You are on page 1of 17

มคอ.

รายละเอียดของรายวิชา

วิทยาลัยดนตรี
หลักสูตร ดุริยางคศาสตรมหาบัณฑิต

หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป

MUS 651 ดนตรีแจ๊สและการวิเคราะห์


(Jazz Styles and Analysis)
จำนวน
3(3-0-6)
หน่วยกิต
วิชาบังคับ
-
ร่วม
วิชาบังคับ
-
ก่อน
ภาคการ
1/2566
ศึกษา
กลุ่ม 11
ผู้เรียน นักศึกษา ปโท ชั้นปี ที่ 1 วิทยาลัยดนตรี
ประเภท
วิชาปรับพื้นฐาน
ของวิชา
วิชาศึกษาทั่วไป
วิชาเฉพาะ
วิชาเลือกเสรี
2

อาจารย์ผู้รับ รศ. ดร.ธีรัช เลาห์วีระ อาจารย์


ผิดชอบ พานิช ประจำ
รศ. ดร.ธีรัช เลาห์วีระ อาจารย์ อาจารย์
อาจารย์ผู้สอน
พานิช ประจำ พิเศษ
วัน-เวลาเรียน ทุกวัน อังคาร เวลา 9.00 ถึง 11.45
ห้อง 108 วิทยาลัย
สถานที่สอน ในที่ตั้ง นอกที่ตั้ง
ดนตรี
สถานที่ติดต่อ https://www.facebook.com/cooksax
วันที่จัดทำ 1 สิงหาคม 2566

หมวดที่ 2 วัตถุประสงค์ของรายวิชาและส่วนประกอบของรายวิชา

1. วัตถุประสงค์ของรายวิชา
1) เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ในประวัติดนตรีแจ๊ส
2) เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจถึงความแตกต่างระหว่างดนตรีแจ๊สแต่ละ
ประเภท
3) วิเคราะห์บทเพลงแจ๊สและการอิมไพรไวส์ของนักดนตรีคนสำคัญ
2. คำอธิบายรายวิชา
นวัตกรรมทางการแสดงและการประพันธ์ดนตรแจ๊สตั้งแต่ช่วงต้น
ของศตวรรษที่ยี่สิบ จนถึงปั จจุบัน การวิเคราะห์โน้ตเพลงรวมวง การอิม
โพรไวส์ และผลงานการบันทึกเสียงของนักดนตรีแจ๊ส ที่สำคัญ

3. เนื้อหารายวิชา (ประเด็นตามที่ระบุในคำอธิบายรายวิชาข้างต้น)
ศึกษาประวัติศาสตร์ดนตรีแจ๊ส ฟั งเพลง ทำความเข้าทฤษฎีดนตรีที่
เกี่ยวข้องกับการอิมโพรไวส์ วิเคราะห์การอิมโพรไวส์ในดนตรีแจ๊สรูป
แบบต่าง ๆ
3

4. จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษาและแนะนำทาง
วิชาการแก่นักศึกษา
มี .......5........ชั่วโมง/สัปดาห์

5. ข้อตกลงร่วม
1) ติดต่อผ่าน กลุ่ม messages
2) การเช็คสาย เช็คลา และเช็คขาด (ทำข้อต้องตกลงในวันแรกที่
เปิ ดเรียน)
3) การลาเรียนต้องแจ้งผู้สอนโดยตรงเท่านั้น
4) แต่งกายสุภาพ (ทำข้อตกลงในวันแรกที่เปิ ดเรียน)

หมวดที่ 3 การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
การพัฒนาผลการเรียนรู้ในมาตรฐานผลการเรียนรู้แต่ละด้านที่มุ่ง
หวัง มีดังต่อไปนี้
1. คุณธรรม จริยธรรม
ผลการเรียนรู้ วิธีการสอน วิธีการประเมินผล
1. มีความซื่อสัตย์ กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กร ประเมินจากการ
1 สุจริต สามารถ เพื่อเป็ นการปลูกฝั งให้ ตรงเวลาในการเข้า
จัดการเกี่ยวกับ นักศึกษามีระเบียบวินัย โดย ชั้นเรียน การส่งงาน
ปั ญหาทางด้าน เน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรง ตามกำหนดระยะ
จริยธรรมที่ซับ เวลา ตลอดจนการแต่งกายที่ เวลาที่มอบหมาย
ซ้อนในทาง สุภาพ มีความรับผิดชอบใน
วิชาชีพด้วย หน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ทั้ง
ความเข้าใจใน ในงานเดี่ยว และงานกลุ่ม
ความรู้สึกของผู้ อย่างเต็มความสามารถ
4

