You are on page 1of 14

แผนการจัดการเรียนรู้

รายวิชา คณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน รหัสวิชา ค 22102 ชัน

มัธยมศึกษาปี ที่ 2 ภาคเรียนที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทฤษฏีบทพีทาโกรัส
เวลา 12 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง ทฤษฏีบทพีทาโกรัส
เวลา 1 ชั่วโมง
___________________________________________________
_____________________

1. สาระ/ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชีว
้ ัด
สาระที่ 3 : เรขาคณิต
มาตรฐาน ค 3.2 : ใช้การนึกภาพ (Visualization) ใช้เหตุผล
เกี่ยวกับปริภูมิ (spatial reasoning) และใช้แบบจำลองทาง
เรขาคณิต ( geometric model) ในการแก้ปัญหา
ตัวชีว
้ ัด ค 3.2 ม.2/2 ใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับ
ในการให้เหตุผลและ
แก้ปัญหา
สาระที่ 6 : ทักษะ/ กระบวนการทางคณิตศาสตร์
มาตรฐาน ค 6.1 : มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้
เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์และ
การนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆทางคณิตศาสตร์และเชื่อม
โยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อ่ น
ื ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์

2. สาระสำคัญ
^ เป็ นมุมฉาก โดยที่
ถ้า ABC เป็ นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ซึ่งมี A CB
c แทนความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉาก a และ b แทนความยาวของ
ด้านประกอบมุมฉาก จะได้ความสัมพันธ์ระหว่างความยาวของด้านทัง้
สามของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ABC ดังนี ้

3. จุดประสงค์การเรียนรู้
3.1 ด้านความรู้
นักเรียนสามารถเขียนความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูป
สี่เหลี่ยมจัตุรัสบนด้านทัง้ สามของรูปสามเหลี่ยมมุมฉากตาม
ทฤษฎีพีทาโกรัสได้
3.2 ด้านทักษะกระบวนการ
นักเรียนสามารถให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุป
ผลได้อย่างเหมาะสม
3.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
นักเรียนมีความรอบคอบและรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบ
หมาย
4. สาระการเรียนรู้
ตัวอย่างที่ 1 โทรทัศน์เครื่องหนึ่งมีหน้าจอที่วัดตามแนวทแยงมุม
ได้ 20 นิว้ ถ้าหน้าจอโทรทัศน์สูง 12 นิว้ จงหาว่าหน้าจอโทรทัศน์
ยาวเท่าไร

วิธีทำ กำหนดให้  ABC เป็ นแบบจำลองส่วนหนึ่งของหน้าจอ


โทรทัศน์ โดยมี BC เป็ นความยาวของหน้าจอโทรทัศน์
2 2 2
จะได้ AB + BC = AC

122 + BC 2 = 202

2 2 2
BC = 20 − 12

= 400 − 144

= 256

= 16 × 16

BC = 16

นั่นคือ หน้าจอโทรทัศน์ยาว 16 นิว้

ตอบ 16 นิว้

5. กิจกรรมการเรียนรู้
5.1 ขัน
้ นำ
1. ครูทบทวนความรู้เกี่ยวกับความสัมพันธ์ของความยาวของ
ด้านทัง้ สามของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก

5.2 ขัน
้ สอน
2. ครูยกตัวอย่างการนำทฤษฎีบทพีทาโกรัสมาแก้ปัญหา และ
สาธิตวิธีการหาคำตอบ ดังนี ้
ตัวอย่างที่ 1 โทรทัศน์เครื่องหนึ่งมีหน้าจอที่วัดตามแนวทแยง
มุมได้ 20 นิว้ ถ้าหน้าจอโทรทัศน์สูง 12 นิว้ จงหาว่าหน้าจอ
A
โทรทัศน์ยาวเท่าไร

