You are on page 1of 49

เด็กออทิสติก

โดย

พวงแก้ว กิจธรรม

สารบัญ
หน้า
บทนำำ………………………………………………………………………………... 1
ควำมหมำยของ“ออทิสติก“…………………………………………………………. 2
2

ลักษณะสำำคัญที่บอกว่ำอำจเป็นเด็กออทิสติก……………………………………… 2
ระดับควำมรุนแรงของออทิสซึ่ม……………………………………………………... 5
เชำว์ปัญญำของเด็กออทิสติก……………………………………………………….. 5
กำรเกิดออทิสติก…………………………………………………………………….. 6
สำเหตุของออทิสติก…………………………………………………………………. 6
กำรวินิจฉัยเด็กออทิสติก…………………………………………………………….. 7
หัวอกพ่อแม่ของเด็กออทิสติก……………………………………………………….. 7
จุดประสงค์ของกำรบำำบัดรักษำเด็กออทิสติก……………………………………….. 7
กำรบำำบัดรักษำเด็กออทิสติก……………………………………………………….. 8
ปัจจัยสำำคัญที่มีผลต่อกำรบำำบัดรักษำเด็กออทิสติก……………………………….. 9
กำรรับประทำนยำของเด็กออทิสติก…………………………………………………. 10
ออทิสติกกับคนพิกำร………………………………………………………………….. 10
หลักกำรปฏิบัติต่อเด็กออทิสติก………………………………………………………. 11
หลักกำรทำำให้เด็กออทิสติกหยุดพฤติกรรมที่ไม่เหมำะสม…………………………… 14
กำรสร้ำงสมำธิของเด็กออทิสติกให้ยำวนำนขึ้น…………………………………….. 16
กฎเหล็กสำำหรับเด็กออทิสติก……………………………………………………….. 17
กฎเหล็กสำำหรับคนที่อยู่กับเด็กออทิสติก……………………………………………. 17
วิธีสร้ำงแรงจูงใจและแรงเสริมแก่เด็กออทิสติก……….…………………………….. 17
กำรลงโทษเด็กออทิสติก…………………………………………………………….. 18
หลักกำรปรับพฤติกรรมของเด็กออทิสติก…………………..………………………. 18
กำรมองของเด็กออทิสติก…………………………….…………………………….. 19
กำรพัฒนำกำรสื่อสำรของเด็กออทิสติก….………………………………………… 21
คำำทีใ่ ช้สอนเด็กออทิสติกสื่อสำร…………………………………………………… 24
กำรเรียนรู้ภำษำของเด็กออทิสติก………………………………………………….. 25
พูดอะไรกับเด็กออทิสติก……………………………..…………………………….. 25
เด็กออทิสติกกับดนตรี และเพลง ………………………………………………… 26
เด็กออทิสติกกับกำรกิน…………………………………………………………….. 27
สารบัญ (ต่อ)
หน้า
3

เด็กออทิสติกไม่หลับนอน.. …………………………...……………………………. 28
เด็กออทิสติกกับกำรช่วยเหลือตนเอง……………………………………………….. 28
เด็กออทิสติกกับกำรเข้ำสังคม…………………………..………………………….. 29
เด็กออทิสติกกับพี่น้อง………………………………………………………………. 30
เด็กออทิสติกถูกทำำร้ำย……………………..……………………………………….. 30
เด็กออทิสติกไม่กลัวอันตรำย………………….…………………………………….. 30
หลักกำรจัดกิจกรรมให้เด็กออทิสติกฝึกทำำ………………………………………….. 31
กำรใช้อุบำยกับเด็กออทิสติก………………………..………………………………. 32
เด็กออทิสติกกับกำรสร้ำงจินตนำกำร……………………..………………………… 33
กำรจัดกำรศึกษำสำำหรับเด็กออทิสติก…………………………..………………….. 33
เด็กออทิสติกกับกำรไปโรงเรียน…………………………………………………….. 34
กำรเตรียมเด็กออทิสติกเข้ำเรียนร่วม………..……………………………………… 35
กำรให้เด็กออทิสติกอยู่โรงเรียนประจำำ…………………..………………………….. 36
เด็กออทิสติกกับบ้ำนสัมพันธ์รัก……………………….…………………………….. 37
เด็กออทิสติกกับกำรเรียนภำษำอังกฤษ……………………...……………………… 37
กำรประสำนงำนเรื่องเด็กออทิสติก……………..…………………………………… 38
เสน่ห์ของเด็กออทิสติก…………………..………………………………………….. 39
บทส่งท้ำย………………………………..………………………………………….. 40
เอกสำรอ้ำงอิง………………………………………………………………….. 40

……………………………………………………………………………..
4

คำานำา
ขอบคุณ “ ชมรมผู้ปกครองของเด็กออทิสติก “ ที่ชวนผู้เขียนไปเข้ำค่ำยเด็กออทิสติกที่
ปำกช่อง จังหวัดนครรำชสีมำ เมื่อวันที่ 19 - 20 กรกฎำคม 2540 นอกจำกผู้เขียนได้พบปะและ
สังสรรค์กับเด็กออทิสติกหลำยคนแล้ว ผู้เขียนยังได้ตอบคำำถำม และแลกเปลี่ยนควำมคิดเห็นกับผู้
ปกครอง ครู และพี่เลี้ยงของเด็กออทิสติก รวมทั้งผู้รับผิดชอบค่ำยเด็กออทิสติกนี้ คือ คุณสำรี แมท
สัน นับเป็นโอกำสที่ผู้เขียนได้คิด ทบทวน ตลอดจนประมวลความรู้และประสบการณ์ของ
ตนเองเกี่ยวกับเด็กออทิสติกอย่างจริงจัง และกว้างขวาง รวมทั้งได้เรียนรู้ และมีประสพ
การณ์เรื่องเด็กออทิสติกเพิ่มขึ้นด้วย
จริงอยู่ แม้เมื่อครั้งเรียนที่มหำวิทยำลัยฮำวำย ประเทศสหรัฐอเมริกำ ผู้เขียนจบปริญญำโท
ด้ำนควำมผิดปกติทำงกำรพูดและโสตสัมผัสวิทยำ แต่งำนที่ทำำตลอดมำ เกี่ยวกับกำรตรวจ วินิจฉัย
และฟื้นฟูสมรรถภำพกำรได้ยินเป็นส่วนใหญ่ ส่วนงำนพัฒนำภำษำและแก้ไขกำรพูดของเด็กที่
ไม่ใช่เด็กหูตึงหรือเด็กหูหนวกมักทำำเฉพำะรำยที่คนกันเองฝำกมำเท่ำนั้น อย่ำงไรก็ตำมผู้เขียนได้มี
ประสบกำรณ์ด้ำนปรับพฤติกรรม และพัฒนำภำษำของเด็กออทิสติกด้วย
เมื่อกลับจำกค่ำยเด็กออทิสติกครั้งนั้น ในสมองยังวนเวียนคิดถึงเรื่องเด็กออทิสติกอยู่
ผู้เขียนเกรงว่ำแนวคิดและประสพกำรณ์อันทรงคุณค่ำนั้นจะเลือนหำยไปตำมประสำของผู้สูงอำยุ
จึงได้พิมพ์บันทึกไว้เท่ำที่นึกได้ ไม่คำดคิดเลยว่ำจะพิมพ์ได้ถึงเกือบ 30 หน้ำกระดำษ เอ 4 ภำยใน
เวลำ 2 วัน จึงเกิดควำมคิดว่ำน่ำจะเผยแพร่ให้ชำวชมรมผู้ปกครองเด็กออทิสติกได้อ่ำน เผื่อจะเป็น
ประโยชน์บ้ำง ดังนั้นเพื่อให้ข้อเขียนนี้สมบูรณ์ขึ้น ผู้เขียนจึงได้พยำยำมนึกถึงสำระอื่นๆ รวมทั้ง
ควำมรู้พื้นฐำนเกี่ยวกับเด็กออทิสติกอีก และพิมพ์เพิ่มเติมได้รวมประมำณ 40 หน้ำ
นั่นหมำยควำมว่ำในเบื้องต้นนั้น เนื้อหำทั้งหลำยทั้งปวงในหนังสือเล่มนี้พิมพ์จำกควำม
ทรงจำำ ไม่ได้ค้นคว้ำจำกตำำ หรับตำำ รำอื่นหรือแหล่งข้อมูลใดๆ ครั้นเมิ่อเกิดควำมคิดว่ำน่ำจะเผย
แพ่รแทนกำรเก็บไว้เป็นเพียงบันทึกส่วนตัว จึงเกิดควำมกังวลว่ำแนวคิดของผู้เขียนอำจผิดเพี้ยนไป
บ้ำงหรือไม่ จึงได้ตรวจสอบโดยกำรอ่ำนหนังสือเรื่อง “ เด็กออทิสติค :คำำ แนะนำำ สำำ หรับบิดำ
มำรดำ และนักวิชำกำร “ ของ ลอร์นำ วิง ซึ่งแปลและเรียบเรียงโดย รองศำสตรำจำรย์รจนำ ทรร
ทรำนนท์ และหนั ง สื อ เรื่ อ ง “ กำรศึ ก ษำสำำ หรั บ คนพิ ก ำร ในยุ ค โลกาภิ วั ต น์ “ ซึ่ ง เขี ย นโดย
ดร.ดำรณี อุทัยรัตนกิจ และได้นำำ ควำมรู้บำงส่วนจำกหนังสือทั้ง 2 เล่มดังกล่ำวมำพิมพ์เพิ่มเติม
ด้วย
แม้กระนั้น หนังสือเล่มนี้คงเป็นเพียงการเล่าเรื่อง “ เด็กออทิสติก “ อย่างง่ายๆ
เพื่อคนกันเองเท่านั้น
5

ขอขอบคุณ รองศำสตรำจำรย์ น.พ.กอบเกียรติ รักเผ่ำพันธุ์ และรองศำสตรำจำรย์ น.พ.


พู น พิ ศ อมำตยกุ ล ผู้ ใ ห้ กำำ เนิ ด ผู้ เ ขี ย นในวิ ช ำชี พ นี้ และขอบคุ ณ คุ ณ รั ต น์ กิ จ ธรรม ที่ ใ ห้ ยื ม
คอมพิวเตอร์พิมพ์งำนนี้
พวงแก้ว กิจธรรม / สิงหำคม 2540

คำานำา 2543
ขอขอบคุณ คณะผู้จัดทำาจดหมายข่าวของมูลนิธิเพื่อบุคคลออทิซึม(ประเทศไทย)
ที่นำาเรื่อง “ เด็กออทิสติก ” ไปพิมพ์ในจดหมายข่าว….หวังว่าจะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อ
เด็กออทิสติกไม่มากก็น้อย

โดยที่หาเวลาไม่ค่อยได้นัก ผู้เขียนจึงเพียงเพิ่มสาระในข้อความบางแห่งเพื่อให้
เป็นปัจจุบันขึ้น โดยใช้ลักษณะตัวหนังสือเช่นเดียวกับคำานำานี้

พวงแก้ว กิจธรรม
ตุลาคม 2543
6

เด็กออทิสติก
โดย พวงแก้ว กิจธรรม
………………………………………………………………………………………………………
บทนำา
มี ค นรู้ จั ก คำำ ว่ ำ “ ออทิ ส ติ ก “ น้ อ ยคน เดี๋ ย วนี้ ค นรู้ จั ก คำำ นี้ เ พิ่ ม ขึ้ น
เมื่อก่อน อย่ำงไรก็ตำม ดูเหมือนว่ำในควำมรู้สึกของคนทั่วไป เรื่อง “ ออทิสซึ่ม “
หรือโดยเฉพำะ “ คนที่เป็นออทิสติก “ หรือ “ เด็กออทิสติก “ ยังเป็นเรื่อง
ทีช่ วนพิศวงสงสัย เข้ำใจยำก ไม่กล้ำเข้ำไปสัมผัสทักทำย….คนที่ทำำงำนเกี่ยวข้องกับคนพิกำรเฝ้ำดู
“ เด็ กออทิ ส ติ ก “ อยู่ ห่ำ งๆด้ ว ยควำมห่ ว งใย….พ่ อแม่ผู้ปกครองของ “ เด็ ก ออทิ ส ติ ก “ ยั ง ตื่น
ตระหนก งุนงงและไม่แน่ใจว่ำ “ เด็กออทิสติก “ เป็นคนพิกำรหรือไม่… .มีนักวิชำกำรเพียงไม่กี่คนที่
ยอมทุ่มเท เอำใจใส่เรื่อง “ ออทิสติก “ ….แม้แต่คนที่มีหน้ำที่ทำำงำนเกี่ยวกับ “ เด็กออทิสติก “ ก็
ขยำด ไม่มั่นใจ อยำกเลี่ยงไปทำำงำนอื่นที่รื่นรมย์กว่ำ และ ถ้ำ….ต้องสอนเด็กพิกำรหรือเด็กที่ต่ำง
จำกเด็กปกติ ครู…..มักขอเลือกสอน “ เด็กออทิสติก “ เป็นคนสุดท้ำย

ควำมรู้สึก ทั้งหลำยทั้งปวงเหล่ำนั้น เป็นเรื่องธรรมชำติ ที่มักเกิดเสมอ เมื่อขำดควำมรู้


ควำมเข้ำใจในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง และหนทำงแก้ที่ดีที่สุด คือ ต้องทำาให้คนรู้จัก “ออทิสติก “

ความหมายของ “ ออทิสติก “

คำำว่ำ “ ออทิสติก “ ( autistic ) เป็นคำำภำษำอังกฤษและเป็นคำำคุณศัพท์ คำำนำมคือ “


ออทิสซึ่ม “ ( autism ) มีรำกศัพท์มำจำกภำษำกรีก ว่ำ “ auto “ ซึ่งแปลว่ำ “ ตัวเอง “ เพื่ อให้
สอดคล้องกับลักษณะเด่นของเด็กออทิสติกที่มักจะอยู่กับ“ตัวเอง“ยังไม่มีคนบัญญัติคำำภำษำไทย
7

แทนคำำนี้ จึงเรียกทับศัพท์ตำมคำำภำษำอังกฤษ แต่คนไทยมักนิยมใช้คำำว่ำ “ ออทิสติก “ เป็นทั้งคำำ


นำม และคำำคุณศัพท์ ผู้เขียนจึงจะขอใช้ในลักษณะเดียวกัน คือใช้คำำ “ ออทิสติก “ เป็นส่วนใหญ่
ในทุกกรณี
“ ออทิสติก “ หมำยถึงคนที่มีลักษณะผิดปกติจากคนทั่วไป มักอยู่กับตัวเอง ไม่
ติดต่อสื่ อ สารกั บใคร เนื่อ งจากมี ปัญ หาด้า นการรั บ รู้ พั ฒ นาการ พฤติก รรม และการ
สื่อสาร

ลักษณะสำาคัญที่บอกว่าอาจเป็นเด็กออทิสติก

โดยทั่วไป เด็กออทิสติกมักหน้าตาดี สมบูรณ์ แข็งแรง แลดู น่ารัก แต่เด็กออทิ


สติกแตกต่างจากเด็กปกติอย่างเด่นชัด 2 ประการ คือ 1) มีพฤติกรรมที่ผิดปกติ และ 2)
ไม่พูด หรือติดต่อสื่อสารกับใคร ถ้าประมวล ลักษณะสำาคัญที่เห็นบ่อยและเด่นชัด พบดัง
ต่อไปนี้
ไม่ ส นใจติด ต่ อ กั บ คนอื่ น ๆ ซึ่ ง มัก แสดงออกโดย ไม่ ส บตำ มองผ่ ำ นคน
เหมือนไม่เห็นควำมมีตัวตนของใคร ไม่รับรู้ ไม่สนใจว่ำใครทำำอะไรหรือมีทีท่ำ
อย่ำงไร ไม่เล่นกับใคร ไม่ทำำอะไรร่วมกับใคร เมินเฉย ไม่รับรู้กำรพูดคุยหรือ
ท่ำ ทำงใดๆ ไม่มี ปฏิก ริ ย ำโต้ต อบกั บอะไร ไม่ แ สดงควำมรู้ สึ ก ผู ก พั น หรื อ มี
สัมพันธภำพกับใคร ชอบอยู่ในโลกของตัวเอง เป็นต้น
ไม่พูด หรือไม่ใช้คำำที่มีควำมหมำยสื่อสำรกับใครๆ มักเปล่งเสียงที่ไม่มีควำม
หมำยหรือไม่เป็นภำษำ พัฒนำกำรทำงกำรรับรู้ และใช้ภำษำพูดไม่มีเลยหรือ
ช้ำ ชอบเปล่งเสียงพูดโดยกำรเลียนแบบเสียงที่ได้ยิน โดยเฉพำะคำำ สุดท้ำย
หรือคำำพูดท้ำยๆของประโยค ไม่ตอบคำำถำม ชอบทำำเสียงงึมงำำในคอ บำงที
ชอบพูดคนเดียว พูดกับตัวเอง ไม่มีเจตนำจะพูดคุยกับใคร เสียงพูดมักเพี้ยน
ทั้งควำมชัดเจน จังหวะ และควำมดัง เช่นบำงคนพูดเร็วรัวจนฟังยำก บำงคน
พูดช้ำแบบยำนคำง บำงคนพูดเน้นมำกเกินไป และบำงคนพูดเสียงเบำเป็น
เสียงกระซิบ เป็นต้น นอกจำกนั้นมักใช้คำำ ไม่ตรงควำมหมำย และไวยำกรณ์
โดยเฉพำะกำรเรียงคำำมักผิดที่หรือสับสน เป็นต้น
เคยพูดได้ แล้วพูดน้อยลง หรือหยุดพูด โดยไม่ทรำบสำเหตุ และไม่พบ
อำกำรเจ็บป่วยทำงร่ำงกำย ทั้งนี้มักเกิดในช่วยอำยุ 2 ปีครึ่ง ถึง 3 ปี
8

ไม่ แ สดงอาการได้ ยิ น เสี ย ง หรื อ ไม่ มี ป ฏิ กิ ริ ย ำตอบต่ อ เสี ย ง ทั้ ง ที่ ค วำม
สำมำรถในกำรได้ยินเป็นปกติ แต่แสดงลักษณะเหมือนคนหูหนวก
ปฏิกิริยาตอบต่อเสียงผิดปกติ โดยทั่วไป มักสนใจฟังเสียงอื่นๆมำกกว่ำ
เสียงพูด บำงคน อำจแสดงอำกำรได้ยินเสียงที่คนอื่นไม่สนใจ เช่น เสียงจิ้งจก
ร้อง เสียงนำฬิกำ เป็นต้น บำงคนสนใจฟังและมีปฏิกิริยำตอบหรือพูดโต้ตอบ
กับเสียงกระซิบมำกกว่ำเสียงที่พูดดังระดับปกติ และบำงคนแสดงอำกำรกลัว
เมื่อได้ยินเสียงบำงเสียง เช่น เสียงฝนตก เสียงรถยนต์ เป็นต้น
ไม่ทำาพฤติกรรมทางสังคม อย่างเด็กทั่วไป เช่น บ๋ำยบำย สวัสดี เล่นจ๊ะเอ๋
เป็นต้น หำกสอน และฝึกให้ทำำ มักเคลื่อนไหวมือไม่เป็นธรรมชำติอย่ำงเด็ก
ปกติ ดูท่ำทำงแข็งพิกล แต่บำงคนดูเหมือนกระปลกกระเปลี้ย เช่น บ๋ำยบำย
เหมือนหุ่นยนต์ และสวัสดีแบบไม่ยกข้อมือตั้งขึ้น เป็นต้น
การเคลื่อนไหวทางร่างกายไม่ปกติ เช่น เดิน หรือวิ่งโดยมีท่ำเฉพำะตัวที่
มองออกว่ำไม่เหมือนเด็กปกติ เดินไม่ตรง กำรทรงตัวไม่ดี กำรใช้มือ และเท้ำ
ไม่คล่องแคล่ว ดูเหมือนงุ่มง่ำมเงอะงะ เวลำทำำ ท่ำ “ ขอ “ แบมือรำบไม่ได้
เพรำะมักหักข้อมือขึ้น ตบมือไม่มีเสียง จับช้อนแบบกำำ แน่น โบกมือโดยตั้ง
ฝ่ำมือขึ้นไม่ได้ หยิบจับของเล็กๆ ไม่ได้ เป็นต้น
ชอบแยกตัวไปอยู่คนเดียว ไม่เล่นกับใคร ไม่เข้ำสังคม ไม่มีเพื่อน ไม่ผูกมิตร
กับใคร ไม่ชอบอยู่ในที่มีคนพลุกพล่ำน ไม่สนใจสิ่งที่อยู่รอบตัว บำงคนชอบซุก
ตัวในซอก หรือที่แคบๆ เป็นต้น
เล่นกับตัวเองซำ้าๆ เช่น เล่นจีบนิว้ เล่นถูนิ้ว จับนิว้ เท้ำเล่น กัดเล็บ ดูดนิ้ว เอำ
มือ ถู ต ำ หรื อ ส่ว นใดส่ วนหนึ่ ง ของร่ ำ งกำย หมุน มื อ ดี ด นิ้ ว แกว่ ง แขน แกะ
สะเก็ดแผล สะบัดมือ และเกำที่ใดที่หนึ่งบ่อยๆ เป็นต้น
ไม่บอกความรู้สึก หรือความต้องการ ไม่รับรู้กำรสัมผัสทำงร่ำงกำย ไม่
แสดงอำกำรร้อน หรือหนำว ไม่ร้องกินอำหำร ไม่ชูมือขอให้อุ้ม ไม่ขออะไร ไม่
ทำำ ท่ำทำงโต้ตอบใคร แม้ใครตีหรือได้รับบำดเจ็บถึงขั้นเป็นแผลและมีเลือด
ออกก็ไม่สนใจ ไม่แสดงควำมเจ็บปวด ไม่ร้องไห้ ไม่แสดงอำกำรอำย ( เดินแก้
ผ้ำต่อหน้ำคนอื่น ฯลฯ ) บำงคนดูเหมือนคนมีควำมรู้สึกล่องลอย ไม่มีจุดหมำย
และไม่มีชีวิตชีวำ เป็นต้น
9

