You are on page 1of 38

การขอรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม

ระดับภาคีวิศวกร

โดย…เตชทัต บูรณะอัศวกุล
อนุกรรมการสวัสดิการและสมาชิกสัมพันธ์
การขอรับใบอนุญาตภาคีวิศวกร...ลือชัย ทองนิล

1
2
วิศวกรคือผู้สร้าง

การขอรับใบอนุญาตภาคีวศิ วกร...ลือชัย ทองนิล


วิศวกรคือผู้สร้าง
การขอรับใบอนุญาตภาคีวิศวกร...ลือชัย ทองนิล 3
Great (Qualified) Engineer
4

 Apply basic knowledge (math. physics) into work


 Design ability
 Test & prove (solve problem)
 Present
 Team work
 Ethics
 Life long (time) learning
อํานาจหน้าที่ของสภาวิศวกร
5

ออกใบอนุญาตฯ รวมถึงพัก
ใช้และเพิกถอน

รับรองปริญญา เสนอแนะรัฐมนตรี
ประกาศนียบัตร เกี่ยวกับการกําหนด
หรือวุฒิบัตรใน และเลิกสาขาวิชาชีพ
การประกอบ วิศวกรรมควบคุม
วิชาชีพวิศวกรรม
ควบคุม

ออกข้อบังคับสภาวิศวกร ดําเนินการตามวัตถุประสงค์
ใครคือผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม
6

ผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม งานวิศวกรรมควบคุม
โยธา อุตสาหการ
ไฟฟ้า เหมืองแร่
ได้รับใบอนุญาตฯ จากสภาวิศวกร เครื่องกล สิ่งแวดล้อม
บุคคลธรรมดา เคมี
นิติบุคคล

สมาชิกสภาวิศวกร
สมาชิกสภาวิศวกร
7

มาตรา 11
พ.ร.บ. วิศวกร พ.ศ. 2542

1. สมาชิกสามัญ
2. สมาชิกวิสามัญ
3. สมาชิกกิตติมศักดิ์

เป็นเงื่อนไขของการได้รับใบอนุญาต

หากขาดจากสมาชิกภาพเมื่อใดให้ใบอนุญาตของผู้นั้นสิ้นสุดลง
สิทธิและหน้าที่ของสมาชิกสภาวิศวกร
8

สมาชิกสามัญ
สิทธิ หน้าที่
• แสดงความคิดเห็นในการ
ประชุมใหญ่ • ชําระค่าธรรมเนียมสมาชิก
• ออกเสียงลงคะแนนในการ • ชําระค่าบํารุงตามที่ข้อบังคับกําหนด
ประชุมใหญ่ • ผดุงไว้ซึ่งเกียรติศักดิ์แห่งวิชาชีพ
• แสดงความเห็น ซักถามเป็น
หนังสือเกี่ยวกับการดําเนินงาน
ของสภาวิศวกร
• เลือก รับเลือกตั้ง หรือรับ
แต่งตั้งเป็นกรรมการ
สมาชิกวิสามัญ
และสมาชิกกิตติมศักดิ์
(เฉพาะสมาชิกวิสามัญและสมาชิกกิตติมศักดิ์ ไม่สามารถออกเสียงลงคะแนนใน
การประชุมใหญ่ รวมถึงการเลือก รับเลือกตั้ง หรือรับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ)
ระดับของวิศวกร
9

วุฒิวิศวกร

สามัญวิศวกร

ภาคีวิศวกร ภาคีวิศวกรพิเศษ
โยชน์ที่จะได้รับจากการได้รับใบอนุญาต
10

ประกอบวิชาชีพควบคุมได้
ได้รับการส่งเสริมจากสภาฯ
 การส่งเสริมด้านการศึกษา การวิจัย และ
CPD การประกอบวิชาชีพ
 การไกล่เกลี่ยข้อพิพาทระหว่างสมาชิก
ได้รับการพัฒนาตาม  การส่งเสริมด้านสวัสดิการ
โครงการ การพัฒนา  การช่วยเหลือ แนะนํา เผยแพร่ และ
วิชาชีพวิศวกรรมอย่าง ให้บริการด้านวิชาการทางวิศวกรรม
ต่อเนื่อง
 ออกใบอนุญาตและรับรองคุณสมบัติให้
ได้รับความ วิศวกรทํางานภายใต้ ข้อตกลง ASEAN
น่าเชื่อถือในการ ECONOMIC COMMUNITY (AEC)
ประกอบวิชาชีพ
วิศวกรรม
การยื่นคําขอรับใบอนุญาต
11

