You are on page 1of 48

บทที่ 2 สมการกําลังสองตัวแปรเดียว

แนะนําสมการกําลังสองตัวแปรเดียว

นักเรียนเคยทราบมาแลววาพหุนาม เชน 4x2 , x2 , x2 – 5 , 3x2 + x และ x2 - 4x + 1 เปนพหุนาม


ดีกรีสองที่มีตัวแปรเดียว คือ x พหุนามดังกลาวมีรูปทั่วไปเปน ax2 + bx + c เมื่อ a, b และ c เปนคาคง
ตัว โดยที่ a ≠ 0 เราจะไดเห็นการนําพหุนามดังกลาวมาใชในสมการกําลังสองตัวแปรเดียว
ตัวอยางของสมการกําลังสองตัวแปรเดียว
1. 4 x 2 = 0
2. x 2 − 3 = 0
3. 2 x 2 + 4 x = 0
4. 3x 2 − 3x + 1 =0
y
5. y 2
− −2=0 เปนตน
6
สมการกําลังสองตัวแปรเดียว มีรูปทั่วไปเปน ax2 + bx + c = 0 เมื่อ x เปนตัวแปร
a, b และ c เปนคาคงตัว โดยที่ a ≠ 0

ในบางครัง้ เราอาจพบสมการกําลังสองตัวแปรเดียวที่ไมไดเขียนอยูในรูปทั่วไป แตเราสามารถ


เขียนสมการเหลานั้นในรูปทั่วไปได ดังตัวอยางตอไปนี้

1. x3 − 5 =3x

2 y ( 2 y − 3) =−5
2.

3. 4a 2 − 2a =
−2a 2 + 4a − 6
ตัวอยาง จงเขียนสมการกําลังสองตอไปนี้ใหอยูในรูปทั่วไป ax 2 + bx + c =0 เมื่อ x เปนตัวแปร
a , b และ c เปนคาคงตัว โดยที่ a ≠ 0 พรอมทั้งบอกคา a , b และ c ในแตละสมการ

1. 2 x3 + 5 =−3x 2. a 2 = −3a
3. (
x − 1) =
2
2
4. −3n − 3n 2 + 3 =5n
4 x ( −2 x + 3) − 5 =2x
5. 6. 3a − 2a 2 + 4 =−5a 2 − 4a + 6
การแกสมการกําลังสองตัวแปรเดียวโดยการแทนคา

สมการกําลังสองตัวแปรเดียว มีรูปทั่วไปเปน ax2 + bx + c = 0 เมื่อ x เปนตัวแปร


a, b และ c เปนคาคงตัว โดยที่ a ≠ 0

คําตอบของสมการ คือ จํานวนจริงที่แทนตัวแปรในสมการแลวทําใหไดสมการที่เปนจริง

ใหนักเรียนพิจารณาการหาคําตอบของสมการกําลังสองตัวแปรเดียว โดยวิธีลองแทนคาตัวแปรใน
สมการ ดังตัวอยางตอไปนี้
ตัวอยางที่ 1 x 2
− 4x =
0
วิธีทํา เมื่อแทน x ดวย 0 ในสมการ x2 − 4 x =
0

( 0) − 4 ( 0) =
2
จะได 0
0=0 ซึ่งเปนสมการที่เปนจริง

ดังนั้น 0 เปนคําตอบของสมการ x 2
− 4x =
0
และเมื่อแทน x ดวย 4 ในสมการ x − 4 x =
2
0

( 4) − 4 ( 4) =
2
จะได 0
0=0 ซึ่งเปนสมการที่เปนจริง

ดังนั้น 4 เปนคําตอบของสมการ x 2
− 4x =
0 และเมื่อแทน x ดวย

จํานวนจริงอื่นๆที่ไมใช 0 และ 4 ในสมการ x 2


− 4x =
0 แลวจะไดสมการที่ไมเปนจริง
ดังนั้น คําตอบของสมการ x − 4 x =
2
0 มี 2 คําตอบ คือ 0 และ 4
ตัวอยางที่ 2 y 2
− 4y + 4 =0