อื่น
1. มีความรับผิด อาจารย์เป็ นแบบอย่างใน ประเมินจากวินัย
2 ชอบต่อตนเอง ด้านระเบียบวินัย ความตรง และพร้อมเพรียงใน
สังคม ต่อเวลา การแต่งกาย ความ การเข้าร่วมเสนอ
วัฒนธรรมและ รับผิดชอบ เคารพในคุณค่า ความคิดและให้คำ
สิ่งแวดล้อม และความคิดเห็นของ แนะนำ รวมทั้งการ
คำนึงถึงความ นักศึกษา มีความซื่อสัตย์ เคารพและรับฟั ง
รู้สึกของผู้อื่นที่ สุจริตและมีจรรยาบรรณใน ความคิดเห็นของ
จะได้รับผลกระ วิชาชีพ เพื่อน และอาจารย์
ทบ ในชั้นเรียน
2. ความรู้
ผลการเรียนรู้ วิธีการสอน วิธีการประเมิน
ผล
2.3 มีความรู้และความ สอนด้วยวิธีการลงมือปฏิบัติ ประเมินจากการ
เข้าใจอย่าง จริง เพื่อที่จะสามารถเรียนรู้ วิจารณ์งานเป็ นก
ละเอียดใน เข้าใจกระบวนการทำงาน ลุ่ม การมีส่วน
กระบวนการวิจัย ร่วมในการเสนอ
การสร้างสรรค์ ความคิดเห็นใน
และการ ชั้นเรียนแก่เพื่อน
ปฏิบัติทางวิชาชีพ และอาจารย์ โดย
ด้าน อยู่บนพื้นฐาน
ดุริยางคศาสตร์ ของหลักการและ
ทฤษฎีด้าน
ดุริยางคศาสตร์

3. ทักษะทางปั ญญา
5

ผลการเรียนรู้ วิธีการสอน วิธีการประเมิน


ผล
3.1 สามารถบูรณาการ 1) เน้นผู้เรียนเป็ น 1)ประเมินจาก
ความรู้ภาคทฤษฎี ศูนย์กลางในการสร้างสรรค์ กระบวนการ
ภาคปฏิบัติ ผลงานแบบบูรณาการและ สร้างสรรค์ การ
แนวคิด เทคนิค สามารถแก้ไขปั ญหาต่างๆ วิเคราะห์ และ
ต่างๆ ที่หลาก รวมถึงกระตุ้นให้นักศึกษา การแก้ไขปั ญหา
หลายแปลกใหม่ สามารถวิเคราะห์ วิพากษ์ อย่าง
และไม่อาจทำนาย และวิจารณ์อย่างมี มีระบบ
หรือคาดหมายได้ วิจารณญาณอย่างเป็ น 2)ประเมินจาก
ทั้งจากภายในและ ระบบ การพัฒนาการ
ภายนอกสาขาวิชา 2)ใช้วิธีการกระตุ้นให้ ความสามารถใน
ที่ศึกษาขั้นสูง นักศึกษาตั้งคำถามเกี่ยวกับ การตั้งคำถาม
3.3 สามารถคิดแบบ กระบวนการสร้างสรรค์ การพัฒนาข้อโต้
องค์รวม คิดเชื่อม สามารถเสนอประเด็นของ แย้งเกี่ยวกับการ
โยงความสัมพันธ์ แก่นความคิดสำคัญ อีกทั้ง สร้างสรรค์ผลงาน
ของสิ่งต่างๆ อย่า สามารถแสดงความคิดเห็น ในระหว่างการ
งบูรณาการจับ แบบองค์รวมคิดเชื่อมโยง วิจารณ์งาน และ
ประเด็นของแก่น ความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ การแสดงความ
ความคิดสำคัญได้ 3)มอบหมายโครงงานราย คิดเห็นแบบองค์
สามารถวิเคราะห์ กลุ่มและ/หรือรายบุคคล รวม
สังเคราะห์ และ เพื่อให้มีการศึกษาค้นคว้า 3)ประเมินจาก
ประเมินความรู้ ด้วยตนเอง รวมถึงการแก้ กระบวนการ
เพื่อการประยุกต์ ปั ญหาอย่างเป็ นระบบ ผ่าน ศึกษาค้นคว้า
ใช้ได้อย่างเหมาะ กระบวนการซึ่งอยู่บนพื้น และการวิเคราะห์
สม ฐานของระเบียบวิธีวิจัยใน อย่างเป็ นระบบที่
6