ลักษณะนิสัยก้าวร้าว ชอบทำำร้ำยร่ำงกำยตนเองหรือคนอื่นแรงๆ บำงทีถึงกับ


เลือดออก กรีดร้องโดยไม่มีเหตุผล เอำแต่ใจตนเอง แสดงอำรมณ์รุนแรง โมโห
ร้ำย ชอบร้องไห้และลงนอนชักดิ้นบนพื้น ขว้ำงปำทำำลำยของ เป็นต้น
ทำา อาการซำ้า ๆ เช่น เคลื่อนไหวร่ำงกำยซำ้ำ ๆ ( โยกตัว เคำะพื้น ดีดข้ำงฝำ
แกว่งแขน โขกศีรษะ ฯลฯ ) เอำของมำเรียงซำ้ำ ๆ จับของหมุนซำ้ำ ๆ จ้องมอง
ของที่ เ คลื่ อ นไหวหรื อ ดวงไฟนำนๆ โดยเฉพำะไฟที่ ก ระพริ บ หรื อ ส่ อ งแสง
แวววำวระยิบระยับ รวมทั้งชอบทำำสิ่งต่ำงๆตำมลำำดับซำ้ำๆ เป็นประจำำ เช่น ขั้น
ตอนกำรแปรงฟัน กำรอำบนำ้ำ กำรรับประทำนอำหำร เป็นต้น
พูดซำ้าๆ เช่น พูดคำำ วลี หรือประโยคซำ้ำๆ โดยไม่สนใจควำมหมำย ไม่ตั้งใจจะ
พูดให้ใครฟัง ไม่เจำะจงถำมหรือสื่อสำรกับใคร อย่ำงที่เรียกว่ำ พูดเหมือน “
นกแก้วนกขุนทอง “
ติดของเฉพาะอย่าง เช่น ถือผ้ำขนหนูผืนหนึ่งตลอดเวลำ กินของอย่ำงหนึ่ง
เป็นประจำำ เล่นของอย่ำงหนึ่งเป็นประจำำ ติดกำรทำำอย่ำงใดอย่ำงหนึ่งซำ้ำๆ ไม่
ชอบลอง ทำำ กิ น หรื อ ใช้ ข องแบบใหม่ ที่ ต่ ำ งไปจำกที่ เ คย หรื อ ไม่ ช อบกำร
เปลี่ยนแปลง โดยเฉพำะของใช้ กิจวัตรประจำำวัน และสิ่งแวดล้อม ชอบให้ทุก
อย่ ำ งอยู่ ที่ เ ดิ ม และบำงคนติ ดควำมสะอำดมำก เห็ น อะไรสกปรกไม่ไ ด้ มิ
ฉะนั้นจะหงุดหงิด โกรธ หรือกรีดร้อง เป็นต้น
สนใจส่วนเล็กๆของสิ่งของ โดยดู จับ หรือเล่นซำ้ำๆ เช่น ล้อรถยนต์ ขั้วผลไม้
และหูของสัตว์ เป็นต้น
ความสนใจสั้น อยู่นิ่งๆได้ไม่นำน มีสมำธิจดจ่อกับสิ่งใดได้ไม่นำน เดินหรือ
วิ่งไปโน่นไปนี่ตลอดเวลำ บำงคนซน ชอบหยิบ จับ ทำำ ต่ำงๆนำๆ ซึ่งบำงครั้ง
ทำำให้สิ่งของเสียหำย หรือเกิดอันตรำยได้
ไม่มีเหตุผล ทำำ อะไรมักไม่สมเหตุสมผล ทำำในสิ่งที่คนทั่วไปไม่สำมำรถคำด
เดำได้ว่ำจะทำำ ชอบทำำท่ำทำง หรือหน้ำตำแปลกๆ หัวเรำะ ยิ้มหรือร้องไห้และ
ลงนอนดิ้นหรือชักบนพื้น โดยไม่มีเหตุผล หำกจะหยุดร้องไห้ก็หยุดทันที และ
ทำำเหมือนไม่ได้ร้องไห้มำก่อน บำงทีกลัวบำงสิ่งบำงอย่ำงที่ไม่น่ำกลัว แต่มักไม่
กลัวอันตรำยและไม่หลีกเลี่ยงสิ่งที่เป็นอันตรำย เป็นต้น แม้แต่เด็กออทิสติกที่
พัฒนำมำกแล้ว ก็มักมีปัญหำในกำรตอบคำำถำมที่ต้องให้เหตุผล
อาจมีอาการชัก เป็นระยะๆ
10

บางคนมีลักษณะของปัญญาอ่อน คือพัฒนำกำรทำงร่ำงกำยช้ำ เรียนรู้ช้ำ


ไม่สำมำรถคิดหำเหตุผล หรือแก้ไขปัญหำได้ ไม่สำมำรถช่วยเหลือตนเองใน
ชีวิตประจำำวัน เช่น กินอำหำรเองไม่ได้ ควบคุมกำรขับถ่ำยไม่ได้ เป็นต้น
บางคนฉลาดผิดปกติ และสำมำรถทำำในสิ่งที่ซับซ้อนได้ เช่น เปิด-ปิด และ
เปลี่ยนวีดีโอได้ วำดรูปตรำสัญลักษณ์ของรถทุกยี่ห้อได้ เป็นต้น โดยทั่วไปมัก
ฉลำดทำำในสิ่งที่ทำำเองคนเดียว ไม่ต้องทำำร่วมกับใคร
สื่อสารด้วยท่าทาง และ/หรือสายตา เช่น จูงมือไปในที่ที่เด็กออทิสติ
กต้องกำรไป ยัดซองขนมใส่มือผู้ใหญ่เมื่อต้องกำรให้ช่วยฉีกให้ และทำำสำยตำ
ค้อนเมื่อไม่พอใจ เป็นต้น
ใช้คำาไม่ถูกต้องหรือพูดไม่ถูกไวยากรณ์ เช่น ใช้สรรพนำมไม่ถูก พูดอย่ำง
หนึ่งแต่หมำยถึงอีกอย่ำงหนึ่ง หรือเรียงคำำสลับกัน เป็นต้น

เด็กออทิสติกที่เติบโตแล้ว อำจมีลักษณะที่พัฒนำจำกที่กล่ำวข้ำงต้น เช่น


พูดคุยได้ แต่รู้คำำศัพท์น้อย กำรพัฒนำภำษำช้ำกว่ำคนทั่วไป ไม่ตอบคำำ ถำม
หรือตอบไม่ตรงคำำถำม ( ประเภท ถ้ำถำม “ ไปไหนมำ “ มักตอบ “ สำมวำ
สองศอก “ ) เรียงคำำในประโยคสลับที่ ใช้คำำที่ควำมหมำยไม่ถูกต้อง บำงครั้ง
พูดเรื่องรำวหรือเนื้อหำสับสน ไม่สัมพันธ์กัน และพูดแต่เรื่องที่ตนเองสนใจ
เป็นต้น
เงียบเฉย เข้ำสังคมได้ดีขึ้น สนใจศึกษำเล่ำเรียน ทำำงำนง่ำยๆ ได้ เป็นต้น
ต่อต้ำน ไม่ทำำ ตำมระเบียบของสังคม หรือควำมต้องกำรของคนอื่น ก้ำวร้ำว
และโมโหร้ำย เป็นต้น
เมื่อ สงสัยว่าเด็กเป็ นออทิ ส ติก หรื อไม่ ให้สังเกตพฤติก รรมของเด็ กอย่ำ งถี่ ถ้วนและ
จริงจัง แล้วเปรียบเทียบกับพฤติกรรมทั้งหมดที่กล่ำวข้ำงต้น เด็กออทิสติกบำงคนแสดงอำกำรทุก
ประกำร แต่เด็กออทิสติกบำงคนอำจมีเพียงบำงอำกำร ถ้ำพบว่ำเด็กมีอำกำรที่ใกล้เคียงกับที่กล่ำว
มำแล้ว ควรรีบพำเด็กไปให้แพทย์วินิจฉัยโดยเร็ว

ระดับความรุนแรงของออทิสซึ่ม
11

เด็กออทิสติกแต่ละคนมีระดับควำมรุนแรงของควำมผิดปกติไม่เท่ำกัน ในทำงวิชำกำรจึง
มักแบ่งเด็กออทิสติกเป็น 3 ระดับ คือ เล็กน้อย ปำนกลำง และมำก แต่เกณฑ์ในกำรแบ่งระดับนั้น
ยำกที่จะกำำ หนดได้ชัดเจน เพรำะลักษณะของเด็กออทิสติกหลำกหลำยมำก อย่ำงไรก็ตำม อำจ
แบ่งได้ตำมระดับเชำว์ปัญญำ ควำมสำมำรถสื่อสำร และควำมผิดปกติทำงพฤติกรรม หรือผสม
ผสำนกัน เป็นต้น

เชาว์ปัญญาของเด็กออทิสติก

เด็กออทิสติกมีระดับเชาว์ปัญญาแตกต่างกัน เป็น 3 ระดับ คือ ปกติ ปัญญาอ่อน


และปัญญำเสิศ
กำรศึกษำของผู้รู้บำงคนระบุว่ำเด็กออทิสติกส่วนใหญ่ คือประมำณร้อยละ 75 - 90 เป็น
ปัญญำอ่อน
ข้อทีค่ วรสังเกตคือระดับเชำว์ปัญญำส่วนหนึ่งนั้นติดตัวเด็กมำตั้งแต่เกิด แต่กำรเรียนรู้หรือ
ประสบกำรณ์ชีวิตทำำให้ระดับเชำว์ปัญญำเปลี่ยนแปลงได้ อำจดีขึ้น หรือลดลง
สำำ หรับเด็กออทิสติก กำรที่เด็กไม่รับรู้ และสื่อสำรอย่ำงเด็กทั่วไป อำจเป็นเหตุให้ระดับ
เชำว์ปัญ ญำลดลงน้อ ยกว่ำ ที่เ ด็กได้ รั บจำกกรรมพั น ธุ์ติ ดตั ว มำตอนเกิ ด จึ ง เห็น เด็ ก มีลั ก ษณะ
เหมือนปัญญำอ่อน ดังนั้น พ่อแม่ควรเร่งปรับพฤติกรรม และการสื่อสารของเด็กออทิสติ
กให้ดี และเร็วที่สุด เพื่อให้เด็กสำมำรถเรียนรู้สิ่งต่ำงๆ ซึ่งจะสร้ำงเสริมระดับเชำว์ปัญญำให้ดีขึ้น
ระดับหนึ่ง
ส่วนเด็กออทิสติกที่มีปัญญาเลิศ และมีควำมสำมำรถพิเศษ หรือจุดเด่น เช่น ควำมจำำดี
เก่งเลข เล่นดนตรีได้ และวำดภำพสวย เป็นต้น พ่อแม่ควรสำารวจ และส่งเสริมจุดเด่นของเด็ก
ออทิสติกให้มีพัฒนาการดียิ่งขึ้น โดยจัดกิจกรรมให้เด็กได้แสดงหรือฝึกฝนควำมสำมำรถเหล่ำ
นั้น จัดหำอุปกรณ์ที่เหมำะสมสำำหรับทำำ กิจกรรมนั้นๆ และพำเด็กไปศึกษำเพิ่มเติมจำกผู้มีควำม
ชำำนำญ เป็นต้น
อย่ำงไรก็ตำม กำรสังเกตพฤติกรรมของเด็กโดยผู้ใกล้ชิดและเปรียบเทียบกั บเด็กปกติ
สำมำรถประเมินระดับเชำว์ปัญญำได้ระดับหนึ่ง และกำรทดสอบโดยผู้เชี่ยวชำญประเมินได้อีก
ระดับหนึ่ง แต่ทั้ง 2 วิธีนั้นก็ยังมีข้อจำำ กัด เนื่องจำกพฤติกรรมที่ซับซ้อนของเด็กออทิสติก จึงไม่
ควรยึดติดกับผลการวิเคราะห์เชาว์ปัญญานัก น่ำจะใช้เป็นเพียงแนวทำงหนึ่งในกำรพัฒนำ
และบำำบัดรักษำเด็กออทิสติกเท่ำนั้น การมุ่งมั่นบำาบัดเด็กออทิสติกอย่างจริงจังโดยพิจารณา
เด็กเป็นรายบุคคล จะส่งผลให้เห็นระดับเชาว์ปัญญาปรากฏชัดเจนได้ในภายหลัง
12

การเกิดออทิสติก

กำรเกิดออทิสติก อำจแสดงใน 2 ลักษณะ คือ


1.เป็ นออทิส ติก ตั้งแต่ แ รกเกิ ด เป็นเหตุให้ เด็ ก ไม่เ คยมี พั ฒนำกำรของกำร
สื่อสำรกับคนอื่นเลย โดยเฉพำะกำรรับรู้ และใช้ภำษำพูด
2.เป็นออทิสติกภายหลัง นั่นคือแรกเกิด เด็กมีพัฒนำกำรเหมือนเด็กปกติทุก
ประกำร เด็กพยำยำมติดต่อสื่อสำรกับคนทั่วไป และบำงคนเรียนรู้เข้ำใจภำษำพูด และเปล่งเสียง
คำำ พูดที่มีควำมหมำยเหมือนเด็กปกติได้ระดับหนึ่ง ต่อมำเด็กเริ่มแสดงอำกำรออทิสติก โดยพูด
น้อยลง หยุดพูด ไม่สื่อสำรกับใคร และพัฒนำกำรด้ำนต่ำงๆถดถอยลง อย่ำงไรก็ตำมอำกำรแสดง
ของออทิสติกมักเริ่มเมื่ออำยุไม่เกิน 2 ปีครึ่ง ถึง 3 ปี
การศึกษาต่างๆ พบว่าออทิสติก หรือ ออทิสซึ่ม เกิดขึ้นกับคนทุกเชื้อชาติ ศาสนา
ภาษา ภูมิประเทศ พื้นฐานระดับชั้นฐานะทางสังคม การศึกษา และความรำ่ารวย แต่ เด็ก
ผู้ชายมักเป็นออทิสติกมากกว่าเด็กผู้หญิง ประมำณ 3:1 หรือ 4:1

สาเหตุของออทิสติก

นอกจำกกำรตรวจพบว่ำเด็กออทิสติกมีควำมผิดปกติของคลื่นสมองแล้ว ยังไม่มีกำรค้น
พบชัดเจนว่ำออทิสติก หรือ ออทิสซึ่ม มีสำเหตุจำกอะไร บำงคนเชื่อว่ำ น่ำจะมีหลำยสำเหตุร่วม
กัน และสำเหตุที่เป็นไปได้ คือ กำรถ่ำยทอดตำมสำยเลือด หรือ กรรมพันธ์ การเจ็บป่วยหรือ
การติดเชื้อทางสมอง การบาดเจ็บบริเวณสมอง และความผิดปกติระหว่างตั้งครรภ์หรือ
คลอด เป็นต้น

การวินิจฉัยเด็กออทิสติก

อำกำรผิดปกติของเด็กออทิสติกที่พ่อแม่มักสังเกตพบเป็นสิ่งแรก คือเด็กไม่สบตา หรือ


ไม่พูด หรือเคยพูด แล้วหยุดพูด อันที่จริงควรสังเกตลักษณะอื่นๆ อีก ตำมที่กล่ำวไว้ในหน้ำ 2 -
4 เมื่อพบเห็นเด็กมีลักษณะใกล้เคียงกับเด็กออทิสติกควรรีบพำเด็กไปพบแพทย์ในโรงพยำบำลที่
อยู่ใกล้บ้ำนที่สุด หรือสะดวกที่สุด แพทย์จะเป็นผู้ตรวจร่างกาย ซักประวัติ สังเกตพฤติกรรม
และส่งเด็กไปตรวจพิเศษต่างๆ เช่น ตรวจคลื่นสมอง ตรวจสุขภาพจิต ตรวจระดับเชาว์
13

ปัญญา ตรวจความสามารถสื่อสาร ตรวจการได้ยิน ตรวจพัฒนาการทางร่างกาย และอื่นๆ


เป็นต้น และแพทย์จะเป็นผู้วนิ ิจฉัยว่ำ เด็กเป็นออทิสติกหรือไม่
กระบวนกำรตรวจต่ำงๆ เหล่ำนี้ อำจต้องมีกำรนัดเวลำ รอกำำหนดตรวจ และใช้เวลำค่อน
ข้ำงยำวนำน รวมทั้งต้องเสียค่ำใช้จ่ำยด้วย ( ถ้าไม่มีเงินจ่ายโรงพยาบาล ให้บอกแพทย์ เพื่อ
ขอความช่วยเหลือจากโรงพยาบาล ) พ่อแม่จำำเป็นต้องอดทน และดำำเนินกำรต่อไป จนทรำบ
แน่ชัดว่ำ ลูกผิดปกติหรือไม่ และลูกเป็นอะไร ตลอดจนวิธีกำรช่วยเหลือ รักษำ หรือบำำบัดที่ดีที่สุด
เป็นอย่ำงไร

จุดประสงค์ของการบำาบัดรักษาเด็กออทิสติก

จุดประสงค์สำาคัญของกำรบำำบัดรักษำเด็กออทิสติก คือกำรแก้ปัญหำที่สำำคัญ ดังนั้นจึง มี


2 ประกำร คือ
1. เพื่อให้เด็กมีพฤติกรรมเป็นปกติมำกที่สุดเท่ำที่ทำำได้ ทั้งด้ำนร่ำงกำย อำรมณ์
สติปัญญำ และสังคม
2. เพื่อให้เด็กสำมำรถสื่อสำรกับคนปกติได้ดีที่สุดเท่ำที่ทำำได้ โดยเฉพำะกำรรับรู้
และใช้ภำษำพูด
เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ดังกล่าว ผู้มีส่วนในการบำาบัดรักษาเด็กออทิสติกจึงควร
พิจารณาศักยภาพแต่ละด้านของเด็กออทิสติกแต่ละคนเป็นสำาคัญ แล้วเริ่มต้นมุ่งพัฒนา
จากจุดที่เด็กมีศักยภาพแต่ละด้าน ไม่ควรเอาปัญหาหรือพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์เป็น
เงื่อนไขในการพัฒนา และบำาบัดรักษาเด็กออทิสติก

หัวอกพ่อแม่ของเด็กออทิสติก

ลักษณะดังกล่ำวข้ำงต้น ( หน้ำ 2 - 4 ) ของเด็กออทิสติก โดยเฉพำะกำรไม่พูดคุยติดต่อกับ


ใคร เป็นเหตุให้พ่อแม่พะวงสงสัยว่ำ เด็กเป็นอะไร เกิดขึ้นได้อย่ำงไร จะเลี้ยงดูอย่ำงไร รักษำให้
เป็นเหมือนเด็กทั่วไปได้หรือไม่ เด็กจะเรียนหนังสือที่ไหน อนำคตจะเป็นเช่นไร ฯลฯ ทำำ ให้พ่อแม่
เกิดควำมรู้สึกสับสน และงุนงง ซึ่งนำำไปสู่ ควำมเครียด กังวล โศกเศร้ำ เสียใจ ท้อแท้ กลัวและบำง
คนถึงกับรู้สึกหมดหวัง สภาพจิตใจของพ่อแม่ หรือผู้ปกครองมีผลกระทบต่อการเอาใจใส่
ดูแล และรักษาเด็กออทิสติก จึงเป็นเหตุให้บำงครอบครัวเอำใจใส่เด็กออทิสติกดีเป็นพิเศษ
และบำงครอบครัวทอดทิ้งไม่เหลียวแลเด็กออทิสติกเลย ทั้งที่ควรเลี้ยงดูเด็กออทิสติกเหมือน
เด็กทั่วไป
14

ดังนั้น ก่อนที่จะให้การบำา บัด หรือรักษาเด็กออทิสติก สิ่งจำา เป็นอย่างยิ่งคือต้อง


ให้การดูแล เตรียมใจ และเตรียมกายพ่อแม่รวมทั้งสมาชิกทุกคนในครอบครัว /ตระกูลเสีย
ก่อน โดยกำรให้ความรู้ต่างๆ เริ่มตั้งแต่ควำมรู้ทั่วไป ว่ำ ออทิสติกคืออะไร เกิดจำกอะไร และกำร
บำำบัดช่วยอย่ำงไรได้บ้ำง ทั้งด้ำนกำรรับรู้ พฤติกรรม อำรมณ์ สติปัญญำ กำรสื่อสำร สังคม กำร
ศึกษำ อำชีพ และภำพรวมของอนำคต โดยมีจุดประสงค์ให้ พ่อ แม่ ผู้ปกครอง และทุกคนใน
ครอบครัวยอมรับความผิดปกติของเด็ก และพร้อมที่จะรวมใจร่วมแรงมุ่งมั่นให้การบำาบัด
รักษาเด็กออทิสติกอย่า งจริ งจั ง ทั้งนี้ต้องเตรีย มปรับสภำพจิตใจของตนเองและสมำชิกใน
ครอบครัว ให้คลำยควำมเศร้ำโศก เสียใจ วิตกกังวล มีเมตตำ เยือกเย็น อ่อนโยนและ อดทน เพื่อ
ให้พร้อมที่จะรับ หรือตอบสนองต่อพฤติกรรมที่ผิดปกติของเด็กออทิสติก และที่สำำ คัญคือพร้อมที่
จะเรียนรู้ และปฏิบัติเกี่ยวกับกำรเลี้ยงดู ช่วยเหลือ ส่งเสริม สนับสนุน ให้เด็กออทิสติกมี
พฤติกรรม การรับรู้ ความคิด สติปัญญา อารมณ์ จิตใจและ การพูดคุยใกล้เคียงกับเด็ก
ปกติให้มากที่สุด และเร็วที่สุดเท่าที่จะทำาได้

การบำาบัดรักษาเด็กออทิสติก
เมื่อครั้งเด็กออทิสติกถูกวินิจฉัยว่ำมีสำเหตุจำกควำมผิดปกติทำงจิตใจ หรือกำรเลี้ยงดูไม่
ดี กำรรักษำได้มุ่งเน้นไปที่จิตบำำบัด และปรับพฤติกรรมกำรเลี้ยงดูของพ่อแม่ ได้แก่ กำรให้ยำ ให้
ควำมรัก และควำมอบอุ่น ปลอบโยน ชักชวนให้เล่นเพลิดเพลิน และแนะแนวพ่อแม่เรื่องกำรเลี้ยงดู
เป็นต้น
ปัจจุบันกำรบำำ บัดรักษำที่สำำ คั ญ คื อ การสอน เด็กให้มีพฤติกรรมที่ถู กที่ ควรตำม
ลำำดับจำกง่ำยไปยำกอย่ำงเป็นกระบวนกำร โดยกำรกำำหนดเงื่อนไขเพื่อสร้ำงให้เด็กเกิดแรงจูงใจ
มำกที่สุด และให้รำงวัลเพื่อให้เกิดพฤติกรรมนั้นซำ้ำๆ จนเด็กเป็นผู้สำมำรถกระทำำ เอง ในลักษณะ
เป็น พฤติ ก รรมที่ ถ ำวร และพั ฒนำไปในทำงที่ เ หมำะสมยิ่ ง ขึ้ น ให้ เ ร็ ว ที่ สุ ด เท่ ำ ที่ จ ะทำำ ได้ นั่ น
หมำยควำมว่ำ นอกจำกเด็กออทิสติกควรได้รับกำรบำำ บัดอย่ำงมีประสิทธิภำพจำกผู้มีวิชำชีพ
ด้ำนนี้แล้ว เด็กออทิสติกจำาเป็นต้องได้รับการสอน และฝึกอย่างต่อเนื่องที่บ้านโดยพ่อแม่
และทุกคนในครอบครัว จนมีพฤติกรรมที่เหมาะสมอย่างถาวร และพัฒนาไปในทางที่ดี ขึ้น
ตำมลำำดับ
อนึ่ง หากวินิจฉัยพบออทิสติก เร็วเท่าไร และสามารถให้การรักษาได้ตั้งแต่เด็ก
อายุน้อยเท่าไร โอกาสที่เด็กออทิสติกจะมีพัฒนาการ พฤติกรรม และการสื่อสารใกล้เคียง
กับเด็กปกติจะมีมากเท่านั้น

ปัจจัยสำาคัญที่มีผลกระทบต่อการบำาบัด หรือรักษาเด็กออทิสติก
15

กำรบำำ บัดรักษำเด็กออทิสติกจะได้ผลดีเพียงไรขึ้นอยู่กับปัจจัยสำำ คัญที่มีผลกระทบต่อ