• สําเร็จการศึกษาจากหลักสูตรที่สภาวิศวกรรับรอง
•มีผลการศึกษาเป็นไปตามแผนการเรียนที่ได้รับ
การอนุมัติหลักสูตร
กรณีผู้ยื่นคําขอตั้งแต่ 1 มกราคม 2552
ต้องมีหน่วยกิตรวมไม่น้อยกว่า 105 หน่วยกิต

เป็นสมาชิกสภาวิศวกร
สามารถสมัครสมาชิกได้พร้อม
กับการยื่นคําขอรับใบอนุญาต
เอกสารและหลักฐาน
12

 1. หลักฐานแสดงผลการศึกษา (transcript) ตัวจริงฉบับภาษาอังกฤษ


• สําหรับผู้ที่สําเร็จการศึกษาจากต่างประเทศให้ยื่นรายละเอียดหลักสูตรการศึกษา (course
descriptions) ด้วย
• กรณีที่ transcript มีการ transferวิชา ต้องแนบรายละเอียดผลการศึกษาของรายวิชา
ที่ transfer มาด้วย
 2. สําเนาใบปริญญาบัตรหรือสําเนาหนังสือรับรองการสําเร็จการศึกษา (ฉบับภาษาไทย)

 3. สําเนาทะเบียนบ้าน และสําเนาบัตรประจําตัวประชาชน/บัตรประจําตัวข้าราชการ อย่างละ 1 ชุด


 4 รูปถ่ายหน้าตรงไม่สวมหมวก ไม่สวมแว่นดํา ถ่ายไว้ไม่เกิน 1 ปี ขนาด 1 นิ้ว จํานวน 1 รูป
 5. ใบรับรองแพทย์ ตามแบบที่คณะกรรมการสภาวิศวกรกําหนด
 6. สําเนาใบอนุญาตฯ ของผู้รับรองคุณสมบัติ โดยเจ้าของใบอนุญาตฯ จะต้องลงนามรับรองสําเนา
ถูกต้องด้วยตนเอง (ทั้งนี้ ผู้รับรองต้องลงนามในเอกสารประกอบคําขอรับใบอนุญาตด้วย)
ขั้นตอนการขอรับใบอนุญาตฯ (บุคคลธรรมดา)
13

ตรวจสอบ transcript
1. สมัครสมาชิก ยื่นขอรับใบอนุญาตฯ ตามปริญญาที่สภาวิศวกร
(ค่าจดทะเบียนสมาชิก+ ค่าบํารุง
= 1,500 บาท)
ให้การรับรอง

3. อบรมและทดสอบความรู้ 2. ทดสอบความรู้ในหมวดวิชาพื้นฐาน
ผ่าน
เกี่ยวกับความพร้อมในการ ทางด้านวิศวกรรม และหมวดวิชา
ประกอบวิชาชีพ วิศวกรรมหลักเฉพาะสาขา
(ค่าอบรม = 1,500 บาท) (1,500 บาท/ครั้ง)
ผ่าน
พิจารณาออกใบอนุญาตฯ
(ค่าธรรมเนียมใบอนุญาต = 1,000 บาท)
การทดสอบความรู้ ระดับภาคีวิศวกร
14

ผู้ที่ยื่นขอรับใบอนุญาตฯ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2552


(จากทุกหลักสูตรที่ผ่านการรับรองจากสภาวิศวกร หรือ ก.ว. )
จะต้องผ่านการทดสอบความรู้ระดับภาคีวิศวกรทุกคน
เวลาสอบ
เกณฑ์
การสอบ
วิชาที่สอบ 3 ชั่วโมงในแต่ละ
หมวดวิชา
ข้อสอบ ไม่น้อยกว่าร้อยละหกสิบ
ในแต่ละหมวดวิชา
• หมวดวิชาพื้นฐานทางด้านวิศวกรรม
ปรนัย • หมวดวิชาเฉพาะทางวิศวกรรม
ข้อแนะนําการเตรียมความพร้อมในการสอบฯ
15

• ทําความเข้าใจข้อบังคับ ระเบียบ และ วิธีการ ฯลฯ


ผู้ขอรับใบอนุญาตฯ • ทดลองทําข้อสอบ โดยศึกษาข้อมูลจากเว็บไซต์สภาฯ
• ทําการประเมินผลตนเองหลังทดลองทําข้อสอบแล้ว
• ทบทวนความรู้ในสิ่งที่ทาํ ข้อสอบไม่ได้

