You are on page 1of 7

ชื่อปริญญานิพนธ์ การสัน่ อิสระแบบสมมาตรตามแนวแกนของโครงสร้างเปลือกบางแบบหลายชิ ้นส่ วน


โดยใช้โปรแกรมไฟไนต์เอลิเมนต์
นักศึกษา ฐิติยา จนจันทึก รหัส 61172110003-1
มนัสวีร์ แสงชนะ รหัส 61172110172-5
กิตติพศ แคพิมาย รหัส 61172110323-4
อาจารย์ ปรึกษา อาจารย์ ดร. คมกร ไชยเดชาธร
สาขาวิชา สาขาวิศวกรรมโยธา
ปี การศึกษา 2564
บทคัดย่ อ
ปริ ญญานิพนธ์น้ ี ได้น ำเสนอแบบจำลองไฟไนต์เอลิเมนต์สำหรับการวิเคราะห์การสัน่ อิสระของ
โครงสร้างเปลือกบางโดยใช้โปรแกรมไฟไนต์เอลิเมนต์ส ำเร็ จรู ป ABAQUS ในการคำนวณหาค่าความถี่
ธรรมชาติและโหมดการสัน่ อิสระของโครงสร้างเปลือกบางสามารถจำลองได้โดยใช้ชิ้นส่ วนแบบสมมาตร 1 มิติ
ผลการศึกษาการปรับเปลี่ยนความหนา ความหนาแน่น โมดูลสั ยืดหยุน่ และอัตราส่ วนปัวซองของโครงสร้างมีผล
ต่อค่าความถี่ธรรมชาติของโครงสร้างเปลือกบางแบบหลายชิ ้นส่ วนรู ปทรงไข่ โครงสร้างเปลือกบางแบบหลาย
ชิ้นส่ วนรู ปทรงไข่จะมีโหมดการสัน่ เป็ นแบบสมมาตรและแบบปฎิสมมาตรตามแนวแกน ดังนั้นค่าความถี่
ธรรมชาติที่ได้จากงานวิจยั นี้ สามารถนำไปใช้เป็ นค่าสำหรับการออกแบบโครงสร้างเปลือกบางรู ปทรงไข่ได้

คำสำคัญ : การสัน่ อิสระแบบสมมาตรตามแนวแกน โปรแกรมไฟไนต์เอลิเมนต์ โครงสร้างเปลือกบาง ความถี่


ธรรมชาติ โหมดการสัน่ อิสระ

Project title
Axisymmetric Free Vibration of Multi-Segment Shell Structures by Finite Element Program
Candidates Titiya jonjanthuk ID. 61172110003-1
Manatsawee Sangchana ID. 61172110172-5
Kittipot Kaephimai ID. 61172110323-4
Adviser Dr.Komkorn Chaidachatorn
Department Civil Engineering

Academic 2020

ABSTRACT
This project presents the free vibration analysis of shell structures by finite element commercial
software ABAQUS. In order to determine the natural frequencies and corresponding mode shapes of the shell
structures, the shell structures can be modeled by a one-dimensional axisymmetric element. The results
indicate that the effects of the thickness variation, density of shell material, elastic modulus, and Poisson’s
ratios have a major impact on the natural frequencies of multi segments of the shell structures having egg-
shaped cross section. In addition, the vibrational modes of multi segments of the egg-shaped shell structures
consist of axi- and anti-symmetrical. Therefore, the results in natural frequencies of the present study can be
used to the design parameters for the egg-shaped shell structures.

Keywords : Axisymmetric Free Vibration , Finite Element Software, Shell Structures, Natural Frequencies,
Mode Shapes