พัฒนำ หรือ บำำบัด รักษำเด็กออทิสติก ซึ่งมีดังต่อไปนี้
1. ขาดนักวิชาการ และบุคลากรที่มีความรู้เรื่อง ออทิสติก ทั้งที่องค์ควำมรู้
เรื่องออทิสติกในต่ำงประเทศได้พัฒนำไปมำกแล้ว แต่สำำ หรับในประเทศไทย
ต้องนับว่ำล้ำหลังมำก เป็นเหตุให้มีหนังสือ บทควำม หรือกำรศึกษำวิจัดด้ำนนี้
น้อยมำก ไม่มีสถำบันกำรศึกษำที่เปิดสอนผู้ชำำ นำญกำรด้ำนออทิสติกโดย
เฉพำะ ไม่มีกำรให้บริกำรด้ำนนี้อย่ำงทั่วถึง รวมทั้งไม่มีหน่วยงำนทั้งภำครัฐ
หรือเอกชนที่รับผิดชอบหรือเอำใจใส่เรื่องออทิสติกอย่ำงจริงจัง และไม่มีกำร
ทำำแผนกำรดำำเนินงำนเกี่ยวกับออทิสติกโดยตรง
2. ผู้ปกครองของเด็กออทิสติกไม่ได้ให้กำรดูแลเด็กออทิสติกอย่ำงเหมำะสมเท่ำ
ที่ควร เนื่องจำกควำม “ ไม่มี “ หลักๆ 3 ประกำรคือ 1) ไม่มีความรู้…ไม่รู้ว่ำ
เด็กผิดปกติ ไม่รู้ว่ำจะหำควำมรู้ได้จำกอะไร ไม่รู้ว่ำไปรับบริกำรวินิจฉัยหรือ
บำำ บัดได้ที่ไหน ไม่รู้ว่ำต้องให้กำรบำำ บัดที่บ้ำนต่อจำกกำรบำำ บัดที่ได้รับจำก
สถำนบริ ก ำรอย่ ำ งไร เป็ น ต้ น 2) ไม่ มี เ วลา…ดู แ ล ไม่มี เ วลำพำไปรั บ กำร
วินิจฉัยหรือบำำ บัด ไม่มีเ วลำศึ กษำหำควำมรู้ เพิ่ มเติ ม ไม่มีเวลำบำำ บัด ด้วย
ตนเอง และ 3) ไม่มีเงิน…ค่ำวินิจฉัยหรือบำำบัด อำจรวมทั้งไม่มีเงินเดินทำงไป
รับกำรวินิจฉัย หรือบำำบัด เป็นต้น
เมื่อพบว่ำเด็กออทิสติกไม่พัฒนำ เท่ำที่ควร ให้พิจำรณำว่ำมีปัจจัยที่กล่ำวมำแล้วเกิดขึ้น
หรื อ ไม่ ถ้ ำ มี … . ต้ อ งเร่ ง แก้ ไ ขโดยเร็ ว หำกปั จ จั ย ดั ง กล่ ำ วข้ ำ งต้ น ได้ รั บ กำรแก้ ไ ขอย่ ำ งมี
ประสิทธิภำพ โอกำสที่เด็กออทิสติกจะมีพฤติกรรม และกำรสื่อสำรเช่นเด็กทั่วไปจะเป็นได้โดย
ไม่ยำก
กำรดำำ เนินงำนของชมรมผู้ปกครองเด็กออทิสติก ดูเหมือนช่วยแก้ทั้ง 2 ปัญหำนั้นได้
ระดับหนึ่ง นั่นคือชักจูงให้มีนักวิชำกำร และบุคลำกรทั้งของภำครัฐ และเอกชนสนใจดำำ เนินงำน
บริกำรเด็กออทิสติกเพิ่มขึ้น ได้มีกำรเรียกร้องให้หน่วยงำนของรัฐแสดงควำมรับผิดชอบมำกขึ้น มี
กำรพัฒนำองค์ควำมรู้ และเผยแพร่ควำมรู้เรื่องออทิสติกกว้ำงขวำงขึ้น สนับสนุนกำรจัดทำำ คู่มือ
ดูแลเด็กออทิสติก ส่งเสริมเด็กออทิสติกให้ได้รับกำรศึกษำอย่ำงทั่วถึง ประสำนงำนช่วยเหลือเด็ก
ออทิสติก ตลอดจนจัดให้พ่อแม่ได้รับควำมรู้ พบปะแลกเปลี่ยนควำมคิดเห็น และช่วยเหลือซึ่งกัน
และกัน
ดังนั้น ถ้ามีปัญหาเรื่องเด็กออทิสติก และไม่สามารถติดต่อที่ไหนได้โดยสะดวก
ควรขอความช่ ว ยเหลื อ จากชมรมผู้ ป กครองเด็ ก ออทิ ส ติ ก ที่ 140/47 บ้ า นช่ า งหล่ อ
บางกอกน้อย กรุงเทพฯ 10700 โทร. 411-2899
16

การรับประทานยาของเด็กออทิสติก

สำำหรับเด็กออทิสติกที่มีพฤติกรรมไม่อยู่นิ่งเลย หรือก้ำวร้ำวมำกๆ หรือในทำง ตรงกันข้าม


คือ เศร้ำซึมผิดปกติ กำรรับประทำนยำเพื่อกล่อมอำรมณ์ให้สงบลง หรือป้องกันอำกำรชัก หรือช่วย
ให้กระปรี้กระเปร่ำขึ้น ยังช่วยได้มำก แต่ต้องปรึกษำแพทย์ผู้เชี่ยวชำญด้ำนนี้ และรับประทำนตำม
แพทย์สั่งเท่ำนั้น หำกมีข้อสงสัย หรือเกิดปัญหำระหว่ำงรับประทำนยำ เช่น เด็กซึม หรือ เฉยมำก
เกิน หรือซนมำกผิดปกติ ควรปรึกษำแพทย์โดยเร็ว อนึ่งในระหว่ำงรับประทำนยำเกี่ยวกับออทิสติก
หำกเด็กเจ็บป่วย และแพทย์ให้รับประทำนยำอื่นเพื่อรักษำอำกำรเจ็บป่วย ต้องให้แพทย์ดูด้วยว่ำ
เด็กรับประทำนยำอะไรอยู่แล้วบ้ำง เพื่อป้องกันเด็กต้องรับประทำนยำมำกเกินไป หรือรับประทำน
ยำที่ไม่เหมำะสม

ออทิสติกกับคนพิการ

เดิมที ทำงกำรแพทย์จัดคนที่เป็นออทิสติก ให้อยู่ในกลุ่มคนเป็นโรคจิต ต่อมำได้มีกำรค้น


พบชั ด เจนว่ำ คนที่ เ ป็น ออทิ สติ ก มี ค วำมผิ ด ปกติ ข องคลื่ น สมองซึ่ ง ทำำ ให้ ก ระบวนกำรรั บ รู้ คิ ด
วิเครำะห์ และตอบสนองแปรปรวน แต่ยังไม่สำมำรถบอกได้แน่ชัดว่ำ ออทิสติก เกิดจำกอะไร
ความผิดปกติของคลื่นสมอง ทำำให้เด็กออทิสติก ดูเสมือนหนึ่งเป็นวิทยุที่กระแสคลื่น
ไฟฟ้ำขัดข้องเพรำะถ่ำนเป็นสนิม หรือรถยนต์ที่ขั้วแบตเตอรี่หลวม เครื่องจึงทำำ งำนตะกุกตะกัก
บำงทีดูเหมือนเครื่องเสียและใช้ไม่ได้ แต่บำงครั้งกระแสไฟฟ้ำไหลเวียนดี เครื่องก็ทำำงำนเป็นปกติ
นั่นคือถ้ำเป็นวิทยุ จะมีอำกำรเสียงขำดๆ หำยๆ บ้ำง เสียงอู้ๆอี้ๆบ้ำง และบำงทีเสียงก็ชัดแจ๋ว
แล้วสักพักเสียงก็อำจหำยไปอีก สลับกันไปมำอยู่เช่นนี้ ซำ้ำแล้วซำ้ำเล่ำ ถ้ำเป็นรถยนต์ จะมีอำกำร
เครื่องดับเสียเฉยๆบ้ำง เครื่องกระตุกบ้ำง แต่สักพักก็วิ่งได้อีก แล้วเครื่องก็ดับอีก วนเวียนอยู่เช่นนี้
จนน่ำพิศวง แต่วิทยุ รถยนต์ หรือเครื่องใช้ไฟฟ้ำอื่นๆนั้น หำสำเหตุได้ไม่ยำก เมื่อแก้สำเหตุ เช่น
เปลี่ยนถ่ำน หรือแบตเตอรี่แล้ว เครื่องก็ใช้กำรได้ดี
สำำหรับเด็กออทิสติก โดยที่สำเหตุไม่ชัดเจน แนวทำงกำรรักษำเด็กออทิสติกคือทำำให้ระยะ
เวลำที่เด็กออทิสติก เป็นปกติยำวนำนเพิ่มขึ้นๆ และยำวนำนมำกที่สุด นั่นคือทำำให้เวลำที่คลื่นใน
17

สมองหยุดไหลเวียน หรือไหลเวียนไม่คล่อง หรือไหลๆ หยุดๆ หรือไหลเวียนสับสนอลหม่ำน เกิดขึ้น


ในระยะเวลำสั้นๆ หรือหำยไปให้นำนที่สุด โดยหวังว่ำจะเป็นผลให้เด็กออทิสติกพัฒนำพฤติกรรม
ทีป่ กติเพิ่มขึ้นๆ และแทนที่พฤติกรรมที่ผิดปกติได้ทั้งหมด หรือมำกที่สุดเท่ำที่จะมำกได้
ผู้รู้ และมีประสบกำรณ์ยังถกกันอยู่ว่ำ เด็กออทิสติกรักษำให้หำยได้หรือไม่ คนที่เชื่อว่ำ
รักษำให้หำยขำดได้บอกว่ำ เด็กออทิสติกไม่ใช่เด็กพิการแต่บำงกลุ่มคนเชื่อว่ำเด็กออทิสติก
รักษำให้หำยขำดไม่ได้ แม้พัฒนำกำรด้ำนต่ำงๆจะดีขึ้นจนใกล้เคียงกับคนปกติ ก็มักยังมีลักษณะ
ของออทิสติกแฝงอยู่ และอำจแสดงอำกำรเป็นระยะๆ ไปตลอดชีวิต คนกลุ่มหลังนี้จึงบอกว่ำ
เด็กออทิสติกอาจนับเป็นคนพิการประเภทหนึ่ง
อย่ำงไรก็ตำม ในกลุ่มคนที่คิดว่ำกำรเป็นออทิสติกเป็นควำมพิกำร เพรำะรักษำให้หำยเป็น
ปกติไม่ได้ ก็ยังมีข้อขัดแย้งว่ำ เด็กออทิสติกเป็นคนพิการประเภทใด เดิมที ในสมัยที่ยังไม่มีคน
รู้จักเด็กออทิสติก เด็กมักถูกวินิจฉัยว่ำเป็น โรคจิตบ้ำง ปัญญำอ่อนบ้ำง และหูหนวกหูตึงบ้ำง
ใน พระรำชบั ญ ญั ติ ก ำรฟื้ น ฟู ส มรรถภำพคนพิ ก ำร พ.ศ. 2534 แบ่ง คนพิ ก ำรเป็ น 5
ประเภท คือ 1) คนพิกำรทำงกำย หรือกำรเคลื่อนไหว 2) คนพิกำรทำงกำรมองเห็น 3) คนพิกำร
ทำงกำรได้ยิน หรือกำรสื่อควำมหมำย 4) คนพิกำรทำงสติปัญญำหรือกำรเรียนรู้ และ 5) คน
พิกำรทำงจิตใจ หรือพฤติกรรม ส่วนในกำรรวมกลุ่มคนพิกำรเป็นองค์กรของคนพิกำรนั้น จนถึง
ปัจจุบัน สภำคนพิกำรทุกประเภทแห่งประเทศไทย ยังคงประกอบด้วย 1) สมำคมคนพิกำรแห่ง
ประเทศไทย ( พิกำรทำงร่ำงกำย และแขนขำ ) 2) สมำคมคนตำบอดแห่งประเทศไทย 3) สมำคม
คนหูหนวกแห่งประเทศไทย และ 4) สมำคมเพื่อบุคคลปัญญำอ่อนแห่งประเทศไทย ในเมื่อโดย
หลักกำร เด็กออทิสติกมีลักษณะผิดปกติเด่นชัดด้านพฤติกรรม ดังนั้นหำกประสงค์จะจัดว่ำ
เด็กออทิสติก เป็นคนพิกำร ยังคงมีควำมยุ่งยำกที่ไม่ลงตัวว่ำจะจัดเด็กออทิสติกให้เป็นคนพิกำร
ประเภทใดตำม พรบ.กำรฟื้นฟูฯ และตำมองค์กรของคนพิกำร หรือ….กลุ่มออทิสติกจะต้องรวมตัว
ก่อตั้งองค์กรของตนเองที่มั่นคงกว่ำกำรเป็น “ ชมรมผู้ปกครองเด็ก
ออทิสติค “ ( ชมรมสะกด “ ออทิสติก ” ด้วย “ ค ” )
ข้อ ความข้า งบนนั้ น เขีย นเมื่ อ ปี 2540 แต่ในปี 2543 ได้มีการก่ อ ตั้ง ทั้ ง “
สมาคมผู้ปกครองออทิซึม ( ไทย ) ” และ “ มูลนิธิเพื่อบุคคลออทิซึม ( ประเทศไทย ) ”
รวมทั้งมีเครือข่ายเป็นชมรมผู้ปกครองเด็กออทิสติกจังหวัดต่างๆ โดยร่วมกันจัดกิจกรรม
อย่างเข็มแข็ง และพัฒนาอย่างรวดเร็ว ……………ผู้เขียนขอแสดงความชื่นชมยินดีเป็น
อย่างยิ่ง

หลักการปฏิบัติต่อเด็กออทิสติก
18

เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของกำรรักษำบำำบัดเด็กออทิสติก ผู้ที่ดูแล ใกล้ชิด และเกี่ยวข้อง


กับเด็กออทิสติก ควรปฏิบัติต่อเด็ก ดังนี้
1. ให้ความรัก ความอบอุ่น และความเอาใจใส่เด็กออทิสติกให้มากที่สุด
เท่ำที่ทำำ ได้ ไม่ควรแสดง หรือใช้คำำ พูดใดๆที่แสดงว่ำ “ ไม่รัก “ เช่น ขู่เด็กว่ำ
หำกไม่ทำำตำมสั่ง “ แม่ไม่รักแล้วนะ “ เพรำะเด็กออทิสติกมักสำมำรถรับรู้ได้
และจดจำำฝังใจ เป็นสำเหตุสำำคัญที่ทำำให้เกิดกำรแสดงพฤติกรรมไม่เหมำะสม
หรือแสดงอำกำรต่อต้ำน ปฏิเสธ และก้ำวร้ำวเพื่อเรียกร้องควำมรัก และควำม
สนใจ ควรยึดหลักการให้เด็กออทิสติกรับรู้ว่า ทุกคน “ รักเขาเสมอ “
ไม่ว่าอะไรจะเกิดขึ้น ไม่ว่าเขาจะเป็นอย่างไร ไม่ว่าพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครู
พี่เลี้ยง และทุกๆคนจะปฏิบัติต่อเขาอย่างไร ล้วน “ ทำาด้วยความรัก “
ไม่เคยหยุดรัก ไม่เคยรักน้อยลง และไม่มีวันหยุดรัก
2. สร้ า งสั ม พั น ธภาพกั บ เด็ ก โดยการสร้ า งบุ ค ลิ ก ที่ มี เ มตตา อบอุ่ น
อำรมณ์เย็น อ่อนโยน นุ่มนวล ละมุลละม่อม ใจดี แต่เข้มแข็ง มั่นคง และเฉียบ
ขำดในกำรทำำตำมหลักกำร และกฎที่สำำคัญ เช่น ยิ้มแย้มแจ่มใส พูดคุยเสียง
อ่อนโยน เข้ำไปใกล้ชิดเด็ก กอดเด็กบ่อยๆให้ควำมสนใจต่อสิ่งที่เด็กทำำ ไม่
ขัดจังหวะสิ่งที่เด็กกำำลังทำำ และไม่ดุว่ำ แต่ถ้ำจำำเป็น เช่น เด็กร้องไห้ โดยไม่มี
เหตุผล อำจต้องปล่อยให้เด็กร้องไห้จนกว่ำจะหยุดเอง เป็นต้น
3. แสดงให้เด็กออทิสติกรับรู้ว่ำกำรสอน และฝึก เพื่อ ปรับพฤติ กรรมใดๆ เป็น
ควำมจำา เป็นต้องทำา ตามกฎระเบียบของสังคม ไม่ใช่เป็นควำมต้องกำร
ส่วนตัว หรือกำรเอำแต่ใจตนเอง ของผู้ฝึก พ่อแม่ พี่เลี้ยง หรือครู แต่ทุกคน
ต้องทำำตำมกฎระเบียบของสังคม อย่ำงเคร่งครัด และสมำ่ำเสมอ
4. พยำยำมจัดให้เด็กออทิสติกได้เห็นว่ำพฤติกรรม หรือกำรสื่อสำรที่สอน และ
ฝึกให้เขำทำำนั้น เป็นสิ่งที่คนหรือเด็กปกติต้องทำำ หรือทำำอยู่ทั่วไป กำรเห็นคน
หรือเด็กอื่นทำำ ช่วยเด็กออทิสติกให้ยอมรับ และเริ่มต้นปรับพฤติกรรมโดย
การทำาเลียนแบบตามตัวอย่างก่อนที่จะสามารถทำาด้วยตนเอง
5. ทุกคนที่ อ ยู่ใ กล้ ชิ ด เลี้ ย งดู หรื อ ฝึ ก สอนเด็ ก ออทิ ส ติ ก ต้ อ งปฏิบั ติตนเป็ น
ตั ว อย่ า งที่ ดี ข องเด็ ก ออทิ ส ติก อย่ า งเคร่ ง ครั ด นั่ น คื อ ถ้ ำ อยำกให้ เ ด็ ก มี
พฤติกรรมเช่นไร ทุกคนต้องมีพฤติกรรมเช่นนั้น ยกเว้นกรณีที่จำำ เป็นจริงๆ
ได้แก่ พฤติก รรมที่ผู้ห ญิง ต้อ งทำำ ต่ำ งจำกผู้ ชำย หรื อเด็ก ต้อ งทำำ ต่ำ งผู้ใหญ่
19

เป็นต้น แต่ต้องพยำยำมอธิบำยควำมแตกต่ำงนี้ให้เด็กเข้ำใจ กล่ำวอีกนัยหนึ่ง


คือ ผู้ดูแลเด็กออทิสติกไม่ควรทำาอะไรที่ไม่ต้องการให้เด็ก
ออทิสติกทำา
6. เฝ้ำสังเกตพฤติกรรมของเด็กออทิสติกอย่ำงใกล้ชิด ทำาบันทึกสิ่งที่เขาชอบ
และไม่ชอบ พฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม และจำา เป็ นต้อ งแก้ไ ขเร่งด่ว น
ตามลำา ดั บ รวมทั้ ง สาเหตุ ซึ่ ง มั ก มี ผ ลกระทบให้ เ ด็ ก เกิ ด อารมณ์
แปรปรวน และอื่นๆ เพื่อให้รู้จักธรรมชำติ ควำมคิด ควำมรู้สึก พฤติกรรม
และลักษณะนิสัยของเด็กให้มำกที่สุด ซึ่งจำำเป็นต้องใช้ในกำรวำงแผนดำำเนิน
กำรช่วยเหลือเด็ก เมื่อรู้จักและคุ้นเคยกับเด็กแล้ว ควรสามารถคาดเดาได้
ล่ วงหน้ าว่ าเด็ก จะทำา อะไร หรื อ จะมีป ฏิกิ ริ ย าตอบอย่ า งไร ก่ อ นเด็ก
แสดงปฏิกิริยา เพื่อจัดการป้องกันการเกิดพฤติกรรมที่ไม่ถูกต้อง หรือ
ปรับพฤติกรรมให้เหมาะสมได้ทันท่วงที
7. รักษากฎ หรือข้อตกลงอย่างเคร่งครัด และสมำ่าเสมอ เพื่อให้เด็กออทิสติ
กเข้ ำ ใจ ปฏิ บั ติ ต ำมได้ ง่ ำ ย และเรี ย นรู้ ก ารควบคุ ม ตนเอง ไม่ ค วรโลเล
เปลี่ยนแปลง หรือใช้บ้ำงไม่ใช้บ้ำง ยกเว้นเมื่อเกิดกรณีที่จำำเป็นจริงๆ จึงยอม
ยืดหยุ่นได้ เช่น เมื่อมีกฎว่ำต้องกินข้ำวเช้ำก่อนไปโรงเรียน ควรพยำยำมให้เด็ก
กินทุกเช้ำ โดยใช้กำรกระตุ้น จูงใจ ให้รำงวัล รวมทั้งจัดหำอำหำรที่ถูกใจเด็ก
มำกที่สุด ถ้ำเด็กไม่ยอมกิน ควรจูงใจให้กินอย่ำงน้อย 1 คำำ หรือเพิ่มจำำนวนคำำ
เท่ำที่สำมำรถต่อรองกับเด็กได้ แต่ไม่ควรยกเว้นว่ำไม่ต้องกินเลย นัน่ คือ แสดง
ให้เด็กรับรู้ว่าเขาต้องเชื่อฟังพ่อแม่ พี่เลี้ยง หรือผู้ดูแล และทำาตามใจ
ตนเองไม่ได้
8. ให้เด็กทำาในสิ่งที่เขาต้องการและมีความสุข ตรำบเท่ำที่กำรกระทำำนั้น ไม่
ก่อให้เกิดควำมเสียหำย หรืออันตรำย และอยู่ภำยใต้ขอบเขต บริ เวณหรื อ
เงื่ อ นไขที่ ต กลงกั น ไว้ แ ล้ ว เช่ น เล่ น อยู่ ใ นห้ อ ง เล่ น เฉพำะของเล่ น ที่ จั ด ให้
เป็นต้น อย่าดูแลเข้มงวดตลอดเวลา เพรำะทำำให้เด็กเครียดมำก กำรให้เด็ก
ได้ทำำสิ่งที่เขำต้องกำรจะช่วยให้เด็กอำรมณ์ดี มีควำมสุข และพร้อมจะเรียนรู้
สิ่งอื่นๆ ได้ง่ำยขึ้น
9. อย่าทำาให้เด็กอารมณ์เสียโดยไม่จำาเป็น โดยเฉพำะไม่บังคับเด็กให้ทำำ ใน
สิ่งที่เด็กไม่ต้องกำร หรือขัดจังหวะขณะเด็กกำำลังทำำในสิ่งที่เขำมีควำมสุข และ
ไม่ก่อให้เกิดกำรเสียหำย รวมทั้งไม่ควรแกล้ง ยั่วเย้ำ กระเซ้ำแหย่เด็กเพื่อควำม
สนุกสนำน แต่ทำำให้เด็กหงุดหงิด หรืองอแง เพรำะจะช่วยฝึกให้เด็กมีอำรมณ์
สงบนิ่ง และมีสมำธิยำวนำนขึ้น
20