• จัดหลักสูตรให้มีเนื้อหาสาระและเงือ่ นไขการรับรองฯ
สถาบันการศึกษา • จัดติวเข้มในเนื้อหาสาระที่สภาวิศวกรให้ความสําคัญ
• ควรให้นักศึกษาลองทําข้อสอบและเฉลยเพื่อเพิ่มพูน
ความรู้ความเข้าใจ
เกณฑ์การทดสอบความรู้ฯ ระดับภาคีวิศวกร
16

ผ่าน แบ่งเป็น 2 หมวด


60% ผ่าน
60%
1. หมวดวิชาพื้นฐาน
ทางวิศวกรรม 2. หมวดวิชาเฉพาะทาง
จํานวน 4 วิชา วิศวกรรม
จํานวน 4 วิชา/กลุ่ม
 แต่ละหมวดวิชา มีข้อสอบรวม 100 ข้อๆ 1 คะแนน
 เวลาสอบหมวดวิชาละ 3 ชั่วโมง
(วิชาบังคับสอบ 3 วิชา
 ข้อสอบเป็น ปรนัย 4 ตัวเลือก (ตอบผิดได้ ศูนย์)
เลือกได้ 1 วิชา)
เกณฑ์การทดสอบความรู้ฯ ระดับภาคีวิศวกร
17

 จัดสอบโดยระบบคอมพิวเตอร์ และ สุ่ม


ข้อสอบอัตโนมัติ
 ไม่อนุญาตให้ใช้เครื่องคํานวณที่บรรจุ
โปรแกรมตัวอักษร/ สื่อสารระหว่างเครื่องได้
/ ใส่การ์ดความจําได้ เช่น CASIO 4500
และโปรแกรมช่วยคํานวณของ Microsoft
Excel
 ค่าสมัครสอบ 1,500 บาท/ครั้ง
เกณฑ์การทดสอบความรู้ฯ ระดับภาคีวิศวกร
18

 เมื่อสอบเสร็จระบบจะประมวลผลการ
สอบและแสดงผลอย่างไม่เป็นทางการ
เป็นร้อยละให้ทราบทันที
 ผู้ที่ผ่านการสอบสามารถชําระเงินค่า
อบรมและทดสอบความพร้อมฯ ได้ทันที
 ผู้ที่สอบไม่ผ่านจะสมัครสอบใหม่ได้ทันที
19

สอบทั้งสิ้น 4 วิชา ใช้เวลา 3 ชั่วโมง


วิชาละ 25 ข้อ รวม 4 วิชา 100 ข้อ @ 1 คะแนน
 เฉลี่ย 60% ผ่าน
รายวิชาวิชาพื้นฐานทางวิศวกรรมศาสตร์
 Engineering Drawing
 Engineering Mechanics
 Engineering Materials
 Computer Programming
วิชาสอบข้อเขียนในหมวดวิชาเฉพาะทางวิศวกรรม
สาขาวิศวกรรมโยธา
หมวดวิชาเฉพาะทางวิศวกรรม ประกอบด้วย
1. สาขาวิศวกรรมโยธา
(ก) วิชาบังคับ จํานวน 3 กลุ่มวิชา ดังนี้
กลุ่มวิชา รายวิชา
1) Structures Theory of Structures
Structural Analysis
2) Structural Design Reinforced Concrete Design
Timber and Steel Design
3) Soil Mechanics Soil Mechanics
20
วิชาสอบข้อเขียนในหมวดวิชาเฉพาะทางวิศวกรรม
สาขาวิศวกรรมโยธา

(ข) วิชาเลือก 4 กลุ่มวิชา โดยให้เลือกสอบจํานวน 1 กลุ่มวิชา ดังนี้


กลุ่มวิชา รายวิชา

1) Highway Engineering Highway Engineering

2) Hydraulic Engineering Hydraulic Engineering

3) Survey Engineering Route Surveying

4) Construction Construction Engineering and Management


21
วิชาสอบข้อเขียนในหมวดวิชาเฉพาะทางวิศวกรรม
สาขาวิศวกรรมโยธา

 (ค) ผู้ขอรับใบอนุญาตต้องสอบข้อเขียนวิชาบังคับ จํานวน 3


กลุ่มวิชา และสามารถเลือกสอบข้อเขียนวิชาเลือกได้ จํานวน 1
กลุ่มวิชา ทั้งนี้ สอบข้อเขียนกลุ่มวิชาละ 25 ข้อ รวม 100
คะแนน (คะแนนแต่ละข้อเท่ากัน)

