บทสวดมนต์บาลีแปลไทย

You might also like

You are on page 1of 9

การแข่งขันประกวดสวดมนต์แปลไทย ระดับ

ชั้น ป.๑ – ม.๓

โรงเรียนบ้านนายูง
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี
เขต ๒

นักเรียนผู้เข้าแข่งขัน

๑. เด็กหญิงอัฐภิญญา สุมาลุย์
๒. เด็กหญิงอินทิรา แท่นคำ
๓. เด็กหญิงจิราพันธ์ อ้วนล้ำ
๔. เด็กหญิงนิภารัตน์ วงศาสตร์
๕. เด็กหญิงนันทิตา วรสาร
๖. เด็กหญิงศศิประภา ศรีสิทธิ์
๗. เด็กหญิงกาญจนา บัวสา

ครูผู้ฝึ กสอน

๑. นายจิระพล เฮ้ามาชัย
๒. นายวลัญช์ จิตต์บรรเทิง
๓. นายสังวร ไอครรัมย์

1. คำบูชาพระรัตนตรัย

อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา,

พระผู้มีพระภาคเจ้า, เป็ นพระอรหันต์, ดับเพลิงกิเลสเพลิงทุกข์สิ้น


เชิง, ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง;

พุทฺธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ.

ข้าพเจ้าอภิวาทพระผู้มีพระภาคเจ้า, ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน.

(กราบ)
สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม,

พระธรรม เป็ นธรรมที่พระผู้มีพระภาคเจ้า, ตรัสไว้ดีแล้ว;

ธัมมัง นมัสสามิ.

ข้าพเจ้า นมัสการพระธรรม.

(กราบ)

สุปะฏิปั นโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,

พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า, ปฏิบัติดีแล้ว;

สังฆัง นะมามิ.

ข้าพเจ้านอบน้อมพระสงฆ์.

(กราบ)

2. ปุพพภาคนมการ
(นำ) หันทะ มะยัง พุทธัสสะ ภะคะวะโต ปุพพะภาคะนะมะการัง
กะโรมะ เส.

นะโม ตัสฺสะ ภะคะวะโต, ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า


พระองค์นั้น;

อะระหะโต, ซึ่งเป็ นผู้ไกลจากกิเลส;

สัมมาสัมพุทฺธัสฺสะ. ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง.

( ๓ ครั้ง )

3. พุทธาภิถุติ

(นำ) หันทะ มะยัง พุทธาภิถุติง กะโรมะ เส.

โย โส ตะถาคะโต, พระตถาคตเจ้านั้น พระองค์ใด;

อะระหัง, เป็ นผู้ไกลจากกิเลส;

สัมมาสัมพุทโธ, เป็ นผู้ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง;


วิชฺชาจะระณะสัมปั นโน, เป็ นผู้ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ;

สุคะโต, เป็ นผู้ไปแล้วด้วยดี;

โลกะวิทู, เป็ นผู้รู้โลกอย่างแจ่มแจ้ง;

อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ, เป็ นผู้สามารถฝึ กบุรุษที่สมควรฝึ กได้


อย่างไม่มีใครยิ่งกว่า;

สัตถา เทวะมะนุสสานัง, เป็ นครูผู้สอน ของเทวดาและมนุษย์ทั้ง


หลาย;

พุทฺโธ, เป็ นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบานด้วยธรรม;

ภะคะวา, เป็ นผู้มีความจำเริญ จำแนกธรรมสั่งสอน


สัตว์;

โย อิมัง โลกัง สะเทวะกัง สะมาระกัง สะพรหมะกัง, สัสสะมะณะพราหฺ


มะณิง ปะชัง สะเทวะมะนุสสัง สะยัง อะภิญญา สัจฉิกัตวา ปะเวเทสิ,

พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใด, ได้ทรงทำความดับทุกข์ให้แจ้งด้วยปั ญญา


อันยิ่งเองแล้ว, ทรงสอนโลกนี้พร้อมทั้งเทวดา, มาร พรหม, และหมู่สัตว์
พร้อมทั้งสมณพราหมณ์, พร้อมทั้งเทวดาและมนุษย์ให้รู้ตาม;

โย ธัมมัง เทเสสิ. พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใด, ทรงแสดง


ธรรมแล้ว;
อาทิกัลยาณัง, ไพเราะในเบื้องต้น,

มัชเฌกัลยาณัง, ไพเราะในท่ามกลาง,

ปะริโยสานะกัลยาณัง, ไพเราะในที่สุด,

สาตถัง สะพยัญชะนัง เกวะละปะริปุณณัง ปะริสุทธัง พฺรหมะจะริยัง ปะ


กาเสสิ,

ทรงประกาศพรหมจรรย์ คือแบบแห่งการปฎิบัติอันประเสริฐ บริสุทธิ์


บริบูรณ์ สิ้นเชิง, พร้อมทั้งอรรถะ (คำอธิบาย) พร้อมทั้งพยัญชนะ (หัวข้อ);

ตะมะหัง ภะคะวันตัง อะภิปูชะยามิ, ข้าพเจ้าบูชาอย่างยิ่ง เฉพาะพระผู้


มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น;

ตะมะหัง ภะคะวันตัง สิระสา นะมามิ. ข้าพเจ้านอบน้อมพระผู้มีพระภาค


เจ้าพระองค์นั้น ด้วยเศียรเกล้า.