10. สร้ า งแรงจู ง ใจ และแรงเสริ ม เพื่ อ ดึ ง ความสนใจให้ เ ด็ ก อยากทำา


พฤติกรรมที่เหมาะสม นัน่ คือควรให้รำงวัลเด็กออทิสติกอย่ำงสมำ่ำเสมอเมื่อ
เด็กทำำสิ่งที่ดี ถูกต้อง หรือเหมำะสม
11. เริ่มฝึกพฤติกรรมโดยให้เด็กทำา เลียนแบบและทำา ตามแบบ โดยทำา
ซำ้าๆในสถานการณ์ต่างๆ กับคนที่หลากหลาย จนกว่าเด็กจะสามารถ
จำา และทำา ด้ ว ยตนเอง ทั้ ง นี้ ต้ อ งจั ด ให้ มี ก ำรเปลี่ ย นแปลงกิ จ กรรม
สถำนกำรณ์ คน อุปกรณ์ หรือสื่อที่ละน้อย เปลี่ยนอย่ำงช้ำๆ เปลี่ยนทีละอย่ำง
และเปลี่ยนทีล่ ะขั้นตอน เป็นต้น
12. สั่งทีละอย่างและใช้คำาสั่งสั้นๆ เมื่อเด็กพัฒนำกำรทำำเลียนแบบ และกำร
ทำำตำมพอสมควรแล้ว จึงฝึกสั่งให้เด็กทำำโดยเริ่มจำกคำำสั่งสั้นๆ ง่ำยๆ ตรงไป
ตรงมำ แล้วจึงใช้คำำสั่งที่ยำวขึ้น ยำกขึ้น หรือใช้คำำสั่งที่ให้ทำำมำกกว่ำ 1 อย่ำง
ตำมลำำดับ
13. จัดกิจกรรมปรับพฤติกรรมให้สอดคล้องกับการพัฒนาด้านร่างกาย
และความคิ ดของเด็ก โดยเลี ย นแบบกำรพั ฒนำของเด็ ก ทั่ว ไป เช่ น กำร
เคลื่อนไหวร่ำงกำย กำรใช้แขน ขำ มือ และนิ้ว กำรเรียนเรื่องพื้นฐำน เช่น ส่วน
ประกอบของร่ำงกำย ขนำด รูปร่ำง และสี เป็นต้น
14. จัดกิจกรรมให้เด็กฝึกทำา ในลักษณะเป็นขั้นตอนเรียงลำา ดับ จำกขั้น
ตอนที่ง่ำย สั้น และมีน้อยขั้นตอน ไปสู่ขั้นตอนที่ยำก ยำวและมีขั้นตอนมำกขึ้น
ตำมลำำ ดับ เพรำะ เด็กออทิสติกชอบทำำ กิจกรรมเรียงตำมลำำ ดับซำ้ำ ๆ จนเมื่อ
เด็กพัฒนำพอสมควรแล้วจึงฝึกตัด เพิ่มหรือสลับขั้นตอนได้
15. อย่าสั่งให้เด็กออทิสติกทำาในสิ่งที่เด็กทำาไม่ได้ เพรำะเด็กจะไม่ยอมทำำ
หวำดกลัว ต่อต้ำน อำรมณ์เสีย และเกิดควำมไม่มั่นใจในตนเอง ควรให้เด็กทำำ
สิ่งที่เหมำะกับควำมสำมำรถของเด็กแต่ละคน และเริ่มทำำ สิ่งง่ำยๆ ไปหำสิ่ง
ยำกเสมอ
16. ให้เวลาเด็กออทิสติกคิด และทำา เด็กออทิสติกมักใช้เวลำในกำรตัดสินใจ
คิด และทำำ ยำวนำนกว่ำเด็กทั่วไป บำงทีบอกแล้ว 5 นำที เด็กจึงตัดสินใจทำำ
ดังนั้นจึงไม่ควรเร่งหรือเซ้ำซี้ เด็กออทิสติก
17. ไม่ตามใจเด็ก เพื่อให้เด็กหยุดร้องไห้ ต้องยอมรับว่ำ กำรร้องไห้ของเด็กเป็น
เรื่องธรรมดำ ควรวิเครำะห์สำเหตุ และกำรป้องกันโดยวิธีกำรที่ถูกต้อง
18. พูดคุย กับเด็กบ่อยๆ ( ดูหน้ำ 25 ) เพื่อให้เด็กคุ้นเคยกับกำรฟังเสียงพูด
รับรู้ภำษำพูด และพัฒนำกำรสื่อสำร โดยพูดให้ชัดเจน อย่ำพูดเร็วเกินไป พูด
21

ซำ้ำๆ และพูดคุยเรื่องเดิมบ่อยๆ ตลอดจนใช้ภำษำที่สั้น ง่ำย ตรงไปตรงมำ จะ


ช่วยเด็กออทิสติกให้เข้ำใจและเรียนรู้ภำษำได้เร็วกว่ำกำรใช้คำำยำกๆ และพูด
อธิบำยยืดยำว

หลักการทำาให้เด็กออทิสติกหยุดพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม

เด็กออทิสติกมักมีพฤติกรรมที่ผิดปกติ หรือไม่เหมำะสมหลำยประกำร ดังกล่ำวแล้วใน


หน้ำที่ 2 - 4 หลักกำรที่จะทำำให้เด็กหยุดพฤติกรรมเหล่ำนั้น ได้แก่
1.เบี่ยงเบนความสนใจ โดยกำรจักจูงเด็กให้สนใจสิ่งอื่น หรือทำำ อย่ำงอื่นแทน
เช่น ชวนเด็กพูดคุยเรื่องที่เด็กสนใจ ชวนเด็กให้เล่นของเล่นที่เด็กชอบ ชวนเด็กเปลี่ยนอิริยำบท
เป็นต้น
2.ขัดขวางการทำาพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ เช่น ถ้ำเด็กออทิสติกกำำลังเล่นนิ้ว
ตนเอง ให้หำของที่เด็กเคยสนใจส่งให้เด็กถือในมือ เพื่อให้มือของเด็กไม่ว่ำงที่จะเล่นอีกต่อไป
เป็นต้น
3.เข้าควบคุมสถานการณ์ เพื่อปรับให้เป็นพฤติกรรมที่เหมำะสม เช่น ถ้ำเด็ก
ออทิสติกกำำลังอำรมณ์เสียและจะปำสิ่งของเพื่อให้เกิดควำมเสียหำย ให้รีบหยิบของที่ใช้ในเกมปำ
เล่นมำให้เด็กปำตำมกฎเกณฑ์ของสังคม เช่น เล่นเกมปำลูกบอลใส่ข้ำงฝำหรือใส่ตะกร้ำ หรือถ้ำ
เด็กทำำท่ำจะวิ่งเตลิดไป ให้นำำเด็กวิ่งเล่นแทน เป็นต้น
4.สะกัดกั้นพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ก่อนเด็กจะทำา เช่น เด็กออทิสติกบำง
คนอำเจียนหลังอำหำรเช้ำ บำงคนร้องไห้ก่อนโรงเรียนเลิก เป็นต้น ให้ชักจูงเด็กออทิสติกจดจ่อหรือ
หมกหมุ่นกับกิจกรรมที่เขำสนในมำกที่สุดก่อนถึงเวลำที่เขำเคยมีพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ จนกว่ำ
เวลำนั้นจะผ่ำนพ้นไป โดยทำำซำ้ำๆติดต่อกันอย่ำงน้อย 5 วัน เพื่อให้เด็กหยุดพฤติกรรมนั้นๆติดต่อ
กัน จนเกิดควำมเคยชิน และไม่ทำำพฤติกรรมนั้นอีก
5.เข้าไปกอดรัดเด็ก เพื่อทั้งแสดงควำมรัก ให้ควำมอบอุ่น และจับเด็กให้หยุด
พฤติกรรมที่ไม่เหมำะสม กำรกอดอำจต้องทำำค่อนข้ำงรุนแรงเพื่อให้เด็กไม่สำมำรถเคลื่อนไหวและ
ควบคุมตนเองได้ แต่ต้องระมัดระวังไม่ให้เด็กเจ็บมำก หรือเกิดอันตรำย และทันทีที่เด็กลดควำม
รุนแรง ต้องค่อยๆคลำยกอดเด็ก
6.เมินเฉย ในกรณีที่วิธีกำรดังกล่ำวข้ำงต้นไม่ได้ผล โดยเฉพำะเมื่อเด็กออทิสติก
มีอำกำรร้องไห้และชักดิ้น ให้จัดสภำพแวดล้อม หรือจัดเก็บสิ่งของต่ำงๆ รอบตัวเด็กจนแน่ใจว่ำ จะ
ไม่เกิดอันตรำยกับเด็ก เช่น ไม่มีของแข็ง หรือของมีคมที่เด็กจะดิ้นชนได้ เป็นต้น แล้วปล่อยให้เด็ก
ร้อ งไห้ จนกว่ำ จะหยุ ดเอง แต่ ผู้ดู แล จะต้ องนั่ง เฝ้ ำ ดู เ ด็ ก อยู่ ห่ำ งๆ ในระยะที่ เ ด็ ก มองเห็ น และ
22

สำมำรถเข้ำถึงตัวเด็กได้ในทันทีที่อำจเกิดอันตรำยกับเด็กหรือเด็กทำำ ร้ำยตัวเอง ควรแสดงให้เด็ก


เห็นว่ำสิ่งที่เด็กทำำนั้นไม่ถูกต้อง เขำควรหยุดทำำ และกำำลังรอให้เด็กหยุด ทันทีที่เด็กแสดงทีท่ำลด
ควำมรุนแรง ( ชักหรือดิ้นเบำลงแต่ยังร้องไห้ หยุดชักแต่ยังร้องไห้เสียงดัง ร้องไห้เสียงเบำลง ฯลฯ )
จะหยุด หรือหยุดร้องไห้ ให้พูดชมเชย ตบมือ ขยับเข้ำไปใกล้เด็ก กอดเด็กหรือแสดงให้เห็นว่ำทำำถูก
ต้องแล้วทันที ทำำเช่นนี้เป็นระยะๆ ถ้ำเด็กร้องไห้รุนแรงขึ้น ให้คลำยมือที่กอด ขยับถอยห่ำงออกเพิ่ม
ขึ้นๆ ที่สำำ คัญคือ ไม่ควรแสดงอาการโกรธ ไม่พอใจ ไม่มองเด็ก พูดหรือแสดงให้เห็นว่า “
ไม่รักแล้ว “ “ เด็กถูกทอดทิ้ง “ และ หนีไปซ่อนไม่ให้เด็กเห็น เป็นต้น
ในกรณีที่เป็นกิจกรรมกลุ่ม หรือผู้ฝึกมีกิจกรรมอื่นอยู่ อำจเมินเฉยต่อเด็ก
โดยกำรดำำ เนินกิ จกรรมอื่น ต่อ ไป และแสดงอำกำรไม่สนใจว่ำเด็กทำำ อะไร จนกว่ำเด็ก จะปรั บ
เปลี่ยนพฤติกรรมไปในทำงที่ดีขึ้น
7. ออกคำาสั่ง สำำหรับเด็กออทิสติกที่มีพัฒนำกำรรับรู้ภำษำพูดบ้ำงแล้ว ควรฝึก
เด็กให้รับรู้คำำ สั่งสำำคัญๆ เช่น “ หยุด “ “ ไม่เอำ “ “ มำ “ “ รอ “ เป็นต้น
แล้วใช้คำำสั่ง เหล่ำนั้นเพื่อให้เด็กออทิสติกหยุดพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ เมื่อ
เด็กรับรู้ภำษำพูดมำกขึ้น จึงใช้คำำ สั่งที่ ยำวขึ้ นพร้อ มทั้ งอธิบำยเหตุ ผล ตำม
ควำมเหมำะสม

การสร้างสมาธิของเด็กออทิสติกให้ยาวนานขึ้น

สำเหตุหนึ่งที่ทำำให้เด็กออทิสติกเรียนรู้ได้จำำกัด คือกำรมีสมำธิสั้น แนวทำงกำรสร้ำงให้เด็ก


ออทิสติกมีสมำธิยำวนำนขึ้น มีดังนี้
1.ฝึกเด็กนั่งนิ่งๆบนเก้ำอี้ในท่ำที่พักสบำย และนั่งพร้อมกับหันหน้ำสบตำผู้ฝึก
โดยจับเวลำให้ฝึกทำำเป็นระยะเวลำสั้นๆ แล้วจึงเพิ่มเวลำให้นำนขึ้นๆตำมลำำดับ
2.อย่าขัดจังหวะเด็กขณะเด็กกำาลังมีสมาธิ ทำำสิ่งใดสิ่งหนึ่งซึ่งไม่ใช่พฤติกรรมที่
ผิดปกติ หรือเป็นอันตรำย
3.จัดกิจกรรมที่เด็กสนใจ และทำำได้อย่ำงต่อเนื่อง เพื่อสำมำรถใช้สร้ำงสมำธิได้
เช่น ร้อยลูกปัด วำดภำพ ตัดกระดำษ เป็นต้น
4.กำาจัดสิ่งเร้า หรือสิ่งที่อาจดึงดูดใจเด็ก เช่น เสียง แสง ภำพ คน สิ่งของ และ
กำรเคลื่อนไหว เป็นต้น โดย อย่ำวำงของเล่นอื่นไว้ให้เด็กมองเห็น ไม่เปิดโทรทัศน์หรือวิทยุไว้ ปิด
หน้ำต่ำง หรือประตูเพื่อไม่ให้มองเห็นภำยนอก ให้เด็กทำำกิจกรรมโดยหันหน้ำเข้ำหำข้ำงฝำ และไม่
ให้มีคนอื่นทำำกิจกรรมอื่นอยู่ใกล้ๆ เป็นต้น
23

5.ให้แรงจูงใจ และแรงเสริมแก่เด็กเมื่อเด็กแสดงว่ำมีสมำธิตำมควำมเหมำะ
สม ( ดูหน้ำ 17 )
6.จัดสภาพแวดล้อมให้เด็กอยู่ในบริเวณจำากัด เช่น ให้เด็กทำำกิจกรรมบริเวณ
ตรงมุมห้อง บริเวณแคบๆ บริเวณที่กั้นเป็นเขตไว้ จัดฉำกกั้นรอบตัวเด็ก หรือใช้ห้องที่ไม่กว้ำงนัก
เป็นต้น
7.กำา หนดเวลาการทำา กิจกรรม เพื่อให้เด็กคำดกำรณ์ได้ว่ำจะเสร็จสิ้นเมื่อไร
อำจใช้กิจกรรม หรือนำฬิกำเป็นตัวกำำหนด เช่น ร้อยลูกปัดหมดทุกลูก แล้วเลิก หรือ ระบำยสี 15
นำที แล้วเลิก เป็นต้น ทัง้ นี้ควรเริ่มจำกทำำกิจกรรมเป็นระยะเวลำสั้นๆ แล้วค่อยเพิ่มเวลำให้นำนขึ้น
ตำมควำมสำมำรถ และสมำธิของเด็กแต่ละคน

กฎเหล็กสำาหรับเด็กออทิสติก

แม้เด็กออทิสติกจำำเป็นต้องเรียนรู้ และปฏิบัติตำมกฎมำกมำย ดังได้กล่ำวไว้ในหน้ำ 11 ถึง


14 แต่กฎสำำ คัญที่ต้องทำำ ทุกวิถีทำงให้เด็กรับรู้ และปฏิบัติตำมอย่ำงเคร่งครัดโดยเร็วที่สุด โดย
เฉพำะสำำ หรับเด็กที่เคยทำำ หรือมีแนวโน้มที่จะทำำ คือ 1) ห้ามทำาร้ายตนเอง 2) ห้ามทำาร้าย
คนอื่น และ 3) ห้ามทำาของเสียหาย ถ้ำเด็กทำำสิ่งเหล่ำนี้ แนะนำำให้ใช้วิธีกำรหยุดพฤติกรรมที่
ไม่เหมำะสมดังกล่ำวก่อนหน้ำนี้ ( หน้ำ 14 )

กฎเหล็กสำาหรับคนที่อยู่กับเด็กออทิสติก

แม้กำรเลี้ยงดู ดูแลหรืออยู่กับเด็กออทิสติกเป็นเรื่องค่อนข้ำงยุ่งยำก แต่พ่อแม่ พี่เลี้ยง ผู้ฝึก


ครู และคนอื่นๆ ควรเคร่งครัดกับกฎ ต่อไปนี้ 1) ไม่ใช้อารมณ์ ( เสีย )กับเด็ก 2) ไม่ทำาร้ายเด็ก
และ 3) ไม่ทอดทิ้งเด็ก ไม่วำ่ อะไรจะเกิดขึ้น

วิธีการสร้างแรงจูงใจและแรงเสริมสำาหรับเด็กออทิสติก

กำรให้แรงเสริม รำงวัล หรือสร้ำงแรงจูงใจเพื่อให้เด็กออทิสติกปฏิบัติตำมต้องกำรเป็นสิ่ง


สำำคัญมำก และควรใช้อย่ำงสมำ่ำเสมอ และเหมำะสม มำกกว่ำกำรบังคับเด็กให้ทำำอะไรโดยเด็กไม่
เต็มใจ ไม่กระตือรือร้นหรือไม่อยำกทำำ

วิธีการสร้างแรงจูงใจ และแรงเสริม เรียงตำมลำำดับจำกระดับน้อยไปมำก ได้ดังนี้


24

1. ยิ้ม
2. ยิ้ม และพยักหน้ำ
3. พูดชมเชย เช่น - ถูก แม่ชอบ ดี เก่ง เก่งจริงๆ ฉลำด ฯลฯ
- สวยดี เร็วดี เพรำะดี ชัดดี ฯลฯ
4. พูดชมเชยพร้อมกับตบมือ อำจชวนเด็กตบมือให้ตนเองด้วย
5. พูดชมเชยพร้อมกับชูนิ้วหัวแม่มือให้เด็กดู
6. พูดชมเชยพร้อมกับชวนให้คนอื่นๆ ดู ให้คนอื่นตบมือให้ ยกนิ้วหัวแม่มือให้
หรือให้คนอื่นพูดชมเชยอีก
7. ให้รางวัลที่เด็กพอใจ และเหมำะสมกับสถำนกำรณ์นั้นๆ เช่น ให้ของเล่น ให้
ขนมกิน ให้ดูโทรทัศน์ พำไปเดินเล่น พำไปเที่ยว ฯลฯ ข้อสำำคัญคือ ไม่ควรให้
รางวัลในลักษณะที่เป็นการยกเว้น ไม่ต้องทำาตามกฎระเบียบ หรือข้อ
ตกลง
การลงโทษเด็กออทิสติก

เด็กออทิสติกมักทำำผิดบ่อยๆ พอๆกับกำรไม่ยอมทำำอะไรเลย แต่ไม่ว่ำในกรณีใดๆ ไม่ควร


ลงโทษเด็กออทิสติกโดยกำรตีหรือทำำร้ำยเด็กในลักษณะใด ซึ่งหมำยรวมถึงกำรไม่ควรตีเด็กด้วย
อำรมณ์ เด็กออทิสติกบำงคนอำจไม่ร้องไห้ ไม่แสดงอำกำรเจ็บปวดต่อกำรถูกตี แต่บอกไม่ได้ว่ำ
เด็กขวัญเสียเพียงใดจำกกำรถูกตีซึ่งอำจมีผลให้พฤติกรรมถดถอยได้
ดังนั้น เพียงแต่เมินเฉย ไม่สนใจการกระทำาของเด็ก หรือไม่สนใจว่าเด็กจะเข้าร่วม
กิจกรรมหรือไม่ ก็เป็นการลงโทษเด็กที่รุนแรง และกระทบกระเทือนจิตใจเด็กพอแล้ว
อนึ่ ง ต้ อ งระมั ด ระวั ง ไม่ ใ ห้ เ ด็ ก เข้ า ใจผิ ด ว่ า ปฏิ กิ ริ ย า และการลงโทษบางอย่ า ง
เป็นการสร้างแรงจูงใจ หรือให้รางวัล หรือเป็นการเล่นกับเด็ก ยกตัวอย่ำง เช่น กำรที่เด็ก
ร้องไห้ และลงนอนดิ้นกับพื้น แล้วพ่อแม่วิ่งเข้ำไปกอด อำจทำำให้เด็กใช้กำรร้องไห้ และลงนอนดิ้น
กับพื้นเป็นกำรเรียกร้องควำมสนใจจำกพ่อแม่ หรือถ้ำเด็กทำำผิด แล้วพ่อแม่เข้ำไปตี เด็กออทิสติ
กซึ่งไม่สนใจกับควำมรู้สึกเจ็บจำกกำรตี อำจคิดว่ำกำรที่พ่อแม่เข้ำมำตี เป็นกำรเข้ำมำหำด้วย
ควำมสนใจ เด็กจึงไม่เรียนรูว้ ่ำเด็กทำำผิด เด็กบำงคนถูกเพื่อนทำำร้ำย แต่เด็กคิดว่ำเพื่อนเล่นด้วย ดัง
นัน้ พ่อแม่ต้องคอยสังเกต และปรับเปลี่ยนท่ำทีต่อกำรตอบสนองต่อปฏิกิริยำของเด็กให้เหมำะสม

หลักการปรับพฤติกรรมของเด็กออทิสติก
25

วิธีกำรปรับพฤติกรรมของเด็กมีควำมแตกต่ำงกันตำมลักษณะของพฤติกรรม และเด็ก
แต่ละคน หลักกำรที่สำำคัญคือ
1. กำำ หนดในใจว่ำจะมุ่งมั่นปรับพฤติกรรม ให้เด็กออทิสติกมีพฤติกรรมใกล้
เคียงกับเด็กปกติมำกที่สุดเท่ำที่ทำำได้
2. บันทึกพฤติกรรมที่ไม่ปกติ และไม่สมควรปล่อยให้เด็กทำำ ต่อไป โดยเรียง
ลำำดับจำกผิดปกติจำกมำกไปน้อย หรือจำกต้องรีบแก้ก่อนไปที่รอกำรแก้ได้
3. ปรับแก้ทีละพฤติกรรม ไม่ควรปรับแก้ตลอดทั้งวัน หรือตลอดเวลำ หรือปรับ
ทุ ก พฤติ ก รรมพร้ อ มกั น เพรำะจะดู เ หมื อ นจุ ก จิ ก เข้ ม งวด และสร้ ำ ง
ควำมเครียดให้เด็กมำก
4. กำำ หนดพฤติก รรมซึ่ง เป็น เป้ำหมำยที่ จ ะต้ อ งปรั บให้ ห มดไปแบบระยะสั้ น
และระยะยาว พฤติกรรมทีไ่ ม่เกิดบ่อยควรรีบปรับทันทีที่เกิดขึ้นเพื่อให้หมดไป
ส่วนพฤติกรรมที่ทำำซำ้ำๆมำยำวนำนต้องเลือกเน้นปรับเฉพำะบำงเรื่องเป็นหลัก
มำกกว่ำพฤติกรรมอื่นๆ นั่นคือทะยอยแก้ทีละพฤติกรรม แบบค่อยเป็นค่อยไป
ปล่อยพฤติกรรมที่ไม่ค่อยสำำคัญไปก่อน สำาหรับพฤติกรรมหลักที่ต้องการ
แก้ ควรเฝ้าดูตลอดเวลา และป้ องกัน ไม่ใ ห้เกิ ดพฤติกรรมนั้ นๆซำ้า ๆ
หรือ ติดต่อกันทุกวัน จนกว่าจะกำาจัดพฤติกรรมนั้นให้หมดไป แล้วจึง
เฝ้าดู และกำาจัดพฤติกรรมอื่นตามลำาดับ ในขณะเดียวกันเมื่อต้องการ
สร้างพฤติกรรมอะไร ต้องจูงใจ หรือกระตุ้นให้เกิดพฤติกรรมนั้นใน
สถานการณ์ ที่เหมาะสมทุ กครั้ง จนกว่า เด็ก จะทำา ได้เ องจนเป็ น นิ สั ย
ประจำา โดยหลักกำรต้องจัดกำรให้พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ลดลงๆ และ
พฤติกรรมที่พึงประสงค์เพิ่มขึ้นๆ จนกระทั่งพฤติกรรมทีไ่ ม่พึงประสงค์หมดไป
กำรพยำยำมหยุดทุกพฤติกรรมที่ไม่ปกติพร้อมกัน หรือกำร
สร้ำงทุกพฤติกรรมให้ปกติพร้อมกันตลอดเวลำ เช่น พยำยำมให้เด็กทำำในสิ่งที่
เด็กไม่ต้องกำรพร้อมกัน ได้แก่ แปรงฟัน สบตำ ไม่เล่นมือ ไม่ร้องไห้ ฯลฯ หรือ
พยำยำมให้เด็กพูดเสียงชัดทุกคำำ หรือชัดทุกพยัญชนะตลอดเวลำ มักประสบ
ผลสำำเร็จช้ำกว่ำ ควรมุ่งให้เด็กยอมแปรงฟันโดยไม่สนใจว่ำเด็กจะสบตำ หรือ
เล่นมือ ต่อไปเมื่อเด็กยอมรับ และเคยชินกับกำรแปรงฟันแล้ว จึงมุ่งเน้นให้เด็ก
หยุดเล่นมือขณะแปรงฟัน และมุ่งเน้นปรับแก้ให้เด็กพูดคำำที่สำำ คัญจนชัดเป็น
นิสัยก่อน แล้วจึงแก้เสียงคำำอื่นต่อไป มักช่วยให้เด็กสับสนน้อยลง
5. ให้เด็กทำำกิจกรรมที่เด็กสนใจที่สุด แล้วจึงใช้กิจกรรมที่เด็กสนใจนั้นนำาไปสู่
การทำากิจกรรมอื่น โดยสอดแทรกกิจกรรมใหม่เข้ำไปทีละนิดๆ จนผสมผสำน
26

