาว มาตราส่ วนทางตั้ง 1:100 ทางราบ 1:4,000
โดยแสดงระดับตลิ่ งซ้าย แนวศูนย์กลางลาน้ าและตลิ่ งขวา ให้อยู่ใน
ส่ ว นล่ า งของกระดาษ ในแผ่ น เดี ย วกับ แผนที่ แ สดงรายละเอี ย ด
ภูมิประเทศ

37
▪ เขี ย นแผนที่ รูป ตัด ขวางล าน้ า ใช้ม าตราส่ วน ทางตั้ง และทางราบ
1:100 ในแผ่นแยก
▪ แสดงรายละเอียดค่าระดับพื้นดิน บริ เวณลาน้ า ลักษณะตลิ่ง ระดับน้ า
ขณะทาการสารวจ ระดับสู งสุ ด
2.11.2.2 ประเภทใช้ แผนที่โครงการหรื อใช้ แผนทีม่ าตราส่ วน 1:50,000 ของกรมแผนที่ทหาร
2.11.2.2.1 การเตรียมงานเบื้องต้ น
▪ จัดเตรี ยมแผนที่ โครงการ หรื อแผนที่ มาตราส่ วน 1:50,000 ให้คลุ ม
พื้นที่บริ เวณที่จะทาการสารวจ
▪ จัดหาค่าพิกดั ค่าระดับ และหมายพยานของหมุดหลักฐานในบริ เวณ
ใกล้เคียง เพื่อใช้ในการโยงค่าพิกดั และค่าระดับ
2.11.2.2.2 การสารวจวางแนว
▪ ทาการโยงค่าพิกดั และค่าระดับจากหมุดหลักฐานที่ทราบค่าแล้ว ไป
ยังจุดเริ่ มต้นของลาน้ าที่จะทาการสารวจ
▪ ทาการกรุ ยแนว วัดมุม วัดระยะตามแนวเส้นฐาน ที่วางเลี ยบลาน้ าฝั่ ง
ใดฝั่ งหนึ่ ง โดยพยายามให้เส้ นฐานเลี ยบใกล้ริมน้ ามากที่ สุด เพื่อให้
สามารถเก็บรู ปร่ างลาน้ าได้อย่างละเอียด
▪ กรณี ที่ลาน้ ามีความกว้างเกิน 50 ม. ให้วางเส้นฐานเลียบลาน้ าทั้งสอง
ฝั่ง
▪ ฝั ง หมุ ด หลั ก ฐานถาวรแบบ ข. เป็ นคู่ ทุ ก ระยะ 4 – 5 กม. และ
หมุ ด หลัก ฐานถาวรแบบ ค. เป็ นคู่ ทุ ก ระยะ 2 กม. ในต าแหน่ ง ที่
เหมาะสมและปลอดภัย
▪ ท าการเก็ บ รายละเอี ย ดรู ป ร่ า งลัก ษณะของล าน้ าและภู มิ ป ระเทศ
ข้างเคียงทั้งสองฝั่งของลาน้ านั้นโดยละเอียด
▪ ถ้าลาน้ ามี ความยาวมากให้เข้าบรรจบหมุ ดหลัก ฐานเพื่ อตรวจสอบ
ผลงานทุกระยะ 6 – 8 กม. โดยวิธีการวงรอบชั้นที่ 3
▪ น าผลการส ารวจมาเขี ย นแผนที่ รูป ร่ า งลัก ษณะล าน้ า มาตราส่ ว น
1 : 4,000 หรื อใหญ่กว่า เพื่อให้สามารถกาหนดแนวศู นย์กลางลาน้ า
และตาแหน่งรู ปตัดขวางได้ละเอียดถูกต้องยิง่ ขึ้น
▪ กาหนดระยะ กม. (Stationing) จากจุ ดเริ่ ม ต้นของงานตามแผนงาน
สารวจนั้น ณ แนวศูนย์กลางลาน้ าโดยถื อ กม. 0 + 000 อยูด่ า้ นเหนื อ
น้ าสุ ดของลาน้ าที่ ทาการสารวจ แล้ววัดระยะด้วยปากคีบ – วัดระยะ
(Divider) นับ ระยะต่ อเนื่ องมาตามแนวศู น ย์ก ลางล าน้ า ก าหนดจุ ด

38
ระยะทุ ก 100 ม. และ ก าหนดจุ ด ต าแหน่ ง ที่ จ ะท าการส ารวจรู ป
ตัดขวางทุกระยะ 100 ม., 200 ม. หรื อตามความประสงค์ของผูใ้ ช้งาน
พร้ อมกับ ขี ดแนวรู ป ตัดขวางในแผนที่ ซ่ ึ งเตรี ยมไว้ โดยให้แนวรู ป
ตัดขวางตั้งฉากกับแนวศูนย์กลางลาน้ านั้น
▪ คานวณหรื อวัดระยะ วัดง่ ามมุ ม โดยตรงจากแผนที่ ที่ ไ ด้ก าหนด
รู ป ตัดขวางไว้แล้ว เพื่อหาระยะห่ างจากหมุ ดเส้ นฐานถึ งจุ ดตัดของ
แนวรู ปตัดขวางกับแนวเส้นฐาน และหาง่ามมุมระหว่างแนวทั้งสอง
นั้ น แล้ว บัน ทึ ก ไว้เพื่ อ น าไปใช้ ก าหนดจุ ด และแนวรู ป ตัด ในภู มิ
ประเทศ
2.11.2.2.3 การสารวจวางแนวรู ปตัด
▪ กาหนดจุดรู ปตัดในภูมิประเทศให้ตรงกันกับตาแหน่งที่กาหนดไว้ใน
แผนที่ที่เตรี ยมไว้ในข้อ 2.11.2.2.2 ด้วยระยะง่ามมุ ม และแนวทิศที่
บันทึกไว้แล้ว
▪ ต่อปี กรู ปตัดไปตามแนวที่กาหนดทั้งสองฝั่ง ความยาวปี กรู ปตัดด้าน
ละ 100 ม. หรื อตามความจาเป็ นของงาน
▪ ตอกหมุ ดไม้เพื่อกาหนดระยะในแนวรู ปตัดโดยถื อระยะศู นย์ที่ตลิ่ ง
ซ้าย
▪ ฝังหมุดหลักฐานถาวรแบบ ค. ให้แนวรู ปตัด ณ ที่เหมาะสมบนตลิ่ ง
ทั้งสองและถ้ารู ปตัดขวางมี ความยาวมากก็ให้ฝังที่ ปลายแนวรู ปตัด
ด้วย
2.11.2.2.4 การรังวัดระดับ
▪ ทาการโยงค่าระดับจากหมุ ดหลักฐานที่ ทราบค่าแล้ว ไปยังหมุดไม้
และหมุ ด หลัก ฐานถาวรที่ ว างไว้ใ นแนวรู ป ตัด ขวาง โดยวิธี ก าร
ระดับชั้นที่ 3
▪ ในกรณี ที่ ล าน้ า ซึ่ งส ารวจนั้น มี ค วามยาวมาก ให้ พ ยายามหาหมุ ด
หลักฐานเข้าบรรจบข้างหน้า เพื่อตรวจสอบผลงานทุกระยะ6-8 กม.
โดยวิธีการระดับชั้นที่ 3
▪ รัง วัด ระดับ ตามแนวรู ป ตัด ขวาง โดยรั งวัดระดับ ทุ ก ระยะ5-10 ม.
หรื อทุกจุดที่ระดับเปลี่ยนแปลงมาก
▪ บันทึกสถิติระดับน้ าต่าสุ ดและสู งสุ ด ตลอดจนระดับน้ า และวัน เวลา
ขณะที่ทาการสารวจ และให้ระบุดว้ ยว่า ระดับน้ าที่หาได้น้ นั เป็ นสถิติ
ใน พ. ศ.ใด

39
▪ จาแนกรายละเอียดและนามศัพ ท์ตามแนวและใกล้เคียงแนวรู ปตัด
เช่น ชื่อหมู่บา้ น ฯลฯ
2.11.2.2.5 การเขียนแผนที่
▪ เขี ย นแผนที่ แ สดงรายละเอี ย ดภู มิ ป ระเทศของล าน้ า มาตราส่ ว น
1:4,000แสดงเส้นชั้นความสู งชั้นละ1ม. พร้ อมกับแสดงแนวและชื่ อ
รู ปตัดขวางไว้ดว้ ย
▪ เขียนแผนที่รูปตัดตามยาว มาตราส่ วนทางตั้ง 1:100 ทางราบ 1:4,000
โดยแสดงระดับตลิ่ งซ้าย แนวศูนย์กลางลาน้ าและตลิ่ งขวา ให้อยู่ใน
ส่ ว นล่ า งของกระดาษ ในแผ่ น เดี ย วกับ แผนที่ แ สดงรายละเอี ย ด
ภูมิประเทศ
▪ เขี ย นแผนที่ รูป ตัด ขวางล าน้ า ใช้ม าตราส่ วน ทางตั้ง และทางราบ
1:100 ในแผ่นแยก
▪ แสดงรายละเอียดค่าระดับพื้นดิน บริ เวณลาน้ า ลักษณะตลิ่ง ระดับน้ า
ขณะทาการสารวจ ระดับสู งสุ ด
3. การสารวจทาแผนทีจ่ ากภาพถ่ ายทางอากาศ
3.1 การสารวจทาแผนที่ลายเส้ น (Line Map) มาตราส่ วน 1:4,000 และ 1:10,000 เส้ นชั้ นความสู ง ชั้ นละ
0.50 ม. 1 ม. และ 2 ม.
3.1.1 วั ต ถุ ป ระสงค์ เพื่ อ ท าแผนที่ แ สดงรายละเอี ย ดและเส้ น ชั้น ความสู ง ของภู มิ ป ระเทศโดย
กรรมวิธีการสารวจ จากภาพถ่ายทางอากาศ สาหรับใช้ในการพิจารณาวางโครงการ พิจารณาความเหมาะสม
ออกแบบเบื้องต้นโครงการชลประทาน และกิจการอื่น ๆ
3.1.2 ลักษณะของงาน
3.1.2.1 การสารวจทาแผนทีล่ ายเส้ นด้ วยเครื่ องเขียนแผนที่แบบเชิงกล
3.1.2.1.1 การเตรี ยมงานเบื้องต้น
▪ กาหนดขอบเขตโครงการลงบนแผนที่ มาตราส่ วน 1 : 50,000 ของกรม
แผนที่ทหาร
▪ จัดหาภาพถ่ ายทางอากาศให้ครอบคลุ มบริ เวณพื้นที่ โครงการโดยให้มี
มาตราส่ วนภาพถ่ายสัมพันธ์กบั มาตราส่ วนแผนที่ และเส้ นชั้นความสู ง
ของแผนที่ ที่ตอ้ งการจัดทา
▪ จัดทาแผนที่ดชั นีภาพถ่าย (Photo Index)

40
▪ คัดลอกค่าพิกดั และค่าระดับของหมุดหลักฐานที่ทราบค่าแล้วลงบนแผน
ที่ มาตราส่ วน 1:50,000 ที่จดั เตรี ยมไว้ พร้อมแนบหมายหมุดหลักฐาน
(Description) ที่ฝ่ายสารวจวางหมุดหลักฐานดาเนินการไว้แล้ว
▪ กาหนดตาแหน่ งจุดบังคับภาพถ่ายทางราบ และทางดิ่ งพร้ อมหมายเลข
กากับบนภาพถ่าย โดยยึดตามหลักการขยายจุดบังคับภาพถ่าย
3.1.2.1.2 การดาเนินงานในสนาม
ก) การสารวจจุดบังคับภาพถ่าย (Photo Control)
▪ กาหนดจุดบังคับภาพถ่ายทางราบและทางดิ่งในภูมิประเทศ ให้อยูใ่ น
ขอบเขตที่ ก าหนดไว้บ นภาพถ่ าย แล้วปรุ จุดด้วยเข็ม ปลายแหลม
เขี ย นชื่ อ และเครื่ อ งหมายก ากับ ด้า นหน้ า ภาพ เขี ย นแผนที่ สั งเขป
โดยรอบจุดให้ชดั เจนด้านหลังภาพ ตอกหมุดไม้ ณ ตาแหน่งจุดที่ปรุ
ลงในภูมิประเทศและทาหมายพยานให้สังเกตเห็นได้ง่าย
▪ สารวจหาค่าพิกดั ของจุดบังคับภาพถ่าย ทางราบ(Horizontal Control
Point) โดยวิธีการวงรอบชั้นที่ 3 หรื อวิธีการอื่น ที่ มีความถู กต้องอยู่
ในเกณฑ์เดียวกัน
▪ ส ารวจหาค่ า ระดับ ของจุ ด บัง คับ ภาพถ่ า ย (Vertical Control Point)
โดยวิธีการทาระดับชั้น 3 หรื อวิธีการอื่นที่มีความถูกต้องอยูใ่ นเกณฑ์
เดียวกัน
ข) การสารวจจาแนกรายละเอียดและนามศัพท์
▪ จาแนกรายละเอี ยดภู มิ ป ระเทศที่ ป รากฏบนภาพถ่ ายและนามศัพ ท์
ได้แก่
- อาคารสาคัญต่างๆ เช่น สถานที่ราชการ วัด โรงเรี ยน หมู่บา้ น ป่ า
ช้า โบสถ์ เจดี ย ์ สะพาน อาคารชลประทาน แนวเหมือง คลอง
ชลประทาน ฝาย ถนน ฯลฯ
- รายละเอี ย ดทั่ ว ไป เช่ น ไร่ นา สวน ป่ า ล าน้ า หนองน้ า
แนวสายไฟแรงสู ง คลอง บึง ที่ชายเลน เขตหมู่บา้ น เขตป่ าสงวน
เขตอุตสาหกรรม ฯลฯ
▪ ส ารวจเพิ่ ม เติ ม ส าหรั บ รายละเอี ยดภู มิ ป ระเทศที่ เปลี่ ยนแปลง และ
เกิ ด ขึ้ น ใหม่ หรื อ มี ก ารก่ อ สร้ างหลัง จากการบิ น ถ่ า ยภาพ การเก็ บ
รายละเอียดนี้ สามารถทาได้ดว้ ยวิธีการสารวจ ที่มีความคลาดเคลื่อน
ทางตาแหน่ง ไม่เกิน 1 มม. ตามมาตราส่ วน
▪ การใช้รหัส และสี ของรายละเอียด ให้เป็ นไปตามภาคผนวก ข.

41
3.1.2.1.3 การขยายจุดบังคับภาพถ่ายเพื่อการผลิตแผนที่ลายเส้น
▪ กาหนดบริ เวณบนภาพถ่าย จานวน 3 บริ เวณในแนวกลางภาพถ่ายโดยใช้
กล้องมองภาพสามมิติ เพื่อกาหนดตาแหน่ งจุดบังคับภาพถ่ าย จานวน
3 ตาแหน่ง
▪ ปรุ ตาแหน่ งจุดบังคับภาพถ่ายในบริ เวณที่ เลื อกบนแผ่นฟิ ล์มไดอาพอซิ
ตี ฟ ด้วยเครื่ องปรุ จุดที่ ส ามารถสร้ างภาพสามมิ ติ และมี เข็มเจาะขนาด
60 ไมครอน โดยให้เลือกตาแหน่งที่อยูบ่ นพื้นดินราบและเป็ นที่โล่ง
▪ รั ง วั ด ต าแห น่ งจุ ด บั ง คั บ ภ าพ ถ่ ายบ น แบ บ จ าล องภู มิ ป ระ เท ศ
(Model Coordinate) ด้วยเครื่ องเขียนแผนที่ ทาการคานวณและแสดงผล
การรังวัดโดยกาหนด ความแตกต่างเชิ งตาแหน่ งของจุดบังคับภาพถ่ายที่
เป็ นตาแหน่ งเชื่ อมระหว่างแบบจาลองสามมิ ติที่ต่อเนื่ องกัน ตามเกณฑ์
ของการขยายจุดบังคับภาพถ่าย
▪ ค านวณปรั บ แก้ และตรวจสอบจุ ดบังคับ ภาพถ่ า ยเพื่ อหาค่ าพิ ก ัด และ
ค่ า ระดับ ของจุ ด บัง คับ ภาพถ่ า ยบนพื้ น ดิ น (Terrain Coordinate) โดย
วิธี ก ารค านวณทั้ง ทางราบ และทางดิ่ ง แบบบล็ อ กของโมเดลอิ ส ระ
(Independent Model Block Adjustment) โดยให้มีความคลาดเคลื่ อนไม่
เกิน 30 ไมครอน ที่มาตราส่ วนภาพถ่าย
3.1.2.1.4 การเขียน และคัดลอกแผนที่
ก) การจัดเตรี ยมแผ่นต้นร่ าง (Manuscript)
▪ วางแผนจัดเตรี ยมแผ่นต้นร่ างให้ครอบคลุมพื้นที่โครงการ
▪ นาเข้าข้อมูล จุดบังคับภาพถ่าย จุดควบคุ มทางพื้นดิ น หมุดหลักฐาน
ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
▪ ประกอบระวางแผ่นต้นร่ างโดยสร้างเส้นกริ ดพร้อมลงเลขกากับ ใน
แนวตั้งและแนวนอน ใส่ ชื่อโครงการ และพิมพ์ดว้ ยเครื่ องวาดภาพ
(Plotter)
ข) สร้างแบบจาลองภูมิประเทศ (model) ด้วยเครื่ องเขียนแผนที่แบบเชิ งกล
ให้ ถู ก ต้ อ งทั้ งทางราบและทางดิ่ ง โดยการปรั บ มาตราส่ วนและระดั บ ของ
แบบจาลอง ภูมิประเทศ
▪ การปรั บ มาตราส่ ว น ใช้ จุ ด บัง คับ ภาพถ่ า ยทางราบที่ ไ ด้ จ ากการ
คานวณ ขยายจุดบังคับภาพถ่าย อย่างน้อย 4 จุด
▪ การปรับ ระดับ ใช้จุดบังคับ ภาพถ่ ายทางดิ่ งที่ ได้จากการส ารวจใน
สนามและ/ หรื อ การคานวณขยายจุดบังคับภาพถ่าย อย่างน้อย 4 จุด

