You are on page 1of 6

วิศวกรรมสารฉบับวิจยั และพัฒนา ปี ที่ 23 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2555 RESEARCH AND DEVELOPMENT JOURNAL VOLUME 23 NO.

2, 2012

การวิเคราะห์ และออกแบบเสาเข็มดินซีเมนต์ ระบบกําแพงกันดิน อาคารจอดรถ อิมแพ็ค อารีน่า เมืองทองธานี


Analysis and Design of Soil Cement Columns for Retaining Wall System
at Impact Arena Muang Thong Thani Parking Building
ปิ ยะ รัตนสุ วรรณ , วรรณสิ ริ พันธ์ อุไร
Piya Rattanasuwan and Wonsiri Punurai
ภาควิชาวิศวกรรมโยธาและสิ่ งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิ ดล อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม 73170
โทร 02-889-2138 ต่อ 6396 โทรสาร 02-889-2138 ต่อ 6388
E-mail: egprt@mahidol.ac.th

บทคัดย่ อ variables, cement content, initial setting period and curing


การศึกษานี้ นาํ เสนอการวิเคราะห์ ออกแบบ เสาเข็มดิ น time to provide a better understanding of the behavior of
ซี เมนต์ที่ทาํ จากการปรั บปรุ งสมบัติทางวิศวกรรมของดิ น cement stabilized clay. It was found that a very soft and
เหนียวอ่อนเพื่อใช้ในงานก่อสร้างระบบกําแพงกันดินอาคาร compressible clay layer located at 15 m below ground was
จอดรถอิมแพ็ค อารี น่า เมืองทองธานี โดยปริ มาณซี เมนต์ที่ sufficiently stabilized with a dosage rate ranged from 180
ใช้ผสมดินเพื่อการปรับปรุ งสมบัติของดินเหนียวอ่อนนั้นได้ to 220 kg/m3 for the wet deep mixing method. Higher
จากการพิจ ารณาจากความสัม พันธ์ ของกําลังอัดที่ แปรผัน curing time increased the unconfined compressive strength.
ตามอัตราส่ วนผสมของดิ น ซี เมนต์ และนํ้าขณะทําการบ่ม In addition, the wall stability was checked to compute the
ทดสอบในห้องปฏิบตั ิการ ผลจากการทดสอบพบว่าเสาเข็ม maximum stresses in the composite section of the soil and
ดินซี เมนต์ที่ความลึก 15 เมตร สามารถก่อสร้างได้โดยการ soil-cement columns using soil stabilized properties. A
ผสมซี เมนต์ต้ งั แต่ 180 ถึ ง 220 กิ โลกรั มต่อดิ น 1 ลูกบาศก์ satisfactory structural performance was achieved and a
เมตรด้วยวิธีผสมแบบเปี ยก ระยะเวลาการบ่มที่เพิ่มขึ้นส่ งผล minimum factor of safety greater than 2 was obtained when
ให้ ก ํา ลัง รั บ นํ้ าหนั ก ของเสาเข็ ม เพิ่ ม ขึ้ น การวิ เ คราะห์ a soil cement column diameter of 60 centimeters was cured
เสถี ย รภาพของกํา แพงกัน ดิ น เมื่ อ รั บ แรงดัน ดิ น ด้า นข้า ง at least 30 minutes with the dosage rate of 180 kg/m3.
แสดงให้เห็นว่าการก่อสร้างเสาเข็มดินซี เมนต์ขนาดเส้นผ่าน
ศูนย์กลาง 60 เซนติ เมตร โดยใช้ซี เมนต์ 180 กิ โลกรั ม ต่อ 1. บทนํา
ลูกบาศก์เมตร ผสมเปี ยกแล้วทิ้งไว้ประมาณ 30 นาทีสามารถ ชั้นดินบริ เวณกรุ งเทพและปริ มณฑล ประกอบไปด้วย
ให้กาํ ลังและรั บ นํ้าหนัก บรรทุ กปลอดภัย โดยมี อ ตั ราส่ วน ชั้นดินเหนี ยวอ่อนที่ความลึกประมาณ 0 - 10 เมตร เรี ยกดิน
ความปลอดภัยมากกว่า 2 ชั้นนี้ วา่ “ดินเหนี ยวอ่อนกรุ งเทพ” (Soft Bangkok Clay)
Abstract คุ ณสมบัติของดิ นเหนี ยวชนิ ดนี้ มี กาํ ลังและความซึ มผ่าน
This paper evaluates the use of soil mixing in very soft ของนํ้าได้ต่าํ [1] ก่อให้เกิดปัญหาในการก่อสร้างเป็ นประจํา
soil cement columns to form a composite gravity structure โดยเฉพาะการก่อสร้างฐานรากอาคารใหญ่ๆ ที่อยู่ลึกลงไป
to support vertical excavations located at the Impact Arena การป้ องกันดิ นเหนี ยวอ่อนไม่ให้เกิ ดการพังทลายระหว่าง
Muang Thong Thani parking building. The response of the การขุดจึ งนิ ยมใช้การออกแบบกําแพงกันดิ นด้วยวิธีการทํา
cement-stabilized soft Bangkok clay to static loading in เสาเข็มดินซี เมนต์ (Soil Cement Columns)
unconfined compression has been investigated over three