22
วิชาสอบข้อเขียนในหมวดวิชาเฉพาะทางวิศวกรรม
สาขาวิศวกรรมเครื่องกล
2. สาขาวิศวกรรมเครื่องกล
(ก) วิชาบังคับ จํานวน 3 วิชา ดังนี้
1) Mechanics of Machinery
2) Machine Design
3) Heat Transfer
(ข) วิชาเลือก 4 วิชา โดยให้เลือกสอบจํานวน 1 วิชา ดังนี้
1) Automatic Control
2) Internal Combustion Engines
3) Refrigeration and Air Conditioning
4) Power Plant Engineering 23
วิชาสอบข้อเขียนในหมวดวิชาเฉพาะทางวิศวกรรม
สาขาวิศวกรรมเครื่องกล
 (ค) ผู้ขอรับใบอนุญาตต้องสอบข้อเขียนวิชาบังคับ จํานวน 3
กลุ่มวิชา และสามารถเลือกสอบข้อเขียนวิชาเลือกได้ จํานวน
1 กลุ่มวิชา ทั้งนี้ สอบข้อเขียนกลุ่มวิชาละ 25 ข้อ รวม 100
คะแนน (คะแนนแต่ละข้อเท่ากัน)

24
วิชาสอบข้อเขียนในหมวดวิชาเฉพาะทางวิศวกรรม
สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า

3. สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า
(ก) วิชาบังคับ จํานวน 3 วิชา ดังนี้

งานไฟฟ้ากําลัง งานไฟฟ้าสื่อสาร

1) Electrical Machines 1) Principle of Communication

2) Electrical System Design 2) Data Communication and Networking

3) Electrical Power System 3) Digital Communication


25
วิชาสอบข้อเขียนในหมวดวิชาเฉพาะทางวิศวกรรม
สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า

(ข) วิชาเลือก 4 วิชา โดยให้เลือกสอบจํานวน 1 วิชา ดังนี้

งานไฟฟ้ากําลัง งานไฟฟ้าสื่อสาร
1) Electrical Instruments and 1) Electrical Instruments and
Measurements Measurements

2) Power Electronics 2) Optical Communication


3) High Voltage Engineering 3) Microwave Engineering
4) Power System Protection 4) Antenna Engineering
26
วิชาสอบข้อเขียนในหมวดวิชาเฉพาะทางวิศวกรรม
สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า

(ค) ผู้ขอรับใบอนุญาตต้องสอบข้อเขียนวิชาบังคับ จํานวน 3


วิชา และสามารถเลือกสอบข้อเขียนวิชาเลือกได้จํานวน 1 วิชา
ทั้งนี้ สอบข้อเขียนวิชาละ 25 ข้อ รวม 100 คะแนน (คะแนนแต่
ละข้อเท่ากัน)

27
วิชาสอบข้อเขียนในหมวดวิชาเฉพาะทางวิศวกรรม
สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ

4. สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ
(ก) วิชาบังคับ จํานวน 3 วิชา ดังนี้
1) Safety Engineering
2) Production Planning and Control
3) Quality Control
(ข) วิชาเลือก 4 วิชา โดยให้เลือกสอบจํานวน 1 วิชา ดังนี้
1) Industrial Plant Design
2) Industrial Work Study
3) Engineering Economy
4) Maintenance Engineering
28
วิชาสอบข้อเขียนในหมวดวิชาเฉพาะทางวิศวกรรม
สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ

(ค) ผู้ขอรับใบอนุญาตต้องสอบข้อเขียนวิชาบังคับ จํานวน 3


วิชา และสามารถเลือกสอบข้อเขียนวิชาเลือกได้จํานวน 1 วิชา
ทั้งนี้ สอบข้อเขียนวิชาละ 25 ข้อ รวม 100 คะแนน (คะแนน
แต่ละข้อเท่ากัน)

29
วิชาสอบข้อเขียนในหมวดวิชาเฉพาะทางวิศวกรรม
สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่

5. สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่
(ก) วิชาบังคับ จํานวน 3 วิชา ดังนี้
งานเหมืองแร่ งานโลหะการ
1) Surface Mining and Mine Design 1) Chemical Metallurgy
2) Underground Mining and Mine 2) Physical Metallurgy
Design

