You are on page 1of 2

ธรรมศึกษาชัน

้ ตรี ระดับอุดมศึกษา (ธศ ๓๑๑)

๑. อัปปมาทวรรค คือ หมวดไม่ประมาท

๑. อปฺปมาทํ ปสํสนฺติ. บัณฑิตย่อมสรรเสริญความไม่ประมาท. สํ.


ส. ๑๕/๑๒๖., องฺ. ปญฺจก. ๒๒/๕๓., ขุ. ธ. ๒๕/๑๙., ขุ. อิติ.
๒๔/๒๔๒.

๒. อปฺปมตฺตา น มียนฺติ. ผู้ไม่ประมาทย่อมไม่ตาย. ขุ. ธ. ๒๕/๑๘.,


ขุ. ชา. ตึส. ๒๗/๕๒๔.

๓. อปฺปมาเทน สมฺปาเทถ. ท่านทัง้ หลายจงยังความไม่ประมาทให้


ถึงพร้อม. ที. มหา. ๑๐/๑๘๐., สํ. ส. ๑๕/๒๓๑.

๒. จิตตวรรค คือ หมวดจิต

๔. จิตฺเต สงฺกิลิฏฺเฐ ทุคฺคติ ปาฏิกงฺขา. เมื่อจิตเศร้าหมองแล้ว ทุคติ


เป็ นอันต้อง หวัง. ม. มู. ๑๒/๖๔.

๕. จิตฺเต อสงฺกิลิฏฺเฐ สุคติ ปาฏิกงฺขา. เมื่อจิตไม่เศร้าหมองแล้ว


สุคติเป็ นอันต้องหวัง. ม. มู. ๑๒/๖๔.

๖. จิตฺตํ ทนฺตํ สุขาวหํ. จิตที่ฝึกแล้ว นําสุขมาให้. ขุ. ธ. ๒๕/๑๙.

๗. จิตฺตํ รกฺเขถ เมธาวี. ผู้มีปัญญาพึงรักษาจิต. ขุ. ธ. ๒๕/๑๙.


๓. สีลวรรค คือ หมวดศีล

๘. สีลํ โลเก อนุตฺตรํ. ศีลเป็ นเยีย


่ มในโลก. ขุ. ชา. เอก. ๒๗/๒๘.

๙. สีลํ รกฺเขยฺย เมธาวี. ปราชญ์พึงรักษาศีล. ขุ. อิติ. ๒๕/๒๘๒.

๑๐. สํวาเสน สีลํ เวทิตพฺพํ. ศีลพึงรู้ได้เพราะอยู่ร่วมกัน. นัย- ขุ. อุ.


๒๕/๑๗๘.

You might also like