You are on page 1of 2

ข้อมูลเกี่ยวกับ IEEE Thailand Section และ IEEE Power & Energy Society - Thailand

สถาบันวิชาชีพวิศวกรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ (Institute of Electrical and Electronics Engineers) หรือ IEEE (อ่านว่า “ไอทริปเพิลอี”)
เป็นสถาบันวิชาชีพ (Professional Organization) ระดับนานาชาติที่ไม่หวังผลกำ�ไร ทำ�หน้าทีด่ แู ลเทคโนโลยีทเี่ กีย่ วกับไฟฟ้า พลังงาน อิเล็กทรอนิกส์
สื่อสารและคอมพิวเตอร์ โดย IEEE เป็นสถาบันวิชาชีพที่มีสมาชิกมากที่สุดในโลก (มากกว่า 360,000 คน ใน 175 ประเทศ) เมื่อปี พ.ศ. 2522 ได้
มีการจัดตั้งสมาคมสถาบันวิศวกรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์แห่งประเทศไทย ครั้งแรกในประเทศไทย โดยมี ฯพณฯ พลอากาศเอกกำ�ธน สินธวานนท์
องคมนตรีในรัชกาลที่ 9 เป็นนายกสมาคมฯ ท่านแรก
IEEE Power & Energy Society เป็น Chapter ของ IEEE Thailand Section ทำ�หน้าทีจ่ ดั สัมมนา การบรรยายทางวิชาการและสนับสนุนกิจกรรม
ของ IEEE Thailand Section ในด้านเทคนิค (Professional Activity) และด้านการศึกษา (Educational Activity) และเชิญผูเ้ ชีย่ วชาญจากต่างประเทศ
รวมทั้ง IEEE PES Distinguished Lecturer มาถ่ายทอดความรู้และแลกเปลี่ยนประสบการณ์กับวิศวกรสาขาไฟฟ้ากำ�ลังและพลังงานของประเทศ
ปัจจุบันมี คุณสมพงษ์ ปรีเปรม ผู้ว่าการการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค เป็น Chairman, IEEE Power & Energy Society - Thailand

โปรแกรมการสัมมนาเชิงวิชาการ ยานยนต์ ไฟฟ้า: เทคโนโลยี การออกแบบ โครงสร้างพื้นฐาน และการประยุกต์ ใช้งาน