กับกิจกรรมเก่ำได้ดี หรือทดแทนที่กิจกรรมเก่ำได้ เช่น ให้เด็กเล่นโยนลูกบอล


ตำมที่เด็กชอบ แต่ให้ฝึกพูดเสียงคำำใดคำำหนึ่งดังๆ ก่อนโยนลูกบอลทุกครั้ง ต่อ
ไปจึงจัดกิจกรรมให้เด็กออทิสติกฝึกพูดเสียงดังเพียงอย่ำงเดียว

การมองของเด็กออทิสติก

กำรไม่สบตำใครๆ เป็นลักษณะที่เด่นชัดประกำรหนึ่งของเด็กออทิสติก บำงคนเชื่อว่ำ ขั้น


ตอนแรกของกำรบำำบัดเด็กออทิสติกคือ ต้องทำำให้เด็กออทิสติกสบตำให้ได้เสียก่อน จึงพยำยำมทุก
อย่ำงที่จะให้เด็กออทิสติกสบตำ ซึ่งบำงรำยอำจประสบผลสำำ เร็จเร็ว แต่ส่วนมำกจะต้องใช้เวลำ
ค่อนข้ำงยำวนำน
โดยทั่ ว ไป ปั ญ หาหลั ก ของเด็ ก ออทิ ส ติ ก มี 2 ประการ คื อ 1) การมี พ ฤติ ก รรม
ผิดแผกแตกต่างจากคนปกติ และ 2) การไม่สื่อสารกับคนปกติ ฉนั้นแนวทำงที่จะช่วยบำำบัด
ให้เด็กออทิสติกสำมำรถดำำรงชีวิตในสังคมของคนปกติ คือ 1) กำรปรับพฤติกรรมให้เป็นที่ยอมรับ
ของสังคมคนปกติ และ 2) พัฒนำกำรสื่อสำรกับคนปกติ ทั้ง 2 ประกำรดังกล่ำวสำมำรถทำำควบคู่
ไปพร้อมกัน
จำกประสบกำรณ์ ผูเ้ ขียนเชื่อว่ำ เด็กออทิสติกสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรม รวมทั้ง
เรียนรู้การสื่อสาร ไม่ว่าจะเพียงรับรู้ และเข้าใจคำาพูด หรือการเปล่งเสียงพูด ได้ โดยเด็ก
ยังไม่สบตาอย่างมีความหมายเลย ดังนั้น อำจไม่จำำ เป็นต้องฝึกเด็กให้สบตำก่อน จึงปรับแก้
หรือพัฒนำด้ำนอื่นๆ ควรทำำไปพร้อมๆ กันได้
อนึ่ง กำรสบตำนั้นเป็นวิธีสื่อสำรวิธีหนึ่งของเด็กออทิสติก ที่มีกำรพัฒนำได้หลำยขั้นตอน
คือ
1. ไม่มองใครเลย หรือมองอย่ำงว่ำงเปล่ำ เหมือนไม่เห็นใคร
2. มองผ่านๆ แต่เริ่มรับรู้กำรมีตวั ตนของคนอื่น
3. เหลือบมอง น่ำจะนับเป็นกำรเริ่มมองโดยเจตนำ แต่ยังไม่คิดจะสื่อสำรด้วย
4. แอบมอง เป็นกำรยอมรับกำรมีตัวตนของคนอื่น และให้ควำมสนใจ แต่ยังไม่
ต้องกำรสื่อสำร
5. มองตาม เป็นกำรแสดงกำรรับรู้กำรมีตัวตนยิ่งขึ้น เด็กอำจมองตำมทั้งคน
และมองตำมสิ่งของที่เคลื่อนที่
6. มองสบตา เป็นกำรยอมรับควำมสัมพันธภำพขั้นแรก แต่อำจไม่มีกำรสื่อสำร
เกิดขึ้น
27

7. มองอย่างมีความหมาย เป็นกำรแสดงควำมประสงค์จะสื่อสำร ควำมหมำย


ในกำรมองของเด็กออทิสติก มีต่ำงๆกันดังนี้
6.1 มองเพื่อต่อว่า หรือ สื่อให้รู้ว่ำเขำรู้สึกไม่พอใจ
6.2 มองเพื่อห้าม หรือ สื่อให้ผู้ที่เขำมองหยุดกำรกระทำำที่กำำลังทำำอยู่
6.3 มองเพื่อขอให้ช่วยทำำ ในสิ่งที่เด็กกำำ ลังทำำ อยู่หรือต้องกำรให้ทำำ
เช่น ยื่นขวดนำ้ำให้พร้อมกับมองหน้ำ เพื่อสื่อว่ำ “ ช่วยเปิดขวดนำ้ำด้วย
“ เป็นต้น
6.4 มองเพื่อขออนุญาตที่จะทำำในสิ่งที่เขำต้องกำร แต่ไม่แน่ใจว่ำได้
รับอนุญำตให้ทำำได้หรือไม่ เช่น มองที่ขนม แล้วหันมำมองหน้ำคนที่
อยู่ใกล้ เพื่อสื่อว่ำ “ ขอกินขนมได้หรือไม่ “

โดยทั่วไป เด็กออทิสติก มักพัฒนำกำรมองตำมลำำดับ เด็กอำจใช้เวลำที่จะพัฒนำไปสู่ขั้น


ถัดไปต่ำงกัน และเด็กอำจใช้กำรมองแต่ละระดับสลับกันไปมำ จึงไม่ควรกำำหนดเป้ำหมำยว่ำต้อง
ให้เด็กมองสบตำอย่ำงมีควำมหมำยทุกครั้ง อย่ำงไรก็ตำม ควรช่วยเด็กให้มีพัฒนำกำรมองเร็วขึ้น
โดยกำรจัดกิจกรรมเพื่อสอน และฝึกกำรมองแต่ละขั้น ดังกล่ำวข้ำงต้น
หลักกำรจูงใจให้เด็กออทิสติกมองสบตำ คือ จัดเด็กให้นั่งนิ่งในท่ำสบำย ตั้งคอตรง และ
จูงใจให้เด็กมองหน้ำ โดยกำรถือสิ่งของที่เด็กสนใจไว้ข้ำงแก้มของผู้ฝึกพร้อมทั้งพูดคุย เกี่ยวกับ
สิ่งของนัน้ เป็นต้น

การพัฒนาการสื่อสารของเด็กออทิสติก

หลักกำรช่วยเด็กออทิสติกให้ติดต่อสื่อสำรกับคนอื่นได้ ต้องเริ่มโดยกำรพัฒนำภำษำก่อน
โดยกำรเลือกภำษำที่เหมำะสมสำำหรับเด็กแต่ละคน ซึ่งอำจแตกต่ำงกัน ดังนี้
1.ภาษาท่าทาง สำำหรับเด็กเล็ก หรือเด็กที่พูดไม่ได้ ควรเริ่มต้นให้สื่อสำรโดยกำรพัฒนำ
ภำษำท่ำทำงง่ำยๆ เช่น ส่ายหน้า แทนกำรพูด “ ไม่เอำ “ “ไม่ทำำ “ “ แม่ไม่ชอบ “ พยักหน้า
แทนกำรพูด “ ได้ “ “ ตกลง “ “ ใช่ “ กอด แทนกำรพูด “ รัก “ “ ดีใจ “ “ ชอบ “ และใช้นิ้วชี้
บอกสิ่งที่ต้องการ เป็นต้น อนึ่งขณะทำำ ท่ำทำงควรแสดงสีหน้าให้สอดคล้องกับความหมาย
ด้วย เพรำะสีหน้ำช่วยบอกเด็กออทิสติกให้เข้ำใจควำมหมำยของท่ำทำงได้ดียิ่งขึ้น
28

2. ภาพ หรือสัญลักษณ์ อำจใช้ภำพถ่ำย ภำพวำด หรือภำพสัญลักษณ์ แทนคำำพูดทั้งที่


เป็นคำำ นำม ( คน สัตว์ สิ่งของ ฯลฯ ) คำำกริยำ หรือคำำ อื่นๆ ที่ต้องกำรสื่อสำร แล้วให้
เด็กรับรู้ภาษาโดยการชี้ภาพให้เด็กดู และให้เด็กสื่อสารหรือบอกโดยการชี้
ภาพแทนคำาที่เด็กต้องการพูด

3. ภาษาพูด กำรพัฒนำภำษำพูด มี 9 ขั้นตอนเรียงตำมลำำดับ คือ


3.1 สอนความหมายของคำาให้เด็กเข้าใจ เช่น บอกว่ำ ของแต่ละอย่ำงมีชื่อ
เรียกว่ำอะไร ( นม นำ้ำ เสื้อ รถยนต์ ต้นไม้ หมำ ฯลฯ ) และคำำ กริยำแต่ละ
คำำ ( นั่ง เดิน นอน กิน ขับรถ เห่ำ เปิด อำบนำ้ำ ฯลฯ ) ต้องเคลื่อนไหวร่ำงกำย
อย่ำงไร เป็นต้น เด็กออทิสติกบำงคนชอบสำำ รวจสิ่งต่ำงๆ ด้วยกำรดม ชิม
หรื อ สั ม ผั ส ดั ง นั้ น ในการสอนเด็ก ให้ รู้ จั ก ชื่อ ของต่ า งๆ ควรให้ เ ด็ ก ใช้
ประสาทรับรู้ต่างๆ ตามความเหมาะสม ถ้ำสำมำรถใช้ประสำทรับรู้ได้มำก
เด็กจะรู้จักของนั้นดียิ่งขึ้น เช่น ถ้ำสอนชื่ออำหำร นอกจำกให้เด็กดูอำหำร พูด
บอกชื่อให้เด็กได้ยินแล้ว ควรให้เด็กสัมผัส จับ ถือ ดม และกินด้วย
3.2 สอนวิธีการสื่อ สาร มีเป้าหมายให้เด็กออทิสติกสื่อสำรด้วยกำรไม่พูด
เลียนแบบ โดยใช้หลักกำร ดังนี้
3.2.1 เมื่อคนหนึ่งพูดเล่าเรื่อง อีกคนหนึ่ง ฟังเฉยๆเพื่อรับรู้ ดังนัน้ ผู้ที่อยู่
กับเด็กออทิสติกควรพูดเล่ำเรื่องต่ำงๆ นำๆ ( ดูหน้ำ 25 ) ให้เด็กออทิ
สติกโดยเด็กออทิสติกไม่ต้องพูดโต้ตอบ หรือแสดงกิริยำ
3.2.2 เมื่อคนหนึ่งพูดบอกให้ทำา อีกคนหนึ่ง เป็นผู้ปฏิบัติ เช่น
แม่พูด “ นั่ง “ ให้เด็กนั่งโดยไม่ต้องพูดคำำว่ำ “ นั่ง “ และแม่พูด “ ชี้ตำ
“ ให้เด็กเอำมือชี้ตำโดยไม่ต้องพูดอะไร ต่อไปจึงฝึกเด็กเป็นผู้พูดคำำสั่ง
และให้คนที่อยู่ด้วยเป็นคนแสดงกิริยำ เป็นต้น
ถ้ำ เด็ ก จะพู ด เลี ย นแบบ หรื อ พู ด ตำมกำรฝึ ก ในข้ อ 3.2.1 และ
3.2.2 ให้จับริมฝีปำกเด็กปิดไว้ พร้อมทั้งแสดงอำกำรให้เด็กรู้ว่ำไม่ต้อง
พูด ยกเว้นในกรณีที่ต้องกำรกระตุ้นเด็กให้เปล่งเสียงพูด อำจให้เด็ก
พูดเลียนแบบ หรือพูดสิ่งที่เด็กต้องกำรจะพูด
3.2.3 เมื่อคนหนึ่งถาม อีกคนหนึ่ง เป็นผู้พูดตอบ โดยคำำ ที่พูดตอบ
ไม่พูดเหมือนคำำถำม
3.3 นำำ คำำ ที่เด็กรู้ควำมหมำยแล้วในข้อ 1 ซึ่งเหมำะที่จะใช้วิธีสื่อสำรข้อ 3.2.1
และ 3.2.2 มำฝึกสื่อสำร
29

3.4 นำำคำำที่เด็กรู้ควำมหมำยแล้วในข้อ 1 มำฝึกให้เด็กเปล่งเสียง เลียนแบบ


เสียงที่ผู้ฝึกพูด โดยอำจแก้ไขเสียงพูดให้ชัดระดับฟังรู้เรื่อง
สำำหรับเด็กออทิสติกที่เปล่งเสียงยาก ควรเริ่มโดยสอนเด็ก
เปล่งเสียงที่เด็กเคยทำำได้อยู่แล้ว เช่น เด็กเคยทำำเสียง “ มอ มอ มอ “ แบบไม่
เจตนำ ให้เริ่มสอนเด็กเปล่งเสียง “ มอ “ โดยเจตนำก่อน แล้วจึงสอนเปล่งเสียง
คำำที่มี “ ม “ เช่น “ แม่ “ หรือ “ หมำ “ “ แมว “ “ มือ “ “ หม้อ ” เป็นต้น แล้ว
แต่ว่ำเด็กสนใจคำำอะไร
3.5 นำำ คำำ ที่เด็กเปล่งเสียงได้ในข้อ 3.4 มำสื่อสำรตำมวิธีในข้ อ 3.2.3 โดยไม่จำำ
เป็นต้องแก้ไขเสียงพูดให้ชัดเจนถูกต้องทุกคำำ ถ้ำฟังเสียงเด็กพูดเข้ำใจ และ
สื่อสำรได้ถูกต้อง
3.6 แก้ ไ ขเสี ย งพู ด ในแต่ ล ะคำำ ให้ ชั ด เจนขึ้ น หลั ง จำกที่ เ ด็ ก สำมำรถใช้ คำำ นั้ น
สื่อสำรได้แล้วตำมข้อ 3.5
3.6 แก้ไขเสียงพูดในลักษณะอื่นๆ เช่น พูดเสียงดังระดับพอดี ( เด็กออ
ทิ ส ติ ก บำงคนชอบพู ด เสี ย งเบำหรื อ เสี ย งกระซิ บ ) พู ด เสี ย งให้ ไ พเรำะนุ่ ม
นวล และจังหวะจะโคนถูกต้อง ไม่ชำ้ หรือเร็วเกินไป เป็นต้น
3.7 กระตุ้น และส่งเสริมให้เด็กใช้ภำษำพูดสื่อสำรในลักษณะต่ำงๆ ให้มำกที่สุด
เท่ำที่จะมำกได้ แต่ต้องไม่มำกจนเด็กรู้สึกเบื่อหน่ำย และแสดงอำกำรต่อ
ต้ำน แม้ในระหว่ำงที่เด็กยังไม่มีปฏิกิริยำโต้ตอบกั บเสียงพูด ก็ให้หมั่น พูดให้
เด็กฟังบ่อยๆ ( ดูหน้ำ 25 )
3.8 สอน และปรับแก้ไวยำกรณ์ ในกรณีที่เด็กออทิสติกใช้ไม่ถูกต้อง เช่น ใช้คำำ
ผิดควำมหมำย เรียงลำำดับคำำผิด เป็นต้น

ยกเว้นกรณีที่เด็กออทิสติกติดการพูดเลียนแบบมาก ต้องฝึกเด็กให้พูดเลียนแบบ
ตามข้อ 3.4 ก่อน แล้วจึงค่อยๆ ลดการเลียนแบบลง และใช้วิธีการตามข้อ 3.2
ส่วนเด็กที่ไม่เลียนแบบ ควรลองเริ่มจำกฝึกกำรเลียนแบบ ท่ำทำงที่ใช้ในกำรสื่อสำร
ง่ำยๆ ก่อน เช่น บ๋ำยบำย สวัสดี ขอ ยิ้ม เป็นต้น เมื่อเด็กเข้ำใจเรื่องกำรทำำท่ำทำงเลียนแบบแล้ว จึง
ฝึกกำรพูดเลียนแบบคำำง่ำยๆ อนึ่งในกำรฝึกเลียนแบบท่ำทำง เด็กออทิสติกมักแยก ขวำ - ซ้ำย ไม่
ได้ ดังนั้นหำกหันหน้ำเข้ำหำกัน เมื่อผู้ฝึกยกมือขวำ เด็กออทิสติก มักเลียนแบบโดยยกมือซ้ำยเพื่อ
ให้มืออยู่ด้ำนเดียวกับผู้ฝึก ในระยะแรกจึงอำจฝึกโดยให้ผู้ฝึก และเด็กออทิสติกนั่งหันข้ำงเข้ำหำกัน
แต่ถ้ำต้องจูงใจเด็กโดยกำรสบตำ อำจต้องใช้วิธีนั่งหันหน้ำเข้ำหำกัน ทว่ำผู้ฝึกยกมือด้ำนตรงข้ำม
30

กับที่ต้องกำรให้เด็กออทิสติกยก ตัวอย่ำงเช่น หำกต้องกำรให้เด็กออทิสติกยกมือขวำ ผู้ฝึกต้อง


ยกมือซ้ำยเป็นตัวอย่ำงให้เด็กออทิสติกทำำเลียนแบบ
สำาหรับการฝึกเด็กพูดแบบถาม - ตอบให้ผู้ฝึกพูดคำำถำมเสียงดังระดับปกติ เว้นจังหวะ
เพื่อรอให้เด็กตอบ ถ้ำเด็กไม่ตอบ ให้ผู้ฝึกพูดคำำตอบด้วยเสียงค่อนข้ำงดัง และกระตุ้นให้เด็กพูดคำำ
ตอบเลียนแบบตำม ฝึกซำ้ำๆ จนเด็กพูดคำำตอบตำมโดยกำรเลียนแบบได้คล่องแคล่ว จึงพยำยำม
กระตุ้นให้เด็กพูดคำำตอบเอง อำจเริ่มจำกผู้ฝึกช่วยออกเสียงคำำ หรือพยำงค์แรก แล้วให้เด็กพูดต่อ
ทำำซำ้ำให้เด็กคุ้นเคย ต่อไปจึงให้เด็กเริ่มพูดตอบเองตั้งแต่ต้น ถ้ำมีผู้ช่วยฝึก เช่นครูเป็นผู้ฝึก และให้
แม่เป็นผู้ช่วย หรือแม่เป็นผู้ฝึก และพ่อเป็นผู้ช่วย ให้ผู้ช่วยฝึกแสดงบทบาทเป็นเหมือนเด็กคือ
เป็นผู้ตอบคำำถำม และกระตุ้นหรือเตือนให้เด็กพูดคำำตอบเลียนแบบผู้ช่วยฝึกจนคล่อง แล้วจึงฝึก
เด็กให้ตอบด้วยตนเอง
ทั้งนี้ในระยะแรก อำจให้เด็กออทิสติกสื่อสำรโดยใช้ทั้งท่ำทำง สัญลักษณ์ ภำพ และภำษำ
พูดผสมผสำน หรือสลับกันได้ เช่น ชี้นิ้วพร้อมกับพูดชื่อสิ่งของทุกครั้ง เพื่อให้เด็กฟัง ดู และจำำชื่อ
สิ่งของได้ แต่ควรส่งเสริมเด็กออทิสติกให้ใช้ภำษำพูดให้มำกที่สุดเท่ำที่จะทำำได้
อนึ่งต้องระมัดระวังว่ำ เมื่อเด็กออทิสติกหัดพูดเลียนแบบแล้วระยะหนึ่ง และเริ่มใช้ภำษำ
พูดสื่อสำรนั้น เด็กออทิสติกบำงคนอำจยังสับสนอยู่ จึงมีบ่อยครั้งที่ เด็กพูดอย่างหนึ่งแต่เด็ก
หมายความอีกอย่างหนึ่ง

คำาที่ใช้สอนเด็กออทิสติกสื่อสาร

เพื่อให้เด็กออทิสติกสำมำรถพัฒนำกำรติดต่อสื่อสำร โดยเฉพำะด้วยคำำพูดกับคนอื่นๆ ได้


เร็ว ควรสอนให้เด็กเข้ำใจ และใช้คำำที่เด็กต้องใช้ในกำรสื่อสำรบ่อยๆ ก่อน เช่น
1. คำาเรียกชื่อคน ได้แก่ ชื่อเด็ก พ่อ แม่ สมำชิกในครอบครัว คนเลี้ยงดู คนใกล้
ชิด ครู เพื่อน และญำติ เป็นต้น
2. คำากริยา เช่น นั่ง ยืน เดิน กิน นอน บ๋ำยบำย สวัสดี หยิบ กอด ยิ้ม ฯลฯ
3. ชื่อสิ่งของ เช่น นม นำ้ำ ข้ำว ขนม เสื้อ กำงเกง กระโปรง รองเท้ำ เก้ำอี้ โต๊ะ
โทรทัศน์ รถยนต์ ฯลฯ
4. คำาบอกความต้องการ เช่น ขอ ไม่ เอำอีก ไป มำ พอ ฯลฯ
5. คำาบอกความรู้สึก เช่น ร้อน หนำว เจ็บ หิว อิ่ม เหนื่อย ฯลฯ
6. คำาตอบรับ และตอบปฏิเสธ เช่น ใช่ ไม่ใช่ เอำ ไม่เอำ พอ ไม่พอ ฯลฯ
7. คำาบอกความเป็นเจ้าของ เช่น ของโอม ของพ่อ ของแม่ ของน้อง ฯลฯ
31

8. คำาสั่ง เช่น หยุด รอ พอ วำง ไม่เอำ ชี้ ฯลฯ


9. ชื่อสถานที่ เช่น บ้ำน ชั้นบน ชั้นล่ำง ห้องนอน ห้องนำ้ำ ครัว บันได ประตู
หน้ำต่ำง โรงเรียน ฯลฯ
10. คุณศัพท์ และกริยาวิเศษณ์ เช่น ดี เก่ง สวย ช้ำ เร็ว ฯลฯ
11. เวลา เช่น เช้ำ บ่ำย เย็น กลำงคืน มืด ฯลฯ
12. คำา ถาม เช่ น อะไร ใคร เอำไหม ใช่ ไ หม พอไหม อยู่ ไ หน เท่ ำ ไร เมื่ อ ไร
เป็นต้น
13. ส่วนของร่างกาย เช่น หัว ผม ตำ จมูก ปำก ฟัน ลิ้น หู แก้ม คำง แขน มือ
นิว้ ขำ เท้ำ ฯลฯ
14. สี เช่น เขียว แดง เหลือง ขำว ดำำ ฯลฯ
15. จำานวน เช่น 1 - 10 10 - 100 100 - 1000 ฯลฯ
16. ชื่อสัตว์ เช่น แมว หมำ นก จิ้งจก ยุง แมลงสำบ ปลำ เป็ด ไก่ ฯลฯ
17. เสียงสัตว์ เช่น เสียง แมว หมำ หมู และวัว เป็นต้น
18. คำาบุพบท เช่น บน ล่ำง นอก ใน ฯลฯ

ในกำรพูด สอนให้เ ด็ก รู้ควำมหมำยของคำำ แต่ ล ะคำำ ถ้ ำ นำา คำา ที่ ต้องการสอนไว้ ท้ า ย
ประโยค จะช่วยให้เด็กสนใจ จำำ และพูดคำำนั้นได้เร็วขึ้น เพรำะเด็กชอบพูดเลียนแบบคำำที่อยู่ท้ำยๆ
เช่น “ แม่หยิบขวดนม แม่เปิดขวดนม แม่เทนม “ “ แม่กินนม แม่ชอบนม โอมกินนม โอมชอบนม “
เป็นต้น
ควรเลือกคำาที่ใช้สื่อสารบ่อยๆของแต่ละข้อ ( 1 - 18 ) มาสอนก่อน แล้วจึงเลือกคำา
อื่นๆ ที่ใช้น้อยลงของแต่ละข้อมาสอนตามลำาดับ
ทั้งนี้ ควรเริ่มสอนคำำที่มี พยำงค์เดียวก่อน เด็กจะสนใจ จำำ และใช้พูดได้ง่ำย ต่อไปจึงสอน
คำำที่มีพยำงค์เพิ่มมำกขึ้นตำมลำำดับ
เมื่อสอนคำำสำำคัญๆ แล้ว ต่อไปจึงสอนคำำอื่นๆ เพิ่มขึ้น พร้อมทั้งนำำคำำที่สอนแล้วมำรวมกัน
เป็นวลี ประโยคสั้น ประโยคยำว และข้อควำม ตำมลำำดับ
นอกจำกนั้น ควรนำำ คำำ ที่สอนแล้ว หรือคำำ ที่เด็กเข้ำใจควำมหมำยแล้ว รวมทั้งคำำ ที่เด็ก
สำมำรถพูดได้แล้วไปฝึกใช้สื่อสำรและทบทวนบ่อยๆโดยให้เด็กได้มีโอกำสพูดกับคนหลำยๆคน