12 20
นิว้ นิว้
B C

วิธีทำ กำหนดให้  ABC เป็ นแบบจำลองส่วนหนึ่งของหน้า


จอโทรทัศน์ โดยมี BC เป็ นความยาวของหน้าจอโทรทัศน์
2 2 2
จะได้ AB + BC = AC

122 + BC 2 = 202

2 2 2
BC = 20 − 12
= 400 − 144

= 256

= 16 × 16

BC = 16

นั่นคือ หน้าจอโทรทัศน์ยาว 16 นิว้

ตอบ 16 นิว้

ตัวอย่างที่ 2 รูปสามเหลี่ยม มี เป็ นด้านตรงข้าม

มุมฉาก และ ที่จุด ถ้า AD = 12 เซนติเมตร BD =


16 และ CD = 9 เซนติเมตร จงหาความยาว และ

12

B 16 D 9 C
2 2 2
วิธีทำ  ABD ; AB = 16 + 12

2
AB = 256 + 144

2
AB = 400

2
AB = 20 ×20

AB = 20

2 2 2
 ADC ; AC = 12 + 9

2
AC = 144 + 81

2
AC = 225

2
AC = 15 ×15

AC = 15

3. ครูเปิ ดโอกาสให้นักเรียนซักถาม

5.3 ขัน
้ สรุป
4. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับทฤษฎีบทพีทาโกรัสว่า
สำหรับรูปสามเหลี่ยมมุมฉากใดๆ พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยม
จัตุรัสบนด้านตรงข้ามมุมฉาก เท่ากับ ผลบวกของพื้นที่ของ
รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสบนด้านประกอบมุมฉาก

5.4 ขัน
้ ฝึ กทักษะ/ ภาระงาน / ชิน
้ งาน
5. ครูมอบหมายงานให้นักเรียนทำแบบฝึ กหัดที่ 1.2 ข้อ 1
และ 4
6. ในขณะที่นักเรียนทำครูอธิบายโจทย์คำถาม ครูจะเป็ นผู้
คอยชีแ
้ นะแนวทางให้คำปรึกษาพร้อมทัง้ สังเกตพฤติกรรม
การเรียนรู้ของนักเรียนและประเมินผลด้านความรู้ ด้าน
ทักษะ / กระบวนการ และด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์
ของนักเรียนเป็ นรายบุคคล

6. สื่อ/อุปกรณ์/เครื่องมือ/แหล่งเรียนรู้
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ เล่ม 2 ชัน
้ มัธยมศึกษาปี
ที่ 2
7. การวัดผลและประเมินผลผลการเรียนรู้

จุดประสงค์การเรียน วิธีวัด เครื่องมือ เกณฑ์การผ่าน


รู้ วัด
1. ด้านความรู้ ตรวจแบบ แบบฝึ กหัด นักเรียนทำแบบ
นักเรียน ฝึ กหัดที่ 1.2 ที่ 1.2 ข้อ 1 ฝึ กหัดที่ 1.2 ข้อ
สามารถเขียนความ ข้อ 1 และ 4 และ 4 1 และ 4 ได้ถูก
สัมพันธ์ของพื้นที่ของ ต้องระดับ
รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสบน คุณภาพร้อยละ
ด้านทัง้ สามของรูป 60 ขึน
้ ไป
สามเหลี่ยมมุมฉาก
ตามทฤษฎีพีทาโกรัส
ได้
2. ด้านทักษะ ตรวจแบบ แบบฝึ กหัด นักเรียนทำแบบ
กระบวนการ ฝึ กหัดที่ 1.2 ที่ 1.2 ข้อ 1
นักเรียนสามารถ ข้อ 1 และ 4 และ 4 ฝึ กหัดที่ 1.2 ข้อ
ให้เหตุผลประกอบ 1 และ 4 ได้ถูก
การตัดสินใจ และ ต้องระดับ
สรุปผลได้อย่าง คุณภาพร้อยละ
เหมาะสม 60 ขึน
้ ไป
3. ด้านคุณลักษณะ สังเกต แบบบันทึก ระดับคุณภาพ 2
อันพึงประสงค์ พฤติกรรม การสังเกต ขึน
้ ไป
นักเรียนมีความ
ระหว่าง พฤติกรรม
รอบคอบและรับผิดชอบ
ต่องานทีไ่ ด ้รับมอบ เรียน ระหว่าง
หมาย
เรียน
เกณฑ์การประเมินแบบฝึ กทักษะคณิตศาสตร์/ใบงานและแบบ
ทดสอบ

ประเภทของแบบฝึ ก
คะแนน
ทักษะ/ใบงานและ เงื่อนไข
: ข้อ
แบบทดสอบ
เลือกตอบมี ตอบถูกต้องตามเฉลย 1
4 ตัวเลือก ตอบผิดไม่ตรงตามเฉลย 0
ตอบถูกต้องตามเฉลย 1
จับคู่
ตอบผิดไม่ตรงตามเฉลย 0
ปรนัย
ตอบถูกต้องตามเฉลย 1
กาถูก-ผิด
ตอบผิดไม่ตรงตามเฉลย 0
ตอบถูกต้องตามเฉลย 1
เติมคำ
ตอบผิดไม่ตรงตามเฉลย 0