ดนตรี สามารถ
3.5 สามารถคิดริเริ่ม นำไปสู่การแก้
สร้างสรรค์ และ ปั ญหาอันเป็ นเป้ า
พัฒนางานวิจัย หมายของการ
หรืองาน วิจัย รวมถึงข้อ
สร้างสรรค์ที่ สรุปที่สามารถนำ
เป็ นต้นแบบได้ มาต่อยอดองค์
อย่างสร้างสรรค์สู่ ความรู้ หรือการ
ระดับชาติอย่างมี ปฏิบัติในวิชาชีพ
คุณค่าและยั่งยืน ที่มีอยู่เดิม

4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
ผลการเรียนรู้ วิธีการสอน วิธีการประเมิน
ผล
4. มีความสามารถใน จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร ประเมินการ
2 การเข้าใจบทบาท ในรูปแบบกิจกรรมวิชาการ อภิปราย แสดง
และหน้าที่ ปรับตัว เชิงปฏิบัติ ทั้งในและนอก ความคิดเห็น
และอยู่ร่วมกับ สถานที่ เพื่อให้มีการพบปะ และการตอบ
สังคมต่าง และทำงานร่วมกันเป็ นกลุ่ม คำถาม
วัฒนธรรม

6. ทักษะพิสัย
ผลการเรียนรู้ วิธีการสอน วิธีการประเมิน
ผล
6. สามารถคิดริเริ่ม จัดกิจกรรมการเรียนการ เน้นการประเมิน
7

1 สร้างสรรค์ และ สอนมุ่งเน้นการฝึ กการ พัฒนาการ


พัฒนางานวิจัยหรือ ปฏิบัติ กิจกรรมการเรียน ทางการใช้เครื่อง
งานสร้างสรรค์ สู่ การสอน มุ่งเน้นการปฏิบัติ มือเอก ประเมิน
ระดับชาติ อย่างมี ร่วมกับผู้อื่น และกิจกรรม ความสามารถใน
คุณค่าและยั่งยืน เพื่อเผยแพร่ผลงาน การแสดงทักษะ
สร้างสรรค์ต่อสาธารณชน ดนตรีร่วมกับผู้อื่น
และประเมิน
ความสามารถใน
การแสดงผลงาน
สร้างสรรค์ต่อ
สาธารณชน
8

หมวดที่ 4 แผนการสอนและการประเมินผล
1. แผนการสอนและกิจกรรมการเรียนการสอน
จำน
กิจกรรมการเรียนการ
สัปด วน
วันที่ หัวข้อ/รายละเอียด สอน ผู้สอน
าห์ ชั่วโ
และสื่อการสอนที่ใช้
มง
แนะนำเนื้อหาวิชา แนวการสอน
22/8/25
1 และการวัดผล บรรยาย 3
66
What is Jazz ?
29/8/25 บรรยาย / วิเคราะห์
2 Elements of Jazz 3
66 บทเพลง
5/9/256 Jazz Styles and Analysis บรรยาย / วิเคราะห์
3 3
6 Jazz's Beginnings บทเพลง
12/9/25 Jazz Styles and Analysis บรรยาย / วิเคราะห์
4 3
66 The Swing Era บทเพลง
19/9/25 Jazz Styles and Analysis บรรยาย / วิเคราะห์

รศ. ดร.ธีรัช เลาห์วีระพานิช


5 3
66 Bebop บทเพลง
28/9/25 Jazz Styles and Analysis บรรยาย / วิเคราะห์
6 3
66 Cool Jazz บทเพลง
3/10/25 Jazz Styles and Analysis บรรยาย / วิเคราะห์
7 3
66 Hard Bop บทเพลง
10/10/2
8 เทอมเบรค
566
17/10/2 Jazz Styles and Analysis บรรยาย / วิเคราะห์
9 3
566 Modal บทเพลง
Jazz Styles and Analysis
24/10/2 บรรยาย / วิเคราะห์
10 Modal Free Jazz / Fusion
566 บทเพลง
Jazz
11 31/10/2 ทฤษฎีดนตรีแจ๊สสำหรับการ บรรยาย / วิเคราะห์ 3
566 วิเคราะห์ บทเพลง
และวิเคราะห์บทเพลง
9