การเรียนรู้ภาษาของเด็กออทิสติก
32

แม้ในขณะที่เด็กออทิสติกซน ไม่อยู่นิ่ง ไม่สบตำ หรือไม่มีท่ำทีสนใจฟังเสียงพูด เด็กออทิ


สติกได้ยินเสียงพูด และส่วนใหญ่มักฟังอยู่ตลอดเวลำ ดังนั้น พ่อแม่ ผู้เลี้ยงดูเด็ก ครู และผู้ใกล้ชิด
เด็ก ควรพูดคุยกับเด็กให้มำกที่สุดเท่ำที่จะทำำได้ พูดบ่อยๆ พูดซำ้ำๆ และพูดอย่ำงชัดเจนเพื่อให้เด็ก
คุน้ เคยกับกำรฟัง และภำษำพูด รวมทั้งเรียนรู้ควำมหมำยของคำำพูดต่ำงๆ
บ่อยครั้งที่เด็กออทิสติกเปล่งเสียงคำาพูดที่เขาเคยได้ยินเพียงครั้งเดียวนานมาแล้ว
ทั้งที่มีเจตนาพูดเพื่อสื่อสาร และไม่มีเจตนาสื่อสาร ดังนั้นพ่อแม่ และผู้อยู่ใกล้ชิดเด็กควร
ระมัดระวัง กำรพูดให้เด็กฟัง และกำรพูดให้เด็กได้ยิน เพรำะเด็กฟังและพูดเลียนแบบได้ เช่น ถ้ำ
เด็กได้ยินคำำ พูดสำำ เนียงภำษำอีสำน เด็กจะพูดสำำ เนียงอีสำนเลียนแบบ หรือถ้ำเด็กได้ยินคำำ ที่ไม่
สุภำพ เด็กอำจนำำไปพูดเลียนแบบ โดยไม่สำมำรถคำดเดำได้ว่ำเด็กจะเอำไปพูดเมื่อไร ทีไ่ หน และ
พูดต่อหน้ำใครบ้ำง บำงครั้งเด็กอำจเอำคำำแปลกๆมำพูดให้เป็นที่ขบขัน แต่บำงครั้งเด็กอำจพูดคำำ
ทีไ่ ม่เหมำะสม หรือหยำบคำยต่อหน้ำสำธำรณชนทำำให้พ่อแม่อับอำยได้

พูดอะไรกับเด็กออทิสติก

บำงคนมีปัญหำว่ำ ไม่รู้จะพูดอะไรกับเด็กออทิสติก จึงขอยกตัวอย่ำงให้ดู ดังนี้


1. พูดเกี่ยวกับสิ่งที่เด็กกำาลังถือ กิน เล่น ดู ฯลฯ หรือสิ่งที่อยู่ใกล้ตัวเด็ก โดย
อธิบำยรูปร่ำง ลักษณะ สี ประโยชน์ ฯลฯ เป็นต้น เช่น “ ลูกกำำลังเล่นรถยนต์
รถยนต์ มี 4 ล้ อ รถยนต์ มี 4 ประตู ที่ ลู ก จั บ เรี ย กพวงมำลั ย รถยนต์ สี เ ขี ย ว
รถยนต์แล่นได้ ฯลฯ “
2. พูดเกี่ยวกับกิริยาที่เด็กกำา ลังทำา เช่น กิน เล่น วำดรูป ฯลฯ โดยอธิบำยว่ำ
เด็กกำำ ลังทำำ อะไร ดีอย่ำงไร ควรทำำ อย่ำงไรต่อไป ประโยชน์ของกำรทำำ ฯลฯ
เป็นต้น เช่น “ ลูกกำำ ลังเรียงดินสอ แม่ดูลูกเรียงดินสอ ลูกมีดินสอหลำยแท่ง
ลูกถือดินสอแท่งสีแดง ดินสอใช้เขียนหนังสือ ลูกเรียงดินสอเก่ง แม่ชอบวิธี
เรียงดินสอของลูก ฯลฯ “
3. พูดเกี่ยวกับสิ่งที่ผู้พูดกำา ลังถือ กิน เล่น ดู ฯลฯ หรือสิ่งที่อยู่ใกล้ตัวผู้พูด
โดยอธิบำยเช่นเดียวกับข้อ 1 เช่น “ แม่กำำ ลังกินขนม ชื่อขนมลอดช่อง ลอด
ช่องสีเขียว แม่ใส่นำ้ำแข็งด้วย ขนมหวำน ขนมอร่อย แม่ชอบลอดช่อง ฯลฯ “
4. พูดเกี่ยวกับสิ่งที่ผู้พูดกำาลังทำา เช่น ทำำควำมสะอำดบ้ำน พับเสื้อผ้ำ จัดของ
ทำำ ครัว ฯลฯ โดยอธิบำยเช่นเดียวกับข้อ 2 เช่น “ แม่กำำ ลังพับเสื้อผ้ำ นี่เสื้อ
ของลูก นี่กำงเกงของน้อง นี่ผ้ำเช็ดหน้ำของพ่อ เสื้อของลูกสีเหลือง กำงเกง
ของพ่อตัวใหญ่ กำงเกงของแม่ขำยำวเหมือนของพ่อ ฯลฯ “
33

5. พูดชักชวนให้เด็กออทิสติกดูสิ่ งที่ ผู้พู ด และเด็กมองเห็ นได้ เช่น กำร


แสดงในโทรทัศน์ ชื่อสัตว์ ชื่อของเล่น ชื่อสี ยี่ห้อรถยนต์ ชื่อปั๊มนำ้ำมัน ชื่อห้ำง
สรรพสินค้ำ ชื่อธนำคำร ตัวเลข ตัวหนังสือ ฯลฯ โดยกำรบอกชื่อ หรือบอกชื่อ
พร้อมกับให้สังเกตตรำสัญลักษณ์ ( โลโก้ ) โดยอธิบำยเช่นเดียวกับข้อ 1
กำรศึกษำต่ำงๆ พบว่ำเด็กออทิสติกเรียนรู้ภำษำได้ดีเมื่ออำยุไม่เกิน 5 ปี และเด็กออทิสติก
จะเรียนรู้ภำษำได้ช้ำมำกหำกมีอำยุเกิน 7 - 8 ปี
เด็กออทิสติกบำงคนไม่สนใจเสียงที่พูดคุยกันธรรมดำ แต่สนใจเรียนรู้เสียงพูดเบำๆ หรือ
เสี ย งกระซิ บข้ ำ งหู เด็ ก บำงคนตั้ ง ใจฟั ง เสี ย งกระซิ บ และพู ด เลี ย นแบบ หรื อ พู ด โต้ ต อบได้ จึ ง
สำมำรถนำำไปใช้ฝึกพูดได้อีกลักษณะหนึ่ง

เด็กออทิสติกกับดนตรีและเพลง

เด็ ก ออทิ ส ติ ก บำงคนไม่อ ยู่ นิ่ ง หรื อ ซนผิ ด ปกติ จนแพทย์ ต้ อ งให้ ย ำเพื่ อ ให้ เ ด็ ก สงบลง
อย่ำงไรก็ตำมเคยมีคนศึกษำพบว่ำ กำรเปิดเพลงดนตรีบรรเลงที่ไม่มีเนื้อร้องเลยให้เด็ก
ออทิสติกได้ยินดังๆในขณะที่เด็กทำำกิจกรรมอื่นใดก็ตำมมีส่วนช่วยเด็กให้สงบได้ในระดับหนึ่ง
นอกจำกนั้น สำำหรับเด็กออทิสติกที่เริ่มมีกำรพัฒนำภำษำพูด และมีควำมจำำดีพอสมควร
กำรเปิดเพลงที่มีเนื้อร้องง่ายๆ และมีทำา นองที่เด็กสนใจให้เด็กฟัง หรือกำรสอนร้องเพลง
โดยตรง อำจทำำ ให้เด็กบางคนสามารถจำา เนื้อร้อง และร้องเพลงตามทำา นองได้ แม้เด็กไม่
เข้ำใจเนื้อร้อง และไม่สำมำรถนำำคำำพูดในเนื้อร้องนั้นไปสื่อสำร แต่เด็กชอบร้องเพลงตำมเพรำะเด็ก
ออทิสติกมีธรรมชำติชอบเปล่งเสียง หรือพูดเลียนแบบ อำจเริ่มต้นโดยกำรใช้เพลงของนักเรียน
อนุบำล หรือเพลงเด็กๆ ต่อไปจึงใช้เพลงที่กำำ ลังเป็นที่นิยมของผู้ใหญ่ทั่วไป นอกจำกนั้นอำจฝึก
เด็กทำำท่ำทำงเลียนแบบ หรือตำมแบบ หรือตำมสั่งตำมเนื้อเพลงได้( ดูหน้ำ 28 )

เด็กออทิสติกกับการกิน

เด็กออทิสติกบำงคนไม่ค่อยยอมกินอำหำร นับเป็นปัญหำใหญ่ที่น่ำหนักใจที่สุด เด็กออทิ


สติกบำงคนอดอำหำรได้เป็นวันๆ จนผู้ดูแลเป็นห่วงว่ำเด็กจะไม่สบำย การบังคับให้กินอาหารมัก
ไม่ ค่ อ ยได้ผล ถึง แม้พ ยำยำมใส่ ปำก เด็ ก มัก กั ด ฟั น แน่น หรื อ หำกใส่ ปำกได้ เด็ ก จะบ้ว นหรื อ
อำเจียนออกมำ
34

สิ่งแรกที่ต้องตรวจสอบเมื่อเด็กออทิสติกไม่กินอาหารคือเด็กมีอาการเจ็บป่วย เช่น
เจ็บคอ เป็นหวัด ปวดฟัน เป็นแผลในปำก หรือไม่ ถ้ำมี ต้องแก้ไขสำเหตุโดยเร็ว ถ้ำไม่มีจึงพิจำรณำ
ว่ำเป็นพฤติกรรมผิดปกติที่ต้องแก้ไขหรือไม่
ขั้นแรกควรแก้ไขปัญหำโดยใช้แรงจูงใจทั้งหมด ( ดูหน้ำ 17 ) รวมทั้งกำรสรรหำอำหำรที่
เด็กเคยชอบมำให้เด็กเลือกกิน หำกไม่ได้ผล ท่ำนผู้รู้หลำยท่ำนแนะนำำว่ำให้ดำำเนินกำรขั้นเด็ดขำด
คือใจแข็ง ไม่ต้องกระตุ้นให้เด็กกินอะไรอีก ปล่อยเวลาผ่านไป จนกว่าเขาจะหิวจัด และ
ตัดสินใจขอกิน หรือหากินเอง
ถ้ำปัญหำนี้ไม่ใช่ปัญหำใหญ่ที่เกิดขึ้นประจำำ แต่ต้องกำรแก้ไข ให้ใช้วิธีจัดหาของที่เด็ก
ชอบกินไว้ในที่ที่เขาจะหยิบกินเองได้ง่าย เมื่อเด็กต้องกำรกินจะได้หยิบกินเอง แต่ถ้ำกำรไม่
ยอมกินอำหำรเป็นปัญหำเกิดจำกเด็กออทิสติกต้องกำรใช้กำรไม่กินอำหำรเป็นกำรประท้วง ต่อรอง
หรื อต่อ ต้ำน และโยงไยให้เ ด็ก แสดงพฤติ กรรมอื่ นๆที่ไม่เ หมำะสม หรื อในขณะเดี ยวกันพ่ อแม่
ต้องกำรใช้กรณีนี้เป็นหลักในกำรปรับพฤติกรรมอื่นๆของเด็ก อำจใช่วิธีเก็บอำหำรทั้งหมด เพื่อไม่
ให้เขำหยิบกินอะไรได้ จนกว่ำเขาจะตัดสินใจยอมรับกฎเกณฑ์ และขอกินเอง สำำหรับวิธีกำร
ให้เด็กดื่มนม หรือกินขนมแทนกินอำหำรไม่สำมำรถปรับพฤติกรรมกำรประท้วงหรือต่อต้ำนโดยไม่
ยอมกินอำหำรของเด็กได้ สิ่งสำาคัญคือไม่ควรกลัวเด็กอดอำหำรและพยำยำมให้เด็กกินอำหำรโดย
ยอมให้เด็กกินของที่เด็กไม่ควรกิน เช่น กำแฟ หรือของที่อำจเป็นอันตรำยกับเด็ก นอกจำกนั้นไม่
ควรยอมให้เด็กทำำในสิ่งที่ไม่ควรทำำ หรือไม่ควรยอมให้เด็กแสดงพฤติกรรมผิดปกติ เพื่อแลกกับกำร
ให้เด็กยอมกินอำหำร
พ่อแม่ควรฝึกเด็กออทิสติกให้กินอาหารทั่วไปสมตามวัยเหมือนเด็กปกติตั้งแต่เด็กเริ่ม
กินอำหำรได้ มิฉะนั้น เด็กออทิสติกอำจมีนิสัยเลือกรับประทำนอำหำรเฉพำะอย่ำง เช่น ไม่ยอมกิน
ข้ำวเลย กินข้ำวคลุกนำ้ำปลำอย่ำงเดียว และไม่กินอำหำรที่ต้องเคี้ยว เป็นต้น
ถ้ำเด็กออทิสติกเลือกกินอำหำรเฉพำะอย่ำง คงต้องยอมจัดหำให้เด็กกิน ดีกว่ำที่เด็กไม่ได้
กินอะไรเลย แต่ต้องระมัดระวังไม่ให้เด็กกินของที่สกปรก หรือเป็นอันตรำย ในขณะเดียวกันต้อง
พยำยำมหำหนทำงให้เด็กหัดกินอำหำรอื่นที่เป็นประโยชน์ โดยชักชวนให้ลองชิม ให้เด็กออทิสติกดู
เด็กคนอื่นกินเป็นตัวอย่ำง จัดอำหำรให้ดูน่ำกิน หรือจัดอำหำรในลักษณะที่เด็กชอบ อำจทำำอำหำร
ให้มีรูปร่ำงแปลกๆ เพื่อดึงดูดให้เด็กสนใจ หำกจำำเป็น อำจต้องใช้วิธียอมให้เด็กเล่นสิ่งที่เด็กชอบ
เพลินๆ และกินอำหำรที่พ่อแม่จัดให้ไปพร้อมกัน เป็นต้น
เด็กออทิสติกบางคนชอบกินของที่ไม่ใช่อาหาร เช่น กระดำษ พลำสติก ยำสีฟัน ต้น
หญ้ำ ฯลฯ พ่อแม่ต้องคอยดูแล ป้องกัน และห้ำมปรำม ตลอดเวลำเพรำะอำจเกิดอันตรำยได้
เด็กออทิสติกชอบบางคนกินตลอดเวลา แต่ควำมที่เด็กออทิสติกไม่ค่อยอยู่นิ่ง จึงไม่
ค่อยพบเด็กออทิสติกมีนำ้ำ หนักเกินมำตรฐำน อย่ำงไรก็ตำมพ่อแม่ควรคอยดูแลควบคุมอำหำร
35

อย่ำงใกล้ชิด กำรห้ำมเด็กกินมักไม่ค่อยได้ผล ควรป้องกันโดยจัดอำหำรให้เด็กในปริมำณพอดี และ


อย่ำวำงอำหำรใดๆก็ตำมให้เด็กเห็นหรือหยิบกินเองได้

เด็กออทิสติกไม่หลับนอน

ภำระหนักในกำรเลี้ยงดูเด็กออทิสติกประกำรหนึ่ง คือเด็กออทิสติกมักไม่ค่อยหลับนอน ถ้ำ


โชคดี เด็กออทิสติกอำจเพียงไม่หลับ คือนอนเฉยๆ แต่บำงคนไม่นอนนิ่ง พยำยำมจะลุกหรือเล่น
ส่วนที่หนักใจคือ เด็กออทิสติกที่ร้องกรี๊ดทั้งคืน โดยยำกที่จะหำสำเหตุได้
อั น ที่ จ ริ ง ผู้ เ ขี ย นไม่ ค่ อ ยห่ ว งเรื่ อ งนี้ เพรำะพ่ อ แม่ ข องเด็ ก ออทิ ส ติ ก แต่ ล ะคน มี
พรสวรรค์ที่จะสามารถค้นพบกลวิธีทำา ให้เด็กออทิสติกนอนหลับได้อย่างน่าอัศจรรย์ใจ
เนื่องจำกเป็นสิ่งท้ำทำยอย่ำงยิ่ง แต่เล่ำได้ว่ำ บำงคนใช้วิธีนั่งกอดเด็กไว้ทั้งคืน บำงคนใช้วิธีอุ้มเด็ก
และเดิน บำงคนจับเด็กนอนเปลหรือล้อเข็นแล้วเขย่ำทั้งคืน บำงคนให้เด็กนอนถือหรือกอดของที่
ติดเป็นพิเศษ และบำงคนต้องพึ่งแพทย์เพื่อขอยำให้เด็กกิน
ที่สำำ คัญคือ เมื่อเด็กออทิสติกหลับแล้ว หำกเขำไม่ตื่นเองหรือยังไม่ถึงเวลำที่เด็กตื่นเป็น
ประจำำ ไม่ควรปลุกเด็กโดยไม่จำาเป็น เพรำะอำจทำำให้เด็กอำรมณ์เสีย และงอแงได้

เด็กออทิสติกกับการช่วยเหลือตนเอง

ในกำรบำำบัดรักษำเด็กออทิสติกนั้น สิ่งที่สำำ คัญ ซึ่งต้องเร่งสอน และฝึก ( ดูวิธีกำรฝึกทำำ


กิจกรรม หน้ำ 31 ) คือกำรช่วยเหลือตนเอง โดยเริ่มจำกกำรพัฒนำด้ำนร่ำงกำย และฝึกทำำกิจวัตร
ประจำำวันที่ต้องพึ่งตนเอง เช่น
1.ฝึกกำรใช้ขำ และแขน ได้แก่ กำรฝึก นั่ง ยืน เดิน วิ่ง กำงแขน ชูแขน และใส่
หรือถอดรองเท้าเอง เป็นต้น ถ้ำทำำได้ควรเปิดเพลงฝึกการบริหารของเด็กอนุบาล ที่มีเนื้อร้อง
ต่ำงๆ เช่น “ กำำมือขึ้น แล้วหมุนๆ ชูมือขึ้น โบกไปมำ กำงแขนขึ้น และลง ชูขึ้นตรง หมุนไปรอบตัว “
เพื่อให้เด็กฟังเนื้อเพลง หัดกำยบริหำรเลียนแบบผู้ฝึก และฝึกร้องเลียนแบบเนื้อเพลงไปพร้อมกัน
2.ฝึกกำรใช้มือและตำ ได้แก่ บ๋ำยบำย สวัสดี ตบมือ หวีผม หยิบของชิ้นใหญ่
หยิบของชิ้นเล็ก จับแก้วนำ้าดื่มเอง โยนลูกบอล ปั้นดินนำ้ำ มัน ถืออาหารกินเอง ตักอาหารใส่
ปาก ระบำยสี ติดรูปภำพ แปรงฟัน ใส่เสื้อผ้า เข้าห้องส้วมขับถ่ายเอง และอาบนำ้า เป็นต้น

เด็กออทิสติกกับการเข้าสังคม
36

โดยธรรมชำติ เด็กออทิสติกส่วนใหญ่ไม่ติดต่อสื่อสำรกับใคร ไม่ทักทำย ไม่ผูกมิตร ไม่คบ


เพื่อน และไม่ชอบทำำอะไรร่วมกับใคร มักพอใจอยู่คนเดียวอยู่แล้ว ประกอบกับกำรที่เด็กออทิสติกมี
พฤติกรรมผิดปกติ โดยเฉพำะ กำรร้องไห้ หรือกรีดร้องโดยไม่มีเหตุผล กำรร้องไห้และลงนอนชักกับ
พื้น กำรทุบตีทำำ ร้ำยตนเอง หรือคนอื่น ทำำ ลำยสิ่งของ ตลอดจนกำรไม่รับฟังและพูดจำ กับใคร
เป็นเหตุให้พ่อแม่บำงคนไม่อยำกพำลูกออทิสติกออกจำกบ้ำนไปไหน ไม่พำไปพบใคร และไม่ส่ง
เสริมกำรเข้ำร่วมกิจกรรมทำงสังคม เพรำะเกรงจะอับอำยขำยหน้ำ
อย่ำงไรก็ตำม ถ้ำพ่อแม่ยอมรับควำมผิดปกติของลูกออทิสติก เรียนรู้และฝึกใช้วิธีหยุด
พฤติกรรมที่ไม่เหมำะสมของเด็กออทิสติก ( ดูหน้ำ 14 ) รวมทั้งพยำยำมเอำใจใส่บำำบัดรักษำเด็ก
ออทิสติกด้วยวิธีกำรต่ำงๆอยู่ตลอดเวลำ เมื่อถึงเวลำหนึ่ง พ่อแม่จะมีควำมมั่นใจที่จะพำเด็กออทิ
สติกออกไปเที่ยวนอกบ้ำน ไปซื้อของ ไปเยี่ยมญำติ ไปงำนวัด ไปงำนแต่งงำน ฯลฯ เป็นต้น
ถ้าพ่อแม่ส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กออทิสติกได้พบปะกับคนอื่นๆ จะกระตุ้นให้เกิด
การเรียนรู้ และเด็กได้มีประสพการณ์อย่างกว้างขวางมากเท่าไร เด็กจะปรับพฤติกรรมได้
ดีขึ้น เรียนรู้การสื่อสารได้เร็วขึ้น รับรู้และมีปฏิกิริยาโต้ตอบกับคนอื่น และสิ่งต่างๆ มาก
ขึ้น ซึ่งจะช่วยเด็กออทิสติกให้เข้าสังคมได้ เรี ยนหนั งสือ ได้ดี เข้า กับเพื่อ นๆได้ และมี
อนาคตที่มั่นคง
แน่นอน ในการพาลูกออทิสติกเข้าสังคม พ่อแม่ต้องเตรียมการไปอย่างดีที่สุด สะ
กัดกั้นสาเหตุต่างที่จะทำาให้เด็กไม่พอใจ หงุดหงิด หรือมีพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ พ่อแม่
จำำ เป็นต้องใจเย็นๆ ไม่ต้องกังวลกับสำยตำคนอื่นที่รุมมองหรือเหลือบมอง ไม่ต้องสนใจฟังคำำ วิ
พำกย์วิจำรณ์ใดๆ ปฏิบัติต่อลูกให้ดีที่สุด ถ้ำมีปัญหำ และมีคนเข้ำมำช่วย ควรตอบขอบคุณ และ
ปฏิเสธอย่ำงสุภำพ หรือบอกวิธีกำรที่ต้องกำรให้เขำช่วยตำมควำมเหมำะสม ถ้ามีคนถาม ควร
ตอบอย่างสุภาพ ชัดเจน สั้น และง่ายแก่การเข้าใจ เช่น ถ้ำว่ำถำม เด็กเป็นอะไร ทำำไมเด็กร้อง
มำก ฯลฯ อำจตอบเพียงว่ำ ลูกไม่สบำย หรือ ลูกงอแง ถ้ำคำำถำมไม่น่ำตอบ ก็ทำำเฉยเสีย ไม่จำำเป็น
ต้องตอบ
นอกจำกนั้น อำจฝึกเด็กให้คบหาคนอื่นโดยตรง โดยเริ่มจำกวิธีง่ำยๆ ดังนี้
1. ให้ เด็ก “ สวัสดี “ เมื่อพบ และลำ ทุกคนอย่ำงสมำ่ำเสมอ
2. ให้เด็กถือของได้ไปให้คนอื่น
3. ให้เด็กรับของจำกคนอื่น และ “ ขอบคุณ “ ทุกครั้ง
4. ให้เด็กทำำกิจกรรมร่วมกับคนอื่น
5. ให้เด็ กเล่น เกม หรื อ กี ฬำที่ ต้ อ งเล่ น ร่ว มกั บคนอื่น เช่ น โยนบอล วิ่ง รั บของ
เป็นต้น
37

