You are on page 1of 133

อุณหพลศาสตร์

(Themodynamics)
อุณหภูมิและความรอน
• อุณหภูมิเปนสมบัติที่ใชในการบอก “ความรอน”
หรือ “ความเย็น”ของวัตถุ
– ในการวัดอุณหภูมิของวัตถุ ตองสรางเครื่องวัด
อุณหภูมิ ที่เรียกวา เทอรโมมิเตอร
(thermometer) มาสัมผัสกับวัตถุนั้น
– ทั้งเทอรโมมิเตอรและวัตถุอยูในสภาวะที่สมดุลกัน
(equilibrium condition)
• สมดุลความรอน (thermal equilibrium)
อุณหภูมิและความรอน
(Temperature and Heat)
• สมดุลความรอน(thermal
equilibrium)
– กฎขอที่ศูนยของเทอรโมไดนามิกส(The
Zeroth Law of Thermodynamics)
• “ ถาวัตถุ A และวัตถุ B ตางก็อยูในสมดุลความรอนกับวัตถุ
C แลววัตถุ A และวัตถุ B จะอยูในสมดุลความรอนซึ่ง
กันและกันดวย ”
อุณหภูมิและความรอน
(Temperature and Heat)
– เทอรโมมิเตอร(thermometer)
• Liquid – in – Glass tube thermometer
อุณหภูมิและความรอน
(Temperature and Heat)
– เทอรโมมิเตอร(thermometer)
• ขีดสเกลบนทอ แบงเปน 100 ชวงเทา ๆ
กัน
• จุดเยือกแข็งของนํ้าบริสุทธิ์อยูที่ศูนย และ
ระดับที่อุณหภูมิ ณ จุดเดือดของนํ้าบริสุทธิ์
อยูที่ 100
• แตละชวงเรียกวา องศา(degree)
• สเกลนี้เรียกวา สเกลเซลเซียส (Celsius
temperature scale)
• หนวยที่ใชบอกอุณหภูมิคือ องศาเซลเซียส
อุณหภูมิและความรอน
(Temperature and Heat)
– เทอรโมมิเตอร(thermometer)
• สเกลฟาเรนไฮต(Fahrenheit Temperature Scale)
• จุดเยือกแข็งของนํ้าอยูที่ 32 องศาฟาเรนไฮต
• จุดเดือดของนํ้าอยูที่ 212 องศาฟาเรนไฮต
• จุดเยือกแข็งและจุดเดือดของนํ้าจะอยูหางกัน 180 องศา
ฟาเรนไฮต
• จะไดความสัมพันธระหวางสเกลฟาเรนไฮตกับสเกลเซ
ลเซียส คือ
อุณหภูมิและความรอน
(Temperature and Heat)
– อุณหภูมิในสเกลเคลวินหรือ
สเกลสัมบูรณ(Kelvin or
Absolute Temperature
Scale )
• ถาเปลี่ยนชนิดของของเหลวจะตอง
เปลี่ยนสเกล บนทอดวยทําใหมีค
วามตองการสเกลของอุณหภูมิที่ไม
ขึ้นอยูกับชนิดของสสาร
– จึงใชเทอรโมมิเตอรแบบใชกาซ(gas
thermometer)
อุณหภูมแิ ละความร้ อน
(Temperature and Heat)
– อุณหภูมใิ นสเกลเคลวินหรือสเกลสั มบูรณ์ (Kelvin or
Absolute Temperature Scale )
• วัดความดันที องศาเซลเซียส และ ที องศาเซลเซียส
• ความดันเปน 0 ที่ - 273.15 องศาเซลเซียส
อุณหภูมิและความรอน
(Temperature and Heat)
– อุณหภูมิในสเกลเคลวินหรือสเกลสัมบูรณ
(Kelvin or Absolute Temperature
Scale )
• ใชกาซตางชนิดกัน ก็จะพบวาความดันเปนศูนย
ที่อุณหภูมิ - 273.15 องศาเซลเซียส
อุณหภูมิและความรอน
(Temperature and Heat)
– อุณหภูมิในสเกลเคลวินหรือสเกลสัมบูรณ
(Kelvin or Absolute Temperature
Scale )
•อุณหภูมิเปน 0 K ที่ความดันเปน 0
•เรียกสเกลนี้วา สเกลเคลวิน หรือ
สเกลสัมบูรณ (Absolute scale)
•0 K = -273.15 องศาเซลเซียส นั่นคือ
Example 1 Converting
Temperatures
• On a day when the temperature reaches 50 °F, what is the
temperature in degrees Celsius and in kelvins?
– Solution
Example 2 Converting
Temperatures
• A pan of water is heated from 25 °C to 80 °C. What is the
change in its temperature on the Kelvin scale and on the
Fahrenheit scale?
– Solution
แบบฝกหัด
• จงแปลงอุณหภูมิตอไปนี้ใหอยูในสเกลเซลเซียส
– 32 ฟาเรนไฮต
– 98.6 ฟาเรนไฮต
– -40 ฟาเรนไฮต
การขยายตัวตามอุณหภูมิหรื อความร้อน
(Thermal Expansion)
• การขยายตัวเชิงเส้น(Linear Expansion)
• การขยายตัวเชิงพืนที (Area Expansion)
• การขยายตัวเชิงปริ มาตร(Volume Expansion)
การขยายตัวเชิงเส้ น
(Linear Expansion)
• ความยาวที่เปลี่ยนไปของวัตถุ( )จะแปรผัน
ตรงกับอุณหภูมิที่เปลี่ยนไป( )และความยาว
ตั้งตน( ) เมื่อ