RECEIVED 23 December, 2011


ACCEPTED 13 March, 2012
วิศวกรรมสารฉบับวิจยั และพัฒนา ปี ที่ 23 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2555 RESEARCH AND DEVELOPMENT JOURNAL VOLUME 23 NO.2, 2012

การทําเสาเข็มดินซี เมนต์เกิดจากการปรับปรุ งคุณสมบัติ ทุกๆ ความลึก 1 เมตร โดยเริ่ มที่ความลึก 2 เมตร จนถึง
ทางวิศวกรรมของดินเหนียวอ่อนด้วยวิธีผสมแบบแรงดันสู ง ความลึก 15 เมตร จากนั้นทําการหากําลังการรับนํ้าหนัก
(Jet Grouting) ซึ่ งเป็ นวิธีการฉี ดนํ้าปูนซี เมนต์เข้าไปผสม บรรทุ กของเสาเข็มดิ นโดยการทดสอบดิ นผสมซี เมนต์ใน
รวมกับ เนื้ อ ดิ น ด้ว ยความดัน สู ง ผ่ า นทางหั ว ฉี ด (Nozzle) ห้องปฏิบตั ิการเพื่อหาค่าความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยแรงอัด
บริ เวณปลายล่างของก้านเจาะ ในขณะทํางานเครื่ องเจาะจะ แนวแกน ระยะการก่อตัว และปริ มาณของซี เมนต์ที่ใช้ผสม
หมุนกดก้านเจาะผ่านชั้นดิน พร้อมทั้งฉี ดนํ้าตัดดินด้วยความ ดิน แล้วจึงนําค่าที่ได้จากการทดสอบมาวิเคราะห์เสถียรภาพ
ดันสู ง เมื่อถึงระดับความลึกที่กาํ หนดจะหมุนก้านเจาะด้วย ของกําแพงกันดิ นเมื่ อรั บแรงดันดิ นด้านข้าง และหาขนาด
อัต ราความเร็ ว 6-15 รอบต่ อ นาที พร้ อ มทั้ง ยกดึ ง ขึ้ น เป็ น เสาเข็มดินซี เมนต์ที่เหมาะสม
จังหวะประมาณ 2-30 ซม. ในขณะเดี ยวกับการอัดฉี ดนํ้า
ปูนซี เมนต์ความดันสู ง [2-4] จากงานวิจยั ที่ผา่ นมาพบว่าดิน Soil Cement Column dia. 0.60 m
IMPACT CONVENTION
CENTER
HALL 9-10

เหนี ย วอ่ อ นกรุ ง เทพมหานคร เป็ นดิ นที่ มี แ ร่ ซิ ลิ ก้า และแร่ FW1,SW1 FW1A,SW2 FW1,SW1 FW1A,SW2 FL1

อะลู มิ นาผสมอยู่ เ ป็ นส่ วนใหญ่ ซึ่ งหากผสมเข้ า กั บ


F2,C1
F3,C2 F3,C2 F3,C2 F3,C2 F3,C2 F3,C2 F3,C2 F3,C2 F3,C2 F3,C2 F3,C2 F3,C2
A

1
(LOW ZONE)
PARKING BUILDING IMPACT ARENA

(Ca(OH)2) ที่เกิดจากปฏิกิริยาไฮเดรชัน่ Cement Hydration


F2,C1 F3,C2 F3,C2 F3,C2 F3,C2 F3,C2 F3,C2 F3,C2 F3,C2 F3,C2 F3,C2 F3,C2 F3,C2 F3,C2 F3,C2 F2,C1
TFB1 (LOW ZONE) TFB1
B
C1A C1A

F2,C1
F3,C2 F3,C2 F3,C2 F3,C2 F3,C2 F3,C2 F3,C2 F3,C2 F3,C2 F3,C2 F3,C2 F3,C2 F3,C2
C1A C1A
C
TFB1 F3,C2 TFB1
FW1,SW1 FW2,SW2