เด็กออทิสติกกับพี่น้อง

ถ้ำเด็กออทิสติกเป็นลูกคนแรก พ่อแม่หลำยคนตัดสินใจใช้เวลำดูแลเด็กออทิสติกโดยยัง
ไม่มีลูกอีกจนกว่ำเด็กออทิสติกจะโตพอ และช่วยเหลือตัวเองได้ แต่บำงคนก็รีบมีลูกเพื่อให้เด็กออทิ
สติกมีน้องเป็นเพื่อนและคอยดูแล อย่ำงไรก็ตำมเด็กออทิสติกบำงคนมีพี่ บำงคนมีน้อง และบำง
คนมีทั้งพี่และน้อง
เช่นเดียวกับครอบครัวเด็กปกติทั่วไประหว่ำงพี่น้องมักมีกำรทะเลำะเบำะแว้ง รังแก และ
อิจฉำกัน เด็กออทิสติกมักถูกพี่น้องอิจฉำว่ำพ่อแม่เอำใจใส่ดูแล และตำมใจมำก และเด็กออทิสติ
กก็อิจฉาพี่น้องเป็นเหมือนกัน ดังนั้น พ่อแม่จึงต้องรับภำระหนักในกำรรักษำควำมสมดุลย์ให้
ได้ โดยพยำยำมยึดควำมยุติธรรมเป็นหลัก และส่งเสริมเด็กให้เล่นด้วยกันหรือมีกิจกรรมร่วมกัน
โดยพ่อแม่คอยกำำกับดูแล และสอนกติกำต่ำงๆ เช่น รู้จักแบ่งของกัน ผลัดกันเล่น รู้จักกำรรอ ช่วย
กันเก็บของเล่น และยอมรับกำรแพ้ เป็นต้น

เด็กออทิสติกถูกทำาร้าย

ถ้ำเด็กออทิสติกทำำร้ำยใคร จะมีคนฟ้องพ่อแม่ของเด็กออทิสติกทันที ซี่งเป็นเรื่องที่พ่อแม่


ต้องระแวดระวังอยู่แล้ว รวมทั้งระวังไม่ให้ตนเองถูกทำำร้ำยด้วย ( วิธีหยุดพฤติกรรมของเด็กออทิสติ
กได้กล่ำวไว้ในหน้ำ 14 ) แต่เมื่อเด็กออทิสติกถูกทำำร้ำย พ่อแม่มักจะไม่รู้ เพรำะคนทำำร้ำยเด็กออทิ
สติกมักไม่ยอมบอก และเด็กออทิสติกทั่วไปมักไม่สำมำรถบอกได้ คนใจร้ำยบำงคนจึงแอบหยิก
เด็กออทิสติกในร่มผ้ำที่พ่อแม่ยำกจะสังเกตเห็น และถึงเห็นก็ยำกที่จะหำผู้กระทำำ ในเมื่อเด็กออทิ
สติกกล่ำวหำใครไม่เป็น แต่ถ้ำเด็กออทิสติกพูดบอกได้ หรือชี้ตัวได้ ผู้เขียนบอกได้เลยว่าเชื่อ
เด็กออทิสติกมากกว่าใครๆ เพราะเด็กออทิสติกปดไม่เป็น อย่ำงไรก็ตำมพ่อแม่ของเด็กออทิ
สติกควรตระหนักถึงปัญหำนี้ และคอยดูแลเด็กออทิสติกด้วย

เด็กออทิสติกไม่กลัวอันตราย

สิ่งที่น่ำกลัวที่สุดในกำรดูแลเด็กออทิสติกคือ เด็กออทิสติกไม่กลัวอันตรำย ดังนั้นผู้ดูแลเด็ก


ออทิสติกต้องตรวจตรำอันตรำยที่อำจเกิดขึ้นได้ และป้องกันให้ได้ดีที่สุด
อันตรายในบ้านทีอ่ ำจเกิดกับเด็กออทิสติกคือ
กำรจับของร้อน เช่น เตำ กำนำ้ำร้อน เตำรีด เป็นต้น
กำรเล่นปลั๊กไฟ กำรเล่นของมีคม กำรดม ชิม และกินสำรเคมีหรือยำ
38

กำรปีนป่ำยที่สูง เช่น บันได ระเบียง หน้ำต่ำง รั้ว เป็นต้น


กำรเล่นนำ้ำในอ่ำงนำ้ำใหญ่ หรือบ่อในบ้ำน
ฯลฯ

อันตรายนอกบ้านนั้น เกิดขึ้นได้เช่นเดียวกับอันตรำยที่อำจเกิดในบ้ำน ส่วนอันตรำยอื่นๆ


เป็นสิ่งที่อยำกแก่กำรคำดเดำ เพรำะขึ้นอยู่กับสถำนที่ และสถำนกำรณ์ ที่สำำ คัญคือ กำรเดินบน
ถนน กำรวิ่งข้ำมถนน กำรวิ่งในที่มีสิ่งกีดขวำงที่เป็นอันตรำย เป็นต้น ดังนั้น ทุกครั้งที่ออกนอกบ้ำน
พ่อแม่ควรจับเด็กออทิสติกไว้ให้มั่น และดูแลอย่ำให้คลำดสำยตำ จนกว่ำเด็กออทิสติกจะโต และ
มั่นใจได้ว่ำเขำดูแลตัวเองได้จริงๆ

หลักการจัดกิจกรรมให้เด็กออทิสติกฝึกทำา

เด็กออทิสติกมักเรียนรู้ช้ำ และมีสมำธิสั้น จึงควรจัดให้ทำำกิจกรรมจำกง่ำยไปหำยำก และ


ใช้เวลำไม่นำนนัก โดยใช้หลักกำร ดังนี้
1. ให้เด็กฝึกทำาเลียนแบบ และทำาตามแบบซำ้าๆ จนเด็กจำำได้แล้วจึงบอกหรือ
สั่งให้เด็กทำำด้วยตนเอง
2. ถ้ำเด็กไม่สำมำรถทำำเลียนแบบได้ ให้ใช้วิธีช่วยเด็กทำา ในครั้งแรกๆต้องช่วย
อย่ำงมำกโดยกำรจับมือเด็กทำำเพื่อให้เด็กประสบควำมสำำเร็จในกำรทำำ ต่อไป
ให้ช่วยเด็กลดลง อำจใช้กำรชี้แนะ ชักนำา กระตุ้น หรือ เตือนให้ทำา เข้ำมำ
แทน แต่ให้ค่อยๆลดกำรช่วยลงเช่นเดียวกัน จนกระทั่งเด็กสำมำรถทำำได้ด้วย
ตนเอง
3. จัดวิธีกำรทำากิจกรรมให้มีขั้นตอนเรียงตามลำาดับทุกครั้ง เด็กจะทำำ ทีละ
ขั้นตำมลำำดับ และจำำได้ดี ถ้ำมีกำรเปลี่ยนแปลงขั้นตอนเด็กมักจะสับสน ทั้งนี้
ควรเริ่มจำกกิจกรรมที่มีขั้นตอนน้อยๆ ไปจนถึงกิจกรรมที่มีขั้นตอนเพิ่มมำกขึน้
ตำมลำำดับ
4. จัดให้เด็กทำากิจกรรมทีละอย่าง เพื่อไม่ให้เด็กสับสน เมื่อเสร็จสิ้นกิจกรรม
แรก ให้เก็บอุปกรณ์ทุกอย่ำงออกให้หมด ก่อนเอำอุปกรณ์ของกิจกรรมใหม่มำ
วำง
39

5. ใช้สิ่งของที่เด็กชอบเป็นอุปกรณ์ในการจัดกิจกรรมทีเ่ หมำะสม เพื่อดึงดูด


ควำมสนใจเด็ ก เช่ น เด็ ก ชอบถื อ หนั ง สื อ กำร์ ตูน ติ ด ตั ว ให้ ห ำวิ ธี ใ ช้ ห นั ง สื อ
กำร์ตูนให้เป็นประโยชน์
6. ใช้กิจวัตรประจำาวัน และงานบ้าน เป็นกิจกรรมฝึกหัดหลัก เพื่อให้เด็กได้
ฝึกกำรช่วยเหลือตนเอง และกำรช่วยทำำ ประโยชน์ ทั้งยังเป็นกิจกรรมที่เด็ก
เห็นและฝึกทำำ เป็นประจำำ ได้ แม้เด็กจะทำำ ได้ไม่ดีเท่ำที่ควร หรือเสียหำยบ้ำง
เช่น เด็ดผักไม่สวย ทำำจำนตกแตก ก็จำำเป็นต้องยอมรับ

การใช้อุบายกับเด็กออทิสติก

ในกำรบำำบัดรักษำเด็กออทิสติกไม่ว่ำเป็นกำรฝึกใดๆ ก็ตำม มักพบอุปสรรคว่ำ เด็กไม่ร่วม


มือ หรือไม่ยอมทำำอะไรทั้งสิ้น ดังนั้นอำจจำำเป็นต้องใช้อุบำยเพื่อจูงใจให้เด็กยอมฝึกด้วย แต่สิ่งที่
จำำเป็นต้องยึดมั่นคือ อุบายทุกอย่างนั้นต้องยืนอยู่บนพื้นฐานของความเป็นจริง และสมเหตุ
สมผล ไม่ควรโกหกเด็ก หรือให้เด็กทำำอะไรอย่ำงไม่มีเหตุผลสมควร เพรำะถ้ำเด็กรู้เท่ำทัน เด็กจะ
ขำดควำมเชื่อถือ ต่อต้ำน และดื้อดึงยิ่งขึ้น
ตัวอย่างอุบายที่อำจใช้กับเด็ก ได้แก่
1.ถ้ำเด็กติดกำรถือสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น ผ้ำขนหนูผืนเล็ก ของเล่น หมอน ฯลฯ อำจ
แกล้งเพื่อดึงเด็กให้ห่ำงจำกสิ่งนั้นที่ละเล็กทีละน้อย ดังนี้
ทำำของหกใส่ ให้เปื้อน แล้วขอเอำไปทำำควำมสะอำด
ถือของหลำยชิ้น แล้วขอให้เด็กวำงของที่เด็กถือติด เพื่อช่วยรับของ
และถือเอำไปวำงที่อื่น
2.ถ้ำเด็กไม่ยอมรับของจำกคนอื่น ให้พ่อหรือแม่ แกล้งถือของอื่นหรือทำำงำนอื่นที่
หยุดไม่ได้ และขอเด็กให้ไปรับของแทน
3.ถ้ำเด็กหมกมุ่นกับกำรเล่นกับตัวเอง ให้แกล้งทำำสถำนกำรณ์ที่จำำเป็นต้องขอเด็ก
มำช่วย เช่น ทำำ ของหล่นหลำยชิ้นตรงใกล้ๆเด็ก และขอเด็กให้ช่วยเก็บ เป็นต้น เพื่อให้เด็กหยุด
พฤติกรรมที่ไม่เหมำะสมได้ระยะหนึ่ง
4.ถ้ำเด็กชอบขอพ่อหรือแม่ให้ช่วยทำำในสิ่งที่เด็กทำำด้วยตนเองได้บ่อยๆ ให้แกล้ง
หยิบของพลำด และแสดงอำกำรว่ำมือเจ็บโดยกำรใช้ผ้ำพันแผลพันมือ และขอเด็กให้ทำำสิ่งต่ำงๆ
ด้วยตนเอง เพรำะพ่อหรือแม่ช่วยไม่ได้จริงๆ เมื่อเด็กได้ทำำ เองสักครั้งหรือสองครั้ง ต่อไปเด็กจะมี
ควำมมั่นใจที่จะทำำด้วยตนเองต่อไป
40

5.ถ้ำเด็กไม่ชอบกำรเปลี่ยนของใช้ ให้แกล้งทำำ ให้ของนั้นเสีย หรืออยู่ในสภำพที่


เด็กไม่ชอบ แล้วเตรียมของใหม่ไว้ให้เด็กเปลี่ยนทันที ฯลฯ

เด็กออทิสติกกับการสร้างจินตนาการ

จำกข้ อ จำำ กั ด ในกำรคิ ด และเรี ย นรู้ ข องเด็ ก ออทิ ส ติ ก ทำำ ให้ เ ด็ ก ออทิ ส ติ ก พั ฒ นำกำรมี
จินตนำกำรช้ำ จึงควรช่วยสอน ฝึก และกระตุ้นด้วย โดยกำรเล่นบทบาทสมมุติ เป็นคนอำชีพ
ต่ำงๆ เป็นสัตว์ เป็นสิ่งของ เป็นต้น เล่นการเดาหรือคาดคะเน เช่น ให้บอกชนิดของสิ่งของโดยไม่
ให้ดูแต่ใช้กำรคลำำ หรือบอกชนิดของเสียงโดยให้ฟังเสียงแต่ไม่ให้เห็นต้นกำำเนิดเสียง และ เล่นเติม
ส่วนที่หาย เช่น ให้เด็กหำรูปสัตว์ หรือสิ่งของที่เห็นเพียงบำงส่วนในภำพ เป็นต้น

การจัดการศึกษาสำาหรับเด็กออทิสติก

เด็กออทิสติกจำำเป็นต้องได้รับกำรศึกษำเช่นเดียวกับเด็กทั่วไป และเด็กพิกำรประเภทอื่นๆ
อุปสรรคในกำรศึกษำของเด็กออทิสติก คือเด็กไม่สำมำรถรับรู้ และสื่อสำรได้เท่ำกับเด็กทั่วไป เด็ก
มักมีสมำธิสั้น และเด็กไม่ชอบเข้ำร่วมกิจกรรมกลุ่ม หรือคบหำเพื่อนเพื่อช่วยเหลือและปรึกษำ
หำรือ เด็กจึงไม่ค่อยเข้ำใจเนื้อหำวิชำที่เรียน เรียนช้ำ และผลกำรสอบไม่ดี
สำำหรับกำรจัดกำรศึกษำให้แก่เด็กออทิสติก มีควำมคิดเห็นแตกเป็น 2 ฝ่ำย คือ 1) เชื่อว่ำ
ควรจัดกำรศึกษำให้เด็กออทิสติกโดยเฉพำะ เหมือนที่รัฐ และองค์กรเอกชนจัดกำรศึกษำเฉพำะให้
เด็กตำบอด เด็กปัญญำอ่อน เด็กพิกำรทำงร่ำงกำย และเด็กหูหนวก เป็นต้น และ 2) เชื่อว่ำกำร
เรียนร่วมเป็นกำรจัดกำรศึกษำที่ดีที่สุดสำำหรับเด็กออทิสติก
จริงอยู่ที่ว่ำ หำกจัดเด็กออทิสติกเรียนร่วมกับเด็กปกติ เด็กจะเลียนแบบพัฒนำกำรของ
เด็กปกติ และเรียนรู้กำรสื่อสำร ตลอดจนกำรเข้ำสังคม ซึ่งช่วยให้กำรปรับพฤติกรรม และกำร
พัฒนำภำษำเป็นไปได้อย่ำงรวดเร็ว แต่นั่นหมำยควำมว่ำ ต้องมีร ะบบกำรบริหำรจัดกำรที่เอื้อ
อำำนวยหรือช่วยเหลือเด็กออทิสติกเป็นพิเศษอย่ำงมีประสิทธิภำพ เช่น ครูที่สอนหรือรับผิดชอบ
ต้องมีควำมรู้เรื่องเด็กออทิสติกอย่ำงดี สำมำรถจัดกำรเรียนกำรสอนให้สอดคล้องกับควำมต้องกำร
ของเด็กแต่ละคน และสอนเสริมให้เด็กมีศักยภำพใกล้เคียงกับเด็กปกติในห้องเดียวกัน ตลอดจน
41

ต้องจัดให้มีกำรปรับพฤติกรรมทั้งด้ำนร่ำงกำย อำรมณ์ ภำษำ สังคม และสติปัญญำ รวมทั้งแก้


ปัญหำของเด็กออทิสติกเป็นรำยบุคคล เป็นต้น
แต่ในสภำพของควำมเป็นจริง ต้องยอมรับว่ำ ประเทศไทยยังขาดบุคคลากรที่มีความรู้
ความชำานาญในการสอนเด็กออทิสติกโดยเรียนร่วมกับเด็กปกติ โดยเฉพำะระดับที่สูงกว่ำ
ระดับอนุบำล และไม่มีระบบบริหำรจัดกำรที่ส่งเสริมกำรเรียนร่วมของเด็กออทิสติกให้ประสบควำม
สำำเร็จอย่ำงแท้จริง ดังนั้นวิธีแก้ปัญหาเฉพาะหน้าที่ดีที่สุด น่าเป็นการจัดการเรียนการสอน
พิเศษเฉพาะให้กับเด็กออทิสติก ยกเว้นเด็กออทิสติกที่สำมำรถเข้ำเรียนร่วมกับเด็กปกติโดยไม่
ต้องกำรควำมช่วยเหลือมำกเป็นพิเศษ
จนกระทั่งเมื่อครู ระบบบริหำรจัดกำร หลักสูตร แผนกำรสอนรำยบุคคล วิธีกำรเรียนกำร
สอน บริกำรสอนเสริมเป็นพิเศษ กำรประเมินผล ผู้ปกครอง และเด็กออทิสติก เป็นต้นพร้อม และมี
ประสิทธิภำพ จึงส่งเสริม และสนับสนุนให้เด็กออทิสติกเข้ำเรียนในโรงเรียนเรียนร่วม
เป็นที่น่ายินดีที่นับแต่มีพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 การปฏิรูป
การศึกษาได้เอื้อประโยชน์ให้แก่เด็กออทิสติกอย่างมาก กล่าวคือ มีโอกาสได้เข้าศึกษาทั้ง
ในศูนย์การศึกษาพิเศษ โรงเรียนเรียนร่วม โรงเรียนเฉพาะความพิการ ศูนย์การเรียน และ
การจัดการศึกษาโดยครอบครัว รวมทั้งได้มีการจัดทำาหลักสูตรการศึกษาเฉพาะสำา หรับ
เด็กออทิสติก และเอกสารที่ให้ความรูเ้ รื่องเด็กออทิสติก
อย่างมากมาย เด็กออทิสติกบางคนได้เข้าศึกษาถึงระดับอุดมศึกษาแล้ว ดังนั้น จึงไม่น่ามี
อุปสรรคใดๆ เกี่ยวกับการศึกษาของเด็กออทิสติก…………..ผู้ปกครองเด็กออ
ทิสติกทุกคนจึงต้องมุ่งมั่นส่งเสริมให้เด็กได้รับการศึกษาอย่างดีที่สุด หากมีปัญหาใดๆ
ควรปรึกษาองค์กรของผู้ปกครองเด็กออทิสติก เช่น “ สมาคมผู้ปกครองออทิซึม ( ไทย ) ”
และ “ มูลนิธิเพื่อบุคคลออทิซึม ( ประเทศไทย ) ” รวมทั้งชมรมผู้ปกครองเด็กออทิสติก
จังหวัดต่างๆ หรือติดต่อหน่วยงานของรัฐที่รับผิดชอบเรื่องการศึกษาของเด็กพิการในเขต
การศึกษาใกล้บ้าน

เด็กออทิสติกกับการไปโรงเรียน

ถ้ำเป็น ไปได้ควรให้โ อกำสเด็ ก ออทิ ส ติ กได้ เ ข้ ำ โรงเรี ย นในวั ย เดี ย วกั บเด็ ก ทั่ว ไป แต่ ใน
ปัจจุบัน ส่วนใหญ่มักพบว่ำเด็กออทิสติกปรับพฤติกรรมได้ล่ำช่ำกว่ำเด็กปกติมำก เด็กออทิสติก
จึงต้องเข้ำไปเรียนกับเด็กปกติที่อำยุน้อยกว่ำ และตัวเล็กกว่ำ
พ่อแม่หลำยคนสงสัยว่ำ ควรไปดูแลลูกออทิสติกที่โรงเรียนหรือไม่ โดยหลักกำรแล้วหำก
เด็กพึ่งตนเองได้อย่ำงเป็นอิสระ หรือครูรับว่ำสำมำรถดูแลเด็กได้ พ่อแม่ไม่จำำ เป็นต้องไปดูแลลูก
เลย สิ่งที่ควรทำำคือไปรอรับลูกก่อนเลิกเรียน เมื่อเด็กออทิสติกออกจำกห้องเรียนแล้วพบพ่อแม่มำ
42

รับทันที จะช่วยเด็กให้มีควำมรู้สึกที่ดีมำก ไม่ควรให้เด็กมองหำ รอ หรือไม่ไปรับเด็กโดยเด็กไม่ได้


รับทรำบ เพรำะอำจทำำให้เด็กหงุดหงิด เสียใจ ร้องไห้ โกรธ และแสดงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์
ในกรณีที่เด็กไม่ยอมรับโรงเรียน และแสดงปฏิกิริยำต้อต้ำนมำก เช่น ร้องไห้ ไม่ยอมเข้ำ
ห้องเรียน ไม่กินอำหำร แสดงอำกำรโมโหร้ำย และครูไม่สำมำรถแก้ปัญหำได้ พ่อแม่อำจปรึกษำกับ
ครูว่ำจะทำำ อย่ำงไร อำจทดลองให้พ่อ/แม่อยู่ในโรงเรียนให้เด็กเห็น แสดงให้เด็กรู้ว่ำ รัก เป็นห่วง
และต้ อ งกำรให้ กำำ ลั ง ใจ แต่ ทั้ ง พ่ อ /แม่ และเด็ก ต้ อ งเชื่ อ ฟั ง ครู และทำา ตามระเบี ย บของ
โรงเรียน พ่อ/แม่ไม่สำมำรถเข้ำไปใกล้ชิด หรือช่วยเด็กให้ไม่ต้องเข้ำเรียน หรือไม่ต้องทำำ เหมือน
เด็กคนอื่นๆ ในระยะแรกเด็กมักร้องไห้ และแสดงอำกำรไม่ยอมรับ แต่ การยืนยันกฎระเบียบของ
สังคมอย่างจริงจัง และไม่โลเล จะทำาให้เด็กยอมรับกฎระเบียบในที่สุด ต่อจำกนั้นพ่อ/แม่ จึง
แสดงตนให้เด็กเห็นน้อยลง อำจเดินไปบริเวณที่เด็กมองไม่เห็น หรือเข้ำใจว่ำไปห้องนำ้ำ แล้วยืด
เวลำกำรหำยตัวไปให้ยำวขึ้นๆ เมื่อรู้สึกว่ำไปนำนพอที่เด็กอำจเริ่มมีอำกำรผิดปกติ หรือให้ครูส่ง
สัญญำนบอก จึงกลับมำ ถ้ำเด็กรับรู้ได้อำจบอกเขำว่ำไปธุระที่เขำเข้ำไจ และยอมรับ เช่น ไปซื้อ
ขนม หรืออำหำรไว้ให้เขำกินหลังเลิกเรียน แล้วจึงกลับมำเมื่อใกล้เวลำรับกลับบ้ำน จนในที่สุดไป
ต้องไปรอดูที่โรงเรียนอีกต่อไป เว้นเสียแต่ครูเห็นว่ำเด็กต้องกำรกำำลังใจอีก อำจไปเยี่ยมดูเป็นครั้ง
ครำว
สิ่งสำาคัญเกี่ยวกับการไปโรงเรียนของเด็กออทิสติกคือ ครู และผู้ปกครองต้องร่วม
กันดำาเนินการบำาบัดรักษาเด็กออทิสติกอย่างใกล้ชิดเพื่อปรับแก้ให้กฎ ระเบียบ แนวทาง
การปรับพฤติกรรม วิธีการเรียนรู้ และอื่นๆ เป็นไปในทิศทางเดียวกัน เพราะ หากบ้านกับ
โรงเรียน ขัดกัน จะทำาให้เด็กออทิสติกเกิดความสับสน และพัฒนาทุกด้านอาจหยุดชะงัก
หรือล่าช้า