42
ค) เขี ยนรายละเอี ยดภู มิ ป ระเทศลงบนแผ่น ต้นร่ าง โดยใช้สัญ ลักษณ์ ตาม
แบบที่สานักสารวจด้านวิศวกรรมและธรณี วทิ ยากาหนด ดังในภาคผนวก ค.
ง) เขียนเส้นชั้นความสู งพร้ อมเลขกากับ และลงจุดระดับทุกระยะ 2-3 ซม.
สาหรับบริ เวณที่มีตน้ ไม้ปกคลุมหนาแน่น ให้เขียนเส้นชั้นความสู งด้วยเส้นประ
จ) ตรวจสอบ แก้ไ ข เพิ่ ม เติ ม แผนที่ ต้น ร่ างให้ มี ค วามถู ก ต้อ งครบถ้วน
สมบูรณ์
ฉ) นาแผนที่ตน้ ร่ างไปทาการคัดลอก ลงบนแผ่นระวางตามแบบมาตรฐาน
T-1 ของสานักสารวจด้านวิศวกรรมและธรณี วทิ ยา
3.1.2.2 การสารวจทาแผนทีล่ ายเส้ นเชิงเลข (Digital Topographic Line Map)
3.1.2.2.1 การเตรี ยมงานเบื้องต้น
▪ กาหนดขอบเขตโครงการลงบนแผนที่ มาตราส่ วน 1 : 50,000 ของกรม
แผนที่ทหาร
▪ จัดหาภาพถ่ ายทางอากาศให้ครอบคลุ มบริ เวณพื้นที่ โครงการโดยให้มี
มาตราส่ วนภาพถ่ายสัมพันธ์กบั มาตราส่ วนแผนที่ และเส้ นชั้นความสู ง
ของแผนที่ ที่ตอ้ งการจัดทา
▪ จัดทาแผนที่ดชั นีภาพถ่าย (Photo Index)
▪ คัดลอกค่าพิกดั และค่าระดับของหมุดหลักฐานที่ทราบค่าแล้วลงบนแผน
ที่ มาตราส่ วน 1:50,000 ที่จดั เตรี ยมไว้ พร้อมแนบหมายหมุดหลักฐาน
(Description) ที่ฝ่ายสารวจวางหมุดหลักฐานดาเนินการไว้แล้ว
▪ กาหนดตาแหน่ งจุดบังคับภาพถ่ายทางราบ และทางดิ่ งพร้ อมหมายเลข
กากับบนภาพถ่าย โดยยึดตามหลักการขยายจุดบังคับภาพถ่าย
3.1.2.2.2 การดาเนินงานในสนาม
ก) การสารวจจุดบังคับภาพถ่าย (Photo Control)
▪ กาหนดจุดบังคับภาพถ่ายทางราบและทางดิ่งในภูมิประเทศ ให้อยูใ่ น
ขอบเขตที่ ก าหนดไว้บ นภาพถ่ าย แล้วปรุ จุดด้วยเข็ม ปลายแหลม
เขี ย นชื่ อ และเครื่ อ งหมายก ากับ ด้า นหน้ า ภาพ เขี ย นแผนที่ สั งเขป
โดยรอบจุดให้ชดั เจนด้านหลังภาพ ตอกหมุดไม้ ณ ตาแหน่งจุดที่ปรุ
ลงในภูมิประเทศและทาหมายพยานให้สังเกตเห็นได้ง่าย
▪ สารวจหาค่าพิกดั ของจุดบังคับภาพถ่าย ทางราบ(Horizontal Control
Point) โดยวิธีการวงรอบชั้นที่ 3 หรื อวิธีการอื่น ที่ มีความถู กต้องอยู่
ในเกณฑ์เดียวกัน

43
▪ ส ารวจหาค่ า ระดับ ของจุ ด บัง คับ ภาพถ่ า ย (Vertical Control Point)
โดยวิธีการทาระดับชั้น 3 หรื อวิธีการอื่นที่มีความถูกต้องอยูใ่ นเกณฑ์
เดียวกัน
ข) การสารวจจาแนกรายละเอียดและนามศัพท์
▪ จาแนกรายละเอี ยดภู มิ ป ระเทศที่ ป รากฏบนภาพถ่ ายและนามศัพ ท์
ได้แก่
- อาคารสาคัญต่างๆ เช่น สถานที่ราชการ วัด โรงเรี ยน หมู่บา้ น ป่ า
ช้า โบสถ์ เจดี ย ์ สะพาน อาคารชลประทาน แนวเหมือง คลอง
ชลประทาน ฝาย ถนน ฯลฯ
- รายละเอี ย ดทั่ ว ไป เช่ น ไร่ นา สวน ป่ า ล าน้ า หนองน้ า
แนวสายไฟแรงสู ง คลอง บึง ที่ชายเลน เขตหมู่บา้ น เขตป่ าสงวน
เขตอุตสาหกรรม ฯลฯ
▪ ส ารวจเพิ่ ม เติ ม ส าหรั บ รายละเอี ยดภู มิ ป ระเทศที่ เปลี่ ยนแปลง และ
เกิ ด ขึ้ น ใหม่ หรื อ มี ก ารก่ อ สร้ างหลัง จากการบิ น ถ่ า ยภาพ การเก็ บ
รายละเอียดนี้ สามารถทาได้ดว้ ยวิธีการสารวจ ที่มีความคลาดเคลื่อน
ทางตาแหน่ง ไม่เกิน 1 มม. ตามมาตราส่ วน
▪ การใช้รหัส และสี ของรายละเอียด ให้เป็ นไปตามภาคผนวก ข.
3.1.2.2.3 จัดหาข้อมูลภาพถ่ายเชิงเลขความละเอียดจุดภาพ 30 ไมครอน หรื อดีกว่า
3.1.2.2.4 นาเข้าข้อมูล เช่น ข้อมูลชื่อโครงการ ระบบโปรเจคชัน่ แผนที่ ชื่ อภาพถ่าย
ชื่อโมเดล ข้อมูลสอบเทียบกล้องถ่ายภาพ จุดบังคับภาพถ่ายภาคพื้นดิน เป็ นต้น
3.1.2.2.5 การขยายจุดบังคับภาพถ่าย (Aerial Triangulation)
▪ รั ง วัด ต าแหน่ ง หมายดั ช นี ภาพถ่ า ย (Fiducial M ark) โดยให้ มี ค่ า
Standardized Residuals ครึ่ งหนึ่ งของความละเอียดจุดภาพ (Resolution)
กาหนดและรังวัด จุ ดผ่าน จุดโยงยึด และจุดบังคับภาพถ่ ายภาคพื้นดิ น
โดยให้มีความคลาดเคลื่อนไม่เกิน 30 ไมครอน ที่มาตราส่ วนภาพถ่าย
▪ ค านวณปรั บ แก้แ ละตรวจสอบพิ ก ัดจุ ด บังคับ ภาพถ่ าย โดยใช้วิธี ก าร
ค านวณทั้ง ทางราบและทางดิ่ ง แบบ (Bundle Block Adjustment) ด้ว ย
โปรแกรมเฉพาะด้ า นการขยายจุ ด บั ง คับ ภาพถ่ า ย โดยให้ มี ค วาม
คลาดเคลื่อนไม่เกิน 30 ไมครอน ที่มาตราส่ วนภาพถ่าย
3.1.2.2.6 การสร้างแบบจาลองภูมิประเทศ
▪ รังวัด DTM , Break-line เพื่อประมวลผลสร้างแบบจาลองระดับ (Digital
Elevation Model : DEM) และเส้นชั้นความสู ง

44
3.1.2.2.7 การสร้างเส้นชั้นความสู ง
▪ ด้วยวิธีการสร้าง TIN จาก DEM
▪ ประมวลผลสร้างเส้นชั้นความสู งตามต้องการ
▪ รังวัดจุดระดับ (Spot height)
3.1.2.2.8 ประมวลผลสร้างภาพออร์โท จากแบบจาลองภูมิประเทศ (DEM)
3.1.2.2.9 เขี ย นรายละเอี ย ดภู มิ ป ระเทศโดยใช้ วิ ธี จิ ไ ทซ์ ได้ แ ก่ ถนน อาคาร
สิ่ งปลูกสร้าง การใช้ประโยชน์ที่ดิน และปรับแต่งแก้ไขรายละเอียดแผนที่ (Edit line map) ใช้สัญลักษณ์ตาม
แบบที่สานักสารวจด้านวิศวกรรมและธรณี วทิ ยากาหนด และลงนามศัพท์ให้ครบถ้วนสมบูรณ์
3.1.2.2.10 ประกอบระวางแผนที่ลายเส้นตามแบบมาตรฐาน T-1
3.1.2.2.11 พิมพ์แผนที่ดว้ ยเครื่ องวาดภาพ (Plotter) พร้อมบันทึกบนสื่ อคอมพิวเตอร์
3.2 การสารวจทาแผนทีภ่ าพถ่ าย (Photo Map)
3.2.1 วัต ถุ ประสงค์ เพื่ อ ทาแผนที่ภ าพถ่ าย (Photo Map) ส าหรั บ ใช้ ในงานส ารวจจุ ด ระดั บ ภู มิ
ประเทศ (Spot Height Survey) งานสารวจแปลงกรรมสิ ทธิ์ที่ดิน ใช้ เป็ นหลักฐานประกอบในการตรวจสอบ
ทรั พ ย์ สินและพิจารณาจ่ ายเงินค่ าชดเชยให้ แก่ ราษฎร และกิจการอื่น ๆ มีสองชนิด ได้ แก่ แผนที่ภ าพดัดแก้
(Rectified Photo Map) ในพื้นที่ที่มีลักษณะภู มิประเทศเป็ นที่ราบหรื อค่ อนข้ างราบ และแผนที่ภาพออร์ โท
(Orthophoto Map) ในพืน้ ทีท่ มี่ ีลกั ษณะภูมิประเทศเป็ นลูกเนินและภูเขา
3.2.2 ลักษณะของงาน
3.2.2.1 การสารวจทาแผนที่ภาพดัดแก้ ด้ วยเครื่ องมื อแบบเชิ งกล มาตราส่ วน 1:4,000 หรื อ
1:10,000
3.2.2.1.1 การเตรี ยมงานเบื้องต้น
▪ กาหนดขอบเขตโครงการลงบนแผนที่ มาตราส่ วน 1 : 50,000 ของกรม
แผนที่ทหาร
▪ จัดหาภาพถ่ ายทางอากาศให้ครอบคลุ มบริ เวณพื้นที่ โครงการโดยให้มี
มาตราส่ วนภาพถ่ายสัมพันธ์กบั มาตราส่ วนแผนที่ และเส้ นชั้นความสู ง
ของแผนที่ ที่ตอ้ งการจัดทา
▪ จัดทาแผนที่ดชั นีภาพถ่าย (Photo Index)
▪ คัดลอกค่าพิกดั และค่าระดับของหมุดหลักฐานที่ทราบค่าแล้วลงบนแผน
ที่ มาตราส่ วน 1:50,000 ที่จดั เตรี ยมไว้ พร้อมแนบหมายหมุดหลักฐาน
(Description) ที่ฝ่ายสารวจวางหมุดหลักฐานดาเนินการไว้แล้ว
▪ กาหนดตาแหน่ งจุ ดบังคับ ภาพถ่ ายทางราบ พร้ อมหมายเลขก ากับ บน
ภาพถ่าย โดยยึดตามหลักการขยายจุดบังคับภาพถ่าย

45
3.2.2.1.2 ดาเนินงานในสนาม
▪ ก าหนดจุ ดบัง คับ ภาพถ่ า ยทางราบในภู มิ ป ระเทศ ให้ อ ยู่ในขอบเขตที่
ก าหนดไว้บ นภาพถ่ าย แล้วปรุ จุด ด้วยเข็ ม ปลายแหลม เขี ย นชื่ อ และ
เครื่ องหมายกากับด้านหน้าภาพ เขียนแผนที่สังเขปโดยรอบจุดให้ชดั เจน
ด้านหลังภาพ ตอกหมุดไม้ ณ ตาแหน่ งจุดที่ปรุ ลงในภูมิประเทศและทา
หมายพยานให้สังเกตเห็นได้ง่าย
▪ ส ารวจหาค่ า พิ ก ัด ของจุ ด บัง คับ ภาพถ่ ายทางราบ (Horizontal Control
Point) โดยวิธีการวงรอบชั้นที่ 3 หรื อวิธีการอื่ น ที่ มีความถู กต้องอยู่ใน
เกณฑ์เดียวกัน
3.2.2.1.3 การขยายจุดบังคับภาพถ่ายเพื่อการผลิตแผนที่ภาพดัดแก้
▪ กาหนดบริ เวณภาพถ่ ายจานวน 3 บริ เวณในแนวกลางภาพถ่ ายโดยใช้
กล้องมองภาพสามมิติเพื่อกาหนดจุดบังคับภาพถ่ายจานวน 3 ตาแหน่ง
▪ ก าหนดบริ เวณบนมุ ม ทั้ง สี่ ข องภาพถ่ า ยจ านวน 4 บริ เวณ โดยให้ มี
ระยะห่ างจากมุมภาพถ่ายไม่น้อยกว่า 2 นิ้ วในแนวทแยง เพื่อกาหนดจุด
ควบคุมการปรับแก้ภาพถ่าย จานวน 4 ตาแหน่ง
▪ ปรุ ต าแหน่ ง จุ ด บัง คับ ภาพถ่ า ย และจุ ด ควบคุ ม การปรั บ แก้ ภ าพถ่ า ย
ในบริ เวณที่เลือกบนแผ่นฟิ ล์มไดอาพอซิ ตีฟ ด้วยเครื่ องปรุ จุดที่สามารถ
สร้างภาพสามมิติ โดยเลือกตาแหน่งที่อยูบ่ นพื้นดิน ราบและเป็ นที่โล่ง
▪ รั ง วั ด ต าแห น่ งจุ ด บั ง คั บ ภ าพ ถ่ ายบ น แบ บ จ าล องภู มิ ป ระ เท ศ
(Model Coordinate) ด้ ว ยเครื่ องเขี ย นแผนที่ ท าการค านวณ และ
แสดงผลการรังวัดโดยกาหนด ความแตกต่างเชิ งตาแหน่ งของจุดบังคับ
ภาพถ่ าย ที่ เป็ นตาแหน่ งเชื่ อมระหว่างแบบจาลองสามมิติที่ต่อเนื่ องกัน
ตามเกณฑ์ของการขยายจุดบังคับภาพถ่าย
▪ ค านวณปรั บ แก้และตรวจสอบจุ ดบังคับ ภาพถ่ าย เพื่ อหาค่ าพิ ก ัดและ
ค่ า ระดับ ของจุ ด บัง คับ ภาพถ่ า ยบนพื้ น ดิ น (Terrain Coordinate) โดย
วิธี ก ารค านวณทั้ง ทางราบและทางดิ่ ง แบบบล็ อ กของโมเดลอิ ส ระ
(Independent Model Block Adjustment) โดยให้มีความคลาดเคลื่ อนไม่
เกิน 30 ไมครอน ที่มาตราส่ วนภาพถ่าย
3.2.2.1.4 การผลิตแผนที่ภาพดัดแก้ (Rectified photo Map)
▪ เลือกภาพถ่าย และไดอาพอซิ ตีฟให้ครอบคลุมพื้นที่ขอบเขตงาน
▪ ถ่ายจุดควบคุมการปรับแก้ภาพถ่าย ลงบนไดอาพอซิ ตีฟตามตาแหน่ งที่
กาหนดไว้ โดยใช้เครื่ องปรุ จุด

46
▪ พล็ อ ตต าแหน่ ง ของจุ ดควบคุ ม การปรั บ แก้ภ าพถ่ าย ลงบนแผ่น พิ ก ัด
ตามมาตราส่ วน ของแผนที่ภาพดัดแก้ที่ตอ้ งการ
▪ จัดภาพในเครื่ องดัดแก้ เพื่อแก้ความคลาดเคลื่ อนจากการเอียงของแกน
กล้องและปรับมาตราส่ วน
▪ ถ่ายภาพ (expose) เพื่อถ่ายทอดรายละเอียดภูมิประเทศจากไดอาพอซิ ตีฟ
ลงบนฟิ ล์มเนกาตีฟ แล้วนาไปล้างในห้องปฏิบตั ิการภาพถ่าย
▪ ตรวจสอบความถู กต้องของพิกดั ทางราบ ของแผนที่ภาพดัดแก้ในแผ่น
เนกาตีฟ และต่อระวางแผนที่ภาพดัดแก้
▪ ประกอบระวาง โดยลงค่ าพิ กดั และเขี ย นรายละเอี ยดขอบระวางตาม
แบบที่สานักสารวจด้านวิศวกรรมและธรณี วทิ ยากาหนด
▪ พิ ม พ์เป็ นภาพดัดแก้ด้วยวัส ดุ ต่ างๆ เช่ น กระดาษโบรไมด์ ตามความ
ต้องการของผูใ้ ช้งาน
3.2.2.2 การสารวจทาแผนที่ภาพเชิงเลข
3.2.2.2.1 การสารวจทาแผนที่ภาพดัดแก้เชิงเลข
ก) เตรี ยมงานเบื้องต้น
▪ กาหนดขอบเขตโครงการลงบนแผนที่มาตราส่ วน 1 : 50,000 ของกรม
แผนที่ทหาร
▪ จัดหาภาพถ่ายทางอากาศให้ครอบคลุ มบริ เวณพื้นที่โครงการโดยให้มี
มาตราส่ วนภาพถ่ายสัมพันธ์กบั มาตราส่ วนแผนที่ และเส้นชั้นความสู ง
ของแผนที่ ที่ตอ้ งการจัดทา
▪ จัดทาแผนที่ดชั นีภาพถ่าย (Photo Index)
▪ คัดลอกค่าพิกดั และค่าระดับของหมุดหลักฐานที่ ทราบค่าแล้วลงบน
แผนที่ มาตราส่ ว น 1:50,000 ที่ จ ัด เตรี ย มไว้ พร้ อ มแนบหมายหมุ ด
หลักฐาน (Description) ที่ฝ่ายสารวจวางหมุดหลักฐานดาเนิ นการไว้
แล้ว
▪ กาหนดตาแหน่ งจุดบังคับภาพถ่ายทางราบ และทางดิ่งพร้อมหมายเลข
กากับบนภาพถ่าย โดยยึดตามหลักการขยายจุดบังคับภาพถ่าย
ข) การดาเนินงานในสนาม
▪ การสารวจหาค่าพิกดั ของจุดบังคับภาพถ่ายทางราบ ดาเนิ นการสารวจ
ด้วยวิธีการวงรอบชั้นที่ 3 หรื อ การสารวจโดยวิธีอื่นๆ ที่มีความถูกต้อง
อยูใ่ นเกณฑ์เดียวกัน