ของการผสมปูนซี เมนต์ปอร์ ตแลนด์โดยตรงกับนํ้า ก็จะ D


F2,C1
FW1,SW1
(HIGH ZONE)

FW1A,SW2
F3,C2 F3,C2 F3,C2 F3,C2 F3,C2 F3,C2
(HIGH ZONE)

FW1,SW1 FW1A,SW2
F3,C2 F3,C2 F3,C2 F3,C2 F3,C2 F3,C2 F2,C1

เกิดปฏิกิริยาปอซโซลานิ ค (Pozzolanic Reaction) ปฏิกิริยา 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16

ดังกล่าวนี้ ทาํ ให้เกิด Calcium Silicate Hydrate (CSH) หรื อ


Calcium Aluminate Hydrate (CAH) เพิ่มเติมจากปฏิกิริยาที่ รู ปที่ 1 แผนผังบริ เวณก่อสร้าง และแนวเสาเข็มดินซี เมนต์
เกิดจากซี เมนต์โดยตรง ซึ่ งสาร CSH และ CAH ที่ได้จากทั้ง อาคารจอดรถอิมแพ็ค อารี น่า เมืองทองธานี
ปฏิกิริยาไฮเดรชัน่ และปอซโซลานิ คมีคุณสมบัติเป็ นตัวเกาะ
EL +0.00
ยึด ให้ม วลดิ น รวมตัว เข้า ด้ว ยกัน [5-6] ภายหลัง การผสม Fill Medium Stiff Clay
EL -1.50
มวลดิ นมี คุ ณ ภาพที่ ดี ข้ ึ น จะรวมตัว ก่ อ รู ป ทรงกระบอกใน
ลักษณะเหมือนเสาเข็มขนาดใหญ่ที่มีความแข็งแรงสูง
การออกแบบก่อสร้างเสาเข็มดินซี เมนต์ดว้ ยวิธีน้ ี ปัจจุบนั Very Soft Clay Light
EL - 5.50

Brown.
ยัง ไม่ มี ข ้อ กํา หนดมาตรฐานที่ แ น่ ชั ด อัต ราส่ ว นนํ้ าต่ อ Soil cement column dia.
0.60 m
ปู น ซี เ มนต์ ที่ ใ ช้ ระยะเวลาการก่ อ ตัว อัต ราส่ ว นความ from existing ground level
1 row
c to c 0.40 m tip at level
ปลอดภัย ของเสาเข็ม ดิ น ในแต่ ล ะสถานที่ ก่ อ สร้ า งจํา เป็ น EL -11.00
-14.50 m

จะต้องใช้ขอ้ มูลดินเฉพาะที่มาจากแต่ละสถานที่ก่อสร้างมา Very Soft Clay


Brownish grey.
ทําการทดสอบในห้องปฏิ บตั ิการเพื่อให้ได้อตั ราส่ วนผสม EL -15.00
EL -14.50

และกํา ลัง รั บ แรงอัด ของเสาเข็ ม ดิ น ซี เ มนต์ ที่ ต ้อ งการ รู ปที่ 2 รู ปตัดตามขวางของเสาเข็มดินซี เมนต์ อาคารจอด
โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อความยาวเสาเข็มดินซี เมนต์ที่ใช้มีค่า รถอิมแพ็ค อารี น่า เมืองทองธานี
เกินกว่า 10 เมตร ดังนั้นการศึกษานี้ นาํ เสนอตัวอย่างกรณี
วิธีการวิเคราะห์และออกแบบความแข็งแรงของเสาเข็มดิน 2. สมบัตแิ ละการทดสอบทางวิศวกรรมของวัสดุผสม
ซี เมนต์ในงานก่อสร้ างระบบกําแพงกันดิ นของอาคารจอด
ดิน-ซีเมนต์
รถอิมแพ็ค อารี น่า เมืองทองธานี (รู ปที่ 1 และ 2) ซึ่ งความ
ปั จจัยในการผสมดิน-ซี เมนต์ที่มีผลต่อกําลังของดิน แบ่ง
ลึ กสู งสุ ดของเสาเข็มดิ นซี เมนต์อยู่ในช่ วง 13 ถึ ง 17 เมตร
ออกเป็ นหมวดใหญ่ 2 หมวด คือ 1 คุณสมบัติของวัสดุผสม
การศึ กษาเริ่ มจากการเจาะสํารวจดิ น และเก็บ ตัวอย่างดิ น
ได้แก่ ชนิ ดและคุณภาพของวัสดุผสม นํ้าและสารผสมเพิ่ม

10
วิศวกรรมสารฉบับวิจยั และพัฒนา ปี ที่ 23 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2555 RESEARCH AND DEVELOPMENT JOURNAL VOLUME 23 NO.2, 2012