3) Mineral Processing I 3) Mechanical Behavior of Materials


30
วิชาสอบข้อเขียนในหมวดวิชาเฉพาะทางวิศวกรรม
สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่
(ข) วิชาเลือก 4 วิชา โดยให้เลือกสอบจํานวน 1 วิชา ดังนี้
งานเหมืองแร่ งานโลหะการ

1) Mine Economics 1) Materials Characterization

2) Geotechniques 2) Metal Forming

3) Mineral Processing II 3) Corrosion of Metals

4) Mine Planning and Design 4) Failure Analysis


31
การขอรับใบอนุญาตภาคีวศิ วกร...ลือชัย ทองนิล
วิชาสอบข้อเขียนในหมวดวิชาเฉพาะทางวิศวกรรม
สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่

(ค) ผู้ขอรับใบอนุญาตต้องสอบข้อเขียนวิชาบังคับ จํานวน


3 วิชา และสามารถเลือกสอบข้อเขียนวิชาเลือกได้จํานวน 1
วิชา ทั้งนี้ สอบข้อเขียนวิชาละ 25 ข้อ รวม 100 คะแนน
(คะแนนแต่ละข้อเท่ากัน)

32
วิชาสอบข้อเขียนในหมวดวิชาเฉพาะทางวิศวกรรม
สาขาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม

6. สาขาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม
(ก) วิชาบังคับ จํานวน 3 วิชา ดังนี้
1) Water Supply Engineering
2) Wastewater Engineering
3) Solid Waste Engineering
(ข) วิชาเลือก 4 วิชา โดยให้เลือกสอบจํานวน 1 วิชา ดังนี้
1) Air Pollution Control and Design
2) Hazardous Waste Treatment
3) Building Sanitation
4) Noise and Vibration Control 33
วิชาสอบข้อเขียนในหมวดวิชาเฉพาะทางวิศวกรรม
สาขาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม

(ค) ผู้ขอรับใบอนุญาตต้องสอบข้อเขียนวิชาบังคับ จํานวน 3


วิชา และสามารถเลือกสอบข้อเขียนวิชาเลือกได้จํานวน 1 วิชา
ทั้งนี้ สอบข้อเขียนวิชาละ 25 ข้อ รวม 100 คะแนน (คะแนนแต่
ละข้อเท่ากัน)

34
วิชาสอบข้อเขียนในหมวดวิชาเฉพาะทางวิศวกรรม
สาขาวิศวกรรมเคมี

7. สาขาวิศวกรรมเคมี
(ก) วิชาบังคับ จํานวน 3 วิชา ดังนี้
1) Fluid Flow
2) Heat Transfer and Mass Transfer
3) Chemical Engineering Kinetics and Reactor Design
(ข) วิชาเลือก 4 วิชา โดยให้เลือกสอบจํานวน 1 วิชา ดังนี้
1) Chemical Engineering Thermodynamics
2) Process Dynamics and Control
3) Chemical Engineering Plant Design
4) Safety in Chemical Operation /Environmental Chemical
Engineering (ให้เลือกสอบวิชาหนึ่งวิชาใดเท่านั้น) 35
วิชาสอบข้อเขียนในหมวดวิชาเฉพาะทางวิศวกรรม
สาขาวิศวกรรมเคมี

(ค) ผู้ขอรับใบอนุญาตต้องสอบข้อเขียนวิชาบังคับ จํานวน 3


วิชา และสามารถเลือกสอบข้อเขียนวิชาเลือกได้จํานวน 1 วิชา
ทั้งนี้ สอบข้อเขียนวิชาละ 25 ข้อ รวม 100 คะแนน (คะแนนแต่
ละข้อเท่ากัน)

36
การอบรมและทดสอบความพร้อมในการประกอบวิชาชีพ
37

วิชาที่สอบ เวลาที่ใช้ในการอบรม
1.กฎหมาย 10 ข้อ และทดสอบ
2.จรรยาบรรณ 10 ข้อ การอบรม : 1 วัน
50 ข้อ การทดสอบ : 1.5 ชม.
3.สิ่งแวดล้อม 10 ข้อ
หลังจากอบรม
4.ความปลอดภัย 20 ข้อ ประกาศผลในวันที่อบรมฯ
เวลา 20.00 น.
และสอบซ่อมในวันถัดไป
เกณฑ์การทดสอบ
ได้คะแนนไม่น้อยกว่า 60 % ในแต่ละวิชา
สอบตกวิชาใดสามารถสอบซ่อมในรายวิชานั้น ฟรี 1 ครั้ง
38

THE END
ด้วยความปรารถนาดี
สภาวิศวกร

You might also like