วิธีทํา เมื่อแทน x ดวย 2 ในสมการ y2 − 4 y + 4 =0

จะได 22 − 4 ( 2 ) + 4 =0
0=0 ซึ่งเปนสมการที่เปนจริง

ดังนั้น 2 เปนคําตอบของสมการ y 2
− 4y + 4 =0

และเมื่อแทน y ดวยจํานวนจริงอืน่ ๆทีไ่ มใช 2 ในสมการ y 2


− 4y + 4 =0 แลวจะได
สมการที่ไมเปนจริง

ดังนั้น คําตอบของสมการ y 2
− 4y + 4 =0 มี 1 คําตอบ คือ 2
ตัวอยางที่ 3 x 2
+7 =0

วิธีทํา จากสมการ x2 + 7 =0

จะได x 2 = −7
เนื่องจาก จํานวนจริงใดๆ ยกกําลังสองแลว จะตองเปนจํานวนจริงบวก หรือศูนย
ดังนั้น ไมมีจํานวนจริงใดยกกําลังสองแลว ไดผลลัพธเปน -7
นั่นคือ ไมมีจํานวนจริงใดเปนคําตอบของสมการ x + 7 =
2
0
จากตัวอยางทั้งสามขางตน แสดงใหเห็นวา สมการกําลังสองตัวแปร
เดียวอาจมี 2 คําตอบ หรือ 1 คําตอบ หรืออาจไมมีจํานวนจริงใดเปน
คําตอบก็ได ในทางคณิตศาสตร สมการกําลังสองตัวแปรเดียวมีคําตอบได
ไมเกิน 2 คําตอบ
การแกสมการกําลังสองตัวแปรเดียวโดยการแยกตัวประกอบ

การแกสมการกําลังสองตัวแปรเดียว มีรูปทั่วไปเปน ax2 + bx + c = 0 เมื่อ x เปนตัวแปร


a, b และ c เปนคาคงตัว โดยที่ a ≠ 0 ดวยวิธีลองแทนคานั้น ในทางปฏิบัติ อาจทําไมได หรืออาจไมสะดวก
และตองใชเวลามาก
ในกรณีที่เราสามารถแยกตัวประกอบของ ax2 + bx + c ใหอยูในรูปการคูณกันของพหุนามดีกรีหนึ่ง
2 พหุนาม และเนื่องจากในที่นี้พหุนามแทนจํานวน เราจึงใชสมบัติของจํานวนจริงที่วา ถา m และ n เปน
จํานวนจริง และ mn=0 แลว m=0 หรือ n=0 มาใชในการแกสมการดวย ก็จะทําใหแกสมการกําลังสองตัว
แปรเดียวไดสะดวกขึ้น
การแกสมการกําลังสอง โดยการดึงตัวรวม

ตัวอยางที่ 1 จงแกสมการ x = 5 x
2

วิธีทํา x2 = 5x
ตัวอยางที่ 2 จงแกสมการ 2 ( x 2
− x) =
5x

วิธีทํา 2 ( x2 − x ) =
5x
การแกสมการกําลังสอง โดยใชสูตรผลตางกําลังสอง

ตัวอยางที่ 3 จงแกสมการ 4 x − 9 =
2
0

วิธีทํา 4 x2 − 9 =0
ตัวอยางที่ 4 จงแกสมการ ( 3 x + 2 ) =( x − 1)
2 2

( 3x + 2 ) =( x − 1)
2 2
วิธีทํา
ตัวอยางที่ 5 จงแกสมการ ( x − 2 ) =
2
60

( x − 2) =
2
วิธีทํา 60
การแกสมการกําลังสอง โดยใชสูตรกําลังสองสมบูรณ

ตัวอยางที่ 6 จงแกสมการ x − 4 x + 4 =
2
0

วิธีทํา x2 − 4 x + 4 =0
ตัวอยางที่ 7 จงแกสมการ 4 x 2
− 8x + 4 =0

วิธีทํา 4 x2 − 8x + 4 =0
การแกสมการกําลังสองตัวแปรเดียว มีรูปทั่วไปเปน ax2 + bx + c = 0 เมื่อ x เปนตัวแปร a,
b และ c เปนคาคงตัว โดยที่ a ≠ 0 โดยการแยกตัวประกอบพหุนามใหอยูในรูปการคูณกันของพหุนามดีกรี
หนึ่งสองพหุนาม