2 คุ ณสมบัติและสภาพของดิ นที่ จะผสม ได้แก่ คุณสมบัติ ความสามารถในการรับนํ้าหนักบรรทุกของเสาเข็มดินเป็ น


ทางกายภาพและเคมีของดิน ปริ มาณอินทรี ยส์ าร ความเป็ น หลัก วิธีการ แนวทางในการทดสอบสมบัติทางวิศวกรรม
กรด ด่าง ปริ มาณนํ้าในดิ นตลอดจนกําลังรั บแรงเฉื อนของ ของวัสดุผสมดินซี เมนต์ ของการศึกษาที่ผา่ นมาจะได้ใช้เป็ น
ดิน 3 การผสมดินกับวัสดุผสม ได้แก่อตั ราการผสม อัตรา ค่าแนะนําตั้งต้นเพื่อหากําลังอัดและออกแบบของเสาเข็มดิน
การกดหรื อถอนใบพัดขณะผสมดิน ระยะเวลาในการผสม ซี เมนต์ต่อไป
หรื อความเร็ ว รอบการหมุ น ของใบพัด ในการผสมหรื อ
ความเร็ วรอบการหมุนของใบพัด และ 4.สภาพการบ่มของ 3 การเจาะดินและเก็บตัวอย่างดิน
ดิ นซี เมนต์ ได้แก่ อุณหภูมิที่บ่ม ระยะเวลาในการบ่ ม การเจาะเก็บตัวอย่างดิน บริ เวณพื้นที่อาคารจอดรถ อิม
ความชื้นในดิน แพ็ค อารี น่า เมืองทองธานี อําเภอปากเกร็ ด จังหวัดนนทบุรี
การศึ กษาที่ ผ่านมาพบว่าการใช้ปริ มาณของปูนซี เมนต์ ทําโดยการใช้สว่านเจาะจากหลุมเจาะจํานวน 1 หลุม โดยทํา
ร้อยละ 10– 15 ของนํ้าหนักดินจะให้กาํ ลังเสาเข็มดินซี เมนต์ การเก็บตัวอย่างดินทุกๆ 1 เมตร ตลอดความลึกยาว 15 เมตร
ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 50 – 60 เซนติเมตรดีที่สุด โดย โดยเริ่ มการเก็บตัวอย่างดินตั้งแต่ที่ระดับความลึก 2 เมตร
ปูนซี เมนต์ที่ใช้ผสมจะต้องมีไม่นอ้ ยกว่า 150 กิโลกรัมต่อดิน เป็ นต้นไป จํานวนทั้งหมด 14 ตัวอย่าง ตัวอย่างละประมาณ
1 ลูกบาศก์เมตรสําหรับกรณี การผสมแห้ง และไม่นอ้ ยกว่า 30 กิโลกรั ม ตัวอย่างดินที่ เก็บมามีลกั ษณะเป็ นดินที่เปลี่ยน
175 กิ โ ลกรั ม ต่ อ ลูกบาศก์เมตรสําหรั บ กรณี การผสมเปี ยก สภาพ ดังแสดงในรู ปที่ 3
เพื่อให้ได้กาํ ลังของเสาเข็มดินซี เมนต์ที่เท่ากัน นอกจากนี้
การกําหนดอัตราส่ วนนํ้าต่อปูนซี เมนต์ (w/c) ยังมีผลต่อ
กําลังรับแรงอัดแนวแกนและความหนาแน่นของเสาเข็มดิน
โดยพบว่าการผสมแบบแห้งที่ มี w/c=0 มี แนวโน้มให้ค่า
กําลังสู งสุ ด ส่ วนการผสมแบบแรงดันสู ง (Jet Grouting) ค่า
กําลังอัดและการก่อตัวของเสาเข็มดินจะดีที่สุดเมื่อค่า w/c =1
ซึ่ งก่อนการใช้จะต้องทําการทดสอบหาค่าระยะการก่อและ
การแข็งตัวที่เหมาะสมของปูนซี เมนต์ ทั้งนี้ เพื่อให้ทราบถึง
สมบัติของเสาเข็มดินรวมถึงอัตราส่ วนความปลอดภัยก่อน
นําไปใช้งาน โดยปกติระยะเวลาก่อตัวของปูนซี เมนต์ จะ
แบ่งออกเป็ น 2 ระยะคือ การก่อตัวระยะต้น (Initial Setting รู ปที่ 3 การเจาะและเก็บตัวอย่างดิน ณ สถานที่ก่อสร้าง
Time) คือ เวลานับจากเริ่ มผสมปูนซี เมนต์กบั นํ้าจนกระทัง่
ซี เมนต์เพสต์เริ่ มรับนํ้าหนักของเข็มมาตรฐานไวแคตได้โดย 4 การทดสอบตัวอย่างดินในห้ องปฏิบัตกิ าร
เข็มไม่จมลงในซี เมนต์เพสต์เกิน 25 มิลลิเมตร ในเวลา การทดสอบตัวอย่างดิ นในห้อ งปฏิ บ ัติการเป็ นไปตาม
30 วินาที และ การก่อตัวระยะปลาย (Final Setting Time) มาตราฐาน ASTM [9-11] ประกอบด้วยการทดสอบหา
คือเวลาจากเริ่ มผสมปูนซี เมนต์กบั นํ้าจนกระทัง่ ซี เมนต์เพสต์ ปริ มาณนํ้ าในมวลดิ น ความถ่ ว งจํา เพาะของเม็ ด ดิ น
เริ่ มรับนํ้าหนักได้บา้ ง [7-8] ขีดจํากัดความเหลว (Liquid Limit , L.L.) ขีดจํากัดพลาสติก
กรณี การออกแบบวิเคราะห์ความแข็งแรงของเสาเข็มดิน (Plastic Limit , P.L.) และการทดสอบรับแรงอัดแบบไม่ถูก
ซี เมนต์ในงานเสริ มความแข็งแรงของระบบกําแพงกันดิ น จํากัด (Unconfined Compression Test , qu)
ของอาคารจอดรถอิ มแพ็ค อารี น่า เมื องทองธานี นี้ จะได้ เมื่อนําตัวอย่างดินมาทําการทดสอบหาปริ มาณนํ้าในมวลดิน
คํานึ งปริ มาณซี เมนต์ รวมถึ งระยะเวลาการก่อตัวที่ มีผลต่อ L.L P.L. และ su ตามค่าความลึกต่างๆ ผลการทดสอบเป็ น