• หรือ
• โดยที่ คือสัมประสิทธิ์การขยายตัวเชิงเสน
• มีหนวยเปน
ตารางแสดงตัวอยางสัมประสิทธิ์การ
ขยายตัวเชิงเสน
การขยายตัวเชิงพืนที
(Area Expansion)
• พื้นที่ที่เปลี่ยนไปของวัตถุจะแปรผัน
ตรงกับอุณหภูมิที่เปลี่ยนไปและ
พื้นที่ตั้งตน
– วงแหวนเหล็กถูกเผาไฟ
– รัศมีของรูจะเพิม
่ ขึ้นในทุกทิศทุกทาง
การขยายตัวเชิงปริมาตร
(Volume Expansion)
• ปริมาตรที่เปลี่ยนไปของวัตถุ( ) จะแปรผัน
ตรงกับอุณหภูมิที่เปลี่ยนไป( )และปริมาตร
ตั้งตน( )

• คือสัมประสิทธิ์การขยายตัวเชิงปริมาตร
• โดยที่
การขยายตัวเชิงปริมาตร
(Volume Expansion)
• การหาคา

• เมื่อ จะได
ประโยชน : การขยายตัวตาม
อุณหภูมิหรือความรอน
ประโยชน : การขยายตัวตาม
อุณหภูมิหรือความรอน
• Bimetallic Strip
ตัวอยาง
• รางรถไฟทําดวยเหล็กแตละทอนยาว 30.0 เมตร ใน
ขณะที่อุณหภูมิ 0 0C เมื่อ และ
Y=20x1010 N/m2
– วันหนึ่งมีอากาศรอนจัดวัดอุณหภูมิได 40 0C รางรถไฟแตละ
ทอนจะยาวขึ้นจากเดิมกี่เมตร
– ถาการวางราง วางใหชิดกันในวันที่มีอากาศ 0 0C และตรึง
รางใหแนนปองกันไมใหเกิดการขยายตัวในวันที่มีอุณหภูมิ
40 0C จะเกิดความเคนเนื่องจากความรอนขึ้นในรางเทาไร
ตัวอยาง
• เติมนํ้ามันเต็มถังขนาด 40.0 L ซึ่งถังทําจากเหล็ก ใน
ขณะที่อุณหภูมิ 200 C นํ้ามันจะลนออกมากจากถัง
เทาใดถาตั้งถังนํ้ามันนี้ไวกลางแดดที่อุณหภูมิ 350C
โดยไมปดฝา กําหนดให
และ