กิตติกรรมประกาศ
คณะผูจ้ ดั ทำโครงงานขอขอบพระคุณอาจารย์ที่ปรึ กษาโครงงานอาจารย์ ดร.คมกร ไชยเดชาธรและ
รองศาสตราจารย์ ดร.วีรพันธุ์ เจียมมีปรี ชา ที่ให้การสนับสนุนในการทำโครงงานและคำปรึ กษาที่มีประโยชน์
ตั้งแต่ตน้ จนโครงงานประสบผลสำเร็ จรวมไปถึงคณะกรรมการสอบปริ ญญานิพนธ์ทุกท่านที่ให้ค ำแนะนำใน
การปรับปรุ งแก้ไขเล่มปริ ญญานิพนธ์ซ่ ึ งทำให้โครงงานมีการพัฒนาและสมบูรณ์มากยิง่ ขึ้น
นอกจากนี้ ขอขอบคุณสมาชิกในกลุ่มโครงงานและเพื่อนกลุ่มอื่น ๆ ที่ร่วมแรงร่ วมใจและได้ช่วยเหลือ
เกื้อกูลกันในการทำงานหลายอย่างจนสำเร็ จลุล่วงโดยการดำเนินงานแม้จะมีปัญหาแต่สมาชิกในกลุ่มก็ได้ช่วย
กันแก้ไขปั ญหาจนกระทัง่ สำเร็ จลุล่วงตามเป้ าหมายที่วางไว้เป็ นอย่างดี
คณะผูจ้ ดั ทำปริ ญญานิพนธ์ใคร่ ขอยกส่ วนดีของปริ ญญานิพนธ์น้ ี มอบแด่พระคุณบิดามารดาคณาจารย์
สาขาวิศวกรรมโยธาคณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปั ตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน

และผูท้ ี่ให้ค ำแนะนำในการทำโครงงานชิ้นนี้ทุกท่านสุ ดท้ายนี้ หากโครงงานนี้ มีความผิดพลาดประการใดก็


ขออภัยไว้ ณ ที่น้ ี และทางผูจ้ ดั ทำหวังว่าโครงงานนี้จะเป็ นประโยชน์กบั บุคคลที่ได้มาศึกษาโครงงานต่อไป

ฐิติยา จนจันทึก
มนัสวีร์ แสงชนะ
กิตติพศ แคพิมาย

สารบัญ
หน้ า
บทคัดย่อ (ภาษาไทย) ก
บทคัดย่อ (ภาษาอังกฤษ) ข
กิตติกรรมประกาศ ค

สารบัญ ง
สารบัญตาราง ฉ
สารบัญรู ป ช
บทที่ 1 บทนำ
1.1 ที่มาและความสำคัญ 1

1.2 วัตถุประสงค์ 1
1.3 ขอบเขตงานวิจยั 2
1.4 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 2
บทที่ 2 ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกีย่ วข้ อง
2.1 ระเบียบวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ 3
2.2 โครงสร้างเปลือกบางแบบหลายชิ้นส่ วน 4
2.3 พฤติกรรมการสัน่ อิสระของโครงสร้าง 4
2.4 การสร้างรู ปแบบจำลอง 4
2.5 งานวิจยั ที่ผา่ นมาในอดีต 6

สารบัญ (ต่ อ)
หน้ า
บทที่ 3 วิธีดำเนินงานวิจัย
3.1 สมมติฐานที่ใช่ในการวิเคราะห์ปัญหาด้วยโปรแกรม ABAQUS 9
3.2 ชุดคำสัง่ การใช้โปรแกรมไฟไนต์เอลิเมนต์ 9
3.3 วิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ 14
บทที่ 4 ผลการศึกษา
4.1 การตรวจสอบความถูกต้องของแบบจำลองโครงสร้างเปลือกบางแบบหลายชิ้นส่ วน 14
4.2 โหมดการสัน่ ของโครงสร้างเปลือกบางแบบหลายชิ้นส่ วนรู ปทรงไข่ 16
4.3 การปรับเปลี่ยนความหนาและวัสดุของโครงสร้างเปลือกบาง 26
4.4 ผลของความหนาแน่นที่มีผลต่อค่าความถี่ธรรมชาติ 32

4.5 ผลของความหนาที่มีต่อค่าความถี่ธรรมชาติ 33
4.6 ผลของค่าโมดูลสั ยืดหยุน่ ที่มีผลต่อค่าความถี่ธรรมชาติ 34
บทที่ 5 สรุ ปผลการศึกษา
5.1 การสัน่ อิสระของโครงสร้างเปลือกบางแบบหลายชิ้นส่ วน 35
5.2 ข้อเสนอแนะของการทำวิจยั ต่อไปในอนาคต 35
เอกสารอ้ างอิง 36
ประวัติผู้จดั ทำปริญญานิพนธ์ 37

สารบัญตาราง
ตารางที่ หน้ า
4.1 ข้อมูลและสมบัติที่ใช้ในการวิเคราะห์ 14
4.2 การลู่เข้าคำตอบของค่าความถี่ธรรมชาติของโครงสร้างเปลือกบางรู ปทรงไข่ 15
4.3 การปรับเปลี่ยนความหนาและวัสดุของโครงสร้าง 26