11
วิศวกรรมสารฉบับวิจยั และพัฒนา ปี ที่ 23 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2555 RESEARCH AND DEVELOPMENT JOURNAL VOLUME 23 NO.2, 2012

ดัง แสดงในรู ป ที่ 4 จากการพิ จ ารณาผลในรู ป ที่ 4 นี้ เอง


แสดงให้เห็นว่าชั้นดินบริ เวณที่ทาํ การก่อสร้างประกอบด้วย
ชั้น ดิ น 2 ชั้น คื อ ความลึ ก ที่ 2 ถึ ง 11 เมตร ดิ น มี ป ริ ม าณ
ความชื้นเฉลี่ยร้อยละ 58.72 เป็ นชั้นดินเหนี ยวอ่อนมาก สี
นํ้าตาลอ่อน (Very Soft Clay Light Brown) และที่ความ
ลึก 11 ถึง 15 เมตร ดินมีปริ มาณความชื้นเฉลี่ยร้อยละ 56.04
เป็ นชั้นดินเหนี ยวอ่อนมาก สี เทาปนนํ้าตาล (Very Soft Clay
Brownish Grey) และสภาพของดินเป็ นของเหลว
Water content % Undrained shear strength kg/cm2
0.00 0 20 40 60 80 100 0 0.05 0.10 0.15 0.20 0.25 รู ปที่ 5 ความสัมพันธ์ระหว่างค่ากําลังอัดแบบไม่ถูกจํากัด
Fill Medium Stiff Clay 1.0 1.0
1.50
กับ อายุการบ่มของดินตัวอย่างลึก 15 เมตร

5.0 5.0
Depth m

Depth m

Very Soft Clay Light


Brown.