– ตอบ นํ้ามันลนออกมา 560 cm3


ปริมาณของความร้ อน (Quantity of Heat)
• Heat is defined as the transfer of energy across the boundary of a system
due to a temperature difference between the system and its surroundings.
• ความร้ อน เป็ นพลังงานรู ปหนึงซึงถูกส่ งผ่ านจากระบบหนึง(ทีอุณหภูมสิ ู งกว่ า)
ไปยังอีกระบบหนึง (ทีมีอุณหภูมติ ากว่
ํ า) อันเป็ นผลเนืองจากระบบทังสองมี
อุณหภูมติ ่ างกัน
หนวยของความรอน
• ในระบบ SI
หนวยของความ
รอนคือ
จูล(Joules : J)
หนวยของความรอน(ตอ)
• แคลอรี (calorie : cal)
– ปริ มาณความร้อน cal คือปริ มาณความ
ร้อนทีต้องใช้ในการทําให้นาํ กรัม มี
อุณหภูมิเพิมขึนจาก . องศาเซลเซียส
เป็ น . องศาเซลเซียส ทีความดัน
atm
• 1 cal = 4.186 J
หนวยของความรอน(ตอ)
• หนวยในระบบบริทิช (British Unit)
– British thermal unit(Btu)
– ปริมาณความรอนที่ใชในการทําใหนํ้าหนัก 1
ปอนดมีอุณหภูมิเพิ่มจาก 63 องศาฟาเรนไฮต
เปน 64 องศาฟาเรนไฮต
– 1 Btu = 778 ft.lb = 252 cal
ความจุความร้ อนจําเพาะ (Specific Heat Capacity)
• แทนปริมาณความรอน ที่ใชในการเพิ่ม
อุณหภูมิ
– ความจุความรอน (heat capacity, C,)

– ความจุความรอนจําเพาะ (specific heat capacity)


หรือ ความรอนจําเพาะ (specific heat)
ความจุความรอนโมลาร
(Molar Heat Capacity)
• บางครั้งสะดวกกวาในการบอกปริมาณของสาร
โดยใช จํานวนโมล (mole) n แทนที่จะใช
มวล(mass) m
• จากวิชาเคมี หนึ่งโมล มี 6.02x1023 โมเลกุล
• มวลโมลาร(molar mass) หรือ มวลโมเลกุล
(molecular weight) M ของสารใด ๆ คือ
มวลของสารหนึ่งโมล
–.
– เชน มวลโมลาร ของนํ้า 18.0 g/mol หมายถึงนํ้า
1 โมลจะมีมวลเทากับ 18.0 g
ความจุความรอนโมลาร
(Molar Heat Capacity)
• จาก
– แทนคาดวย
– จะได

– เมื่อ C = Mc
ความจุความร้ อนจําเพาะ (Specific Heat Capacity)
• ถาระบบมีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น :
– Q และ ΔT เปนบวก
– พลังงานจะถายโอนเขาสูระบบ
• ถาระบบมีอุณหภูมิลดลง:
– Q และ ΔT มีคาเปนลบ
– พลังงานจะถายโอนออกจากระบบ
ตัวอยางความจุความรอนจําเพาะ
Conservation of Energy:
Calorimetry
• กฎการอนุรักษพลังงาน
– หาอุณหภูมิผสม

– จากสมการ
ตัวอยาง
การเปลียนสถานะและความร้ อนแฝง
(Phase Changes and Latent Heat)
• สถานะ(phase)
– ของแข็ง , ของเหลว , กาซ
– การเปลีย่ นสถานะจากสถานะหนึ่งไปยังอีก
สถานะหนึ่งเรียกวา phase change หรือ
phase transition
– การเปลี่ยนสถานะเกิดขึ้น ณ อุณหภูมิหนึ่ง
(นั่นคือ อุณหภูมิไมเปลี่ยน)
– เชนการละลายของนํ้าแข็ง
• ตองใสความรอนเขาไปเพื่อเปลี่ยนสถานะของ
นํ้าจากของแข็งไปเปนของเหลว ความรอนที่ใช
นี้เรียกวา ความรอนแฝง(latent heat)
การเปลียนสถานะและความร้อนแฝง
(Phase Changes and Latent Heat)
• ความรอนแฝง (latent heat)
– ความรอนแฝงของการหลอมเหลว(latent heat of
fusion)
– ความรอนแฝงของการกลายเปนไอ(latent heat
of vaporization)
Sample Latent Heat Values
ตัวอยาง
การสงผานความรอน
(Heat Transfer)

• การนําความรอน(conduction)
• การพาความรอน(convection)
• การแผรังสี(radiation)
การนําความรอน(Conduction)