(กราบระลึกถึงพระพุทธคุณ)

4. อภิณหปั จจเวกขณปาฐะ
(นำ) หันทะ มะยัง ปั ญจะอะภิณะหะปั จจะเวกขะณะปาฐัง ภะณามะ เส

๑. ชะราธัมโมมฺหิ ชะรัง อะนะตีตา-ติ, อภิณะหัง ปั จจะเวกขิตัพพัง,

พุทธบริษัทพึงพิจารณาโดยแจ่มชัดอยู่เนืองนิจว่า, เรามีความแก่เป็ น
ธรรมดา, จะล่วงพ้นความแก่ไปไม่ได้, ดังนี้

๒. พะยาธิธัมโมมฺหิ พะยาธิง อะนะตีตา-ติ, อภิณะหัง ปั จจะเวกขิตัพพัง,

พุทธบริษัทพึงพิจารณาโดยแจ่มชัดอยู่เนืองนิจว่า, เรามีความเจ็บไข้เป็ น
ธรรมดา, จะล่วงพ้นความเจ็บไข้ไปไม่ได้, ดังนี้.

๓. มะระณะธัมโมมฺหิ มะระณัง อะนะตีตา-ติ, อภิณะหัง ปั จจะเวกขิตัพ


พัง,

พุทธบริษัทพึงพิจารณาโดยแจ่มชัดอยู่เนืองนิจว่า, เรามีความตายเป็ น
ธรรมดา, จะล่วงพ้นความตายไปไม่ได้, ดังนี้.
๔. สัพเพหิ เม ปิ เยหิ มะนาเปหิ นานาภาโว วินาภาโว-ติ, อภิณะหัง ปั จ
จะเวกขิตัพพัง,

พุทธบริษัทพึงพิจารณาโดยแจ่มชัดอยู่เนืองนิจว่า, เราจักต้องพลัดพรากจาก
ของรักของชอบใจทั้งสิ้น, ดังนี้.

๕. กัมมัสสะโกมฺหิ กัมมะทายา โท กัมมะโยนิ กัมมะพันธุ กัมมะปะฏิสะ


ระโณ, ยัง กัมมัง กะริสสามิ กัล๎ยาณัง วา ปาปะกัง วา, ตัสสะ ทายาโท
ภะวิสสามี-ติ, อภิณะหัง ปั จจะเวกขิตัพพัง,

พุทธบริษัทพึงพิจารณาโดยแจ่มชัดอยู่เนืองนิจว่า, เราเป็ นผู้มีกรรมเป็ นของ


ตน, มีกรรมที่ต้องรับผลเป็ นมรดกตกทอด, มีกรรมเป็ นที่กำเนิด, มีกรรม
เป็ นเผ่าพันธุ์, มีกรรมเป็ นที่พึ่งอาศัย, เราทำกรรมใดไว้, ดีก็ตาม ชั่วก็ตาม,
เราจักเป็ นผู้รับผลตกทอดแห่งกรรมนั้น, ดังนี้.

เอวัง อัมเหหิ อะภิณะหัง ปั จจะเวกขิตัพพัง,

ธรรมทั้ง ๕ ประการนี้, เป็ นธรรมที่พุทธบริษัทพึงพิจารณาโดยแจ่มชัดอยู่


เนืองนิจ,

อิติ,

ด้วยอาการอย่างนี้แล.
5. บทแผ่เมตตา

สัพเพ สัตตา, สัตว์ทั้งหลายที่เป็ นเพื่อนทุกข์, เกิด แก่ เจ็บ ตาย,


ด้วยกันหมดทั้งสิ้น,

อะเวรา โหนตุ, จงเป็ นสุขเป็ นสุขเถิด, อย่าได้มีเวรซึ่งกันและ


กันเลย,

อัพยาปั ชฌา โหนตุ, จงเป็ นสุขเป็ นสุขเถิด, อย่าได้พยาบาท


เบียดเบียนซึ่งกันและกันเลย,

อะนีฆา โหนตุ, จงเป็ นสุขเป็ นสุขเถิด, อย่าได้มีความทุกข์กาย


ทุกข์ใจเลย,

สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ, จงมีความสุขกายสุขใจ, รักษาตนให้พ้นจาก


ทุกข์ภัย, ด้วยกันทั้งหมดทั้งสิ้นเทอญ.

You might also like