วันจันทร์ที่ 24 สิงหาคม 2563
08.00 - 08.30 น. ลงทะเบียน
08.30 - 08.45 น. พิธีเปิด
โดย คุณพรเทพ ธัญญพงศ์ชัย อดีตผู้ว่าการการไฟฟ้านครหลวง, อดีตประธานคณะกรรมการกำ�กับกิจการพลังงาน
และที่ปรึกษา IEEE Power & Energy Society - Thailand Chapter
ดำ�เนินการสัมมนาโดย Session Chairman - รองศาสตราจารย์ ดร.นพพร ลีปรีชานนท์ หัวหน้ากลุ่มวิจัยโครงสร้างพื้นฐานเพื่อการสาธารณูปโภค
ด้านไฟฟ้าพลังงานและเมืองอัจฉริยะ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
และกรรมการบริหาร IEEE Power & Energy Society - Thailand Chapter
Session 1 นโยบาย การส่งเสริม และอนาคตของยานยนต์ ไฟฟ้าในประเทศไทย
08.45 - 09.30 น. นโยบายและมาตรการส่งเสริมการใช้ยานยนต์ไฟฟ้าในประเทศไทย
โดย คุณนุจรีย์ เพชรรัตน์ ผูอ้ �ำ นวยการกองนโยบายอนุรกั ษ์พลังงานและพลังงานทดแทน สำ�นักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.)
09.30 - 10.15 น. อนาคตของยานยนต์ไฟฟ้าในประเทศไทย
โดย คุณกฤษฎา อุตตโมทย์ นายกสมาคมยานยนต์ไฟฟ้าไทย
10.15 - 10.30 น. พักรับประทานอาหารว่าง
10.30 - 11.15 น. นโยบายอุตสาหกรรมยานยนต์และการเปลี่ยนผ่านสู่ “New S-Curve”
โดย รองศาสตราจารย์ ดร.เกรียงไกร เตชกานนท์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
11.15 - 12.00 น. การส่งเสริมการผลิตชิ้นส่วนและอุปกรณ์ยานยนต์ไฟฟ้าในประเทศไทย และมาตรการทางภาษี
โดย คุณอิทธิโชติ ดำ�รงรักษ์ธรรม นักวิชาการส่งเสริมการลงทุนชำ�นาญการพิเศษ สำ�นักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (BOI)
12.00 - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
Session 2 ความรู้พื้นฐานและเทคโนโลยียานยนต์ ไฟฟ้าทั่วไป
13.00 - 13.45 น. เทคโนโลยีและระบบส่งกำ�ลังสำ�หรับยานยนต์ไฟฟ้า
• คำ�จำ�กัดความและพารามิเตอร์ส�ำ หรับยานยนต์ไฟฟ้า • ยานยนต์ไฟฟ้าพลังงานผสม หรือไฮบริด (Hybrid Electric Vehicle, HEV)
• ยานยนต์ไฟฟ้าพลังงานผสมแบบเสียบปลั๊ก หรือปลั๊กอินไฮบริด (Plug-in Hybrid Electric Vehicle, PHEV) • ยานยนต์ไฟฟ้า
พลังงานแบตเตอรี่ (Battery Electric Vehicle, BEV) • ยานยนต์ไฟฟ้าพลังงานเซลล์เชือ้ เพลิง (Fuel Cell Electric Vehicle, FCEV)
โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรชาติ สุวรรณงาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
13.45 - 14.30 น. เทคโนโลยีแบตเตอรี่ ระบบการอัดประจุไฟฟ้า ระบบกักเก็บพลังงาน และระบบการจัดการพลังงานแบตเตอรี่
• ระบบการชาร์จแบบ AC และ DC สำ�หรับยานยนต์ไฟฟ้า
โดย ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ธีรพล โพธิพ์ งศ์ววิ ฒ
ั น์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
14.30 - 15.15 น. ระบบไฟฟ้าและวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น เครื่องมือวัด และการวัดทางไฟฟ้าสำ�หรับยานยนต์ไฟฟ้า
โดย ดร.สมภพ ผลไม้ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
15.15 - 15.30 น. พักรับประทานอาหารว่าง
15.30 - 16.30 น. ระบบขับเคลื่อนและระบบควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้า คอนเวอร์เตอร์และอินเวอร์เตอร์สำ�หรับยานยนต์ไฟฟ้า
โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรชาติ สุวรรณงาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
วันอังคารที่ 25 สิงหาคม 2563
Session 3 การเตรียมความพร้อมของระบบโครงข่ายไฟฟ้า ข้อกำ�หนดการเชื่อมต่อและติดตั้งทางไฟฟ้า
สำ�หรับสถานีอัดประจุไฟฟ้า สำ�หรับยานยนต์ ไฟฟ้า
08.30 - 09.30 น. การเตรียมความพร้อมของระบบโครงข่ายไฟฟ้า เพื่อรองรับผลกระทบของการอัดประจุจากระบบเข้ายานยนต์ไฟฟ้า G2V
(Grid-to-Vehicle) และการคายประจุยานยนต์ไฟฟ้าเข้าระบบ V2G (Vehicle-to-Grid)
โดย รองศาสตราจารย์ ดร.สมพร สิริสำ�ราญนุกูล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
09.30 - 10.00 น. พักรับประทานอาหารว่าง
10.00 - 11.00 น. ข้อกำ�หนดการเชื่อมต่อและติดตั้งทางไฟฟ้าสำ�หรับสถานีอัดประจุไฟฟ้าสำ�หรับยานยนต์ไฟฟ้าของการไฟฟ้านครหลวง
• มาตรฐานความปลอดภัยของระบบไฟฟ้า และตำ�แหน่งการติดตั้งเครื่องตัดไฟรั่ว (RCD)
• มาตรฐานการติดตั้งเครื่องชาร์จยานยนต์ไฟฟ้า สำ�หรับบ้านที่อยู่อาศัยและผู้ประกอบการสถานีอัดประจุสำ�หรับยานยนต์ไฟฟ้า
โดย คุณวรพจน์ กระทอง วิศวกรไฟฟ้า 8 งานมาตรฐานไฟฟ้าสาธารณะ ฝ่ายวางแผนระบบไฟฟ้า การไฟฟ้านครหลวง
11.00 - 12.00 น. ข้อกำ�หนดการเชื่อมต่อและติดตั้งทางไฟฟ้าสำ�หรับสถานีอัดประจุไฟฟ้า สำ�หรับยานยนต์ไฟฟ้าของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค
• มาตรฐานความปลอดภัยของระบบไฟฟ้า และตำ�แหน่งการติดตั้งเครื่องตัดไฟรั่ว (RCD)
• มาตรฐานการติดตั้งเครื่องชาร์จยานยนต์ไฟฟ้าสำ�หรับบ้านที่อยู่อาศัยและผู้ประกอบการสถานีอัดประจุ สำ�หรับยานยนต์ไฟฟ้า
โดย ดร.สมชาย ทรงศิริ ผู้อำ�นวยการฝ่ายวิศวกรรม การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค
12.00 - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
Session 4 แนวคิดการออกแบบและการเลือกใช้ยานยนต์ ไฟฟ้า
13.00 - 13.45 น. แนวคิดการออกแบบและการใช้งานรถยนต์พลังงานไฮโดรเจน FCEV (Fuel Cell Electric Vehicle)
โดย ดร.เนรัญ สุวรรณโชติช่วง General Manager Technical External Affairs,
Toyota Daihatsu Engineering & Manufacturing Co.,Ltd.
13.45 - 14.30 น. แนวคิดการออกแบบ และการใช้งานรถจักรยานยนต์ไฟฟ้า “ETRAN KRAF”
โดย คุณสรณัญช์ ชูฉัตร ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท อีทราน (ไทยแลนด์) จำ�กัด
14.30 - 15.00 น. พักรับประทานอาหารว่าง
15.00 - 15.45 น. แนวคิดการออกแบบและการใช้งานยานยนต์ไฟฟ้า รถบรรทุกไฟฟ้า รถบัสไฟฟ้า และเรือไฟฟ้า
โดย คุณธีระพล วงศ์เลิศพิชิต ผู้ช่วยผู้บริหารและวิศวกรอาวุโส บริษัท พลังงานบริสุทธิ์ จำ�กัด (มหาชน)
15.45 - 16.30 น. แนวคิดการออกแบบและการใช้งานยานยนต์ไฟฟ้า “FOMM: First One Mile Mobility”
โดย คุณธนานันต์ กาญจนคูหา ผู้จัดการทั่วไป บริษัท เอฟโอเอ็มเอ็ม (เอเซีย) จำ�กัด