• การนําความรอนเปนผล
เนื่องจากการชนระหวาง
โมเลกุลหรืออะตอมในเนื้อสาร
(molecular collision)
– เกิดขึ้นระหวางบริเวณที่มี
อุณหภูมิตางกันเทานั้น
– ทิศทางของการไหลของความ
รอนจะตองไปจากที่ที่มีอุณหภูมิ
สูงกวาไปยังที่มีอุณหภูมิตํ่ากวา
เสมอ
การนําความรอน(Conduction)
• การนําความรอนในแทงตัวนํา
• พิจารณาแทงตัวนําความรอนที่มีพื้นที่หนาตัด A และ
ยาว L

• ปริมาณความรอน dQ ถูกสงผานไปแทงวัตถุนี้
ภายในเวลา dt
– อัตราการไหลของความรอนคือ dQ/dt
– อัตราการไหลของความรอนนี้เรียกวา กระแสความรอน
(heat current)
การนําความรอน(Conduction)
• การนําความรอนในแทงตัวนํา
– กระแสความรอน

– เมื่อ k คือ สภาพนําความรอน (thermal


conductivity)
– กระแสความรอนมีหนวยเปน W/m.K
ตัวอยางการนําความรอน
• เตาอบอาหารมีพนที ื ผิวทังหมด . m2 และผนังหนา . cm ซึงมีสภาพนําความ
ร้ อน x10-2 W/m 0C จงหาว่ าใน นาที มีการสู ญเสี ยความร้ อนเท่ าไร เมือ
อุณหภูมใิ นเตาเป็ น 0C และภายนอกเป็ น 300C
การพาความรอน(Convection)
• การพาความรอนเกิดขึ้นในสสารหรือ
ตัวกลางที่เปนของไหล โดยการเคลื่อนที่
ของมวล ของของไหลจากที่หนึ่งไปยัง
อีกที่หนึ่ง
– เครื่องทําความรอน(Radiator) ทําใหหอง
อบอุนดวยการพาความรอน
• อากาศเหนือเครื่องทําความรอนไดรับความรอน
– มีการขยายตัว ความหนาแนนลดลง
– อากาสลอยตัวสูงขึ้น (ตามหลักของการลอยตัว)
การแผรังสี(Radiation)
• การแผรังสีเปนการสงผานความรอนโดย
คลื่นแมเหล็กไฟฟา
• วัตถุทุกชนิด(อุณหภูมิสูงกวา 0K)
– จะแผรังสีออกมาในทุกชวงความยาวคลื่น
– แตจะมีความยาวคลื่นคาหนึ่งที่พลังงานถูกแผออกมามากที่สุด
เรียกวา ซึ่งความยาวคลื่นนี้จะขึ้นกับอุณหภูมิ เมื่ออุณหภูมิ
ของวัตถุเพิ่มขึ้น ความยาวคลื่น จะลดลง
การแผรังสี(Radiation)
• กระแสของความรอน IH เนื่องจาการแผรังสี หรือ
อัตราการแผรังสีจากผิวของวัตถุที่มีพื้นที่ผิว A ซึ่งมี
อุณหภูมิสัมบูรณ T จะอยูในรูป

– คือคาคงตัว เรียกวา Stefan-Boltzmann


constant
– .
– สภาพแผรังสี (emissivity)
• ความสามารถในการแผรังสีของวัตถุ (ขึ้นอยูกับชนิดและอุณหภูมิ)
• มีคาอยูระหวาง 0 ถึง 1
ตัวอยาง การแผรังสี
• หลอดไฟฟาดวงหนึ่งปกติจะทํางานโดยมีอุณหภูมิไส
ถาใหหลอดไฟดวงนี้ทํางานที่ความตางศักยสูงกวาจน
ทําใหอุณหภูมิของไสหลอดเพิ่มขึ้นเปน จงหา
เปอรเซ็นตการเพิ่มขึ้นของพลังงานการแผรังสี
สมบัติทางความร้อนของสสาร
(Thermal Properties of Matter)
• ศัพททางเทอรโมไดนามิกส
– สภาวะ (state)
– ระบบ (system)
– สิ่งแวดลอม (surrounding)
– ขอบเขต (boundary)
สมบัติทางความร้อนของสสาร
(Thermal Properties of Matter)
• เทอรโมไดนามิกสเปนการศึกษาเกี่ยวกับการ
เปลี่ยนแปลงสภาวะ (state) ของระบบ
(system)
• พฤติกรรมหรือการเปลี่ยนแปลงสภาวะของระบบ
บรรยายโดยใชปริมาณ
– ปริมาณเชิงมหทรรศน(macroscopic quantities)
• ความดัน ปริมาตร อุณหภูมิและมวลของระบบ
– ปริมาณเชิงจุลทรรศน(microscopic quantities)
• มวล อัตราเร็ว พลังงานจลน และ โมเมนตัม ของแตละ
โมเลกุล
กาซอุดมคติ (Ideal Gas)
• สําหรับกาซ แรงที่ยึดเหนี่ยวระหวางอะตอมจะ
นอยมาก ๆ
– สามารถจินตนาการไดวาไมมีแรงยึดเหนี่ยวระหวาง
อะตอม
• แตละโมเลกุลเคลื่อนที่อยางอิสระ
• การชนของโมเลกุลเปนการชนแบบยืดหยุน
• สําหรับกาซจะมีปริมาตรเทากับปริมาตรของ
ภาชนะที่บรรจุ
กาซอุดมคติ
• สําหรับกาซจะมีปริมาตรเทากับปริมาตรของ
ภาชนะที่บรรจุ
• สมการของกาซจะมีปริมาตร , V, เปนตัวแปรที่
เกี่ยวของกับสมการ
– โดยพิจารณาการเปลี่ยนแปลงปริมาตรจากจุดเริ่มดน
(ΔV)
สมการสภาวะของกาซ