10.0 10.0
11.00

Very Soft Clay


Brownish grey.
15.00 15.0 15.0
Natural water content
Liquid Limit
Plastic Limit

รู ปที่ 6 ค่าการทดสอบแรงอัดแบบไม่ถกู จํากัดเมื่อผสมปูนซี


รู ปที่ 4 ปริ มาณความชื้นและค่ากําลังรับแรงเฉื อนในดิน เมนต์ ณ อัตราส่ วนผสมปูนซี เมนต์ต่างๆที่อายุการบ่ม 28 วัน
บริ เวณพื้นที่อาคารจอดรถ อิมแพ็ค อารี น่า เมืองทองธานี
เมื่ อ นํา ตัว อย่า งดิ น มาผสมกับ ปู น ซี เ มนต์ป อรต์แ ลนด์
เมื่ อ นํา ตัว อย่า งดิ น มาผสมกับ ปู น ซี เ มนต์ป อรต์แ ลนด์ ประเภทที่ 1 ในสัดส่ วนปริ มาณปูนซี เมนต์ 180 200 และ
ประเภทที่ 1 ในสัดส่ วนปริ มาณปูนซี เมนต์ 180 200 และ 220 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร อัตราส่ วนการผสมนํ้าต่อ
220 กิโลกรัมต่อดิน 1 ลูกบาศก์เมตร ที่อตั ราส่ วนการผสมนํ้า ปูนซี เมนต์ 1 ต่อ 1 ที่ความลึกต่างๆ และทําการทดสอบค่า
ต่อปูนซี เมนต์ปอรต์แลนด์ประเภทที่ 1 (w/c) เท่ากับ 1 ที่ การก่อตัวระยะต้น (Initial Setting Time) ผลการทดสอบ
ความลึ ก ต่ า งๆ และทํา การทดสอบค่ า กํา ลัง อัด แบบไม่ ถูก ในรู ปที่ 7 พบว่าระยะเวลาการก่อตัวเริ่ มต้น (Initial Setting
จํากัด (Unconfined Compression Test, UCS) ที่อายุการบ่ม Time) ของดินซี เมนต์ ที่ได้จากการวัดการจมตัวของเข็มไว
7 14 และ 28 วัน ผลการทดสอบเป็ นดังแสดงในรู ปที่ 5 แคตในแต่ละส่ วนผสมมีค่าตํ่าที่สุดที่ 25 26 และ 21 นาที
และ 6 ตามลําดับโดยมีค่าเฉลี่ยสะสมอยูท่ ี่ 30 นาที ซึ่ งค่าการก่อตัว
ที่ ใ กล้เ คี ย งและไม่ แ ตกต่ า งกัน มากนัก ก็เ ป็ นเพราะการใช้
อัตราส่ วนการผสมนํ้าต่อปูนซี เมนต์ 1 ต่อ 1 นัน่ เอง

12
วิศวกรรมสารฉบับวิจยั และพัฒนา ปี ที่ 23 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2555 RESEARCH AND DEVELOPMENT JOURNAL VOLUME 23 NO.2, 2012