วันพุธที่ 26 สิงหาคม 2563


Session 5 แนวคิดและการออกแบบระบบโครงสร้างพื้นฐานของสถานีชาร์จไฟฟ้า และกรณีศึกษาในไทย
และต่างประเทศ
08.30 - 09.30 น. แนวคิดและการออกแบบระบบโครงสร้างพื้นฐาน และตำ�แหน่งที่เหมาะสมของสถานีอัดประจุไฟฟ้า
โดย รองศาสตราจารย์ ดร.สมพร สิริสำ�ราญนุกูล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
และกรรมการบริหาร IEEE Power & Energy Society - Thailand Chapter
09.30 - 10.15 น. กรณีศึกษา: ประสบการณ์และการติดตั้งใช้งาน TOSA - Electrical Bus Charging Infrastructure
โดย ดร.ประดิษ ฐพงษ์ สุขสิริถาวรกุล Director - Vice President, Marketing & Sales - Utility and Channel Management,
ABB Power Grid (Thailand) Limited
10.15 - 10.30 น. พักรับประทานอาหารว่าง
10.30 - 11.15 น. กรณีศึกษา: ประสบการณ์และการติดตั้งใช้งาน E-Mobility Solutions - Electric Vehicle Charging Infrastructure
โดย คุณธีรภัทร แต่รุ่งเรือง วิศวกรฝ่ายขาย บริษัท เอบีบี อิเล็คทริฟิเคชั่น (ประเทศไทย) จํากัด
11.15 - 12.00 น. กรณีศึกษา: ประสบการณ์และการติดตั้งใช้งาน EVlink Charging Station and Residential - Electric Vehicle Charging
Infrastructure
โดย คุณถิรายุ สนทนา offer Marketing manager - Home & Distribution Schneider Electric Thailand
12.00 - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00 - 13.45 น. the experience on installation of eMobility Charging - EV Charging Infrastructure
โดย Mr.Bidyut Mazumder senior manager - Future Grids & Vertical Manager - Renewables Siemens Limited
13.45 - 14.30 น. กรณีศึกษา: โครงการการติดตั้งใช้งานและให้บริการสถานีชาร์จไฟฟ้าในประเทศไทย ของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
โดย คุณสมศักดิ์ ปรางทอง หัวหน้ากองส่งเสริมมาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ไฟฟ้า ฝ่ายบริหารด้านการใช้ไฟฟ้า
และกิจการเพื่อสังคม การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
14.30 - 15.00 น. พักรับประทานอาหารว่าง
15.00 - 15.45 น. กรณีศึกษา: โครงการการติดตั้งใช้งานและให้บริการสถานีชาร์จไฟฟ้าในประเทศไทย ของการไฟฟ้านครหลวง
โดย คุณสุขสันต์ ติยารัชกุล วิศวกรไฟฟ้า 6 กองวิจัยและพัฒนา ฝ่ายวิจัยและพัฒนา จากการไฟฟ้านครหลวง
15.45 - 16.30 น. กรณีศึกษา: โครงการการติดตั้งใช้งานและให้บริการสถานีชาร์จไฟฟ้าในประเทศไทย ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค
โดย ดร.ฐิติพงศ์ สมัครพงศ์ รองผู้อำ�นวยการฝ่ายจัดหา การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค
16.30 น. จบการสัมมนา

You might also like