47
▪ หาค่าระดับ ของจุ ดบังคับ ภาพถ่ ายทางดิ่ ง ให้กาหนดตาแหน่ งเป็ นจุ ด
เดียวกับจุดบังคับภาพถ่ายทางราบหรื อใกล้เคียง โดยดาเนิ นการสารวจ
ด้วยวิธีต่างๆที่มีความคลาดเคลื่ อนทางระดับอยูใ่ นเกณฑ์งานระดับชั้น
ที่ 3
ค) จัด หาข้ อ มู ล ภาพถ่ า ยเชิ ง เลขความละเอี ย ดจุ ด ภาพ (Resolution) 30
ไมครอนหรื อดีกว่า
ง) นาข้อมูลเข้า เช่น ข้อมูลชื่ อโครงการ ระบบโปรเจคชัน่ แผนที่ ชื่อภาพถ่าย
ชื่อโมเดล ข้อมูลสอบเทียบกล้องภาพถ่าย จุดบังคับภาพถ่ายภาคพื้นดิน
เป็ นต้น
จ) ขยายจุดบังคับภาพถ่าย (Aerial Triangulation)
▪ รังวัดตาแหน่งจุดดัชนี ภาพถ่าย (Fiducial Mark) จุดผ่าน จุดโยงยึด และ
จุดบังคับภาพถ่ายภาคพื้นดิ น กาหนดให้มีความแตกต่างเชิ งตาแหน่ ง
ของจุดเชื่ อมต่อระหว่างแบบจาลองสามมิติที่ต่อเนื่ องกัน (Standardized
Residuals) ไม่เกินครึ่ งหนึ่งของความละเอียดจุดภาพ
▪ คานวณปรั บแก้และตรวจสอบจุดบังคับภาพถ่ าย เพื่อหาค่าพิกดั และ
ค่ า ระดับ ของจุ ดบังคับ ภาพถ่ ายบนพื้ น ดิ น (Terrain Coordinate) โดย
วิธี ก ารค านวณทั้ง ทางราบและทางดิ่ ง ตามกรรมวิธี (Bundle Block
Adjustment) โดยให้มีความคลาดเคลื่ อนไม่เกิน 30 ไมครอน เฉพาะค่า
พิกดั ทางราบที่มาตราส่ วนภาพถ่าย
ฉ) ประมวลผลสร้างภาพดัดแก้
ช) ประกอบระวางแผนที่ภาพตามแบบมาตรฐานที่สานักสารวจฯกาหนด
ซ) พิมพ์แผนที่ภาพลงบนกระดาษตามมาตราส่ วนที่ตอ้ งการ และบันทึกลง
บนสื่ อคอมพิวเตอร์
3.2.2.2.2 การสารวจทาแผนที่ภาพออร์โทเชิงเลข
ก) เตรี ยมงานเบื้องต้น
▪ กาหนดขอบเขตโครงการลงบนแผนที่มาตราส่ วน 1 : 50,000 ของกรม
แผนที่ทหาร
▪ จัดหาภาพถ่ายทางอากาศให้ครอบคลุ มบริ เวณพื้นที่โครงการโดยให้มี
มาตราส่ วนภาพถ่ายสัมพันธ์กบั มาตราส่ วนแผนที่ และเส้นชั้นความสู ง
ของแผนที่ ที่ตอ้ งการจัดทา
▪ จัดทาแผนที่ดชั นีภาพถ่าย (Photo Index)

48
▪ คัดลอกค่าพิกดั และค่าระดับของหมุดหลักฐานที่ ทราบค่าแล้วลงบน
แผนที่ มาตราส่ ว น 1:50,000 ที่ จ ัด เตรี ย มไว้ พร้ อ มแนบหมายหมุ ด
หลักฐาน (Description) ที่ฝ่ายสารวจวางหมุดหลักฐานดาเนิ นการไว้
แล้ว
▪ กาหนดตาแหน่ งจุดบังคับภาพถ่ายทางราบ และทางดิ่งพร้อมหมายเลข
กากับบนภาพถ่าย โดยยึดตามหลักการขยายจุดบังคับภาพถ่าย
ข) ดาเนินงานในสนาม
▪ การสารวจ จุดบังคับภาพถ่าย (Photo Control)
 กาหนดจุดบังคับภาพถ่ายทางราบและทางดิ่ งในภูมิประเทศ ให้อยู่
ในขอบเขตที่กาหนดไว้บนภาพถ่าย แล้วปรุ จุดด้วยเข็มปลายแหลม
เขี ย นชื่ อและเครื่ อ งหมายก ากับ ด้านหน้า ภาพ เขี ย นแผนที่ สั งเขป
โดยรอบจุดให้ชัดเจนด้านหลังภาพ ตอกหมุดไม้ ณ ตาแหน่ งจุ ดที่
ปรุ ลงในภูมิประเทศและทาหมายพยานให้สังเกตเห็นได้ง่าย
 ส ารวจหาค่ า พิ ก ั ด ของจุ ด บั ง คับ ภาพถ่ า ยทางราบ (Horizontal
Control Point) โดยวิธี การวงรอบชั้น ที่ 3 หรื อวิธี ก ารอื่ น ที่ มี ความ
ถูกต้องอยูใ่ นเกณฑ์เดียวกัน
 สารวจหาค่ าระดับ ของจุ ดบังคับ ภาพถ่ าย (Vertical Control Point)
โดยวิธีการท า ระดับชั้น 3 หรื อวิธีการอื่ นที่ มี ความถู กต้องอยู่ใน
เกณฑ์เดียวกัน
▪ การสารวจจาแนกรายละเอียดและนามศัพท์
 จาแนกรายละเอียดภูมิประเทศที่ปรากฏบนภาพถ่ายและนามศัพท์
ได้แก่
- อาคารสาคัญต่างๆ เช่น สถานที่ราชการ วัด โรงเรี ยน
หมู่บา้ น ป่ าช้า โบสถ์ เจดีย ์ สะพาน อาคารชลประทาน แนว
เหมือง คลองชลประทาน ฝาย ถนน ฯลฯ
- รายละเอียดทัว่ ไป เช่น ไร่ นา สวน ป่ า ลาน้ า หนองน้ า แนว
สายไฟแรงสู ง คลอง บึง ที่ชายเลน เขตหมู่บา้ น เขตป่ าสงวน
เขตอุตสาหกรรม ฯลฯ
ค) จัด หาข้ อ มู ล ภาพถ่ า ยเชิ ง เลขความละเอี ย ดจุ ด ภาพ (Resolution) 30
ไมครอนหรื อดีกว่า

49
ง) นาเข้าข้อมูล เช่น ข้อมูลชื่ อโครงการ ระบบโปรเจคชัน่ แผนที่ ชื่อภาพถ่าย
ชื่อโมเดล ข้อมูลสอบเทียบกล้องภาพถ่าย จุดบังคับภาพถ่ายภาคพื้นดิน
เป็ นต้น
จ) ขยายจุดบังคับภาพถ่าย (Aerial Triangulation)
▪ รังวัดตาแหน่งจุดดัชนี ภาพถ่าย (Fiducial Mark) จุดผ่าน จุดโยงยึด และ
จุดบังคับภาพถ่ายภาคพื้นดิ น กาหนดให้มีความแตกต่างเชิ งตาแหน่ ง
ของจุดเชื่ อมต่อระหว่างแบบจาลองสามมิติที่ต่อเนื่ องกัน (Standardized
Residuals) ไม่เกินครึ่ งหนึ่งของความละเอียดจุดภาพ
▪ คานวณปรั บแก้และตรวจสอบจุดบังคับภาพถ่ าย เพื่อหาค่าพิกดั และ
ค่ า ระดับ ของจุ ดบังคับ ภาพถ่ ายบนพื้ น ดิ น (Terrain Coordinate) โดย
วิธี ก ารค านวณทั้ง ทางราบและทางดิ่ ง ตามกรรมวิธี (Bundle Block
Adjustment) โดยให้มีความคลาดเคลื่อน ไม่เกิน 30 ไมครอน เฉพาะค่า
พิกดั ทางราบที่มาตราส่ วนภาพถ่าย
ฉ) ประมวลผลแบบจาลองภูมิประเทศ (Stereo Resampling)
ช) สร้ า งแบบจ าลองระดับ เพื่ อ ใช้ ก ากับ ความคลาดเคลื่ อ นทางดิ่ ง ของ
ภาพออร์โท
▪ รังวัดและดิจิไทซ์จุด DTM หรื อ Mass Points โดยกาหนดระยะระหว่าง
จุด 5050 ม. บริ เวณที่ ราบหรื อค่ อนข้างราบ และ 2020 ม.บริ เวณ
ภูเขาหรื อที่เนินสู งต่า
▪ รั ง วัด และดิ จิไ ทซ์ เส้ น Break-line บริ เวณขอบตลิ่ งล าน้ าและบริ เวณ
สันเขา
▪ รังวัดและดิจิไทซ์เส้น Drainages บริ เวณร่ องน้ า ร่ องเขา และแอ่งลุ่มต่ า
ต่างๆ
▪ นาข้อมูลที่รังวัดดังกล่าวประมวลผลสร้างแบบจาลองระดับ หรื อ DEM
(Digital Elevation Model) โดยจัดเก็บในรู ปแบบของแฟ้ มข้อมูลต่างๆ
เช่ น แบบข่ายสามเหลี่ ยมไม่ ป กติ (TIN) แบบแรสเตอร์ หรื อกริ ด และ
แบบเวคเตอร์ หรื อเส้นชั้นความสู ง เป็ นต้น
ซ) ประมวลผลสร้างภาพออร์โท (Ortho Resampling)
ฌ) ประกอบระวางแผนที่ภาพตามแบบมาตรฐานที่สานักสารวจฯกาหนด
ญ) พิมพ์แผนที่ภาพลงบนกระดาษตามมาตราส่ วนที่ตอ้ งการ และบันทึกลง
บนสื่ อคอมพิวเตอร์

50
4. การสารวจกันเขตและแปลงกรรมสิ ทธิ์ทดี่ ิน
4.1 การสารวจกันเขตชลประทาน
4.1.1 วัตถุประสงค์ เพื่อกาหนดขอบเขตที่ ดินที่จะต้องใช้ในกิ จการชลประทาน การรังวัดแบ่งแยก
ที่ดิน การออกหนังสื อสาคัญสาหรับที่หลวง และการระวังแนวเขต
4.1.2 ลักษณะของงาน
4.1.2.1 การเตรียมงานเบื้องต้ น
▪ จัดทาแผนที่สารบาญแสดงตาแหน่ งและขอบเขตชลประทาน ที่จะเข้าดาเนิ นการ
สารวจ
▪ จัดทาสาเนาแผนงานให้กองกฎหมายและที่ดิน และกรมที่ดิน หน่วยงานละ 1 ชุด
▪ จัด หาและตรวจสอบแบบแนวคลอง หรื อ แบบแสดงต าแหน่ ง และขอบเขต
ชลประทานที่กรมฯได้อนุมตั ิแล้ว จานวน 2 ชุด
▪ จัดหาค่าพิกดั และ/หรื อค่าระดับ พร้ อมรายละเอี ยดหมุดหลักฐาน (Description) ที่
จะใช้ในการสารวจกันเขต
4.1.2.2 การวางแนว
▪ ค้นหาหมุดหลักฐานแนวศูนย์กลางในภูมิประเทศ ในกรณี ที่หมุดเดิ มสู ญหาย ให้
โยงค่าพิกดั จากหมุ ดหลักฐานที่ ทราบค่าแล้ว มายังตาแหน่ งแนวศู นย์กลางคลอง
หรื อแนวเขต ตามที่กาหนดไว้ในแบบ
▪ ในกรณี อ่า งเก็ บ น้ า หลัง จากได้ส ารวจระดับ เพื่ อ หาขอบเขตอ่ า งฯ ตามที่ ส านัก
ออกแบบฯกาหนด โดยวิธีการระดับชั้นที่ 3 แล้ว ให้วางแนวกันเขตตามปะเภทของ
อ่างฯ ต่อไปนี้
• อ่ า งเก็ บ น้ า ขนาดใหญ่ แ ละขนาดกลาง ให้ ก ัน เขตที่ ระดับ น้ า เก็ บ กัก หรื อ ตาม
ขอบเขตที่กรมฯอนุมตั ิ
• อ่างเก็บน้ าขนาดเล็ก ให้กน ั เขตระหว่างระดับเก็บกักจนถึงระดับน้ าสู งสุ ด หรื อ
ตามที่กรมฯอนุมตั ิ
4.1.2.3 การปักหลักเขต ให้ปฏิบตั ิดงั นี้
▪ บริ เวณหัวงาน ปักทุก 50 ม.ในแนวตรงและทุกมุมหักเลี้ยว
▪ บริ เวณอ่างเก็บน้ า ปั กทุก 100 ม. ในแนวตรงและทุกมุมหักเลี้ยว
▪ คลองส่ งน้ า คันกั้นน้ าและถนน ปั กทุกระยะ 200 ม.ในแนวตรง ตรงจุดต้นโค้ง จุด
กลางโค้ง จุ ดปลายโค้งและในแนวโค้งให้พิจารณาตามความเหมาะสม แต่ระยะ
ระหว่างหลักเขตต้องไม่เกิน 40 ม. สาหรับบริ เวณชุมชน

51
4.1.2.4 การฝังหลักเขต
▪ ฝังหมุ ดให้อยู่ในแนวดิ่ ง ตรงตามตาแหน่ งที่กาหนด โดยหันหน้าหลักเขตด้านที่ มี
ตัวอักษรและตัวเลขเข้าหาคลอง อ่างเก็บน้ า ฯลฯ และให้ฝังหลักเขตลึกลงไปในดิน
0.60 ม. คลาดเคลื่อนจากตาแหน่งที่กาหนดได้ไม่เกิน 2 ซม.
▪ ในกรณี ต าแหน่ ง ที่ จ ะฝั ง ไปตกในกลางแปลงนาหรื อ กลางแปลงไร่ ให้ เลื่ อ น
ต าแหน่ ง ฝั ง หลัก เขตไปในแนวเขตเดี ย วกัน จนติ ด คัน นาหรื อ คัน เขตที่ ดิ น เพื่ อ
ป้ องกันการถูกทาลาย
4.1.2.5 การโยงค่ าพิกดั
▪ โยงค่าพิ กดั จากหมุ ดหลักฐานใกล้เคี ยงที่ ทราบค่าแล้ว ไปยังหลักเขตที่ ฝังไว้ทุ ก
หมุ ดโดยวิธี การวงรอบชั้นที่ 3 และ/หรื อโยงยึดโดยวิธี Side Shot กับ ให้ฝังหมุ ด
หลักฐานถาวรแบบ ข. เป็ นคู่ ตามแนว BC. – PI.หรื อ PI. – EC. หรื อทุ กระยะไม่
เกิ น 4 กม.และฝั ง หมุ ด หลัก ฐานถาวรแบบ ค. ทุ ก ระยะ 2 กม. ในต าแหน่ ง ที่
เหมาะสมพร้อมทาหมายพยาน
▪ วัดอาซิมุทดาราศาสตร์ เพื่อควบคุมทิศทางของเส้นวงรอบทุก 40 มุมหรื อน้อยกว่า
4.1.2.6 การเขียนแผนที่
▪ พล็อตตาแหน่ งของหลักเขตที่ปักไว้แล้ว ลงในแบบของสานักออกแบบฯ เพื่อให้
ช่างรังวัดของกรมที่ดิน ใช้ประกอบในการรังวัดแบ่งแยก
▪ เขียนแผนที่แสดงแนวเขตและตาแหน่งหลักเขตชลประทานที่ได้ฝังไว้แล้ว ทุกหลัก
ด้วยค่าพิกดั ฉาก มาตราส่ วน 1:4,000
4.1.2.7 การติดต่ อประสานงาน
▪ การดาเนิ นการ และการติ ดต่อประสานงานกับโครงการ กองกฎหมายและที่ดิน
และกรมที่ดิน ให้เป็ นไปตามข้อตกลงระหว่างกรมที่ดินกับกรมชลประทาน เรื่ อง
การรังวัดที่ดินที่ถูกเขตชลประทานและการออกหนังสื อสาคัญสาหรับที่หลวง พ.ศ.
2526
4.2 การสารวจซ่ อมเขตชลประทาน
4.2.1 วัตถุประสงค์ เพื่อซ่ อมเขตชลประทานที่ได้มีการกันเขตไว้แล้ว แต่หมุดหลักเขตได้ชารุ ดหรื อ
สู ญหายไป จึ งต้องการซ่ อมเขตให้สมบู รณ์ เพื่อใช้ในงานรังวัดแบ่งแยกที่ ดินตกค้าง การรังวัดออกหนังสื อ
สาคัญสาหรับที่หลวงและการระวังแนวเขต
4.2.2 ลักษณะของงาน
4.2.2.1 การเตรียมงานเบื้องต้ น
▪ จัดท าแผนที่ ส ารบัญแสดงตาแหน่ งและขอบเขตชลประทานที่ จะเข้าดาเนิ นการ
สารวจซ่อมเขต