• โดยทั่วไปสมการสภาวะของกาซมวล m(หรืออ
ใชจํานวนโมล) จะเกี่ยวของกับ ปริมาตร
ความดัน และ อุณหภูมิ (ตัวแปรสภาวะ :
state variables)
• สมการที่เกี่ยวของกับปริมาณเหลานี้เรียกวา
สมการสภาวะ (equation of state)
– ถากาซมีความดันตํ่าสมการจะอยูในรูปแบบที่งาย
– นัน
่ คือถากาซมีความดันตํ่า(ความหนาแนนนอย)
จะเปนกาซอุดมคติ(ideal gas)
โมล(Mole)
• เพื่อความสะดวกจะบอกจํานวนของกาซในเทอม
ของจํานวนโมล
• หนึ่ง mole ของสสารบอกดวยเลขอะโวกาโด
(Avogadro’s number) ซึ่งก็คือจํานวน
อนุภาคของสสาร(atoms or molecules)
– Avogadro’s number NA = 6.022 x 1023
โมล(Moles)

• จํานวนโมลหาไดจากมวลของสสาร: n = m
/M
– M คือมวลโมเลกุล
– m คือมวลของสสาร
– n คือจํานวนโมล
กฎของกาซ(Gas Laws)

• เมือก๊ าซมี อุณหภูมคิ งที ความดันจะ แปร


ผกผันกับปริมาตร (Boyle’s law)

• เมือก๊ าซมี ความดันคงที ปริมาตรจะ


แปรผันตรงกับอุณหภูมิ (Charles ’s law)

• นํากฎของบอยส์ และชาร์ ล มาพิจารณา


ร่ วมกันจะได้ ว่า
กฎของกาซอุดมคติ(Ideal Gas Law)

• การหาคานิจของแกส
– ที่ STP
• อุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส(ประมาณ 273K) ณ ความดัน 1
บรรยากาศ(1.013x105 N/m2) กาซทุกชนิด 1
โมล จะมีปริมาตร 22.4 ลูกบาศกเดซิเมตร (22.4x10-3 m3)
– จะไดคา R = 8.314 J/mol ∙ K
– นั่นคือสมการของกาซอุดมคติ
• PV = nRT
กฎของกาซอุดมคติ(Ideal Gas Law) , ตอ

