You are on page 1of 22

Work Breakdown Structure

การวางแผนงานก่ อสร้ าง
Work Breakdown Structure
- เป็ นขั้นแรกของการวางแผนงานโครงการ (ไม่ ว่าจะเป็ นโครงการ
อะไรก็ตาม)
- จาก WBS จะนาไปสู่ การวางแผนระยะเวลา ค่ าใช้ จ่าย และ
คุณภาพงานได้ อย่ างชัดเจน
- เนื่องจากโครงการคือ งานหลายๆงานมาประกอบกัน ดังนั้นเราจึง
จัดทา WBS ขึน้ เพือ่ ไม่ ให้ มองข้ ามงานใดๆไป
Work Breakdown Structure
•เริ่มจากการแบ่ งประเภทของงานออกเป็ นหมวดหมู่ตามเนือ้ งานที่
จะต้ องทา
•การแบ่ งหมวดหมู่จะแบ่ งออกเป็ นลาดับขั้นเรื่อยๆ ตามลักษณะของ
งาน ถ้ ามีงานย่ อยก็สามารถแบ่ งออกไปได้ เรื่อย
•แต่ ไม่ ควรแบ่ งแยกย่ อยจนเกินไปจะทาให้ ยากเกินไปต่ อการ
ควบคุม
•หลักพืน้ ฐานคือการแบ่ งงานจนถึงงานทีม่ ลี กั ษณะเดียวกันและทา
ไปพร้ อมกัน
ตัวอย่ าง WBS
ตัวอย่ าง WBS
ตัวอย่ าง WBS
ตัวอย่ าง WBS ในงานก่อสร้ าง
00000 โครงการบ้ านพักอาศัย
10000 การเตรียมงาน
20000 งานโครงสร้ างใต้ ดิน
30000 งานโครงสร้ างชั้น 1
40000 งานโครงสร้ างหลังคา
50000 งานระบบ
ตัวอย่ าง WBS ในงานก่อสร้ าง
20000 งานโครงสร้ างใต้ ดิน
21000 งานขุดดิน
22000 งานฐานราก
23000 งานคานคอดิน
24000 งานถมดิน
ตัวอย่ าง WBS ในงานก่อสร้ าง
21000 งานขุดดิน
22000 งานฐานราก
22100 ไม้ แบบฐานราก
22200 ผูกเหล็กฐานราก
22300 คอนกรีตฐานราก
หากงานใดไม่ สามารถแบ่ งออกได้ อกี ก็ไม่ จาเป็ นต้ องแบ่ ง
หากงานใดแบ่ งออกได้ จึงแบ่ งลงไปอีก 1 ระดับ
ตัวอย่ าง WBS ในงานก่อสร้ าง
งานฐานรากโซน 1 งานฐานรากโซน 1
ไม้ แบบฐานรากโซน 1 ไม้ แบบฐานรากโซน 2
ผูกเหล็กฐานรากโซน 1 ผูกเหล็กฐานรากโซน 2
คอนกรีตฐานรากโซน 1 คอนกรีตฐานรากโซน 2
•บางครั้งหากงานหน้ ากว้ าง อาจต้ องแบ่ งออกเป็ นโซนในกรณีทที่ างาน
ไม่ พร้ อมกัน
•ไม่ มีกฎ หรือรูปแบบมาตรฐานตายตัว แบ่ งให้ เหมาะสมกับขนาด
โครงการ ไม่ มากไป (งานเอกสารเยอะ) และไม่ น้อยไป (ควบคุมงานได้
ไม่ ละเอียดพอ)
การให้ รหัสงาน WBS Coding
เช่น 10000
11000
12000
เช่น A10 - 33000
เช่น 12000-67-89000-56-B
ไม่ มีรูปแบบตายตัวอักเช่ นเดียวกัน แต่ จะต้ องระบุงานได้ ไม่ ซ้าซ้ อน
แสดงลาดับชั้นได้ ชัดเจน แสดงสิ่ งทีต่ ้ องการระบุอย่ างชัดเจน ไม่ ยาว
เกินไป และ ไม่ ส้ั นจนเกินไป
การจัดหน้ าที่
กระจายงานให้ สมดุล ไม่ มีคนใดรับงานหนักจนเกินไป มีระดับตาม
ความเหมาะสม ตาแหน่ งสู งขึน้ จะเกีย่ วข้ องกับงานสนามน้ อยลง
ตามลาดับ แต่ จะเกีย่ วข้ องกับงานเอกสารมากขึน้ เช่ น โฟร์ แมนและ
วิศวกรสนามจะเน้ นหนักที่การตรวจงานหน้ างานหรือการเขียน Shop
Drawing วิศวกรโครงการจะตัดสิ นใจทางเทคนิคทีส่ าคัญ การจัดซื้อ
วัสดุ การวางแผนงาน ในขณะทีผ่ ู้จัดการโครงการจะพิจารณาการ
ตัดสิ นใจของลูกน้ อง มองทีภ่ าพรวมตัดสิ นใจเกีย่ วกับปัญหาที่สาคัญๆ
ดูแลด้ านการเงิน การจัดหาเครื่องจักร จัดลาดับงาน ฯลฯ
Example - Fried Egg