สารบัญรู ป
รู ป หน้ า
2.1 แบบจำลองโครงสร้างเปลือกบางรู ปทรงไข่ 5
4.1 ผลของจำนวนชิ้นส่ วนที่มีผลต่อค่าความถี่ 15
4.2 เป็ นการสัน่ ของโครงสร้างแบบไม่เสี ยรู ป 16
4.3 โหมดการสัน่ ของโครงสร้างเปลือกบางแบบหลายชิ้นส่ วนรู ปทรงไข่โหมดที่ 1 17
4.4 โหมดการสัน่ ของโครงสร้างเปลือกบางแบบหลายชิ้นส่ วนรู ปทรงไข่โหมดที่ 2 18
4.5 โหมดการสัน่ ของโครงสร้างเปลือกบางแบบหลายชิ้นส่ วนรู ปทรงไข่โหมดที่ 3 19
4.6 โหมดการสัน่ ของโครงสร้างเปลือกบางแบบหลายชิ้นส่ วนรู ปทรงไข่โหมดที่ 4 20
4.7 โหมดการสัน่ ของโครงสร้างเปลือกบางแบบหลายชิ้นส่ วนรู ปทรงไข่โหมดที่ 5 21
4.8 โหมดการสัน่ ของโครงสร้างเปลือกบางแบบหลายชิ้นส่ วนรู ปทรงไข่โหมดที่ 6 22
4.9 โหมดการสัน่ ของโครงสร้างเปลือกบางแบบหลายชิ้นส่ วนรู ปทรงไข่โหมดที่ 7 23
4.10 โหมดการสัน่ ของโครงสร้างเปลือกบางแบบหลายชิ้นส่ วนรู ปทรงไข่โหมดที่ 8 24
4.11 โหมดการสัน่ ของโครงสร้างเปลือกบางแบบหลายชิ้นส่ วนรู ปทรงไข่โหมดที่ 9 25
4.12 ผลการเปลี่ยนแปลงค่าความหนาของโครงสร้างต่อค่าความถี่ธรรมชาติโหมด ที่1 26
4.13 ผลการเปลี่ยนแปลงค่าความหนาของโครงสร้างต่อค่าความถี่ธรรมชาติโหมด ที่2 27
4.14 ผลการเปลี่ยนแปลงค่าความหนาของโครงสร้างต่อค่าความถี่ธรรมชาติโหมด ที่3 27
4.15 ผลการเปลี่ยนแปลงค่าความหนาของโครงสร้างต่อค่าความถี่ธรรมชาติโหมด ที่4 28
4.16 ผลการเปลี่ยนแปลงค่าความหนาของโครงสร้างต่อค่าความถี่ธรรมชาติโหมด ที่5 28

4.17 ผลการเปลี่ยนแปลงค่าความหนาของโครงสร้างต่อค่าความถี่ธรรมชาติโหมด ที่6 29


สารบัญรู ป (ต่อ)
รู ป หน้ า
4.18 ผลการเปลี่ยนแปลงค่าความหนาของโครงสร้างต่อค่าความถี่ธรรมชาติโหมด ที่7 29
4.19 ผลการเปลี่ยนแปลงค่าความหนาของโครงสร้างต่อค่าความถี่ธรรมชาติโหมด ที่8 30
4.20 ผลการเปลี่ยนแปลงค่าความหนาของโครงสร้างต่อค่าความถี่ธรรมชาติโหมด ที่9 30
4.21 ผลของความหนาต่อค่าความถี่ของวัสดุกราฟปฏิสมมาตร(Antisymmetric Mode Shapes) 31
4.22 ผลของความหนาต่อค่าความถี่ของวัสดุกราฟสมมาตร (Axiymmetric Mode Shapes) 31
4.23 ผลของการเปลี่ยนแปลงความหนาแน่นของโครงสร้างที่มีผลต่อค่าความถี่ธรรมชาติ 32
4.24 ผลของการเปลี่ยนแปลงความหนาของโครงสร้างที่มีผลต่อค่าความถี่ธรรมชาติ 33
4.25 ผลของการเปลี่ยนแปลงโมดูลสั ยืดยุน่ ของโครงสร้างที่มีผลต่อค่าความถี่ธรรมชาติ 34

You might also like