52
▪ ในกรณี ที่มีการรังวัดแบ่งแยกที่ดิน และรังวัดออกหนังสื อสาคัญสาหรับที่หลวง ให้
จัดทาสาเนาแผนงานมอบให้กองกฎหมายฯ และกรมที่ดิน หน่วยงานละ 1 ชุด
▪ จัดหาแผนที่แสดงแนวเขตและตาแหน่ งหลักเขต ที่ได้สารวจกันเขตไว้แล้ว พร้อม
ด้วยรายการคานวณและรายละเอี ยดหมุ ดหลักฐาน เพื่อประกอบการซ่ อมเขตให้
ตรงกับตาแหน่งเดิม
▪ ในกรณี ที่ไม่มีแผนที่แสดงแนวเขต และตาแหน่ งหลักเขตไว้แต่เดิม ให้พิมพ์แบบ
แนวคลองจากสานักออกแบบฯและแผนที่แปลงกรรมสิ ทธิ์ ที่ดิน (รว.43 ก.) พร้อม
ทั้งขอคัดแผนที่ ตน้ ร่ างและรู ปแผนที่หลังโฉนดจากกรมที่ดิน เพื่อประกอบการ
สารวจซ่อมเขต
4.2.2.2 การวางแนวและซ่ อมเขต
▪ โยงค่าพิกดั จากหมุดหลักฐานข้างเคียงที่ทราบค่าแล้ว
▪ กรณี ที่แนวซ่ อมเขตเป็ นช่ วงยาวให้ฝังหมุดหลักฐานถาวรแบบ ข. เป็ นคู่หรื อหมุ ด
หลักฐานถาวรแบบ ค. เป็ นคู่ ตามเกณฑ์ที่กาหนด ในงานปั กหลักเขต ( ข้อ 4.1.2.5 )
▪ วัดมุมและวัดระยะจากหมุดหลักฐานหรื อหลักเขตอ้างอิงข้างเคียง ตามมุมและระยะ
ในแบบคานวณและรายละเอียดหมุดหลักฐาน
▪ ปั กหลักเขตใหม่แทนหลักเขตเดิ มที่สูญหายไป และปั กหลักเขตเสริ ม ในกรณี ที่มี
การจัดซื้ อที่ดินเพิ่มเติม
▪ ในกรณี ที่แนวเขตเดิ มสู ญหาย ให้ดาเนิ นการวางแนวและปั กหลักเขตใหม่ให้ตรง
กับแนวเดิม โดยวิธีการเช่นเดียวกันกับข้อ 4.1.2.2 ถ้าบริ เวณที่ดินดังกล่าวเป็ นที่ดิน
ที่ได้มีการยกให้เป็ นเวลานาน เมื่อจะทาการปั กหลักเขตใหม่แล้ว เจ้าของที่ดินไม่
ยินยอม ก็ให้เสนอเรื่ องให้นายช่ างโครงการได้ท ราบ และตกลงกับเจ้าของที่ ดิน
นั้นๆ ต่อไป
4.2.2.3 การเขียนแผนที่
▪ ให้ขีดฆ่าหมายเลขหลัก ชป. ในแผนที่ฉบับเดิม แล้วเขียนหมายเลขหลักใหม่ซ้อน
ไว้ใกล้หมายเลขหลักเดิม ห้ามขูดหรื อลบออก
▪ พล็อตตาแหน่งและแนวเขตที่ได้กนั เขตเพิ่มเติม
▪ การเขียนแผนที่ให้ พล็อตตาแหน่ งของหลักเขตที่ปักไว้แล้ว ลงในแบบของสานัก
ออกแบบฯ เพื่อให้ช่างรังวัดของกรมที่ดิน ใช้ประกอบในการรังวัดแบ่งแยก
▪ เขียนแผนที่แสดงแนวเขตและตาแหน่งหลักเขตชลประทานที่ได้ฝังไว้แล้ว ทุกหลัก
ด้วยค่าพิกดั ฉาก มาตราส่ วน 1:4,000

53
4.2.2.4 การติดต่ อประสานงาน
▪ การดาเนิ นการ และการติ ดต่อประสานงานกับโครงการ กองกฎหมายและที่ดิน
และกรมที่ดิน ให้เป็ นไปตามข้อตกลงระหว่างกรมที่ดินกับกรมชลประทาน เรื่ อง
การรังวัดที่ดินที่ถูกเขตชลประทานและการออกหนังสื อสาคัญสาหรับที่หลวง พ.ศ.
2526
4.3 การสารวจแปลงกรรมสิ ทธิ์ทดี่ ิน เพื่อใช้ ในการพิจารณาโครงการจัดรู ปทีด่ ิน
4.3.1 วัตถุประสงค์ เพื่อสารวจให้ทราบว่าในเขตโครงการที่จะจัดรู ปที่ดินนั้น มีเจ้าของผูถ้ ือครองหรื อ
ผูค้ รอบครองที่ ดิน โดยชอบด้วย กฎหมายจานวนเท่ าใด มี เนื้ อที่ เท่ าใด ได้มี การท าประโยชน์ ในพื้ น ที่ น้ ัน
อย่างไร ซึ่ งจะได้ท าเป็ นแผนที่ แสดงรายละเอี ยดรู ปแปลงที่ ดิน แสดงขอบเขตโครงการจัดรู ปที่ ดิน เพื่อให้
คณะกรรมการจัดรู ปที่ดินได้พิจารณาโครงการ ความเหมาะสม และประโยชน์ที่จะได้รับ และยังใช้เป็ นแผนที่
แนบท้ายพระราชกฤษฎีกากาหนดเขตท้องที่ให้เป็ นโครงการจัดรู ปที่ดินด้วย
4.3.2 ลักษณะของงาน
4.3.2.1 การเตรียมงานเบื้องต้ น
▪ จัด หาภาพถ่ า ยดัด แก้ มาตราส่ ว น 1 : 4,000 พร้ อ มกับ แผนที่ ส ารบัญ ภาพถ่ า ย
มาตราส่ วน 1 : 50,000
▪ ตรวจสอบหลักฐานการครอบครองและขอคัดลอกแผนที่ระวางจากสานักงานที่ดิน
เพื่อหารายละเอียดเกี่ยวกับแปลงที่ดินในพื้นที่ที่จะต้องเข้าดาเนิ นการ ประสานงาน
กับเจ้าหน้าที่ปกครองท้องที่ ให้แจ้งเจ้าของหรื อผูค้ รอบครองที่ดิน ในเขตโครงการ
ที่จะจัดรู ปที่ดินให้ทราบวัตถุประสงค์ และความจาเป็ นที่เจ้าหน้าที่จะต้องสารวจ
เพื่อให้เจ้าของหรื อผูค้ รอบครองที่ดินให้ความร่ วมมือ ในการนาชี้เขตและให้ถอ้ ยคา
ที่เป็ นประโยชน์ต่อการสอบสวน
▪ ขอตรวจสอบเอกสารสิ ท ธิ ข องเจ้า ของหรื อ ผู ้ค รอบครองที่ ดิ น โดยชอบด้ว ย
กฎหมายทุ ก แปลง และให้ น าชี้ แนวกรรมสิ ทธิ์ ที่ ค รอบครอง รวมทั้ งเขตที่
สาธารณประโยชน์ให้ครบถ้วน
▪ จัดทาบัญชี รายชื่ อเจ้าของหรื อผูค้ รอบครองที่มีกรรมสิ ทธิ์ ในที่ ดิน ให้ถูกต้องตรง
กับหลักฐานในเอกสารสิ ทธิ ดว้ ย
▪ กรณี เจ้าของที่ดินหรื อผูค้ รอบครอง นาหลักฐานมาแสดงไม่ตรงกับที่ ครอบครอง
ให้เจ้าของที่ ดินหรื อผูค้ รอบครองนาหลักฐานไปแก้ไขเสี ยให้ถูกต้อง แล้วนามา
แสดงต่อเจ้าหน้าที่ผดู ้ าเนินการ
4.3.2.2 การสารวจแปลงกรรมสิ ทธิ์ทดี่ ินจากแผนทีภ่ าพถ่ าย
▪ จัด พิ ม พ์ แ ผนที่ ภ าพถ่ า ย ส าหรั บ ด าเนิ น การ 2 ชุ ด ชุ ด แรกพิ ม พ์ ด้ว ยกระดาษ
โบร์ ไมด์ 1 ชุด หรื อกระดาษธรรมดา 2 ชุด

54
▪ จัดสร้างระวางแผนที่ โดยนาแผนที่ภาพถ่ายมาพิจารณาจัดทาเป็ นแผ่นระวางตามที่
กาหนดไว้
▪ ขีดแนวเขตกรรมสิ ทธิ์ ที่เจ้าของหรื อผูค้ รอบครองที่ดินได้นาชี้ ลงในกระดาษโบร์
ไมด์เป็ นเส้นประ แล้วจึงนามาลงเป็ นเส้นทึบในแผนที่ภาพถ่าย ให้ครบทุกแปลงอีก
ครั้งหนึ่ง
▪ ลงรายละเอี ยดของเขตสถานที่ สาคัญต่างๆ เช่ น โรงเรี ยน วัด สุ สาน และสถานที่
ราชการ ฯลฯ ในแผนที่ ภาพถ่ ายให้ครบและชัดเจน เพื่ อให้คณะกรรมการจัดรู ป
ที่ดินได้พิจารณาอย่างถูกต้อง
4.3.2.3 การสารวจแปลงกรรมสิ ทธิ์ทดี่ ินทีไ่ ม่ มีแผนทีภ่ าพถ่ าย
▪ ทาการวางโครงหลักฐานแผนที่ให้ครอบคลุ มพื้นที่ ที่ได้กาหนดเขตไว้ให้เป็ นเขต
จัดรู ปที่ดิน หรื อโยงยึดจากหมุดหลักฐานใกล้เคียงเพื่อทาการรังวัดจัดเก็บรู ปแปลง
ที่ดิน
▪ จัดสร้างระวางแผนที่และลงรายละเอียดแปลงกรรมสิ ทธิ์ ที่ดิน รวมทั้งที่สาธารณะ
ประโยชน์ และสถานที่สาคัญต่างๆ ให้ละเอียดชัดเจน
4.3.2.4 การเขียนแผนที่แปลงกรรมสิ ทธิ์ทดี่ ิน
▪ ตรวจสอบความถูกต้องของแผนที่ และกาหนดหมายเลขประจาแปลงด้วยเลขไทย
ทุกแปลง
▪ คานวณเนื้ อที่ ของแต่ละแปลง แล้วกรอกลงในเอกสารแสดงเขตและเนื้ อที่ แปลง
ที่ดิน
▪ จาลองรู ปแผนที่แปลงด้วยกระดาษโพลีเอสเตอร์ พร้อมจัดทาบัญชี รายชื่ อเจ้าของ
ที่ ดิน จานวนเนื้ อที่ ท้ งั หมดในเขตโครงการจัดรู ปที่ ดินฯลฯ และรายละเอี ยดของ
ระวาง
4.3.2.5 การรับรองเอกสารแสดงเขตและเนื้อทีแ่ ปลงทีด่ ิน
▪ นาเอกสารซึ่ งได้จดั ทาในข้อ 4.3.2.4 ไปให้เจ้าของผูค้ รอบครอง หรื อผูไ้ ด้รับมอบ
อานาจลงนามรับรอง
4.4 การสารวจแปลงกรรมสิ ทธิ์ทดี่ ินเพื่อใช้ ในการพิจารณาออกแบบคันคูนา้
4.4.1 วัตถุประสงค์ เพื่อสารวจขอบเขตการครอบครองและการมีสิทธิ ในแปลงที่ดินของเจ้าของที่ดิน
ในบริ เวณที่จะดาเนิ นการก่อสร้ างคันคู น้ า โดยยึดถื อขอบเขตของแปลงที่ดินเป็ นสาคัญ ทั้งนี้ เพื่อให้สามารถ
ออกแบบคันคูน้ าไปตามแปลงนาได้อย่างถูกต้อง
4.4.2 ลักษณะของงาน
4.4.2.1 การเตรียมงานเบื้องต้ น
▪ จัดหาภาพถ่ายดัดแก้ มาตราส่ วน 1 : 4,000

55
▪ ตรวจสอบหลักฐานเช่นเดียวกับการสารวจแปลงกรรมสิ ทธิ์ ที่ดินเพื่อการจัดรู ปที่ดิน
ในข้อ 4.3.2.1 แต่ก ารส ารวจขอบเขตการครอบครอง อนุ โลมให้มีก ารชี้ แนวเขต
แทนกันได้
▪ จัดทาบัญชีรายชื่อเจ้าของหรื อผูค้ รอบครองที่ดิน
4.4.2.2 การสารวจแปลงกรรมสิ ทธิ์ทดี่ ินจากแผนทีภ่ าพถ่ าย
▪ ทาเช่นเดียวกันกับข้อ 4.3.2.2 และรายละเอียดใดที่ไม่ปรากฏบนภาพถ่าย ให้สารวจ
เพิ่มเติมให้สมบูรณ์
4.4.2.3 การสารวจแปลงกรรมสิ ทธิ์ทดี่ ินทีไ่ ม่ มีแผนทีภ่ าพถ่ าย
▪ ทาการวางโครงหลักฐานแผนที่ให้ครอบคลุ มพื้นที่ ที่ได้กาหนดเขตไว้ให้เป็ นเขต
จัดรู ปที่ดิน หรื อโยงยึดจากหมุดหลักฐานใกล้เคียงเพื่อทาการรังวัดจัดเก็บรู ปแปลง
ที่ดิน
▪ จัดสร้างระวางแผนที่และลงรายละเอียดแปลงกรรมสิ ทธิ์ ที่ดิน รวมทั้งที่สาธารณะ
ประโยชน์ และสถานที่สาคัญต่างๆ ให้ละเอียดชัดเจน
4.4.2.4 การเขียนแผนที่แปลงกรรมสิ ทธิ์ทดี่ ิน
▪ ตรวจสอบความถูกต้องของแผนที่ และกาหนดหมายเลขประจาแปลงด้วยเลขไทย
ทุกแปลง
▪ ไม่ตอ้ งคานวณเนื้อที่ของแต่ละแปลง
▪ จาลองรู ปแผนที่แปลงด้วยกระดาษโพลีเอสเตอร์ พร้อมจัดทาบัญชี รายชื่ อเจ้าของ
ที่ ดิน จานวนเนื้ อที่ ท้ งั หมดในเขตโครงการจัดรู ปที่ ดินฯลฯ และรายละเอี ยดของ
ระวาง
4.4.2.5 การรับรองเอกสารเขตแปลงทีด่ ิน
▪ นาเอกสารบัญชีรายชื่ อเจ้าของที่ดินซึ่ งได้เตรี ยมไว้ในข้อ 4.4.2.4 โดยจัดทาเป็ นชุ ด
ของแต่ละแผ่นระวาง ให้เจ้าของที่ดิน ผูค้ รอบครองที่ดิน หรื อผูท้ ี่ได้รับมอบหมาย
ให้มานาชี้แนวเขต ลงนามรับรองเขตที่ดิน เพื่อใช้เป็ นหลักฐาน
5. การสารวจเพื่อการก่อสร้ าง
5.1 การสารวจเพื่อการก่อสร้ างเขื่อน
5.1.1 วัตถุประสงค์ เพื่อสารวจให้แนวและระดับ กาหนดตาแหน่ ง ขอบเขต รู ปร่ าง และขนาดต่างๆ
ของตัวเขื่ อนพร้ อมอาคารประกอบ เพื่ อให้การก่ อสร้ างเป็ นไปตามรู ป แบบรายการที่ กาหนดและสารวจ
ระดับ ภูมิประเทศ สาหรับใช้ในการคานวณหาปริ มาตรงานดินขุดดินถมและอื่นๆ

56
5.1.2 ลักษณะของงาน
5.1.2.1 การเตรียมงานเบื้องต้ น
▪ ติดต่อขอรับแบบเขื่อนและอาคารประกอบ พร้อมด้วยรายละเอียดอื่นๆ
▪ ติดต่อขอรับแผนที่ บริ เวณหัวงานและแผนที่อื่นๆ ซึ่ งได้ถูกอ้างอิงไว้ในแบบจาก
สานักสารวจด้านวิศวกรรมและธรณี วิทยา เพื่อตรวจสอบตาแหน่งและแนวเขื่อนที่
ได้ออกแบบไว้รวมทั้งตรวจสอบ ชื่ อ หมายเลขหมุด ค่าพิกดั ค่าระดับ ทั้งในแบบ
และในแผนที่ ถ้าไม่ตรงกันให้หาสาเหตุ และพิ จารณาแก้ไขให้ถูกต้อง พร้ อมทั้ง
รายงานให้ผบู ้ งั คับบัญชาและผูเ้ กี่ยวข้องทราบทันที
▪ ศึกษารายละเอียดต่างๆของแบบให้เข้าใจ ทาการคานวณถอดแบบ เพื่อหาค่ามุมเบน
และระยะรวมทั้งมิติต่างๆไว้ เพื่อใช้งานต่อไป
▪ จัด เตรี ย มค่ า พิ ก ั ด ค่ า ระดั บ และหมายพยานของหมุ ด หลัก ฐานเดิ ม ตามแนว
ศูนย์กลางเขื่อนและบริ เวณหัวงาน หรื อหมุดหลักฐานอื่นในบริ เวณใกล้เคียง เพื่อ
ใช้เป็ นค่าอ้างอิงในการโยงงานและตรวจสอบ
▪ วางแผนและกาหนดตาแหน่ งที่ จะสร้ างหมุ ดหลักฐานหมายพยานให้เพี ยงพอแก่
การใช้งาน โดยศึกษารายละเอียดจากแบบและแผนที่ประกอบกัน
▪ จัดเตรี ยมเครื่ องมือและอุปกรณ์ การสารวจที่จาเป็ น และเหมาะสมกับงาน รวมทั้ง
ตรวจสอบสภาพและความถูกต้องของเครื่ องสารวจให้พร้อมที่จะใช้งาน
5.1.2.2 การเตรียมงานในสนาม
▪ ค้นหาหมุดหลักฐานเดิมที่ได้จดั เตรี ยมไว้
▪ โยงค่ าพิก ัดและค่าระดับจากหมุ ดหลักฐานเดิ ม และ/หรื อ หมุดหลักฐานในแนว
ศูนย์กลางเข้าตรวจสอบกับหมุดหลักฐานข้างเคียงที่มีสภาพดีและน่าเชื่อถือ ถ้าหมุด
ในแนวศูนย์กลางสู ญหายหรื อไม่ตรงกับแบบให้วางแนวศูนย์กลางใหม่
▪ สร้างหมุดหลักฐานถาวรแบบ ข. เพื่อเป็ นหมุดหมายพยานของแนวศูนย์กลางเขื่อน
โดยให้ต่อแนวศูนย์กลางออกไปทั้ง 2 ข้าง จนพ้นเขตก่อสร้างอย่างน้อยข้างละ 1 คู่
และ/หรื อ ให้ต้ งั ฉากหรื อขนานกับแนวศูนย์กลาง อีกข้างละ 1 คู่
▪ สร้ า งหมุ ด หลัก ฐานถาวรแบบ ค. เพื่ อ เป็ นหมุ ด หลัก ฐานหมายพยานของแนว
ศูนย์กลางและระยะ กม. ของเขื่อน ทุกระยะ 200 ม. ให้ขนานหรื อตั้งฉากกับแนว
ศูนย์กลางเขื่อน และให้อยูน่ อกเขตก่อสร้าง
▪ สร้างหมุดหลักฐานถาวรแบบ ข. หรื อแบบ ค. เพื่อเป็ นหมุดหลักฐานหมายพยาน
ของแนวศูนย์กลางอาคารประกอบ ให้ขนานหรื อตั้งฉากกับแนวศูนย์กลาง และอยู่
นอกเขตก่อสร้าง