จำน
กิจกรรมการเรียนการ
สัปด วน
วันที่ หัวข้อ/รายละเอียด สอน ผู้สอน
าห์ ชั่วโ
และสื่อการสอนที่ใช้
มง
ทฤษฎีดนตรีแจ๊สสำหรับการ
7/11/25 บรรยาย / วิเคราะห์
12 วิเคราะห์ 3
66 บทเพลง
และวิเคราะห์บทเพลง
ทฤษฎีดนตรีแจ๊สสำหรับการ
14/11/2 บรรยาย / วิเคราะห์
13 วิเคราะห์ 3
566 บทเพลง
และวิเคราะห์บทเพลง
ทฤษฎีดนตรีแจ๊สสำหรับการ
21/11/2 บรรยาย / วิเคราะห์
14 วิเคราะห์ 3
566 บทเพลง
และวิเคราะห์บทเพลง
28/11/2
15 นำเสนอโครงงานและสอบข้อเขียน 3
566
5/12/25
16 หยุดวันพ่อ
66
รวม 45
*อาจเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม

2. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
สัดส่วนของ
ผลการ สัปดาห์ที่
วิธีการประเมินผลการเรียนรู้ การประเมิน
เรียนรู้ ประเมิน
ผล
โครงงานกลางภาค 8 15%
2.1, 3.1,
โครงงานปลายภาค 15 15%
5.1, 6
สอบข้อเขียนปลายภาค 14 20%
1.1, 2.1, การเข้าชั้นเรียน 10%
ตลอดภาคการ
3.1, 5.1, การคะแนนเก็บ 40%
ศึกษา
6
10

สัดส่วนของ
ผลการ
วิธีการประเมินผลการเรียนรู้ สัปดาห์ที่ประเมิน การประเมิน
เรียนรู้
ผล
1.1,1.3, สอบย่อยและโครงงาน ทุกสัปดาห์ 30%
2.2, 3.2
2.2,3.2 สอบปลายภาค 15 30%
2.2,3.2 โครงงานปลายภาค 15 30%
1.1,1.3, การเข้าชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 10%
2.2, 3.2 การมีส่วนร่วม อภิปราย
เสนอความคิดเห็นใน
ห้องเรียน

การเข้าชั้นเรียน
10%
ขาดเรียน หักครั้งละ 2.5 คะแนน (ขาดครั้งที่ 4 DROP)
ลาเรียน หักครั้งละ 1.5 คะแนน
เข้าเรียนสาย หักครั้งละ 0.75 คะแนน (เข้าเรียนสาย 3 ครั้ง เท่ากับ
ขาด 1 ครั้ง)
คะแนนเก็บ (สอบย่อยและโครงงาน)
30%
*อาจเปลี่ยนแปลงโครงงานได้ตามความเหมาะสม
สอบปลายภาค
30%
โครงงานปลายภาค 30
%
(15%) รูปเล่มรายงาน (PDF) ใช้หลักอ้างอิงอย่างถูกต้อง / คุณภาพเหมาะ
สมกับระดับมหาบัณฑิต
(10%) การนำเสนอ
11

(5%) คลิปวีดีโอ (ภาพ/เสียงที่สวยงาม ... อิสระ)


หัวข้ออิสระ (สามารถคิดใหม่ได้) เช่น แนวทางการวิเคราะห์ดนตรีแจ๊สรูป
แบบต่าง ๆ / วิเคราะห์การอิมโพรไวส์ของ ...... ในบทเพลง....... / แนวคิดการอิมโพร
ไวส์ของ ...... / เปรียบเทียบการอิมโพรไวส์ระหว่าง ...... กับ ...... ในบทเพลง ...... /
การนำเสนอดนตรีแจ๊สแนว ...... / พัฒนาการทางดนตรีของ ......