การเตรียมเด็กออทิสติกเข้าเรียนร่วม

โรงเรียนที่จะรับเด็กออทิสติกเข้ำเรียน ควรต้องเตรียมกำร ดังนี้


1.เตรียมครูให้มีควำมสำมำรถสอนเด็กออทิสติกได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ
2.เตรียมกระบวนกำรเรียนกำรสอน อุปกรณ์ กำรสอนเสริม กำรแนะแนว และวิธี
กำรประเมินผลที่เหมำะสมกับเด็กออทิสติก
3.เตรียมครู บุคลำกร และเจ้ำหน้ำที่ทุกคน รวมทั้งผู้บริหำรให้รู้จักเด็กออทิสติก
และวิธีกำรปฏิบัติต่อเด็กออทิสติก
4.เตรียมเด็กปกติ และผู้ปกครองให้รู้จักเด็กออทิสติก และวิธีกำรปฏิบัติต่อเด็ก
ออทิสติก
43

พ่อแม่ควรเตรียมควำมพร้อมเด็กออทิสติก เพื่อเข้ำเรียนร่วม ดังนี้


1.เตรียมข้อมูล - พ่อแม่ควรจัดหำข้อมูล ดังนี้
1.1. ชื่อโรงเรียนที่รับเด็กออทิสติกเข้ำเรียน
1.2. สถำนที่ตั้งของโรงเรียน
1.3. วิธีเดินทำงระหว่ำงบ้ำน กับ โรงเรียน
1.4. หลักฐำนที่ต้องใช้ในกำรสมัครเรียน
1.5. ค่ำใช้จำ่ ยในกำรเรียน
1.6. กฎระเบียบต่ำงๆ ของโรงเรียน

2.เตรียมการเรียน - พ่อแม่ควรต้องจัดเตรียม ดังนี้


2.1 ค่ำใช้จำ่ ย
2.2 คนรับ- ส่งเด็กไปโรงเรียน
2.3 คนช่วยเด็กเรื่องบทเรียน

3.เตรียมเด็ก - โดยกำรฝึกเด็กให้สำมำรถพึ่งตนเอง รู้จักกำรเข้ำสังคม เล่นกับ


เพื่อน มีสมำธิในกำรเรียนรู้ พูดคุยสื่อสำรกับคนทั่วไป ชักจูงให้เด็กสนใจไปเรียน พำเด็กไปเที่ยวดู
โรงเรียน และพบปะกับครูเพื่อสร้ำงควำมคุ้นเคย เป็นต้น
การให้เด็กออทิสติกอยู่โรงเรียนประจำา

โดยหลักกำร เด็กออทิสติกควรอยู่กับพ่อแม่และสมำชิกในครอบครัว เพื่อให้เด็กรู้สึกได้รับ


ควำมรัก อบอุ่น และได้รับกำรดูแลอย่ำงใกล้ชิด แต่อำจต้องให้เด็กออทิสติกไปอยู่โรงเรียนประจำำ
ด้วยเหตุผล 2 ประกำรคือ
1. เด็กอยู่ในวัยต้องเข้ำเรียน และเด็กสำมำรถเรียนได้ แต่โรงเรียนอยู่ไกลบ้ำน
มำก ไม่สำมำรถเดินทำงไป- กลับได้
2. เด็ ก อยู่ ใ นวั ย เรี ย น แต่ พ่ อ แม่ แ ละสมำชิ ก ในครอบครั ว ไม่ ส ำมำรถปรั บ
พฤติกรรมทั้งด้ำนอำรมณ์ และสังคม รวมทั้งสร้ำงเสริมควำมสำมำรถสื่อสำร
ของเด็ ก ได้ หรื อ ปรั บ ได้ ไ ม่ ดี เ ท่ ำ ที่ ค วร และครู มี ค วำมสำมำรถที่ จ ะปรั บ
พฤติกรรมเด็กได้ดีกว่ำ
44

กำรอยู่โรงเรียนประจำำ หรือค้ำงคืนที่โรงเรียน เป็นโอกำสที่เด็กจะได้เข้ำสังคมกับเด็กวัย


เดียวกัน ฝึกกำรช่วยตนเองหรือปฏิบัติกิจวัตรประจำำวันได้ดี ถ้ำเป็นโรงเรียนประจำำที่มีเด็กปกติอยู่
ด้วย กำรได้เห็นเด็กปกติคนอื่นๆมีพฤติกรรมที่เหมำะสมซำ้ำๆ เป็นประจำำทุกวัน ย่อมเป็นตัวอย่ำงให้
เด็กออทิสติกยอมรับกฎระเบียบของสังคม เลียนแบบพฤติกรรมแต่ละอย่ำง และจดจำำได้ง่ำย
แม้เป็นกำรอยู่ประจำำร่วมกันเฉพำะเด็กออทิสติก ก็จะช่วยเด็กออทิสติกให้ได้เรียนรู้ซึ่งกัน
และกัน ครู หรือผู้ดูแลเด็กสำมำรถดูแลหรือปรับพฤติกรรมของเด็กออทิสติกในลักษณะกำรบำาบัด
เป็นกลุ่มได้ ผลพลอยได้คือ อำจช่วยลดการเผชิญหน้าระหว่างเด็กกับพ่อแม่ในกรณีที่พ่อ
แม่เป็นเหตุให้เด็กอำรมณ์เสีย โกรธ สั่งสมควำมไม่พอใจ เกิดกำรต่อต้ำนบ่อยๆ ที่สำำคัญเด็กออทิ
สติกได้เรียนรู้ว่ำสิ่งที่พ่อแม่เข้มงวดให้เขำต้องทำำนั้น เป็นระเบียบของสังคมที่ทุกคนต้องทำำ และครู
เข้มงวดกับเขำเช่นเดียวกัน ซึ่งอำจช่วยให้ความรู้สึกต่อต้าน หรือโกรธพ่อแม่ลดน้อยลงตาม
ลำาดับ
ผลพลอยได้ของกำรไม่ต้องเดินทำงระหว่ำง บ้ำน กับ โรงเรียน โดยเฉพำะคนที่ต้องใช้เวลำ
เดินทำงมำก รถติด และเผชิญกับภำวะมลพิษต่ำงๆ คือ เด็กออทิสติก ไม่ต้องเหน็ดเหนื่อยและ
เสียเวลากับการเดินทาง ช่วยให้เด็กมีอำรมณ์แจ่มใส ไม่หงุดหงิด และเรียนรู้สิ่งต่ำงๆ ได้ดี
ทั้งนี้พ่อแม่ และครูจะต้องมีกลวิธีที่ช่วยให้เด็กเข้าใจว่า การให้เด็กออทิสติกมาอยู่
โรงเรียนประจำานั้นไม่ได้เป็นเพราะพ่อแม่ไม่รักเด็ก หรือทอดทิ้งเด็ก เช่น กอดเด็กเมื่อจะส่ง
เด็กเข้ำโรงเรียน ให้ของหรือขนมที่เด็กชอบ มำรอรับเด็กทุกครั้งเมื่อถึงเวลำกลับบ้ำน เป็นต้น
อย่ำงไรก็ตำม หำกไม่มี เงื่อนไข 2 ประกำร ดังกล่ำวข้ำงต้น เด็กออทิสติกควรได้อยู่กับ
ครอบครัวมำกที่สุด เพรำะความรัก และความอบอุ่นจากพ่อแม่และสมาชิกในครอบครัวมี
ความสำาคัญสำาหรับเด็กออทิสติก และช่วยบำาบัดพฤติกรรมผิดปกติของเขาได้ดีกว่าสิ่งอื่น
ใด
นอกจำกนั้น ทั้งพ่อแม่ และครูต้องร่วมกันพิจำรณำอยู่เสมอว่ำ เมื่อใดที่พร้อม ควรส่ง
เสริม และสนับสนุนเด็กออทิสติก ให้เข้าเรียนร่วมในโรงเรียนไป - กลับ ของเด็กปกติ

เด็กออทิสติกกับบ้านสัมพันธ์รัก

“ บ้านสัมพันธ์รัก “ เป็นคำำที่ชมรมผู้ปกครองเด็กออทิสติก ใช้เรียก “ group home ” ซึ่ง


หมำยถึงกำร บ้ำนที่จัดให้เด็กออทิสติกอยู่รวมกันเหมือนเป็นบ้ำนที่ 2 ของเด็กๆ เพื่อดำำ เนินกำร
พัฒนำ หรือบำำ บัดรักษำเด็กออทิสติกแต่ละคนในลักษณะรวมกลุ่มกัน โดยให้เด็กได้เรียนรู้และ
45

เลียนแบบซึ่งกัน และกัน ในขณะที่มีครูผู้ฝึกซึ่งได้เฝ้ำสังเกต และรู้จักเด็กแต่ละคนเป็นอย่ำงดีแล้ว


รับผิดชอบดูแลกำรสอน ฝึก ประเมินผลอย่ำงใกล้ชิด
ลักษณะกำรดำำเนินงำนแบบ “ บ้ำนจำำลอง “ แต่ละแห่งอำจแตกต่ำงกันตำมควำมเหมำะ
สม โดยทั่วไป เด็กจะอยู่กับพ่อแม่ในช่วงวันเสำร์ และอำทิตย์ ส่วนวันจันทร์ - ศุกร์ หรือวันที่เด็กไป
โรงเรียน เด็กอยู่ และนอนที่บ้ำนสัมพันธ์รัก
จุดประสงค์สำำคัญของกำรดำำเนินงำนที่บ้ำนสัมพันธ์รัก คือเพื่อพัฒนำเด็กออทิสติกด้ำนร่ำ
งกำย จิตใจ อำรมณ์ พฤติกรรม กำรเรียนรู้ สติปัญ ญำ สังคม และกำรสื่อสำร เป็นต้ น โดยจัด
กิจกรรมในลักษณะให้เด็กรู้สึกอบอุ่นเหมือนอยู่บ้ำนของตนเอง พร้อมๆกับเรียนรู้ และฝึกทำำกิจวัตร
ประจำำวันโดยกำรพึ่งตนเอง ลดละพฤติกรรมที่ไม่เหมำะสม เรียนรู้กำรมีหน้ำที่ และควำมรับผิด
ชอบ ฝึกปฏิบัติกำรอยู่ร่วมกับคนอื่น กำรเล่นกับเพื่อน กำรช่วยงำนบ้ำน และกำรปฏิบัติตำมกฎ
ระเบียบ ประเพณี และมรรยำทของสังคม เป็นต้น
ทั้งนี้ พ่อแม่ และครูผู้ฝึกจะเฝ้ำสังเกตพัฒนำกำรด้ำนต่ำงๆ ของเด็กดังกล่ำวข้ำงต้นอย่ำง
ใกล้ชิด ตลอดจนร่วมกันประเมินผล และแก้ไ ขปัญ หำ พร้อ มทั้ งปรึ กษำหำรื อกำรวำงแผนกำร
ดำำเนินงำนต่อไป เป็นระยะๆ อย่ำงสมำ่ำเสมอ เพื่อให้มีประสิทธิภำพ และบรรลุวัตถุประสงค์
บ้านสัมพันธ์รัก นับเป็นแนวทำงหนึ่งในกำรพัฒนำ และบำำบัดรักษำเด็กออทิสติกที่ควร
ได้รับกำรติดตำมผล และศึกษำต่อไป
บ้านสัมพันธ์รัก เป็นเพียงชื่อที่ชมรมผู้ปกครองเด็กออทิสติก เคยใช้เรียกการดูแล
ช่วยเหลือเด็กออทิสติกแบบที่ฝรั่งเรียกว่า “ group home ” ดังนั้น ต่อมาแม้จะไม่มีสถาน
ที่ชื่อ บ้านสัมพันธ์รัก แต่แนวคิดดังกล่าวสามารถนำาไปใช้ได้เป็นอย่างดี ……ขอเพียงมีรกั
ให้เด็กออทิสติกก็แล้วกัน

เด็กออทิสติกกับการเรียนภาษาอังกฤษ

ลักษณะเด่นที่พบบ่อยประกำรหนึ่งของเด็กออทิสติก คือกำรเปล่งเสียงที่ไม่เป็นภำษำพูด
ปกติ แต่ใช้เป็นภำษำสำำ หรับสื่อสำรของตนเอง เช่น เปล่งเสียง “ บู บู “ ทุกครั้งที่ต้องกำรสื่อว่ำ
ต้องกำร “ นม “ เป็นต้น นอกจำกนั้นเด็กออทิสติกมักมีปฏิกิริยำตอบต่อเสียงอื่นๆ มำกกว่ำเสียงพูด
นัน่ แสดงว่ำ เด็กออทิสติกมักสนใจเสียงอื่นที่ไม่ใช่เสียงภำษำพูดที่ใช้ทั่วไป หรือภำษำไทยนั่นเอง
ดังนั้น จึงมักพบว่ำ เมื่อเด็กออทิสติกได้ยินเสียงพูดภำษำอังกฤษ เด็กมักสนใจฟัง และ
เปล่งเสียงพูดเลียนแบบได้ ครั้นเด็กออทิสติกอยู่ในวัยเรียนซึ่งเด็กปกติในวัยเดียวกันได้เรียนภำษำ
อังกฤษแล้ว พ่อแม่ของเด็กออทิสติกจึงสงสัยว่ำ เด็กออทิสติกควรเรียนภำษำอังกฤษหรือไม่ บำง
46

คนเกรงว่ำกำรเรียนภำษำอังกฤษจะทำำให้ภำษำไทยพัฒนำช้ำลง หรือทำำให้เด็กออทิสติกสับสน
ระหว่ำงทั้ง 2 ภำษำ
จำกประสพกำรณ์ ผู้เขียนพบว่ำ เด็กออทิสติกสนใจภำษำอังกฤษ สำมำรถเรียนรู้คำำศัพท์
เปล่งเสียงพูดและร้องเพลงภำษำอังกฤษได้พร้อมกับกำรเรียนภำษำไทย แต่ควรส่งเสริมเด็กออทิ
สติกเรียนภำษำอังกฤษมำกน้อยแค่ไหนคงต้องมีกำรศึกษำเรื่องนี้ต่อไป

การประสานงานเรื่องเด็กออทิสติก

ผู้ทำำ งำนเกี่ยวข้องกับเด็กออทิสติกมีหลำยฝ่ำย โดยแต่ละฝ่ำยมีภำระควำมรั บผิดชอบ


ต่ำงๆ กัน ดังนี้
1. พ่อแม่ - มีหน้ำที่รับผิดชอบเด็กออทิสติกโดยตรงทุกด้ำน คนที่ชว่ ยพ่อแม่รับผิด
ชอบ อำจได้แก่ คนเลี้ยงดูเด็กออทิสติกซึ่งอำจเป็นญำติ หรือลูกจ้ำง
2. สมาชิกในครอบครัว - ได้แก่ พี่น้อง ปู่ย่ำ ตำยำย น้ำ อำ คนอื่นๆที่อยู่ในบ้ำน
เดียวกัน และคนรับใช้ เป็นต้น
3. แพทย์ - หมำยถึง ผู้ที่ทำำหน้ำที่ตรวจ วินิจฉัยเด็กออทิสติก และให้กำรรักษำ
ด้วยยำ
4. นักจิตวิทยา - หมำยถึงผู้ที่ทดสอบพัฒนำกำร สุขภำพจิต และระดับเชำว์
ปัญญำของเด็กออทิสติก และอำจช่วยทำำหน้ำที่ปรับพฤติกรรมของเด็กด้วย
5. นักแก้ไขการพูด - หมำยถึงผู้ทำำ หน้ำที่ พัฒนำภำษำ ฝึกพูด และแก้ไขกำร
พูดให้แก่เด็กออทิสติก
6. ครู - หมำยถึงผู้สอนหนังสือแก่เด็กออทิสติก
7. นักสังคมสงเคราะห์ - หมำยถึง ผู้ให้ควำมช่วยเหลือพ่อแม่ของเด็กออทิสติ
กเรื่อง ค่ำใช้จ่ำยในเลี้ยงดู ให้กำรศึกษำ และฝึกอำชีพของเด็กออทิสติก
8. นักโภชนาการ - หมำยถึงผู้ให้คำำปรึกษำเรื่องกำรรับประทำนอำหำรของเด็ก
ออทิสติก
9. นักปรับพฤติกรรม - หมำยถึงผู้ทำำหน้ำที่ปรับพฤติกรรมต่ำงๆ ให้แก่เด็กออทิ
สติก
10. นักแนะแนว - หมำยถึงผู้ให้คำำปรึกษำแนะนำำ เรื่องต่ำงๆแก่พ่อแม่ของเด็ก
ออทิสติก และคนที่เป็นออทิสติก
11. นักดนตรีบำาบัด – หมำยถึงผูใ้ ช้ดนตรีในกำรบำำบัดรักษำเด็กออทิสติก
47

12. นักศิลปะบำาบัด – หมำยถึงผูใ้ ช้ศลิ ปะในกำรบำำบัดรักษำเด็กออทิสติก


13. พยาบาล - หมำยถึงผู้ที่ให้กำรดูแลเด็กออทิสติกในลักษณะงำนต่ำงตำมที่
ผ่ำนกำรฝึกอบรม และได้รับมอบหมำยจำกสถำนพยำบำลที่ทำำงำนอยู่
14. พีเ่ ลี้ยง - หมำยถึงผู้ช่วยดูแลเลี้ยงดูเด็กออทิสติก

การมีคนฝ่ายต่างๆมาประสานงานดูแลเด็กออทิสติกมากเท่าไร จะช่วยเด็กออทิ
สติกให้ฟื้นฟูสมรรถภาพได้ใกล้เคียงกับเด็กปกติเร็วเท่านั้น

ในหลำยประเทศ นอกจำกจะมีคนทุกฝ่ำยร่วมกันทำำ หน้ำที่บำำ บัดเด็กออทิสติกแล้ว คน


เหล่ำนั้นมักทำำงำนอยู่ในที่เดียวกัน ประสำนงำนกันหรือนัดประชุมกันเพื่อปรึกษำหำรือและจัดทำำ
แผนดำำเนินกำรบำำบัดเด็กออทิสติกแต่ละคนให้ดีที่สุด

สำำหรับประเทศไทย ดูเหมือนว่ำ คนที่ทำำงำนบำำบัดเด็กออทิสติกเป็นหลักจะมีเพียง พ่อแม่


แพทย์ นักจิตวิทยำ นักแก้ไขกำรพูด และครู ซึ่งต่ำงคนต่ำงปฏิบัติหน้ำที่ในควำมรับผิดชอบของ
ตนเอง ไม่ค่อยมีกำรจัดทำำงำนเป็นทีมเพื่อวำงแผนบำำบัดเด็กออทิสติกเป็นรำยบุคคล และพ่อแม่
มักต้องทำาหน้าที่ขอรับคำาปรึกษาและประสานงานจากแต่ละคนเอง

การที่พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 กำาหนดให้ผู้จัดการศึกษาให้


แก่เด็กพิการ หรือเด็กที่ความต้องการการจัดการศึกษาพิเศษ ต้องวางแผนการ
ศึกษาโดยจัดทำา “ โปรแกรม หรือ แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล ” โดยให้ทุกคนที่
เกี่ยวข้องกับเด็กโดยเฉพาะผู้ปกครอง และตัวเด็กเองเข้าร่วมเป็นกรรมการจัดทำาด้วย นับ
เป็ น สิ่ ง สำา คั ญ ที่ ส่ ง เสริ ม ให้ มี ก ารประสานงานช่ ว ยเหลื อ เด็ ก ออทิ ส ติ ก ได้ อ ย่ า งมี
ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

เสน่ห์ของเด็กออทิสติก

คนที่ทำำงำนกับเด็กออทิสติก เหมือนผู้ชำยที่ตำมจีบผู้หญิง แต่เด็กออทิสติกเป็นผู้หญิงที่ทั้ง


หยิ่ง เล่นตัว ชอบทำำ เมินเฉย มึนตึง และทำำ ฤทธิ์ทำำ เดชสำรพัด แต่ก็น่ำรัก ใจดี ซื่อ ตรงไปตรงมำ
และไม่ปด คนที่ทำำ งำนกับเด็กออทิสติกจึงต้องถือคติ “ ตื้อเท่านั้นที่ครองใจเด็กออทิสติก “
48

แล้วจะพบว่ำ…เพียงเมื่อเขำแง้มประตูหัวใจมำ “ สบตำ “ หรือ “ ส่งยิ้ม “….โลกทั้งโลกมันแสนจะ


สดใส
ไม่มีใครคำดเดำได้ว่ำเด็กออทิสติกจะทำำอะไร เผลอๆ…บำงทีเขำเข้ำมำกอด เอำขนมมำ
ยัดใส่ปำก หรือพูดอะไรๆ ที่แสนจะเฉิ่ม แต่สำำหรับคนที่ทำำงำนกับเด็กออทิสติก มันเป็นควำมชื่นใจ
ทีน่ ึกถึงเมื่อใดก็อดยิ้มอย่ำงปลำบปลื้มไม่ได้
หากเราทำาให้เด็กออทิสติกเปิดใจรับเราได้……ก็ไม่มีอะไรอีกแล้วในโลก ที่เราจะ
ทำาไม่ได้……………….นี่แหละ เสน่ห์ของเด็กออทิสติก

บทส่งท้าย

เด็กออทิสติกแต่ละคนมีเอกลักษณ์ของตนเอง
ไม่ มี ใ คร ไม่ มี บ ทควำมใด และไม่ มี ตำำ รำเล่ ม ไหนที่ บ อกกล่ ำ วเรื่ อ งรำวได้
สอดคล้องต้องกันกับเด็กออทิสติกคนใดคนหนึ่งทุกประกำร
ไม่มี “ สูตรสำาเร็จ “ ในกำรเลี้ยงดู พัฒนำ บำำบัด รักษำ เด็กออทิสติกคนใด
คนที่เลี้ยงดูเด็กออทิสติกแต่ละคนเท่านั้น……..
………ที่รู้จักเด็กออทิสติกของตนเองดีที่สุด
คนที่เลี้ยงดูเด็กออทิสติกแต่ละคนเท่านั้น…….
……..ที่สำมำรถ ค้นหา วิธีเลี้ยงดู พัฒนำ บำำบัด รักษำ
..ที่ดีที่สุด
..ที่เหมาะสมที่สุด และ
..มีประสิทธิภาพมากที่สุด สำาหรับเด็กออทิสติกของตนเอง

ขอเป็นแรงใจให้พ่อแม่ของเด็กออทิส ติก
ทุกคน
จง ค้นหา ..หา ..หา..หา.. หา…หา..เถิด

ใครก็ตำมที่ ค้นพบ เขำคือผู้ให้ชีวิตแก่เด็กออทิสติก……..


49

เขาคือผู้ยิ่งใหญ่

ดำรณี อุทัยรัตนกิจ , “ กำรศึกษำสำำหรับคนพิกำร ในยุคโลกำภิวัตน์ “ ,สถำบันพัฒนำคุณภำพ


วิชำกำร, รุ่งเรืองกำรพิมพ์ ,กรุงเทพมหำนคร ,2538.

รจนำ ทรรทรำนนท์,“ เด็กออทิสติก :คำำแนะนำำสำำหรับบิดำมำรดำและนักวิชำกำร “, พิมพ์ครั้งที่


2 ,บริษัทเกียรติธุรกิจจำำกัด, กรุงเทพมหำนคร ,2527.

………………………………………………………………………………

You might also like