57
▪ โยงค่าพิกดั และค่าระดับจากหมุ ดหลักฐานข้างเคี ยงที่ ตรวจสอบค่าแล้ว เข้าหมุ ด
หลัก ฐานหมายพยานทั้งหมด โดยวิธีการวงรอบ (หรื อการสามเหลี่ ยม) และการ
ระดับ ชั้นที่ 3 กรณี เป็ นเขื่อนเก็ บ กักน้ าขนาดใหญ่ หรื อเขื่ อนคอนกรี ต ใช้วิธีก าร
วงรอบและการระดับชั้นที่ 2
▪ ทารั้วล้อมรอบหมุดหลักฐานถาวร พร้อมทั้งเขียนชื่อและค่าระดับของหมุดกากับไว้
5.1.2.3 การสารวจวางแนว
▪ วางแนวศูนย์กลางเขื่อนจาก กม. 0+000 ไปจนสุ ดแนว ปักหมุดไม้ทุก 20 ม. พร้อม
เขียนเลขบอกระยะ กม. กากับ สาหรับจุดที่ต้ งั ของอาคารประกอบเขียนเลขบอก
ระยะ กม. และชื่ออาคารกากับไว้ดว้ ย
▪ วางแนวรู ปตัดขวางให้ต้ งั ฉากกับแนวศูนย์กลางเขื่อนที่กม. 0+000 และทุกระยะ 20
ม.พร้อมกับต่อปี กรู ปตัดออกไปจนพ้น Toe Slope และ Top Slope อย่างน้อย 10 ม.
ส่ วนที่ เป็ นแนวโค้งให้กาหนดแนวรู ปตัดขวางไปในทิ ศทางเดี ยวกับรัศมีของโค้ง
ณ ตาแหน่งนั้นๆ สาหรับอาคารประกอบให้ปฏิบตั ิเช่นเดียวกับแนวเขื่อน
5.1.2.4 การรังวัดระดับ
▪ รังวัดระดับตามแนวศูนย์กลางเขื่อนที่ กม. 0+000 และทุกระยะ 20 ม. โดยวิธีการ
ระดับชั้นที่ 3
▪ รังวัดระดับตามแนวรู ปตัดขวางทุกระยะ 10 ม.และทุกจุดที่ระดับเปลี่ยนแปลงมาก
โดยนั บ ระยะศู น ย์จ ากแนวศู น ย์ก ลางเขื่ อ นออกไปทั้ง 2 ข้า ง ส าหรั บ อาคาร
ประกอบก็ให้ปฏิบตั ิ เช่นเดียวกันกับแนวเขื่อน
5.1.2.5 การเขียนแผนที่
▪ เขียนแผนที่รูปตัดตามยาวแนวศูนย์กลางเขื่อน มาตราส่ วนทางตั้ง 1:100 และทาง
ราบเท่ากับมาตราส่ วนของแบบ แสดงจุดระดับภูมิประเทศทุก 20 ม.
▪ เขียนแผนที่รูปตัดขวางแนวศูนย์กลางเขื่อน มาตราส่ วนทางตั้งและทางราบ 1:100
โดยให้ปีกรู ปตัดด้านเหนื อน้ าอยู่ทางด้านซ้ายของกระดาษ และแสดงค่าระดับภู มิ
ประเทศทุกจุดที่ทาการรังวัด เพื่อใช้ประกอบการคานวณหาปริ มาตรงานดินขุด
ดินถม และอื่น ๆ
5.1.2.6 การกาหนดแนวและขนาดเพื่อการก่อสร้ าง
▪ วางแนวศูนย์กลางเขื่อน ปักหลักไม้ทุกระยะ 20 ม. ที่จุด Toe Slope และ Top Slope
ของตัวเขื่ อ นทั้ง 2 ข้าง เพื่ อถางป่ าและเปิ ดหน้าดิ น ส าหรั บ งานก่ อสร้ า งอาคาร
ประกอบก็ให้ปฏิบตั ิเช่นเดียวกัน
▪ วางแนวศูนย์กลางเขื่อน ปั กหลักไม้ทุก 10 ม. ในแนวตรง และทุก 5 ม. ในแนวโค้ง
กาหนดขนาดของร่ องแกนไปจนตลอดแนวเขื่ อน แล้วโรยปูนขาวไว้ เพื่อการขุด

58
ลอกต่อไป กรณี เป็ นเขื่อนเก็บกักน้ าขนาดใหญ่หรื อเขื่อนคอนกรี ต จะต้องวางแนว
กาหนดขนาด ก่อนและหลังการขุดลอกหรื อระเบิดหิ นทุกครั้ง จนกว่าจะได้ขนาด
หรื อถึ ง ระดั บ ที่ ต้ อ งการ ส าหรั บ งานก่ อ สร้ า งอาคารประกอบก็ ใ ห้ ป ฏิ บ ั ติ
เช่นเดียวกัน
▪ วางแนวศูนย์กลางเขื่อน ปักหลักไม้ทุกระยะ 10 ม. ในแนวตรง และทุก 5 ม.ในแนว
โค้ง กาหนดขนาดเพื่อบดอัดชั้นดิ นก่อนและหลังการถมบดอัดชั้นดิ นทุกครั้งให้
เป็ นไปตามแบบ กรณี เป็ นเขื่อนเก็บกักน้ าขนาดใหญ่ หรื อเขื่อนคอนกรี ต จะต้อง
วางแนวและกาหนดขนาดทุ กบล็อกในแนวตรงและแนวโค้ง เพื่อการตั้งแบบเท
คอนกรี ตตามแบบ
▪ ตรวจสอบแนวและขนาดทั้งก่อนและหลังเทคอนกรี ต สาหรับงานก่อสร้างอาคาร
ประกอบก็ให้ปฏิบตั ิเช่นเดียวกัน
5.1.2.7 การกาหนดค่ าระดับ
▪ รังวัดระดับรู ปตัดขวางภายหลังการถางป่ าและเปิ ดหน้าดินแล้วทุกระยะ 20 ม.ใน
แนวตรงและทุ ก ระยะ 10 ม.ในแนวโค้ง ต่ อปี กรู ป ตัดขวางไปจนถึ ง Toe Slope
และ Top Slope ทั้ง 2 ข้าง และแสดงค่าระดับตลอดแนวศูนย์กลางทุกระยะที่วางไว้
หลังการเปิ ดหน้าดิน
▪ กาหนดค่าระดับดินขุดของร่ องแกน ทุกระยะที่กาหนดในแบบ
▪ ก าหนดค่ าระดับ ดิ น ถม บนหมุ ดไม้ที่ ปั ก ณ จุ ด Toe Slope และ Top Slope ของ
เขื่อนทั้ง 2 ข้าง หลังการถมร่ องแกนเสร็ จทุกระยะ 10 ม. ในแนวตรงและทุกระยะ 5
ม.ในแนวโค้ง ก่ อนและหลังการถมบดอัดดิ นทุ กครั้ง กรณี เป็ นเขื่ อนเก็บกักน้ า
ขนาดใหญ่หรื อเขื่อนคอนกรี ต จะต้องกาหนดค่าระดับทุกบล็อกคอนกรี ตในแนว
ตรงและแนวโค้ง เพื่อการตั้งแบบคอนกรี ตตามที่กาหนดในแบบ
▪ ตรวจสอบค่าระดับภายหลัง ถม บดอัดชั้นดินตัวเขื่อนแล้ว และตรวจสอบค่าระดับ
ในการตั้งแบบก่อนและหลังเทคอนกรี ตทุกบล็อกของแบบ โดยวิธีการระดับชั้นที่ 3
สาหรับงานก่อสร้างอาคารประกอบ ก็ให้ปฏิบตั ิเช่นเดียวกัน
5.2 การสารวจเพื่อการก่อสร้ างคลองส่ งนา้
5.2.1 วัตถุประสงค์ เพื่อสารวจให้แนวและระดับ กาหนดตาแหน่ง ขอบเขต รู ปร่ าง และขนาดต่าง ๆ
ของคลองส่ งน้ าพร้ อมอาคารประกอบ เพื่อให้การก่ อสร้ างเป็ นไปตามรู ปแบบรายการที่ กาหนดและสารวจ
ระดับภูมิประเทศ สาหรับใช้ในการคานวณหาปริ มาตรงานดินขุด ดินถมและอื่น ๆ

59
5.2.2 ลักษณะของงาน
5.2.2.1 การเตรียมงานเบื้องต้ น
▪ ติ ด ต่ อ ขอรั บ แบบรายละเอี ย ดของคลองส่ ง น้ า และอาคารประกอบที่ จ ะท าการ
ก่อสร้าง
▪ ติ ดต่ อ ขอรั บ แผนที่ แปลนและรู ป ตัดตามยาวคลองส่ งน้ า จากส านัก ส ารวจด้าน
วิศวกรรมและธรณี วทิ ยา เพื่อตรวจสอบแนวที่ออกแบบไว้ พร้อมทั้งตรวจสอบชื่ อ
หมายเลขหมุ ด ค่ า พิ ก ัด ค่ าระดับ ทั้ง ในแบบและในแผนที่ ถ้า ไม่ ต รงกัน ให้ ห า
สาเหตุ แ ละพิ จ ารณาแก้ไ ขให้ ถู ก ต้อ ง พร้ อ มทั้ง รายงานให้ ผู บ้ ัง คับ บัญ ชาและ
ผูเ้ กี่ยวข้องทราบทันที
▪ จัดเตรี ยมค่าพิกดั ค่าระดับและหมายพยานของหมุดหลักฐานเดิมตามแนวคลองส่ ง
น้ า ช่ วงที่ มีแผนจะทานั้น รวมทั้งหมุ ดหลักฐานอื่นๆ ในบริ เวณใกล้เคี ยง เพื่อใช้
เป็ นค่าอ้างอิงในการตรวจสอบและดาเนินการต่อไป
▪ ศึกษารายละเอียดต่างๆ ของแบบให้เข้าใจ ทาการคานวณถอดแบบ เพื่อหาค่ามุ ม
เบนและระยะรวมทั้งมิติต่างๆ ไว้เพื่อใช้งานต่อไป
▪ จัด เตรี ย มเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ์ ก ารส ารวจที่ จ าเป็ นและเหมาะสมกับ งาน รวมทั้ง
ตรวจสอบสภาพและความถูกต้องของเครื่ องมือสารวจให้พร้อมที่จะใช้งาน
5.2.2.2 การเตรียมงานในสนาม
▪ ค้นหาหมุดหลักฐานเดิมที่ได้จดั เตรี ยมไว้
▪ โยงค่ า พิ ก ัด และค่ า ระดับ จากหมุ ด หลัก ฐานของคลองส่ ง น้ าที่ ค ้ น หาพบ เข้ า
ตรวจสอบกับหมุดหลักฐานข้างเคียงที่มีสภาพดีและน่าเชื่อถือเป็ นหมุดอ้างอิงได้
▪ สร้างหมุดหลักฐานหมายพยาน (Reference Points) โดยสร้ างหมุดหลักฐานถาวร
แบบ ข. เป็ นคู่ (เพื่อใช้เป็ นหมุดหลักฐานทั้งทางราบและทางดิ่ง)ที่ กม. 0+000 และ
ที่จุด PI. และทุกระยะประมาณ 2 กม. ตลอดแนวคลองส่ งน้ าโดยต่อเป็ นแนวตรง
จากหมุด PI. ออกไปด้านใดด้านหนึ่ งให้พน้ เขตก่อสร้าง หรื อถ้าสภาพภูมิประเทศ
ไม่อานวย จะสร้ างหมุ ดคู่ดงั กล่าวให้ต้ งั ฉากกับแนวคลองก็ได้และให้สร้ างหมุ ด
หลักฐานถาวรแบบ ค. อย่างน้อย 1 หลัก (เพื่อใช้เป็ นหมุดหลักฐานทางดิ่ ง) แทรก
ทุกระยะประมาณ 500 ม. โดยให้อยูใ่ นที่ปลอดภัยพ้นเขตก่อสร้าง
▪ โยงค่ า พิ ก ัด และค่ า ระดับ จากหมุ ด หลัก ฐานข้า งเคี ย งที่ ท ราบค่ า แล้ว เข้าหมุ ด
หลักฐานหมายพยานที่ทาไว้ท้ งั หมด เพื่อใช้อา้ งอิงในการสารวจเพื่อการก่อสร้าง
โดยวิธีการวงรอบและระดับชั้นที่ 3

60
5.2.2.3 การสารวจวางแนว
▪ วางแนวศูนย์กลางคลองจาก กม 0+000 ไปยังจุด PI. ต่างๆ ตามค่ามุมเบนกับระยะที่
ได้คานวณไว้ในขั้นตอนเตรี ยมงานเบื้ องต้น โดยวิธีวดั มุมหน้าซ้ายและหน้าขวา
เฉลี่ยกัน ในแนวตรง ปั กหมุดไม้ทุกระยะ 20 ม. เขียนเลขบอกระยะ กม. กากับไว้ที่
หมุดไม้เหล่านั้น เพื่อใช้ในการกาหนดขนาดของคลองต่อไป สาหรับตาแหน่ งที่
เป็ นอาคารชลประทานต่างๆ เช่น คลองแยก สะพาน ท่อลอด หรื ออาคารประกอบ
อื่นๆ ให้ปักหมุดไว้ตรงกับระยะนั้นๆ แล้วเขียนเลขบอกระยะ กม. พร้อมชื่ออาคาร
กากับไว้ดว้ ย
▪ ในกรณี ที่หมุดตามแนวศูนย์กลางคลอง หมุ ด BC., PI., EC. ในภูมิประเทศสู ญหาย
หรื อ แนวที่ อ อกแบบ ไม่ ต รงกัน กับ แนวที่ ไ ด้ส ารวจวางแนวไว้ ให้ ค านวณหา
ทิศทางและระยะจากจุดถึงจุด โดยอาศัยค่าพิกดั ในแบบแนวคลองนั้น หรื ออาศัย
หมุ ด หลัก ฐานหมายพยาน และวางแนวใหม่ จ ากจุ ด ถึ ง จุ ด โดยด าเนิ น การ
เช่นเดียวกันกับการวางแนวศูนย์กลางคลองส่ งน้ าข้างต้น
▪ วางแนวรู ปตัดขวางให้ต้ งั ฉากกับแนวศูนย์กลางคลองที่กม.0+000 และทุกระยะ 20
ม. พร้อมกับต่อปี กรู ปตัดออกไปทั้ง 2 ข้าง จนถึงเขตคลอง ส่ วนที่เป็ นแนวโค้งให้
กาหนดแนวรู ปตัดขวางไปในทิศทางเดียวกับรัศมีของโค้ง ณ ตาแหน่งนั้น ๆ
5.2.2.4 การรังวัดระดับ
▪ รังวัดระดับตามแนวศูนย์กลางคลอง โดยเริ่ มจาก กม. 0+000 ทุกระยะ 20 ม. ตลอด
แนว โดยวิธีการระดับชั้นที่ 3
▪ รังวัดระดับตามแนวรู ปตัดขวางทุกระยะ 10 ม. จากแนวศูนย์กลางคลองหรื อทุกจุด
ที่ระดับเปลี่ยนแปลงมาก จนถึงเขตคลองทั้ง 2 ข้าง
5.2.2.5 การเขียนแผนที่
▪ เขี ยนแผนที่ รูป ตัดตามยาวคลอง มาตราส่ วนทางตั้ง 1:100 และทางราบ 1:4,000
แสดงจุดระดับภูมิประเทศทุก 20 ม.
▪ เขียนแผนที่รูปตัดขวางของคลอง มาตราส่ วนทางตั้งและทางราบ 1:100 แสดงค่า
ระดับภูมิประเทศ ทุกจุดที่ทาการรังวัด เพื่อใช้คานวณหาปริ มาตรดินขุด ดินถม
5.2.2.6 การกาหนดแนวและขนาดเพื่อการก่อสร้ าง
▪ วางแนวศูนย์กลางคลอง และปักหลักไม้ทุกระยะ 20 ม. ตามแนวเขตของคลองทั้ง 2
ข้าง เพื่อการถางป่ าและการเปิ ดหน้าดิน
▪ วางแนวศูนย์กลางคลอง กาหนดระยะขนาดคลองทุกระยะ 20 ม.ในแนวตรง และ
ทุกระยะ 10 ม.ในแนวโค้ง ก่อนและหลังการขุด ถม บด อัดชั้นดินทุกครั้ง