การตัดเกรด
A = 85-100% B+ = 80-84% B = 75-79%
C+ = 70-74% C = 65-69% D+ =
60-64%
D = 55-59% F = 0-54%

หมวดที่ 5 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน
1. ตำราและเอกสารหลัก
ธีรัช เลาห์วีระพานิช. สื่อการสอนวิชาการแสดงเชิงปฏิภาณ. 2566.
(Power Point)
ธีรัช เลาห์วีระพานิช. แจ๊ส : สุนทรียภาพแห่งเสียงเสรี. กรุงเทพฯ:
สำนักพิมพ์พัชรดาว์. 2564.
ธีรัช เลาห์วีระพานิช. ศิลปะการอิมโพรไวส์ดนตรีแจ๊ส. กรุงเทพฯ:
สำนักพิมพ์พัชรดาว์. 2563.
ธีรัช เลาห์วีระพานิช. ทฤษฎีดนตรีแจ๊สและการอิมโพรไวส์. พิมพ์ครั้งที่
3. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์พัชรดาว์. 2564.

2. เอกสารและข้อมูลสำคัญ
12

Berliner, Paul. Thinking in Jazz: The Infinite Art of


Improvisation. Chicago: University of Chicago Press,
1994.
Carter, Ron. Building Jazz Bass Lines. Milwaukee: Hal
Leonard, 1998.
Collette, Buddy and Steven Isoardi. Jazz Generations: A
Life in American Music and Society. London:
Continuum, 2000.
Coker, Jerry. Improvising Jazz. New York: Simon & Schuster,
1987.
David, Norman. Jazz Arranging. New York: Ardsley House,
1998.
Davis, Francis. Outcats: Jazz Composers, Instrumentalists, &
Singers.
New York: Oxford University Press, 1995.
DeJohnette, Jack and Charlie Perry. The Art of Modern
Jazz Drumming: Multi-derectional Technique.
Milwaukee: Hal Leonard, 1989.
Dobbins, Bill. Jazz Arranging and Composing: A Linear
Approach. Germany: Advance Music, 1986.
Erskine, Peter. Drum Concepts and Techniques.
Milwaukee: Hal Leonard, 2000.
Felts, Randy. Reharmonization Techniques. Boston: Berklee
Press, 2002.
Gridley, Mark C. Jazz Styles: History & Analysis. Englewood
Cliffs, NJ:
13

Prentice Hall, 1996.


Grimes, Kitty. Jazz Voices. New York: Quartet Books, 1983.
Goldsby, John. The Jazz Bass Book: Technique and
Tradition. San Francisco: Backbeat Book, 2002.
Hagar, Andrew. Satin Dolls, The Women of Jazz. New York:
Michael Friedman
Publishing Group, 1997.
Kernfeld, Barry, ed. The New Grove Dictionary of Jazz.
Second edition, 3 volumes. New York: Grove’s
Dictionary, 2002.
Levin, Floyd. Classic Jazz: A Personal View of the Music
and the Musicians. Berkeley: University of California,
2000.
Levine, Mark. The Jazz Theory Book. Petaluma, CA: Sher
Music, 1995.
Ligon, Bert. Comprehensive Techniques for Jazz Musicians.
Milwaukee: Hal Leonard, 1999.
. Connecting Chords with Linear Harmony.
Milwaukee: Houston Publication, 1996.
. Jazz Theory Resources: Tonal, Harmonic, Melodic,
and Rhythmic Organization of Jazz. Volume 1.
Milwaukee: Houston Publication, 2001.
. Jazz Theory Resources: Tonal, Harmonic, Melodic,
and Rhythmic Organization of Jazz. Volume 2.
Milwaukee: Houston Publication, 2001.
Lowell, Dick and Ken Pulling. Arranging for Large Jazz
14

Ensemble. Boston: Berklee Press, 2003.