กรณี ใช้ขนาดของเสาเข็มดิ นซี เมนต์เส้นผ่านศูนย์กลาง


60 เซนติเมตร ค่าหน่วยแรงอัดแนวแกนที่เกิดขึ้นในเสาเข็ม
เท่ากับ 2.099 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร เมื่อเทียบกับ
ค่าที่ได้จากการทดสอบในห้องปฏิบตั ิการจะใช้สัดส่ วนผสม
ปูนซี เมนต์ที่ 180 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ทุกค่าความลึก
มีค่าแรงอัดแบบไม่ถูกจํากัดที่ต่าํ สุ ดเท่ากับ 5.43 กิโลกรัมต่อ
ตารางเซนติเมตร ที่อายุการบ่ม 28 วัน มีค่ามากกว่า 2.099
กิ โ ลกรั ม ต่ อ ตารางเซนติ เ มตร และมี อ ัต ราส่ ว นความ
ปลอดภัยเท่ากับ 2.59
รู ปที่ 7 ค่าระยะเวลาการก่อตัวเริ่ มต้น ณ อัตราส่ วนผสม สําหรั บขนาดของเสาเข็มดิ นซี เมนต์เส้นผ่านศูนย์กลาง
ปูนซี เมนต์ต่างๆ 80 เซนติเมตร จะได้ค่าหน่วยแรงอัดที่เกิดขึ้นในเสาเข็ม
1.18 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร เมื่อเทียบกับค่าที่ได้จาก
5 การวิเคราะห์ ขนาดเสาเข็มดินซีเมนต์ ระบบกําแพงกันดิน การทดสอบในห้องปฏิบตั ิการจะใช้สัดส่ วนผสมปูนซี เมนต์
ผลการทดสอบสมบัติดินในห้องปฏิบตั ิการถูกนํามาใช้ ที่ 180 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ทุกค่าความลึก มีค่า
ในการวิเคราะห์ หาขนาดเสาเข็มดินซี เมนต์ระบบกําแพงกัน แรงอัดแบบไม่ถูกจํากัดที่ต่าํ สุ ดเท่ากับ 5.43 กิโลกรัมต่อ
ดิน การคํานวณใช้แบบจําลองพิจารณากรณี เป็ นเสาเข็มปลาย ตารางเซนติเมตร ที่อายุการบ่ม 28 วัน มีค่ามากกว่า 1.18
ยื่นเมื่ อตอกในชั้นดิ นเหนี ยว (Cantilever sheet piling กิ โ ลกรั ม ต่ อ ตารางเซนติ เ มตร และมี อ ัต ราส่ ว นความ
penetration clay) รับนํ้าหนักบรรทุกตามข้อกําหนด ปลอดภัยเท่ากับ 4.60
ออกแบบ การคํานวณใช้สมดุลของแรง 3 สมการ คือ ผลรวม สําหรั บขนาดของเสาเข็มดิ นซี เมนต์เส้นผ่านศูนย์กลาง
แรงในแนวดิ่ง (  V ), ผลรวมแรงในแนวราบ (  H ) และ 100 เซนติเมตร จะได้ค่าหน่วยแรงอัดที่เกิดขึ้นในเสาเข็ม
ผลรวมของโมเมนต์ (  M )มีค่าเท่ากับศูนย์ (  V =  H 0.75 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร เมื่อเทียบกับค่าที่ได้จาก
=  M=0 ) [12-13] การทดสอบในห้องปฏิบตั ิการจะใช้สัดส่ วนผสมปูนซี เมนต์
เนื่องจากลักษณะของชั้นดินที่ดนั กําแพงกันด้านข้างแบ่ง ที่ 180 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ทุกค่าความลึก มีค่า
ได้ออกเป็ น 2 ชั้น คือชั้นที่ 1 หนา 11 เมตร มีค่าหน่ วย แรงอัดแบบไม่ถูกจํากัดที่ ต่าํ สุ ดเท่ากับ 5.43 กิโลกรัมต่อ
นํ้าหนักของดินชื้น ( Wet unit weight , m ) 2.48 กรัมต่อ ตารางเซนติเมตร ที่อายุการบ่ม 28 วัน มีค่ามากกว่า 0.75
ลูกบาศก์เซนติ เมตร และ ค่าแรงยึดเหนี่ ยวระหว่างเม็ดดิ น กิ โ ลกรั ม ต่ อ ตารางเซนติ เ มตร และมี อ ัต ราส่ ว นความ
( Cohesion , c ) 0.078 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร ดินชั้น ปลอดภัยเท่ากับ 7.20
ที่ 2 หนา 4 เมตร มีค่าหน่วยนํ้าหนักของดินชื้น (Wet unit
weight, m ) 2.66 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร และ ค่าแรง 6. สรุป
ยึดเหนี่ ยวระหว่างเม็ดดิน (Cohesion, c) 0.098 กิโลกรัมต่อ การออกแบบก่อสร้างเสาเข็มดินซี เมนต์ดว้ ยวิธีน้ ี ปัจจุบนั
ตารางเซนติเมตร การวิ เ คราะห์ เ สถี ย รภาพเสาเข็ ม ดิ น ยัง ไม่ มี ข ้อ กํา หนดมาตรฐานที่ แ น่ ชั ด อัต ราส่ ว นนํ้ าต่ อ
ซี เ มนต์เ มื่ อ กํา หนดให้ ร ะยะความลึ ก การขุ ด เปิ ดหน้า ดิ น ปู น ซี เ มนต์ ที่ ใ ช้ ระยะเวลาการก่ อ ตัว อัต ราส่ ว นความ
สูงสุ ด 5.5 เมตร จะได้ความยาวเสาเข็มดินซี เมนต์ที่ใช้เท่ากับ ปลอดภัย ของเสาเข็ม ดิ น ในแต่ ล ะสถานที่ ก่ อ สร้ า งจํา เป็ น
14.5 เมตร โดยขนาดเสาเข็ม ดิ นซี เมนต์ที่ อ อกแบบให้ จะต้องใช้ขอ้ มูลดินเฉพาะที่มาจากแต่ละสถานที่ก่อสร้างมา
สามารถเลือกใช้ได้มีเส้นผ่านศูนย์กลางขนาด 60 80 และ ทําการทดสอบในห้องปฏิ บตั ิการเพื่อให้ได้อตั ราส่ วนผสม
100 เซนติเมตร ตามลําดับ และกํา ลัง รั บ แรงอัด ของเสาเข็ ม ดิ น ซี เ มนต์ ที่ ต ้อ งการ

13
วิศวกรรมสารฉบับวิจยั และพัฒนา ปี ที่ 23 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2555 RESEARCH AND DEVELOPMENT JOURNAL VOLUME 23 NO.2, 2012