61
▪ วางแนวศูนย์กลางคลอง กาหนดระยะ และขนาดเพื่อตั้งแบบเทคอนกรี ตทุกระยะ
10 ม. ในแนวตรง และทุกบล็อกคอนกรี ตในแนวโค้ง
▪ ตรวจสอบแนวและระยะของแบบ ทั้งก่อนและหลังเทคอนกรี ต โดยวิธีการวงรอบ
ชั้นที่ 3
5.2.2.7 การกาหนดค่ าระดับ
▪ กาหนดค่าระดับ ดิ นขุด ดินถม บนหมุดไม้ที่ปัก ณ จุด Toe Slope และ Top Slope
ทุกระยะ 20 ม.ในแนวตรง และทุกระยะ 10 ม.ในแนวโค้ง ก่อนและหลังการขุด
ถม บดอัดชั้นดินทุกครั้ง
▪ กาหนดระดับทุกระยะ 20 ม.ในแนวตรง และทุกระยะ10 ม.ในแนวโค้ง ก่อนและ
หลังการขุด ถม บดอัดชั้นดินทุกครั้ง
▪ กาหนดระดับ เพื่ อตั้งแบบเทคอนกรี ตทุ ก ระยะ 10 ม. ในแนวตรง และทุ กบล็อก
คอนกรี ตในแนวโค้ง
▪ ตรวจสอบระดับ ในการตั้งแบบ ทั้งก่อนและหลังการเทคอนกรี ตทุกมุมบล็อกของ
แบบ โดยวิธีการระดับชั้นที่ 3
5.3 การสารวจเพื่อการก่อสร้ างคลองระบายนา้
5.3.1 วัตถุประสงค์ เพื่อสารวจให้แนวและระดับ กาหนดตาแหน่ ง ขอบเขต รู ปร่ าง และขนาดต่างๆ
ของคลองระบายน้ าพร้ อมอาคารประกอบ เพื่ อให้ก ารก่ อสร้ างเป็ นไปตามรู ป แบบรายการที่ ก าหนด และ
สารวจระดับภูมิประเทศสาหรับใช้ในการคานวณหาปริ มาตรงานดินขุด ดินถมและอื่น ๆ
5.3.2 ลักษณะของงาน
5.3.2.1 คลองระบายน้ าที่ไม่เป็ นคลองธรรมชาติ มีลกั ษณะของงานและวิธีการเช่นเดียวกันกับ
งานสารวจเพื่อการก่อสร้างคลองส่ งน้ าในข้อ 5.2.2
5.3.2.2 คลองระบายน้ าที่เป็ นคลองธรรมชาติ มีลกั ษณะของงานดังนี้
5.3.2.2.1 การเตรียมงานเบื้องต้ น
▪ ติดต่อขอรับแบบรายละเอียดของคลองระบายน้ าและอาคารประกอบที่จะ
ทาการก่อสร้าง
▪ ติดต่อขอรับแผนที่แปลนและรู ปตัดตามยาวคลองระบายน้ า จากสานัก
สารวจด้านวิศวกรรมและธรณี วิทยา เพื่อตรวจสอบแนวที่ออกแบบไว้
พร้อมทั้งตรวจสอบชื่อ หมายเลขหมุด ค่าพิกดั ค่าระดับทั้งในแบบและใน
แผนที่ ถ้าไม่ตรงกันให้หาสาเหตุและพิจารณาแก้ไขให้ถูกต้อง พร้อมทั้ง
รายงานให้ผบู ้ งั คับบัญชาและผูเ้ กี่ยวข้องทราบทันที
▪ จัดเตรี ยมค่าพิกดั ค่าระดับและหมายพยานของหมุดหลักฐานเดิมตามแนว
คลองระบายน้ า ช่ วงที่ มี แผนจะท านั้น รวมทั้งหมุ ดหลัก ฐานอื่ น ๆ ใน

62
บริ เวณใกล้เคี ยง เพื่ อใช้เป็ นค่าอ้างอิ งในการตรวจสอบและดาเนิ นการ
ต่อไป
▪ ศึกษารายละเอียดต่างๆ ของแบบให้เข้าใจ ทาการคานวณถอดแบบ เพื่อ
หาค่ามุมเบนและระยะรวมทั้งมิติต่างๆ ไว้เพื่อใช้งานต่อไป
▪ จัด เตรี ย มเครื่ องมื ออุ ป กรณ์ ก ารส ารวจที่ จาเป็ นและเหมาะสมกับ งาน
รวมทั้งตรวจสอบสภาพและความถูกต้องของเครื่ องมือสารวจให้พร้อมที่
จะใช้งาน
5.3.2.2.2 การเตรียมงานในสนาม
▪ ค้นหาหมุดหลักฐานเดิมที่ได้จดั เตรี ยมไว้
▪ โยงค่ า พิ ก ั ด ค่ า ระดับ ของหมุ ด หลัก ฐานตามแนวเส้ น ฐานที่ ค ้น พบ
ตรวจสอบกับหมุดหลักฐานข้างเคียงที่มีสภาพดีและน่าเชื่อถือ
▪ สร้ า งหมุ ด หลั ก ฐานหมายพยาน (Reference Points) โดยสร้ า งหมุ ด
หลักฐานถาวรแบบ ข. เป็ นคู่ (เพื่อใช้เป็ นหมุดหลักฐานทั้งทางราบและ
ทางดิ่ง) ทุกระยะประมาณ 2 กม. ตลอดแนวคลองระบายน้ า โดยต่อเป็ น
แนวตรงจากหมุด PI. ออกไปด้านใดด้านหนึ่ งให้พน้ เขตก่อสร้าง หรื อถ้า
สภาพ ภูมิประเทศไม่อานวย จะสร้างหมุดคู่ดงั กล่าวให้ต้ งั ฉากกับ
กับแนวคลอง ก็ได้และให้สร้างหมุดหลักฐานถาวรแบบ ค. อย่างน้อย 1
หลัก (เพื่อใช้เป็ นหมุดหลักฐานทางดิ่ ง) แทรกทุก ระยะประมาณ 500 ม.
โดยให้อยูใ่ นที่ปลอดภัยพ้นเขตก่อสร้าง
▪ โยงค่ าพิ กดั และค่าระดับ จากหมุ ดหลักฐานข้างเคี ยงที่ ท ราบค่าแล้ว เข้า
หมุดหลักฐานหมายพยานที่สร้างไว้ เพื่อใช้อา้ งอิงในการสารวจเพื่อการ
ก่อสร้างโดยวิธีการวงรอบและระดับชั้นที่ 3
5.3.2.2.3 การสารวจวางแนว
▪ วางแนวตามแนวเส้นฐานเดิม
▪ กาหนดระยะทุก 20 ม. ตามแนวศูนย์กลางคลองจาก กม. 0+000 จนตลอด
แนวคลองที่ มี แผนจะท างาน โดยแบ่ งส่ วนจากจุ ดรู ป ตัดที่ มี อยู่แล้วใน
แบบคลองระบายน้ า แล้วก าหนดแนวรู ป ตัดทุ ก รู ป ให้ต้ งั ฉากกับ แนว
ศู น ย์ก ลางคลอง ค านวณหรื อ วัด ระยะ วัด ง่ า มมุ ม จากแบบ เพื่ อ หา
ระยะห่ างจากหมุดเส้นฐานถึงจุดตัดของแนวรู ปตัดขวางกับแนวเส้นฐาน
และง่ามมุมระหว่างแนวทั้งสองนั้น แล้วบันทึกค่าไว้
▪ กาหนดจุดรู ปตัดในภู มิประเทศ พร้ อมปั กหมุดไม้ให้ตรงกับตาแหน่ งที่
กาหนดรู ปตัดในแบบคลองระบายด้วยระยะและง่ามมุมที่บนั ทึกไว้

63
▪ วางแนวรู ปตัดขวาง ให้ต้ งั ฉากกับแนวศูนย์กลางคลอง ต่อปี กรู ปตัดขวาง
ออกไปทั้ง 2 ข้าง จนถึงเขตคลอง
5.3.2.2.4 การรังวัดระดับ
▪ รังวัดระดับตามแนวเส้นฐานทุกระยะ 20 ม. ด้วยวิธีการระดับชั้นที่ 3
▪ รั ง วัด ระดับ ตามแนวรู ป ตัด ขวาง ทุ ก ระยะ 10 ม. หรื อ ทุ ก จุ ด ที่ มี ร ะดับ
เปลี่ยนแปลงมาก โดยกาหนดให้ตาแหน่งระยะศูนย์ของรู ปตัดขวางอยูท่ ี่
ตลิ่งซ้ายของคลองระบายน้ า
5.3.2.2.5 การเขียนแผนที่
▪ เขียนแนวรู ปตัดขวางลงในแบบรู ปตัดตามยาวของคลองระบายน้ า
▪ เขียนแผนที่รูปตัดขวางของคลอง มาตราส่ วนทางตั้งและทางราบ 1:100
แสดงค่ าระดับ ภู มิ ป ระเทศทุ ก จุ ดที่ ท าการรั งวัด เพื่ อ ใช้ในการค านวณ
ปริ มาตรดินและแสดงระดับน้ าขณะสารวจไว้ดว้ ย
5.3.2.2.6 การสารวจวางแนวและขนาดเพื่อการก่อสร้ าง
▪ กาหนดเขตคลอง โดยปั กหลักไม้ทุกระยะ 20 ม.และทุ กจุ ดมุ มหักเลี้ ยว
เพื่อเป็ นที่หมายในการถางป่ า
▪ ใช้แนวเส้นฐานและแนวรู ปตัดขวาง กาหนดจุดปากคลอง ก้นคลอง และ
แนวคันดินทิ้งทั้ง 2 ข้าง ปั กหลักไม้และโรยปูนขาวตามแนวต่างๆ
▪ ตรวจสอบแนวและขนาดของคลองหลังการขุดทุกครั้ง
5.3.2.2.7 การกาหนดค่ าระดับ
▪ กาหนดค่าระดับดินตัด และแสดงค่าไว้ ณ หลักไม้ที่ปักไว้แล้วทุกหลัก
▪ ตรวจสอบค่าระดับภายหลังการขุดทุกครั้ง
▪ ส ารวจรู ป ตัด ขวางคลองระบาย ภายหลัง ขุ ด เสร็ จ เรี ย บร้ อ ยแล้ว เพื่ อ
คานวณปริ มาตรดิน
5.4 การสารวจเพื่อการก่อสร้ างระบบชลประทานในแปลงนา
5.4.1 วัตถุประสงค์ เพื่อกาหนดจุด (หรื อตาแหน่ ง) ให้แนวระดับและขนาด คูส่งน้ า ถนน คูระบาย
น้ า และอาคารประกอบให้เป็ นไปตามแบบ และสารวจระดับภูมิประเทศเพื่อตรวจสอบ และคานวณปริ มาตร
ดินขุด – ดินถม
5.4.2 ลักษณะของงาน
5.4.2.1 การเตรียมงานเบื้องต้ น
▪ ขอรับแบบและรายละเอียดของระบบชลประทานในแปลงนา ซึ่ งได้แก่ แบบแปลน
แสดงแนวคู ส่งน้ า ถนน คู ระบายน้ า แบบรู ป ตัดตามยาวและขนาดต่างๆ แบบ

64
แสดงการแบ่งเขตออกจากแนวเขตแปลงกรรมสิ ทธิ์ ที่ดินเดิม และแบบรู ปตัดต่างๆ
ที่เกี่ยวข้อง มาศึกษาให้เข้าใจ
▪ ขอรับ แผนที่จุดระดับภูมิประเทศ มาตราส่ วน 1 : 4,000 และค่าระดับ พร้ อมด้วย
หมายพยานของหมุดหลักฐานบริ เวณที่จะทางาน จากสานักสารวจด้านวิศวกรรม
และธรณี วทิ ยา
▪ จัดเตรี ยมเครื่ องมือและอุปกรณ์ การสารวจ ที่จาเป็ น และเหมาะสมกับงาน รวมทั้ง
ตรวจสอบสภาพและความถูกต้องของเครื่ องมือสารวจ ให้พร้อมที่จะใช้งาน
5.4.2.2 การเตรียมงานในสนาม
▪ ประสานงานกับนายช่างโครงการผูค้ วบคุมงาน นัดประชุมผูเ้ กี่ยวข้อง เพื่อรับทราบ
ถึงขั้นตอนที่จะดาเนินการ รวมทั้งพื้นที่ซ่ ึ งจะปฏิบตั ิงานตอนใด ก่อน หลัง
▪ ค้นหาหมุดหลักฐานเดิม ที่ได้เตรี ยมไว้ตามแผนงานที่จะทา
▪ ค้นหาหมุดแนวเขตต่างๆ ที่ช่างรังวัดกรมที่ดินได้วางไว้ ซึ่ งได้แก่ หมุดในแนวเขต
แปลงกรรมสิ ทธิ์ ที่ดินเดิม และหมุดในแนวกันเขตแปลงที่ดินใหม่
▪ วัดระยะตั้งฉากจากหมุดแนวเขตแปลงกรรมสิ ทธิ์ ที่ ดิน ออกไปด้านข้างของแนว
ข้างละประมาณ 20 ม. และทุกจุดมุมหักของแนวเขตแปลงกรรมสิ ทธิ์ ที่ดิน แล้วฝัง
หมุดหลักฐานถาวรแบบ ค. เพื่อเป็ นหลักฐานหมายพยานของหมุดแนวเขตแปลง
พร้ อมกับบันทึ กระยะห่ างจากหมุ ดแนวเขตเดิ ม กับ หมุดหมายพยาน เพื่อใช้งาน
ต่อไป
▪ สร้ างหมุดไม้ ทุ กระยะประมาณ 200 ม. และฝั งหมุดหลักฐานถาวรแบบ ค. ตาม
อาคารประกอบในคลองส่ งน้ าสายใหญ่ และสายซอย
▪ โยงค่าระดับจากหมุดหลักฐานที่ตรวจสอบแล้ว เข้าหมุดหลักฐานหมายพยาน และ
หมุดไม้ โดยวิธีการระดับชั้นที่ 3
5.4.2.3 การสารวจวางแนว
▪ วางแนวศูนย์กลาง คูส่งน้ า ถนน คู ระบายน้ า ปั กหลักไม้ทุกระยะ 20 ม. และทุกจุด
มุ ม หั ก เลี้ ย วของคู น้ า ถนน คู ร ะบายน้ า เพื่ อ การส ารวจรู ป ตัด ตามยาว และรู ป
ตัดขวาง
▪ วางแนวรู ปตัดขวางให้ต้ งั ฉากกับแนวศูนย์กลาง คู ส่งน้ า ถนน คู ระบายน้ า และ
ต่อปี กรู ปตัดออกไปให้เลยแนวกันเขตแปลงที่ดิน ทั้ง 2 ข้างๆละ ประมาณ 5 ม.
5.4.2.4 การรังวัดระดับ
▪ รังวัดระดับ ตามรู ป ตัดตามยาว รู ปตัดขวาง ที่ วางไว้ทุ ก ระยะ 5 ม. หรื อทุ ก จุ ดที่
ระดับเปลี่ยนแปลงเกินกว่า 25 ซม.

65
5.4.2.5 การเขียนแผนที่
▪ เขียนแผนที่รูปตัดตามยาวและรู ปตัดขวาง มาตราส่ วน 1 : 100 ทั้งทางตั้ง และทาง
ราบ
5.4.2.6 การกาหนดแนวและขนาดเพื่อการก่อสร้ าง
▪ วางแนวศูนย์กลาง คูส่งน้ า และกาหนดขอบเขตรวมของคูส่งน้ า ถนน และคูระบาย
น้ า โดยปั กหลักไว้ หรื อ โรยปูนขาว ทุกระยะ 20 ม. และทุกจุดมุมหักของแปลง
เพื่อการถางป่ า และเปิ ดหน้าดิน
▪ วางแนวศูนย์กลาง คูส่งน้ า ถนน คูระบายน้ า โดยอาศัยหลักฐานหมายพยานที่สร้าง
ไว้ ก าหนดขนาด คู ส่ ง น้ า ถนน คู ระบายน้ า แล้ว ปั ก หลัก ไม้ หรื อ โรยปู น ขาว
ทุกระยะ 20 ม. และ ทุกจุดหักของแปลงกรรมสิ ทธิ์ ที่ดิน ตามแบบ ก่อนและหลัง
ถม บด อัดชั้นดิน ทุกครั้ง สาหรับ คูส่งน้ า และ ถนน
▪ วางแนวศูนย์กลางคูส่งน้ า และกาหนดขนาดปากคู ทุกระยะ 10 ม. ในแนวตรงและ
ทุกจุดมุมหักของแปลง แล้วปักหลักไม้ หรื อโรยปูนขาว เพื่อการขุด คูส่งน้ า
▪ ตรวจสอบแนว และ ขนาดของคูส่งน้ า หลังขุดเสร็ จแล้ว
▪ วางแนวศูนย์กลาง คูส่งน้ า และกาหนดขนาดทุกระยะ 10 ม. ในแนวตรง และ ทุก
จุดมุมหักของแปลง เพื่อตั้งแบบเทคอนกรี ต
▪ ตรวจสอบแนวและขนาด ของ คู ส่ ง น้ า หลัง จากเทคอนกรี ตเสร็ จ แล้ ว โดย
ตรวจสอบ ทุกมุมบล็อกคอนกรี ต
▪ วางแนวศูนย์กลางถนน และ กาหนดขนาด ทุกระยะ 20 ม. ในแนวตรง และทุกจุด
มุมหักของแปลง แล้วปักหลักไม้ หรื อ โรยปูนขาว เพื่อการ ถม บด อัด ชั้นดิน
▪ ตรวจสอบแนว และขนาดของถนน หลังการ บด อัดถนนเสร็ จแล้ว
▪ วางแนวศูนย์กลางคูระบายน้ า และกาหนดขนาดก้นคูและปากคูระบายน้ า ทุกระยะ
10 ม. ในแนวตรง และทุกจุดมุมหักของแปลง แล้วปั กหลักไม้ หรื อโรยปูนขาว เพื่อ
ทาการขุดลอก
▪ ตรวจสอบแนวและขนาดของคูระบายน้ า ภายหลังขุดเสร็ จแล้ว
5.4.2.7 การกาหนดค่ าระดับ
▪ ก าหนดค่ า ระดับ ดิ น ตัด ดิ น ถม บนหมุ ด ไม้ ณ จุ ด Toe Slope และ Top Slope
ทุกระยะ 20 ม.ในแนวตรง และทุกจุดมุมหักของแปลง ก่อน และ หลัง การขุด ถม
บด อัด ชั้นดิน ทุกครั้ง
▪ ก าหนดค่ าระดับ ก้น คู ตรงแนวศู น ย์ก ลางคู ส่ ง น้ า หลังการถมดิ น บด อัด แน่ น
ได้ระดับตามแบบแล้ว โดยการเขียนค่าระดับไว้บนหลักไม้ ทุกระยะ 10 ม. ใน
แนวตรง และทุกจุดมุมหักของแปลง แล้วทาการตรวจสอบ หลังขุด