Mantooth, Frank. Voicings for Jazz Keyboard. Milwaukee:
Hal Leonard, 1986.
Martin, Henry. Charlie Parker and Thematic Improvisation.
Lanham: Scarecrow Press, 1996.
Megill, Donald and Richard Demory. Introduction to Jazz
History. Upper Saddle River: Prentice Hall, 2004.
Panassie, Hugh. The Real Jazz. Westport, CT: Greenwood
Publishing Group, 1973.
Pease, Ted. Jazz Composition: Theory and Practice.
Boston: Berklee Press, 2003.
Pease, Ted and Ken Pulling. Modern Jazz Voicing: Arranging
for Small and Medium Ensembles. Boston: Berklee
Press, 2001.
Pozzi, Dave. An Approach to Jazz Improvisation.
Milwaukee: Hal Leonard, 1997.
Reeves, S. Creative Jazz Improvisation. New Jersey: Printice
Hall, 2007.
Reilly, Jack. The Harmony of Bill Evans. Milwaukee: Hal
Leonard, 1993.
Rinzler, Paul. Jazz Arranging and Performance Practice: A
Guide for Small Ensemble. London: Scarecrow Press,
1989.
Schuller, Gunther. Early Jazz: Its Roots and Musical
Development. New York: Oxford University Press,
1968.
15

. The Swing Era: The Development of Jazz, 1930-


1945. New York: Oxford University Press, 1989.
Sher, Chuck, ed. The New Real Book Volume 1. Petaluma,
CA: Sher Music, 1988.
. The New Real Book Volume 2. Petaluma, CA: Sher
Music, 1991.
. The New Real Book Volume 3. Petaluma, CA: Sher
Music, 1995.
Stearns, Marshall W. The Story of Jazz. New York: Oxford
University Press, 1970.
Tanner, Paul, Maurice Gerow and David Megill. Jazz.
Boston: McGraw-Hill, 2001.
David, Norman. Jazz Arranging. New York: Ardsley House
Publishers, 1998.
Tirro, Frank. Jazz: A History. New York: Norton, 1993.
Williams, Martin. Jazz Heritage. New York: Oxford
University Press, 1985.
. The Art of Jazz: Essays on the Nature and
Development of Jazz.
New York: Oxford University Press, 1959.
. The Jazz Tradition, new and rev. ed. New York:
Oxford University Press, 1983.
. Where's the Melody? A Listener's Introduction to
Jazz. New York: Da Capo Press, 1966.

3. เอกสารและข้อมูลแนะนำ
16

ค้นหาเพลงจากสื่อออนไลน์ต่าง ๆ

หมวดที่ 6 การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของรายวิชา

1. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
- แบบประเมินการเรียนการสอนโดยนักศึกษา
- ให้นักศึกษาแสดงข้อคิดเห็นต่างๆ เพื่อเป็ นข้อมูลเสนอแนะ
2. กลยุทธ์การประเมินการสอน
- ประเมินการสอนโดยนักศึกษาภาคการศึกษาละ 1 ครั้ง
- การสังเกตการณ์และประเมินการสอนโดยอาจารย์ท่านอื่นจำนวน 2
ท่าน โดยที่อาจารย์ผู้เข้าสังเกตการณ์สอนมาจากคณบดีเป็ นผู้เลือก 1
ท่าน และอาจารย์ผู้สอนเป็ นผู้เลือก 1 ท่าน
3. การปรับปรุงการสอน
- นำผลการประเมิน และข้อคิดเห็นของนักศึกษามาใช้ในการพิจารณา
ปรับปรุงการสอน
- นำผลการประเมิน และข้อคิดเห็นของอาจารย์ผู้เข้าสังเกตการณ์สอน
มาใช้ในการพิจารณาปรับปรุงการสอน
- นำคำแนะนำ และข้อคิดเห็นต่างๆ จากคณะกรรมการสอบไล่ภายนอก
มาใช้ในการพิจารณา
- จัดทำสัมมนาให้นักศึกษาเข้ามาซักถามข้อสงสัยและร่วมกันวิเคราะห์
และวิจารณ์
4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา
สัมภาษณ์นักศึกษา
การสังเกตพฤติกรรมนักศึกษา
การตรวจสอบการให้คะแนนและประเมินผลการเรียนรู้ของ
นักศึกษา
17

การประเมินความรู้รวบยอดโดยการทดสอบ
รายงานผลการเก็บข้อมูลเกี่ยวกับผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ใน
แต่ละด้าน
แบบสำรวจ/แบบสอบถาม................โดยให้นักศึกษาเป็ นผู้ทำ
แบบสอบถาม........................
อื่นๆ
ระบุ....................................................................................

5. การดำเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของ
รายวิชา
ปรับปรุงรายวิชาทุก 2 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและการปรับปรุง
ประสิทธิผลของรายวิชาในหัวข้อ 6.3 และ 6.4

You might also like