ตัวอยางที่ 8 จงแกสมการ x + 5 x + 6 =
2
0

วิธีทํา x2 + 5x + 6 =0
ตัวอยางที่ 9 จงแกสมการ 2 x 2
− 5x − 3 =0

วิธีทํา 2 x2 − 5x − 3 =0
ตัวอยางที่ 10 จงแกสมการ 4 x 2
+ 25 =
15 x

วิธีทํา 4 x 2 + 25 =
15 x
ตัวอยางที่ 11 จงแกสมการ 0.25 x 2
− 0.5 x =
0

วิธีทํา 0.25 x 2 − 0.5 x =


0
ตัวอยางที่ 12 จงแกสมการ −0.5 z 2
+ z − 0.5 =0

วิธีทํา −0.5 z 2 + z − 0.5 =0


7 3
2
−2 x + x − =0
ตัวอยางที่ 13 จงแกสมการ 2 2

7 3
−2 x + x − =
2
0
วิธีทํา 2 2
การแกสมการกําลังสองตัวแปรเดียวโดยใชสูตร

การแกสมการกําลังสองตัวแปรเดียว มีรูปทั่วไปเปน ax2 + bx + c = 0 เมื่อ x เปนตัว


แปร a, b และ c เปนคาคงตัว โดยที่ a ≠ 0 มีการหาคําตอบของสมการโดยใชสูตร ดังนี้

−𝒃 ± √𝒃𝟐 − 𝟒𝟒𝟒
𝒙=
𝟐𝟐
ซึ่ง 1. ถา 𝑏 2 − 4𝑎𝑎 > 0 สมการจะมี 2 คําตอบ
2. ถา 𝑏 2 − 4𝑎𝑎 = 0 สมการจะมี 1 คําตอบ
3. ถา 𝑏 2 − 4𝑎𝑎 < 0 สมการจะไมมีจํานวนจริงใดเปนคําตอบของสมการ
ตัวอยางที1่ จงพิจารณาสมการกําลังสองตอไปนี้วามีคําตอบหรือไม ถามี มีกี่คําตอบ
1. 2 x 2
− 8x + 3 =0

2. 5 x=2
2x −1
1 2
x +x=5
3. 2

4. 4 x + 68 x + 289 =
2
0
5. 16 x 2
− 8x + 1 =0

6. 5 ( x + 1) =
2
25
ตัวอยางที่ 2 จงหาคา k ที่ทําใหสมการ 9 x 2
+ kx + 4 =0 นี้มีคําตอบเพียงคําตอบเดียว
วิธีทํา 9 x 2 + kx + 4 =0
ตัวอยางที่ 3 จงหาคา k ที่ทําใหสมการ x 2
+ ( k + 6 ) x + 8k =
0 นีม้ ีคําตอบเพียงคําตอบเดียว

วิธีทํา x 2 + ( k + 6 ) x + 8k =
0
ตัวอยางที่ 4 จงแกสมการ x 2
+ 4x −1 =0 โดยใชสูตร

วิธีทํา x2 + 4x −1 =0
ตัวอยางที่ 5 จงแกสมการ 3 x 2
+ 7 x −1 =0 โดยใชสูตร

วิธีทํา 3x 2 + 7 x − 1 =0
ตัวอยางที่ 1 จงแกสมการ x 2
+ 4 x + 13 =
0

วิธีทํา x 2 + 4 x + 13 =
0
ตัวอยางที่ 2 จงแกสมการ 16 x 2
+ 24 x + 9 =0

วิธีทํา 16 x 2 + 24 x + 9 =0
ตัวอยางที่ 3 จงแกสมการ 2 x=2
3 x + 14

วิธีทํา 2 x=
2
3 x + 14
ตัวอยางที่ 4 จงแกสมการ 4 x 2
− 3 = 8x + 9

วิธีทํา 4 x2 − 3 = 8x + 9
ตัวอยางที่ 5 จงแกสมการ 2 x ( x − 3)= 4 (10 − x )

วิธีทํา 2 x ( x − 3)= 4 (10 − x )