66
▪ ในกรณี ที่การดาดคอนกรี ต คูส่งน้ า ให้กาหนดค่าระดับเพื่อตั้งแบบ เทคอนกรี ต ทุก
ระยะ 10 ม. ในแนวตรง และทุกจุดมุมหักของแปลงที่ดิน
▪ ตรวจสอบระดับในการตั้งแบบ ทั้งก่ อน และหลังเทคอนกรี ต ทุกมุมบล็อกของ
แบบ
▪ ในกรณี ที่มีถนนเข้าแปลงนาขนานกับ คูส่งน้ า ให้กาหนดค่า Top Slope ที่แนวขอบ
ไหล่ถนน โดยการเขียนค่าระดับดินถม หรื อ คาดค่าระดับด้วยสี ไว้ดว้ ย และทาการ
ตรวจสอบระดับ หลังจากถมดิน บด อัดแน่นเสร็ จแล้ว
▪ กาหนดค่าระดับก้นคู ตรงแนวศูนย์กลางของคู ระบายน้ า พร้ อมปากคู ระบายน้ า
โดยการเขียนค่าระดับไว้บนหลักไม้ทุกระยะ 10 ม. ในแนวตรงและทุกจุดมุมหัก
ของแปลง แล้วทาการตรวจสอบหลังขุด
▪ ตรวจสอบระดับหลังขุดเสร็ จแล้ว

6. แผนทีด่ ิจิทลั
แผนที่ดิจิท ลั (Digital Map) คื อแผนที่ ป ระเภทหนึ่ งซึ่ งมี รูป แบบข้อมู ลแผนที่ อยู่ในรู ปรหัส
ตัวเลข (Digital Form) โดยสามารถจัดเก็บ รวบรวม บันทึก เปลี่ ยนแปลง ประมวลผล นาเสนอและวิเคราะห์
ข้อมูลที่ได้ในลักษณะจุด (Point) เส้น (Line) รู ปหลายเหลี่ยม (Polygon) และจุดภาพ (Pixel) สามารถแสดงผล
บนจอภาพด้วยภาพสองมิติและโมเดลสามมิติ เนื่องจากใช้อตั ราส่ วนในการประมวลผลต่อการแสดงผลได้เป็ น
อิ ส ระ จึ ง ท าการย่อ ขยายได้ไ ม่ จ ากัด มาตราส่ ว น โดยความถู ก ต้อ งขึ้ น อยู่ก ับ ข้อ มู ล ที่ ท าการส ารวจและ
ประเมินผลในครั้งแรก
วิธีการจัดทาแผนที่ดิจิทลั ตามภารกิ จของกลุ่มงานพัฒนาและประยุกต์แผนที่ดิจิทลั สามารถ
แบ่งออกเป็ น 3 วิธี คือ
ก) การสารวจโดยใช้กล้อง Total Station สารวจจุดระดับ และคัดลอกรายละเอียดภูมิประเทศ
จากแผนที่ภาพถ่าย โดยวิธีการดิจิไทซ์ หรื อกราดภาพ (Scan)
ข) การส ารวจโดยใช้ก ล้อง Total Station ส ารวจหาค่ าพิ ก ัดทางราบและระดับ พร้ อมเก็ บ
รายละเอียดภูมิประเทศ กรณี ไม่มีแผนที่ภาพถ่าย
ค) การแปลงแผนที่ที่มีอยูแ่ ล้วให้เป็ นแผนที่ลายเส้นด้วยวิธีดิจิไทซ์และการกราดภาพ
6.1 งานสารวจรายละเอียดภู มิประเทศ เพื่อทาแผนที่ดิจิทัล มาตราส่ วน 1:4,000 หรื อ 1:10,000 เส้ นชั้ น
ความสู ง ชั้ นละ 25 ซม. 50 ซม. หรื อ 1 เมตร โดยใช้ แผนที่ ภ าพถ่ า ยมาตราส่ วน 1:4,000 หรื อ 1:10,000
ประกอบการสารวจจุดระดับภูมิประเทศ (Spot Height Survey)
6.1.1 วัตถุประสงค์ เพื่อจัดทาแผนที่ดิจิทลั สาหรับการออกแบบ การจัดรู ปที่ดิน และการพัฒนาใน
แปลงนา ฯลฯ โดยวิธี ก ารคัด ลอกรายละเอี ย ดภู มิ ป ระเทศจากแผนที่ ภ าพถ่ า ย มาตราส่ ว น 1:4,000 หรื อ

67
1:10,000 โดยใช้เครื่ องดิ จิไทเซอร์ หรื อเครื่ องกราดภาพ (Scanner) ส่ วนการสารวจจุดระดับภูมิประเทศ ใช้
เครื่ องมือสารวจ Total Station และไมโครคอมพิวเตอร์ ที่มีโปรแกรมเฉพาะทางด้านวิศวกรรมสารวจผลิตเป็ น
แผนที่ดิจิทลั ต่อไป
6.1.2 ลักษณะของงาน
6.1.2.1 การเตรียมงานเบื้องต้ น
▪ จัดหาแผนที่1:50,000 หรื อสารบัญแผนที่ดิจิทลั มาตราส่ วน 1:50,000 หรื อใหญ่กว่า
มากาหนดขอบเขตพื้นที่สารวจ
▪ จัด หาแผนที่ ภ าพถ่ า ย มาตราส่ ว น 1:4,000 หรื อ 1:10,000 ท าการกัน ขอบเขต
สารวจของแต่ละภาพให้ต่อเนื่องกัน และครอบคลุมพื้นที่ ต้องการสารวจ
▪ กาหนดพื้ น ที่ ส ารวจลงในแผนที่ ภาพถ่ าย ตามแนวเส้ น กริ ดที่ ท ราบค่ าพิ ก ัดแล้ว
โดยประมาณ หรื อ อาศัย แนว ถนน ทาง ล าน้ าธรรมชาติ และคลองส่ ง น้ าให้
ครอบคลุมพื้นที่ที่ตอ้ งการสารวจ
▪ จัด ท าดัช นี ภ าพถ่ า ย (Photo Index) โดยก าหนดต าแหน่ งของภาพถ่ ายแต่ ล ะภาพ
พร้อมกับลงหมายเลขภาพในแผนที่มาตราส่ วน 1:50,000
▪ จัดหาค่าพิกดั ค่าระดับและหมายพยานหมุดหลักฐานบริ เวณใกล้เคียงเพื่อใช้เป็ นค่า
อ้างอิง
▪ พล็อตค่าพิกดั และค่าระดับของหมุดหลักฐานที่ทราบค่าแล้วลงในแผนที่ภาพถ่าย
และแผนที่สารบัญ
▪ คานวณปริ มาณงานที่ตอ้ งดาเนินการ เพื่อตั้งงบประมาณ และวางแผนงานสารวจ
▪ จัดหาเครื่ องมือและอุปกรณ์การสารวจที่จาเป็ นและเหมาะสมกับงาน สาหรับกล้อง
Total Station ที่นามาใช้งานต้องผ่านการสอบเทียบกับระยะมาตรฐาน
6.1.2.2 การสร้ างหมุดหลักฐาน
▪ สร้างหมุดหลักฐานถาวรแบบ ข.เป็ นคู่ ทุกระยะ 4 - 5 กม. ในตาแหน่งที่มนั่ คงและ
เหมาะสม
▪ ฝังหมุดหลักฐานถาวรแบบ ค. ในทุกระวางของแผนที่จะต้องฝังหมุดอย่างน้อย 1 คู่
ตามแนววงรอบ และตามอาคารชลประทาน (ถ้ามี) ควรทาเป็ นหมุดสกัด พร้อมกับ
แบบทาหมายหมุดหลักฐานไว้ดว้ ย
▪ กาหนดขอบเขตบล็อก ขนาด 500 ม.  500 ม.ตอกหมุดไม้ขนาด 1  1 ทุกมุม
บล็อก หรื อทุกระยะไม่ควรเกิน 650 ม.

68
6.1.2.3 การสารวจงานวงรอบและระดับ
▪ โยงค่าพิกดั และระดับจากหมุดหลักฐานใกล้เคียงที่ทราบค่าแล้ว อย่างน้อย 2 หมุด
ไปยังขอบงาน จากนั้นให้วางแนววงรอบ และแนวระดับสายหลัก ให้ครอบคลุม
พื้นที่รอบนอกของงาน โดยวิธีการวงรอบและระดับชั้นที่ 3
▪ วางแนววงรอบและแนวระดับ สายรอง ภายในเขตงาน ให้ ค รอบคลุ ม พื้ น ที่ ซ่ ึ ง
ตาแหน่ งหมุ ดในสายรอง สามารถจะสารวจจุดระดับในแต่ละบล็อกได้ครบถ้วน
โดยระยะห่ างระหว่างหมุดไม่ควรเกิ น 650 ม. โยงค่าพิกดั และค่าระดับไปยังหมุด
หลักฐานที่ส ร้ างไว้ทุ กหมุ ด และหมุดไม้ของแนววงรอบสายรอง ให้เข้าบรรจบ
เป็ นวงๆ โดยถือเกณฑ์วธิ ี การวงรอบและระดับชั้นที่ 3
▪ ป้ อ นรหั ส (Code) ข้อ มู ล ต่ า ง ๆ ที่ จ าเป็ นต้อ งท าการรั ง วัด ตามข้อ ก าหนดของ
โปรแกรมที่เกี่ ยวข้อง เช่ น ชื่ อหมุดตั้งกล้อง ชื่ อหมุดอ้างอิง ความสู งของจุดตั้ง
กล้อง ความสู งหมุดอ้างอิง วัน เดื อน ปี สารวจ ค่ามุม ระยะ ชนิ ดของจุ ดระดับ
และล าดับ ของข้อ มู ล ที่ ท าการรั ง วัด เป็ นต้น บัน ทึ ก ข้อ มู ล ในหน่ ว ยความจ า
(Record Module) เช่ น PC Card ข อ งก ล้ อ ง Total Station ห รื อส มุ ด ส น าม
อิ เล็ ก ทรอนิ ก ส์ (Electronic Field Book) เพื่ อ รวบรวมเก็ บ ข้อ มู ล ไว้ป ระมวลผล
ด้วยเครื่ องคอมพิวเตอร์ที่มีโปรแกรมเฉพาะทางด้านวิศวกรรมสารวจ
▪ รังวัดค่าพิกดั และระดับของจุ ด Side shot โดยใช้กล้อง Total Station เพื่อสารวจ
จุดระดับให้ครอบคลุ มพื้นที่ จากตาแหน่ งหมุดตั้งกล้องถึ งจุด Side shot ระยะต้อง
ไม่เกิน 400 เมตร โดยถือตามเกณฑ์ดงั นี้
• แผนที่ ม าตราส่ วน 1:4,000 ระยะห่ างของจุ ดระดับ แต่ล ะจุ ด ประมาณ 60 ม.
ใน 1 บล็อก (ขนาด 500 ม.  500 ม.) ต้องมีจุดระดับอย่างน้อย 80 จุด ยกเว้น
กรณี ที่เป็ นป่ าทึบให้พิจารณาจานวนจุดระดับเท่าที่สามารถทาได้
• แผนที่ มาตราส่ วน 1:10,000 ระยะห่ างของจุดระดับแต่ละจุดประมาณ 100 ม.
ใน 1 บล็อก (ขนาด 500 ม.  500 ม.) ต้องมี จุดระดับอย่างน้อย 30 จุด กรณี ที่
ระดับของ ภูมิประเทศเปลี่ยนแปลง ให้พิจารณาเพิ่มจุดระดับ ตามความจาเป็ น
▪ ในกรณี ที่ ภู มิ ป ระเทศเป็ น ถนน ทางรถไฟ แนวคลองส่ ง น้ า หรื อ ล าห้ ว ย
สาธารณะ ถ้าระดับ เกิ น กว่าช่ วงชั้น ความสู ง ให้ ใส่ รหัส ท า Break line เพื่ อให้
โปรแกรมหยุดการประมวลผลของ เส้นชั้นความสู งที่ตาแหน่งของ Break line
▪ รั งวัด ค่ าระดับ กลางคู น้ า ตลิ่ ง ซ้ าย-ขวา หลังคัน ของคู น้ าและหลัง ท่ อ ลอด ท่ อ
ระบายน้ า ฯลฯ

69
▪ ในการสารวจเพื่อออกแบบคัน-คูน้ า ให้สารวจรู ปตัดขวางลาน้ าธรรมชาติทุกระยะ
100 ม. โดยกาหนดรู ปตัดขวางบนแผนที่ภาพถ่าย และรหัส (Code) ข้อมูลรู ปตัดที่
กาหนดตาแหน่งลงบนแผนที่ดิจิทลั ให้ตรงกัน
▪ การสารวจหาค่าพิกดั ของแนววงรอบ การสารวจจะต้องใช้หมุดหลักฐานอ้างอิง
เพื่อใช้สาหรับออกและเข้าบรรจบอย่างน้อย 2 คู่
▪ การสารวจหา ระดับจะต้องออกและเข้าบรรจบหมุดหลักฐานอย่างน้อย 2 หมุด
▪ ถ่ ายข้อ มู ล สนามจากกล้อ ง Total Station เข้าสู่ เครื่ อ งไมโครคอมพิ ว เตอร์ และ
นาไปประมวลผล เพื่อจัดทาแผนที่ดิจิทลั ต่อไป
6.1.2.4 การเก็บรายละเอียดภูมิประเทศ
▪ จาแนกประเภทและนามศัพท์ของรายละเอียด ที่ปรากฏบนแผนที่ ภาพถ่าย และ
เก็ บ รายละเอี ย ดที่ เกิ ด ขึ้ นใหม่ หรื อ เปลี่ ย นแปลงสภาพในภู มิ ป ระเทศ โดย
รายละเอียด ที่ ปรากฏบนแผนที่ภาพถ่าย ให้จาแนกประเภทรายละเอียดข้อมูล
ดังต่อไปนี้
• อาคารส าคัญ ๆ เช่ น สถานที่ ร าชการ วัด (มี โ บสถ์ ไม่ มี โ บสถ์ ) โรงเรี ย น
หมู่บา้ น ป่ าช้า โบสถ์ฝรั่ง เจดีย ์ สะพาน อาคารชลประทาน แนวเหมือง ฝาย
ราษฎร ฯลฯ
• รายละเอียดทัว่ ไป เช่ น ไร่ นา ป่ า สวน ลาน้ า ลาห้วย หนอง คลอง บึ ง ที่ ช าย
เลน เขตหมู่บา้ น เขตอุตสาหกรรม เขตป่ าสงวน ฯลฯ
▪ รายละเอี ยดที่ เกิ ดใหม่ ท าการรั งวัดเพื่ อเก็ บ ตาแหน่ ง ลัก ษณะ ระดับ ขอบเขตที่
ปรากฏในงานสนาม โดยบันทึกค่าการสารวจตามข้อกาหนดของโปรแกรมลงใน
หน่วยความจาของกล้อง เพื่อนาข้อมูลไปประมวลผล
6.1.2.5 การนาเข้ าข้ อมูลรายละเอียดภูมิประเทศและจุดระดับ
▪ ป้ อนข้อมูลรายละเอียดภูมิประเทศต่าง ๆ ด้วยการแปลงข้อมูลจากแผนที่ภาพถ่าย
ซึ่ งเป็ นข้อมูลแบบกระดาษ ให้เป็ นข้อมูลดิ จิทลั โดยใช้เครื่ องอ่านพิกดั (Digitizer)
หรื อเครื่ องกราดภาพ (Scanner) เพื่อนาไปประกอบกับข้อมูลสารวจจากงานสนาม
▪ การสร้ างเส้ น ชั้น ความสู งชั้น ละ 25 ซม. 50 ซม. หรื อ 1.0 ม. เพื่ อแสดงลัก ษณะ
ความสู งต่ า ของภู มิ ป ระเทศ โดยใช้ วิ ธี ก ารสร้ า ง TIN (Triangulation Irregular
Network) และค่ าระดับ ของจุ ดที่ ส ารวจจากงานสนาม โดยสร้ างแบบจาลองภู มิ
ประเทศเชิ ง เลข (Digital Elevation Model) โดยใช้ โ ปรแกรมประมวลผลทาง
วิ ศ วกรรมส ารวจภาคสนามประมวลผลสร้ า งเส้ น ชั้น ความสู ง (Contour Line
Interpolation) ด้วยการประมาณค่าเชิงเส้น (Linear interpolation)
▪ ในกรณี ที่สงสัยการกาหนดจุดจากสนามให้นาค่ามุมและระยะมาตรวจสอบ