การศึกษาได้แสดงขั้นตอนรวมถึงวิธีการวิเคราะห์และการ 155.
ออกแบบดังกล่าวเพื่อหาขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเสาเข็มดิน [5] Mehta, P.K. and Monteiro, P.J.M. (1993) Concrete
บริ เวณการก่อสร้างกําแพงกันดินอาคารจอดรถ อิมแพ็ค อารี Structure, Properties, and Materials, Prentice-Hall, Inc.,
น่า เมืองทองธานี ที่สามารถต้านทานต่อแรงดันดินด้านข้าง Englewood Cliffs, NJ.
ได้ป ลอดภัย ผลการวิเ คราะห์ แ สดงให้เ ห็ น ว่า เสาเข็ม ดิ น [6] Joel Manasseh and Agbede I. Olufemi (2008), Effect of
ซี เมนต์ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 60 เซนติเมตร สามารถ Lime on some geotechnical properties of Igumale Shale,
ก่อสร้างที่อตั ราส่ วนผสมปูนซี เมนต์ 180 กิโลกรัมต่อดิน 1 EJGE, Volume 13, Bundle A.
ลูกบาศก์เมตร บ่มเป็ นระยะเวลา 30 นาที และจะมีค่าหน่วย [7] Lin, K.Q. and Wong, I.H. (1999). “Use of deep cement
แรงอัดที่ สามารถรั บได้เท่ากับ 5.43 กิ โลกรั มต่อตาราง mixing to reduce settlements at bridge approaches”,
เซนติเมตร ซึ่ งเมื่อเทียบกับหน่ยวแรงอัดที่เกิดขึ้นจริ งเท่ากับ Journal of Geotechnical and Geoenvironmental
2.099 กิ โ ลกรั ม ต่ อ ตารางเซนติ เ มตร อัต ราส่ ว นความ Engineering, ASCE, Vol. 125, No. 4, 309-320.
ปลอดภัย เท่ากับ 2.59 [8] Nicholson, P.J., Mitchell, J.K., Bahner, E.W. and
Moriwaki, Y. (1998). “Design of composite gravity wall
กิตติกรรมประกาศ constructed by soil mixing”, Soil Improvement for Big
คณะผู้เ ขี ย นขอขอบพระคุ ณ บริ ษั ท ซี ฟโก้ จํ า กั ด Digs, Geotechnical Special Publication, ASCE, No. 81,
(มหาชน) ที่ ให้ความอนุ เคราะห์ ในการเจาะสํารวจดิ นและ Boston, MA, October, 27-40.
เก็บ ตัวอย่างดิ น ขอขอบคุ ณ นายฐิ ตวันต์ กระจ่ างสุ วรรณ [9] American Society for Testing and Materials (ASTM)
นายบุญทวี เชื้ออ่อน นางสาวสุ ภาภรณ์ สิ งนา และนางสาว Standard.
อรวสา กอบเกียรติถวิล รวมทั้งมหาวิทยาลัยมหิ ดลที่ได้เข้า [10] Lamb, T.W. (1967) Soil Testing for Engineers, John
ร่ วมเก็บข้อมูลภาคสนามและสนับสนุนการศึกษาในครั้งนี้ Wiley & Sons, Inc., New York
[11] มณเฑียร กังศศิเทียม.(2538).วิศวกรรมฐานราก.(พิมพ์
เอกสารอ้ างอิง ครั้ งที่ 6).กรุ ง เทพมหานคร:สมาคมศิ ษ ย์เก่ าวิศ วกรรม
[1] วิศวกรรมสถานแห่ งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ ชลประทานในพระบรมราชูปถัมภ์
(2549). ข้อมูลสภาพดินบริ เวณลุ่มแม่น้ าํ เจ้าพระยาตอนล่าง . [12] ปิ ยะ รัตนสุ วรรณ.(2552).วิศวกรรมฐานราก.(พิมพ์ครั้ง
กรุ งเทพมหานคร ที่ 1).กรุ ง เทพมหานคร:ภาควิ ช าวิ ศ วกรรมโยธาและ
[2] Liver Norman L et al (1954). “Development and สิ่ งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิ ดล
Applications of Intrusion Grout Mixed-in-Place Piles”, [13] เกษม เพชรเกตุ. (2549).การวิเคราะห์และออกแบบ
Civil Engineering, March 1954, 56-57 เสาเข็มดินซี เมนต์.กรุ งเทพมหานคร: ศูนย์วิจยั และพัฒนา
[3] Ground Improvement Technical Summaries (1998). วิศวกรรมปฐพีและฐานราก มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Federal Highway Administration, U.S. Department of
Transportation, Working Draft, No. FHWA-SA-98-086,
Vol. II., in press.
[4] Bergado, D.T., Ahmed, S., Sampaco, C.L. and
Balasubramaniam, A.S. (1990). “Settlement of Bangna
Bangpakong Highway on Soft Bangkok clay”, Journal of
Geotechnical Engineering, ASCE, Vol. 116, No. 1, 136

14

You might also like