เกณฑ์การประเมินผลด้านความรู้

คะแนน / ความ ผลการทำแบบฝึ กหัด/ใบงานที่ปรากฏให้เห็น


หมาย
4 : ดีมาก วิธีการชัดเจน สมบูรณ์ ครบถ้วน และคำตอบถูก
ต้อง
3 : ดี วิธีการยังไม่ชัดเจน แต่อยู่ในแนวทางที่ถูกต้อง
และคำตอบถูกต้อง
2 : พอใช้ วิธีการยังไม่ชัดเจน และคำตอบถูกต้อง หรือวิธี
การชัดเจน แต่คำตอบไม่ถูกต้อง
1 : ควรแก้ไข วิธีการยังไม่ชัดเจน และคำตอบไม่ถูกต้อง

เกณฑ์การประเมินผลด้านทักษะกระบวนการ

คะแนน / ความ ความสามารถในการตัดสินใจที่ปรากฏให้เห็น


หมาย
3 : ดีมาก มีการอ้างอิง เสนอแนวคิดประกอบการตัดสินใจ
อย่างสมเหตุสมผล
2 : ดี มีการอ้างอิงที่ถูกต้องบางส่วน และเสนอแนวคิด
ประกอบการตัดสินใจ
1 : พอใช้ เสนอแนวคิดไม่สมเหตุสมผลในการประกอบการ
ตัดสินใจ
เกณฑ์การประเมินผลคุณลักษณะด้านมีวินัยและความรับผิดชอบ

คะแนน / ความ คุณลักษณะที่ปรากฏให้เห็น


หมาย
3 : ดีมาก ส่งงานก่อนหรือตรงกำหนดเวลานัดหมายรับผิด
ชอบในงานที่ได้รับมอบหมายและปฏิบัติเองจน
เป็ นนิสัย
2 : ดี ส่งงานช้ากว่ากำหนด แต่ได้มีการติดต่อชีแ
้ จงครูผู้
สอน มีเหตุผลที่รับฟั งได้รับผิดชอบในงานที่ได้รับ
มอบหมายและปฏิบัติเองจนเป็ นนิสัย
1 : พอใช้ ส่งงานช้ากว่ากำหนดปฏิบัติงานโดยอาศัยการ
ชีแ
้ นะ แนะนำ ตักเตือนหรือให้กำลังใจ

เกณฑ์การตัดสินการผ่านการประเมิน

- ได้คะแนนตัง้ แต่ 2 คะแนนขึน


้ ไป
- ได้ระดับคุณภาพ ดี ขึน
้ ไป
เกณฑ์การประเมิน ( Rubrics) การประเมินแบบฝึ กหัด/ใบงาน

รายการ ระดับคุณภาพ
ประเมิน
4 3 2 1
ทำแบบ ทำแบบ ทำแบบ ทำแบบ
ฝึ กหัด/ ฝึ กหัด/ ฝึ กหัด/ ฝึ กหัด/
ใบงานได้ ใบงานได้ ใบงานได้ ใบงานได้
ด้านความ
คะแนนร้อย คะแนนร้อย คะแนนร้อย คะแนนต่ำ
รู้(K)
ละ 80 ขึน
้ ละ 70 ขึน
้ ไป ละ 60 ขึน
้ กว่าร้อยละ
ไป ไป 60
ลงไป

3 2 1
ทำแบบ ทำแบบ ทำแบบ
ฝึ กหัด/ ฝึ กหัด/ ฝึ กหัด/
ด้านทักษะ ใบงานได้ ใบงานได้ ใบงานได้
กระบวนการ คะแนนร้อย คะแนนร้อย คะแนนต่ำ
(P) ละ 70 ขึน
้ ไป ละ 60 ขึน
้ กว่าร้อยละ
ไป 60
ลงไป

ด้าน 3 2 1
คุณลักษณะ ส่งงานก่อน ส่งงานช้า ส่งงานช้า
อันพึง หรือตรง กว่ากำหนด กว่ากำหนด
ประสงค์(A) กำหนดเวลา แต่ได้มีการ ปฏิบัติงาน
ความรับผิด นัดหมายรับ ติดต่อชีแ
้ จง โดยอาศัย
ชอบ ผิดชอบ ครูผู้สอน มี การชีแ
้ นะ
ในงานที่ได้ เหตุผลที่รับ แนะนำ ตัก
รับมอบ ฟั งได้รับผิด เตือนหรือให้
หมายและ ชอบในงาน กำลังใจ
ปฏิบัติเองจน ที่ได้รับมอบ
เป็ นนิสัย หมายและ
ปฏิบัติเอง
จนเป็ นนิสัย

You might also like