70
▪ ป้ อ นค่ า ระดับ ของหมุ ด หลัก ฐานและอาคารชลประทานต่ า งๆ ที่ รัง วัด ได้ผ่า น
แป้นพิมพ์คอมพิวเตอร์ (Keyboard)
▪ ตกแต่งและแก้ไขข้อมูลด้วยโปรแกรมจัดทาแผนที่ดิจิทลั ตามมาตรฐานแผนที่ของ
สานักสารวจด้านวิ ศวกรรมและธรณี วิทยา ได้แก่ การแก้ไขข้อมู ลที่ คลาดเคลื่ อน
การใส่ สัญลักษณ์ แผนที่ และนามศัพท์ การจาแนกรายละเอียดภูมิประเทศ การ
ประกอบระวางแผนที่ ตลอดจนการใส่ รายละเอียดขอบระวางแผนที่ให้ครบถ้วน
▪ นาเสนอข้อมู ลแผนที่ ซ่ ึ งจัดทาสาเร็ จสมบู รณ์ แล้วแก่ผูท้ ี่ ตอ้ งการใช้แผนที่ ในรู ป
แผ่นพิมพ์แผนที่ตามมาตรฐาน โดยพิมพ์ดว้ ยเครื่ องวาดภาพ (Plotter) หรื อบันทึก
ในรู ปสื่ อคอมพิวเตอร์ เช่น ฮาร์ ดดิสก์ แผ่นฟลอฟปี้ ดิสก์ CD DVD ฯลฯ
6.2 งานสารวจรายละเอียดภู มิประเทศ เพื่อทาแผนที่ดิจิทัล มาตราส่ วน 1:4,000 หรื อ 1:10,000 เส้ นชั้ น
ความสู งชั้ นละ 25 ซม. 50 ซม. หรื อ 1 เมตร โดยใช้ กล้อง Total Station สารวจจุดระดับภูมิประเทศ
6.2.1 วัตถุประสงค์ เพื่อจัดทาแผนที่ดิจิทัล สาหรั บการออกแบบ การจัดรู ปที่ดิน และการพัฒนาใน
แปลงนา ฯลฯ โดยอาศัยเครื่ องมือสารวจ กล้ อง Total Station และคอมพิวเตอร์ ที่มีโปรแกรมเฉพาะทางด้ าน
วิศวกรรมสารวจผลิตเป็ นแผนทีด่ ิจิทลั
6.2.2 ลักษณะของงาน
6.2.2.1 การเตรียมงานเบื้องต้ น
▪ จัดหาแผนที่สารบัญ (Index Map) มาตราส่ วน 1:50,000 หรื อใหญ่กว่า มากาหนด
ขอบเขตพื้นที่สารวจ
▪ ก าหนดพื้ น ที่ ส ารวจลงในแผนที่ ส ารบัญ ตามแนวเส้ น กริ ด ที่ ท ราบค่ าพิ ก ัดแล้ว
โดยประมาณ หรื ออาศัยแนวถนน ทาง แนวลาน้ าธรรมชาติ และแนวคลองส่ งน้ า
ให้ครอบคลุมพื้นที่ที่ตอ้ งการสารวจ
▪ จัดหาค่าพิกดั ค่าระดับ และหมายพยานหมุดหลักฐาน บริ เวณใกล้เคียง เพื่อใช้เป็ น
ค่าอ้างอิง
▪ พล็อตค่าพิกดั และค่าระดับของหมุดหลักฐานที่ทราบค่าแล้ว ลงในแผนที่สารบัญ
▪ คานวณปริ มาณงานที่จะต้องดาเนินการ เพื่อตั้งงบประมาณ และวางแผนงานสารวจ
▪ จัดหาเครื่ องมือและอุปกรณ์การสารวจที่จาเป็ น และเหมาะสมกับงาน
6.2.2.2 การสร้ างหมุดหลักฐาน
▪ สร้างหมุดหลักฐานถาวรแบบ ข. .เป็ นคู่ ทุกระยะ 4 - 5 กม. ในตาแหน่งที่มนั่ คงและ
เหมาะสม
▪ ฝังหมุดหลักฐานถาวรแบบ ค. ในทุกระวาง ของแผนที่ จะต้องฝั งหมุดอย่างน้อย 1
คู่ และตามอาคารชลประทาน (ถ้ามี) ควรทาเป็ นหมุดสกัด พร้ อมกับทาแบบหมาย
หมุดหลักฐานไว้ดว้ ย

71
▪ กาหนดขอบเขตบล็อกขนาด 500 ม.  500 ม. ตอกหมุดไม้ขนาด 1  1 ทุกมุม
บล็อก หรื อทุ กระยะไม่ ค วรเกิ น 650 ม. ตามแนววงรอบ และปั กหลัก ไม้ไว้เป็ น
ที่หมาย
6.2.2.3 การสารวจงานวงรอบและระดับ
▪ โยงค่าพิกดั และระดับ จากหมุดหลักฐานใกล้เคียงที่ทราบค่าแล้ว อย่างน้อย 2 หมุด
ไปยังขอบงาน จากนั้นให้วางแนววงรอบ และแนวระดับสายหลัก ให้ครอบคลุม
พื้นที่รอบนอกของงานหรื อใกล้เคียง โดยวิธีการวงรอบและระดับชั้นที่ 3
▪ วางแนววงรอบและระดับสายรอง ภายใน เขตงาน ให้ครอบคลุ มพื้นที่ รวมทั้งวาง
แนววงรอบเพื่ อเก็บ รายละเอี ยดสิ่ งต่าง ๆ คื อ ถนน ทางรถไฟ แนวคลองส่ งน้ า
หรื อลาห้วยสาธารณะ ฯลฯ โดยระยะห่ างระหว่างหมุดไม่ควรเกิ น 650 เมตร โยง
ค่าพิกดั และค่าระดับไปยังหมุดหลักฐาน ที่สร้างไว้ทุกหมุด และหมุดไม้ของแนว
วงรอบ สายรองให้เข้าบรรจบเป็ นวงๆ โดยถือเกณฑ์วิธีการวงรอบและระดับชั้น
ที่3
▪ ป้ อ นรหั ส (Code) ข้อ มู ล ต่ า ง ๆ ที่ จ าเป็ นต้อ งท าการรั ง วัด ตามข้อ ก าหนดของ
โปรแกรมที่เกี่ ยวข้อง เช่ น ชื่ อหมุดตั้งกล้อง ชื่ อหมุดอ้างอิง ความสู งของจุดตั้ง
กล้อง ความสู งหมุดอ้างอิง วัน เดือน ปี ที่สารวจ ค่ามุม ระยะ ชนิ ดของจุดระดับ
และลาดับของข้อมูลที่ทาการรังวัด เป็ นต้น ทาการบันทึกข้อมูลในหน่วยความจา
(Record Module) เช่ น PC Card ข อ ง ก ล้ อ ง Total station ห รื อ ส มุ ด ส น า ม
อิ เล็ก ทรอนิ ก ส์ (Electronic Field Book) เพื่ อรวบรวมจัดเก็ บ ข้อมู ล ไว้ ท าการ
ประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ ที่มีโปรแกรมเฉพาะทางด้านวิศวกรรมสารวจ
▪ รั งวัดค่ าพิ กดั และระดับ ของจุ ด Side shot โดยใช้ก ล้อง Total station เพื่ อส ารวจ
จุดระดับให้ครอบคลุ มพื้นที่ จากตาแหน่ งหมุดตั้งกล้องถึงจุด Side shot ระยะต้อง
ไม่เกิน 400 เมตร โดยถือตามเกณฑ์ดงั นี้
• แผนที่ ม าตราส่ วน 1 : 4,000 ระยะห่ างของจุ ดระดับ แต่ล ะจุ ด ประมาณ 60 ม.
ใน 1 บล็ อ ก (ขนาด 500 ม.  500 ม.) จะต้อ งมี จุ ด ระดับ อย่า งน้ อ ย 80 จุ ด
ยกเว้น กรณี ที่ เป็ นป่ าทึ บให้พิจารณาจานวนจุดระดับ เท่าที่ ส ามารถจะท าได้
และถ้าความลาดเทของพื้นที่ เปลี่ ยนแปลงมาก ให้เพิ่มจุดระดับ เพื่อที่จะเขี ยน
เส้นชั้นทุก 25 ซม. (1 ม.) ได้
• แผนที่มาตราส่ วน 1 : 10,000 ระยะห่ างของจุดระดับแต่ละจุดประมาณ 100 ม.
ใน 1 บล็ อ ก (ขนาด 500 ม.  500 ม.) จะต้อ งมี จุ ด ระดับ อย่า งน้ อ ย 30 จุ ด
ยกเว้นกรณี ที่เป็ นป่ าทึบให้พิจารณาจานวนจุดระดับเท่าที่สามารถจะทาได้ และ

72
ถ้าความลาดเทของพื้นที่เปลี่ ยนแปลงมาก ให้เพิ่มจุดระดับ เพื่อที่จะเขียนเส้ น
ชั้นทุก 25 ซม. (1 ม.) ได้
▪ ในกรณี ที่ ภู มิ ป ระเทศเป็ นถนน ทางรถไฟ แนวคลองส่ ง น้ า หรื อ ล าห้ ว ย
สาธารณะ ถ้าระดับ เกิ น กว่า ช่ ว งชั้น ความสู ง ให้ ใส่ รหัส ท า Break line เพื่ อ ให้
โปรแกรมหยุดการประมวลผลของเส้นชั้นความสู งที่ตาแหน่งของ Break line
▪ รั ง วัดค่ าระดับ ตลิ่ ง ซ้ า ย – ขวา – กลาง หลังคัน ของคู น้ า และหลัง ท่ อลอด ท่ อ
ระบายน้ า ฯลฯ
▪ ในการส ารวจเพื่ อออกแบบคัน – คู น้ า ให้ส ารวจรู ป ตัดขวางลาน้ าธรรมชาติ ทุ ก
ระยะ 100 – 200 ม. โดยกาหนดรู ปตัดขวางบน ภาพดัดแก้ และรหัส (Code) ข้อมูล
รู ปตัด ที่กาหนดตาแหน่งลงบนแผนที่ดิจิตอลให้ตรงกัน
▪ การสารวจหาค่าพิกดั ของแนววงรอบ การสารวจจะต้องใช้หมุดหลักฐานอ้างอิง
เพื่อใช้สาหรับออกและเข้าบรรจบอย่างน้อย 2 คู่
▪ การสารวจหาระดับจะต้องออกและเข้าบรรจบหมุดหลักฐานอย่างน้อย 2 หมุด
▪ ถ่ายข้อมูลงานสารวจในกล้อง เข้าเครื่ องไมโครคอมพิวเตอร์ เพื่อนาไปประมวลผล
ต่อไป
6.2.2.4 การเก็บรายละเอียดภูมิประเทศ
▪ ใช้กล้องสารวจ Total Station ทาการรังวัดเพื่อเก็บข้อมูลตาแหน่ง ลักษณะ ขอบเขต
ระดับ ฯลฯ ที่ปรากฏในพื้นที่สารวจ เก็บนามศัพท์ของรายละเอียดต่างๆ
• อาคารส าคัญ ๆ เช่ น สถานที่ ร าชการ วัด (มี โ บสถ์ ไม่ มี โ บสถ์ ) โรงเรี ย น
หมู่บา้ น ป่ าช้า โบสถ์ฝรั่ง เจดีย ์ สะพาน อาคารชลประทาน แนวเหมือง ฝาย
ราษฎร ฯลฯ
• รายละเอี ย ดทั่ว ไป เช่ น ป่ า ล าน้ า ล าห้ ว ย หนอง คลอง บึ ง ที่ ช ายเลน
เขตหมู่บา้ น เขตอุตสาหกรรม เขตป่ าสงวน ฯลฯ
▪ ทาการบันทึกข้อมูลสารวจในรู ปรหัส (Code) ตามข้อกาหนดของโปรแกรม ลง
ในหน่วยความจาของกล้อง เพื่อนาข้อมูลไปประมวลผล
6.2.2.5 การนาเข้ าข้ อมูลรายละเอียดภูมิประเทศและระดับ
▪ การสร้างเส้นชั้นความสู งชั้นละ 25 ซม. 50 ซม. หรื อ 1.0 ม. เพื่อแสดงลักษณะ
ความสู งต่ า ของภู มิ ป ระเทศ โดยใช้ วิ ธี ก ารสร้ า ง TIN (Triangulation Irregular
Network) และค่ า ระดับ ของจุ ด ที่ ส ารวจจากงานสนาม โดยสร้ างแบบจ าลอง
ภู มิ ป ระเทศเชิ ง เลข (Digital Elevation Model) โดยใช้ โ ปรแกรมประมวลผล
ทางวิศวกรรมสารวจภาคสนาม ประมวลผลสร้างเส้นชั้นความสู ง (Contour Line
Interpolation) ด้วยการประมาณค่าเชิงเส้น (Linear interpolation)

73
▪ ในกรณี ที่สงสัยการกาหนดจุดจากสนาม ให้นาค่ามุม และระยะ มาตรวจสอบ
▪ ป้ อนค่าระดับของหมุดหลักฐาน และอาคารชลประทานต่างๆ ที่ ได้รังวัดได้ผ่าน
แป้นพิมพ์คอมพิวเตอร์ (Keyboard)
▪ ตกแต่งและแก้ไขข้อมู ลด้วยโปรแกรมจัดทาแผนที่ ดิจิตอล ตามมาตรฐานแผนที่
ของ ส านั ก ส ารวจฯ ได้ แ ก่ การแก้ ไ ขข้ อ มู ล ที่ ค ลาดเคลื่ อ น การใส่
สัญลักษณ์ แผนที่และนามศัพท์ การจาแนกรายละเอียดภูมิประเทศ การประกอบ
ระวางแผนที่ ตลอดจนการใส่ รายละเอียดขอบระวางแผนที่ให้ครบถ้วน
▪ นาเสนอข้อมูลแผนที่ซ่ ึ งจัดทาเสร็ จสมบูรณ์แล้วแก่ผทู ้ ี่ตอ้ งการใช้แผนที่ ในรู ปแผ่น
พิมพ์แผนที่ ตามมาตรฐานโดยพิมพ์ดว้ ยเครื่ องวาดภาพ (Plotter) หรื อ บันทึกในรู ป
สื่ อคอมพิวเตอร์ เช่นฮาร์ ดดิสก์ แผ่นฟลอฟปี้ ดิสก์ CD DVD ฯลฯ
6.3 งานจัดทาแผนทีด่ ิจิทัล มาตราส่ วน 1:4,000 หรื อ 1:10,000 โดยการแปลงข้ อมูลแผนที่ต้นร่ างชนิดต่ าง
ๆ ให้ เป็ นแผนทีด่ ิจิทลั
6.3.1 วัตถุประสงค์ เพื่อจัดทาแผนที่ดิจิทลั สาหรับการออกแบบ การจัดรู ปที่ดิน และการพัฒนา ใน
แปลงนา ฯลฯ โดยใช้ชุดเครื่ องไมโครคอมพิ วเตอร์ และอุ ปกรณ์ ประกอบ พร้ อมชุ ดโปรแกรมประยุก ต์
เฉพาะทางด้านการคัดลอกและเขียนแบบทางวิศวกรรม เพื่อทาการแปลงข้อมูลแผนที่ตน้ ร่ างชนิ ดต่างๆ ที่
เขียนด้วยมื อ หรื อแผนที่ ตน้ ร่ างที่ เขียนจากเครื่ องเขี ยนแผนที่ จากภาพถ่ ายทางอากาศ ให้เป็ นแผนที่ ดิจิทลั
ที่สมบูรณ์ตามมาตรฐาน
6.3.2 ลักษณะของงาน เป็ นการนาเอาข้อมูลแผนที่ตน้ ร่ างมาแปลงเป็ นข้อมูลดิจิทลั เช่น แผนที่ตน้ ร่ าง
ซึ่ งได้จากการสารวจรายละเอียดภูมิประเทศและเส้นชั้นความสู งมาตราส่ วน 1 : 4,000 หรื อ 1 : 10,000 โดยใช้
แผนที่ ภาพถ่ ายประกอบ แผนที่ ตน้ ร่ างจากงานสารวจรายละเอี ยดภู มิป ระเทศ และเส้ นชั้นความสู งโดยใช้
กล้องสารวจสนาม แผนที่ตน้ ร่ างแปลงกรรมสิ ทธิ์ ที่ดิน แผนที่ตน้ ร่ างจากเครื่ องเขียนแผนที่จากภาพถ่ายทาง
อากาศ ฯลฯ โดยแผนที่ตน้ ร่ างจากหน่วยงานต่างๆ จะต้องผ่านการตรวจสอบความถูกต้องและมีมาตรฐานตาม
ข้อกาหนดของกรมชลประทาน
6.3.2.1 การเตรียมงานเบื้องต้ น
▪ จัดเตรี ยมแผนที่ตน้ ร่ างที่จดั ทาแล้วเสร็ จจากหน่วยงานต่างๆ ของสานักสารวจฯ ที่
จะทาการแปลงให้เป็ นแผนที่ดิจิทลั
▪ จัดเตรี ยมเครื่ องมื อและอุ ปกรณ์ ซึ่ งจาเป็ นและเหมาะสมต้องใช้งาน เช่ น เครื่ อง
ไมโครคอมพิ วเตอร์ เครื่ องอ่านพิ กดั หรื อเครื่ องกราดภาพ โปรแกรมเขียนแบบ
(CAD) โปรแกรมใช้ซอ้ นทับข้อมูล

74
6.3.2.2 การนาเข้ าข้ อมูล
▪ การนาเข้าข้อมู ล โดยใช้เครื่ องอ่านพิ กดั จาเป็ นต้องแปลงค่ าพิ ก ัด ควบคุ มแผนที่
ดิจิทลั ให้ตรงกับแผนที่ตน้ ร่ าง โดยให้มีความคลาดเคลื่ อนอยูใ่ นเกณฑ์มาตรฐานที่
ยอมรับได้
▪ การนาเข้าข้อมูลโดยใช้เครื่ องกราดภาพ บันทึกข้อมูลให้ครอบคลุมพื้นที่
6.3.2.3 การเขียนแผนที่
▪ คัดลอกแผนที่ โดยใช้เครื่ องอ่านพิกดั แยกเป็ นชั้นข้อมูลแต่ละชนิด
▪ คัดลอกแผนที่ ที่นาเข้าข้อมูลด้วยเครื่ องกราดภาพ (Scanner) และแยกเป็ นชั้นข้อมูล
แต่ละชนิด
▪ แยกข้อ มู ล แผนที่ ดิ จิ ท ัล ในรู ปชั้ น ข้ อ มู ล (Layers) หลายๆ ชั้ น ตามชนิ ด ของ
รายละเอี ยดข้อมู ล เช่ น ถนน คลองธรรมชาติ คลองชลประทาน ขอบเขตและ
ประเภทการใช้ที่ดิน ขอบเขตแปลงกรรมสิ ทธิ์ ที่ดิน เป็ นต้น
▪ ตกแต่งข้อมู ลที่ นาเข้าจากแผนที่ ตน้ ร่ างชนิ ดต่างๆ โดยใช้โปรแกรมจัดทาแผนที่
ระบบดิจิตอลตามมาตรฐานแผนที่ของสานักสารวจฯ เช่น การใส่ สัญลักษณ์แผนที่
และนามศัพท์ การจาแนกรายละเอียดแผนที่ การประกอบระวางแผนที่ ตลอดจน
การใส่ รายละเอียดขอบระวางต่างๆ ผูร้ ับผิดชอบจัดทาแผนที่ ฯลฯ
▪ นาเสนอข้อมูลแผนที่ซ่ ึ งจัดทาเสร็ จสมบูรณ์แล้วแก่ผทู ้ ี่ตอ้ งการใช้แผนที่ ในรู ปแผ่น
พิมพ์แผนที่ตามมาตรฐานแบบ T1 โดยพิมพ์ดว้ ยเครื่ องวาดภาพ หรื อบันทึกในรู ป
สื่ อแม่เหล็กต่าง ๆ เช่นฮาร์ ดดิสก์ แผ่นฟลอฟปี้ ดิสก์ CD DVD ฯลฯ
▪ ส่ งแผนที่ให้หน่วยงานที่รับผิดชอบต่อไป

75

You might also like