1 116
ตัวอยางที่ 6 จงแกสมการ 5 (
2 x − 5) = −x
2

5
1 116
( 2 x − 5) = −x
2
วิธีทํา 5 5
ตัวอยางที่ 7 จากสมการ 2 x 2
− 7x + 4 =0 จงหาผลบวกและผลคูณของคําตอบของสมการ

วิธีทํา 2x2 − 7 x + 4 =0
สรุป การแกสมการกําลังสองตัวแปรเดียวโดยใชสูตร
2
การแกสมการกําลังสองตัวแปรเดียว มีรูปทั่วไปเปน ax + bx + c = 0 เมื่อ x เปนตัว
แปร a, b และ c เปนคาคงตัว โดยที่ a ≠ 0 มีการหาคําตอบของสมการโดยใชสูตร ดังนี้

−𝒃 ± √𝒃𝟐 − 𝟒𝟒𝟒
𝒙=
𝟐𝟐
ซึ่ง 1. ถา 𝑏 2 − 4𝑎𝑎 > 0 สมการจะมี 2 คําตอบ
2. ถา 𝑏 2 − 4𝑎𝑎 = 0 สมการจะมี 1 คําตอบ
3. ถา 𝑏 2 − 4𝑎𝑎 < 0 สมการจะไมมีจํานวนจริงใดเปนคําตอบของสมการ
การแกโจทยฺปญหาสมการกําลังสองตัวแปรเดียว

การแกโจทยปญหาเกี่ยวกับสมการกําลังสองตัวแปรเดียว เริ่มจาก
1. อานและวิเคราะหโจทย
2. กําหนดตัวแปร
3. วิเคราะหเงื่อนไขในโจทยและเขียนสมการ
4. แกสมการ
5. ตรวจสอบคําตอบของสมการตามเงื่อนไขในโจทย
6. แสดงคําตอบ
ตัวอยางที่ 1 ใหผลคูณของจํานวนคูจ ํานวนหนึ่งกับจํานวนคูอ ีกจํานวนหนึ่งที่อยูถัดไปเปน 168 จงหาจํานวน
คูทั้งสองจํานวนนัน้
วิธีทํา
ตัวอยางที่ 2 ถาผลบวกของจํานวนสองจํานวนเปน 20 และผลบวกของกําลังสองของแตละจํานวนเปน
272 จงหาจํานวนทั้งสอง
วิธีทํา
ตัวอยางที่ 3 ถาผลคูณของจํานวนคูส องจํานวนที่เรียงติดกันเทากับ 440 จงหาจํานวนคูท ั้งสองนัน้
วิธีทํา
ตัวอยางที่ 4 รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสรูปหนึง่ เมื่อเพิ่มความยาวของดาน ดานละ 4 ซม. รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสรูปใหมและ
รูปเดิมจะมีพื้นที่รวมกันเทากับ 346 ตร.ซม. จงหาความยาวดานของรูปเดิม
วิธีทํา
ตัวอยางที่ 5 สี่เหลี่ยมผืนผารูปหนึง่ ดานยาวยาวกวาดานกวาง 3 เซนติเมตร สี่เหลี่ยมผืนผารูปนี้มีพื้นที่ 40
ตารางเซนติเมตร จงหาวา ดานยาวของสี่เหลี่ยมผืนผารูปนี้ยาวกี่เซนติเมตร
วิธีทํา
ตัวอยางที่ 6 กําหนดสามเหลี่ยมมุมฉากรูปหนึ่งมีดานตรงขามมุมฉากยาว 2x − 3 หนวย ดานประกอบมุม
ฉากยาว x และ x + 3 จงหาพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมมุมฉากรูปนี้
วิธีทํา
สรุป การแกโจทยฺปญหาสมการกําลังสองตัวแปรเดียว

การแกโจทยปญหาเกี่ยวกับสมการกําลังสองตัวแปรเดียว เริ่มจาก
1. อานและวิเคราะหโจทย
2. กําหนดตัวแปร
3. วิเคราะหเงื่อนไขในโจทยและเขียนสมการ
4. แกสมการ
5. ตรวจสอบคําตอบของสมการตามเงื่อนไขในโจทย
6. แสดงคําตอบ

You might also like