• Create Work
Breakdown Structure
Group work - A cup of cappuccino

• Present your work in class


การบ้าน WBS
• ให้นักศึกษาจัดแบ่งกลุ่ม
• รับแบบก่อสร้างโครงการตัวอย่าง
• จัดทา WBS ของโครงการตัวอย่าง 1 แผ่น แสดงการแบ่งงาน
ออกเป็ นหมวดหมู่ พร้อม กาหนด Code
• แบ่งงาน ในกลุ่มของท่าน ตามหมวดหมู่ แสดงผูร้ บั ผิดชอบ
• Work Package แสดงระยะเวลา และ ปริมาณงานของ งานย่อย
ทุกงาน ดังจะได้อธิบายต่อไป
วางแผนงานก่อสร้าง
- ทา WBS จากแบบก่อสร้าง
- ทา Coding WBS ให้รหัสงาน
- จัดองค์กร ในหน่ วยงานก่อสร้าง
- นา WBS ที่เสร็จแล้วมาจัดแบ่งงานให้บคุ ลากร
- กาหนด Job description ของแต่ละคน
- จาก WBS นามาพิจารณาประกอบกับ BOQ ที่
ใช้ตอนประกวดราคา แล้วจัดทาเป็ น BOQ แบบ
แยกรายละเอียด
ขัน้ ตอนการทาแผนงานก่อสร้าง
- จาก WBS ทา Work Package นัน่ คือรายละเอียดของ
งานย่อยทุกงาน
- ทาการประมาณทรัพยากรตามที่มีว่า งานแต่ละงานจะ
ใช้ทรัพยากรเท่าไรบ้าง
- ประมาณระยะเวลาตามทรัพยากรที่กาหนด โดยใช้
ประสบการณ์ประกอบกับอัตราการทางานมาตรฐาน
ปัจจัยสาคัญที่มีผลต่อระยะเวลาอยู่ที่ จานวนแรงงาน
และเครือ่ งมือเครือ่ งจักร
- บันทึกทุกอย่างลงใน Work Package
ขัน้ ตอนการทาแผนงานก่อสร้าง
- ทาการประมาณค่าใช้จ่าย โดยคิดจากทรัพยากร
ที่ใช้ เช่น แรงงานกี่วนั เครือ่ งจักรกี่วนั และวัสดุ
เท่าไร
- ทาการตรวจสอบกับ BOQ รายละเอียดที่จดั ทา
ไว้ข้างต้นว่า ค่าใช้จ่ายที่วางแผนว่าจะทางานนัน้
สูงหรือตา่ กว่าราคาที่ประกวดมาได้ ถ้ามีข้อ
แตกต่างที่เห็นชัดเจนต้องทาเนินการวางแผน
แก้ไขทันที
ขัน้ ตอนการทาแผนงานก่อสร้าง

- จาก Work Package ที่ทาเสร็จแล้ว ให้ทามา


สร้างแผนหลักของโครงการเพื่อตรวจสอบวันที่
โครงการจะแล้วเสร็จ
- Barchart (Gantt Chart), CPM, PDM
- พิจารณาวันสิ้นสุดโครงการและแผนโครงการ
โดยรวมว่าเป็ นที่น่าพอใจหรือไม่ ถ้าไม่พอใจให้
ปรับแผนงาน โดยปรับที่จานวนทรัพยากรด้วย
ขัน้ ตอนการทาแผนงานก่อสร้าง

- จาก Barchart นามาจัดทา Cashflow สาหรับ


โครงการโดยพิจาณาเอกสารสัญญาการเบิกจ่าย
งวดงานประกอบด้วย ว่าจะต้องใช้ เงินหมุนเวียน
อย่างน้ อยประมาณเท่าไรสาหรับโครงการ
- ถึงจุดนี้ ท่านอาจปรับแผนระยะเวลาและพิจาณา
ค่าใช้จ่ายไปพร้อมๆกัน
ขัน้ ตอนการทาแผนงานก่อสร้าง
- เมื่อแผนระยะเวลาและค่าใช้จ่ายเป็ นที่น่าพอใจ
แล้ว ให้ท่านจัดทาแผนการใช้ทรัพยากร (ปฏิทินการ
ใช้ทรัพยากร) ขึน้ เพื่อให้ทราบได้ว่าต้องการอะไร
เวลาใดบ้างสาหรับทรัพยากรทุกชนิด
- จัดทา To do List เพื่อการจัดหาทรัพยากรเข้า
โครงการ ให้เผือ่ เวลาสาหรับทรัพยากรแต่ละ
ประเภทให้พอเพียง Confirm อย่างน้ อย 2 สัปดาห์ให้
แน่ ใจว่าเราจะมี คนงาน วัสดุ และเครื่องจักร
ครบถ้วนก่อนงานทุกงานจะเริ่ม
ขัน้ ตอนการทาแผนงานก่อสร้าง
- เมื่องานเริ่มดาเนินไป ต้องบันทึกความก้าวหน้ าใน
ทุกประเด็นคือ เวลา คุณภาพ ทรัพยากรที่ใช้ และ
ค่าใช้จ่าย เพื่อนามาเปรียบเทียบกับแผนงานที่วางไว้
เพื่อให้ทราบถึงสถานการณ์ของโครงการในขณะนัน้
จะได้ตดั สินใจ แก้ไขได้ทนั
- แสดงความก้าวหน้ าใน BARCHART
- ปรับแผนงานถ้าจาเป็ น
- โดยทัวไปจะจั
่ ดประชุม อาทิตย์ละ 1 ครัง้ เพื่อแก้ไข
ปัญหา ดังนัน้ รายงานต้องเสร็จก่อนการประชุม 1 วัน

You might also like