• R คือคาคงที่ เรียกวาคาคงตัวสากลของกาซ
– R = 8.314 J/mol ∙ K = 0.08214
(L ∙ atm)/mol ∙ K
• จากคา R สามารถหาไดวากาซ 1 mole ที่
ความดันบรรยากาศ และอุณหภูมิ 0o C มี
ปริมาตร 22.4 L
กฎของกาซอุดมคติ(Ideal Gas Law) , ตอ
• กฎของกาซอุดมคติสามารถแสดงอยูในเทอม
ของจํานวนโมเลกุลทั้งหมด(N )
• PV = nRT = (N/NA) RT = NkBT
– kB is Boltzmann’s constant
– kB = 1.38 x 10-23 J/K
• โดยทั่วไปเรียก P, V, และ T วา ตัวแปรทาง
เทอรโมไดนามิกส (thermodynamic
variables) ของกาซอุดมคติ
ตัวอยาง หาจํานวนโมลของกาซที่บรรจุในภาชนะ
• กาซอุดมคติมีปริมาตร 100 ที่ และ
100 Pa หาจํานวนโมลของกาซในภาชนะ
– Solution จากสมการ
ตัวอยาง การใหความรอนตอกระปองสเปรย
• กระปองสเปรยมีความดัน202 kPa และมีปริมาตร 125 ที่ 22
โยนเขาไปในกองไฟ เมื่ออุณหภูมิของกาซขึ้นถึง ความดัน
ของในกระปองมีคาเทาใด
– Solution
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซ (The Kinetic Theory of Gases)
• แบบจําลองของกาซอุดมคติ
– มีโมเลกุลของกาซเปนจํานวนมากโดยกําหนดให
เทากับ N โดยแตละโมเลกุลมีมวลเทากับ m
– โมเลกุลของกาซอยูหางกันมาก ซึ่งแสดงวา
แรงดึงดูดระหวางโมเลกุลนอยมากจนตัดทิ้งได
– การชนกันของโมเลกุลทั้งหลายของกาซในอุดมคติ
เปนการชนแบบยืดหยุน
– ความเร็วของแตละโมเลกุลไมจําเปนตองเทากัน แต
ถือวามีคาคงตัวเมื่อเวลาผานไป
ความดัน และ พลังงานจลน (1)
• พิจารณาภาชนะรูป
ลูกบาศกที่ทุกดานยาว d
ภายในบรรจุกาซ
• โมเลกุลมีองคประกอบ
ของความเร็วในแนว
แกน x
• ชนแบบยืดหยุนดวย
ความเร็ว
• ผนังออกแรงกระทําตอ
โมเลกุลของกาซ(กฎขอ
ที่สองของนิวตัน)
ความดัน และ พลังงานจลน (2)
• พิจารณาการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัมของโมเลกุล

• ซึ่งการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัมก็คือ การดล

• ชวงเวลาที่โมเลกุลวิ่งเขาชนผนังเดิมอีกครั้ง

• นั่นคือ
ความดัน และ พลังงานจลน (3)
• แรงเฉลี่ยที่ผนังกระทําตอโมเลกุล

• นั่นคือจะไดแรงเฉลี่ยที่โมเลกุลกระทําตอผนัง
(กฎขอที่สามของนิวตัน)

• แรงเฉลี่ยของกาซทั้งหมด(Nโมเลกุล)ที่กระทํา
ตอผนังภาชนะ

• แรงที่กระทําตอผนังภาชนะจะกระทําในชวงเวลา
ที่สั้นมากจนถือไดวาแรงจะมีคาคงที่นั่นคือ
ความดัน และ พลังงานจลน (4)
• พิจารณาคาเฉลี่ยของ ( )

• นั่นคือ

• ความเร็วลัพธของแตละโมเลกุลสามารถเขียนใน
รูปของผลรวมของความเร็วในสวนประกอบยอย
และ นั่นคือ
ความดัน และ พลังงานจลน (5)
• ในทํานองเดียวกัน ความเร็ วกําลังสองเฉลีย เขียนได้เป็ น

• เนืองจากโมเลกุลมีโอกาสวิงชนผนังทัง ทิศทาง (x,y,z) ได้เท่า ๆ กัน


ดังนัน
• ดังนันจากสมการ

– จะได้
ความดัน และ พลังงานจลน (6)
• จัดรู ปสมการจะได้

• ดังนันความดันทีผนังเขียนได้เป็ น
ความดัน และ พลังงานจลน (8)
• การอธิบายพฤติกรรมของโมเลกุลด้วยอุณหภูมิ
– จากสมการ และ
– จะได้

– หรื อ

นีคือพลังงานจลน์เฉลียต่อหนีงโมเลกุล
ความดัน และ พลังงานจลน (9)
• การอธิบายพฤติกรรมของโมเลกุลด้วยอุณหภูมิ
– เนืองจาก
– จะได้

– ทํานองเดียวกันจะได้ และ
(ทฤษฎีการแบ่ งเท่ าของพลังงาน (theorem of equipartition of energy)
– ดังนันพลังงานจลน์ทงหมด(N
ั โมเลกุล)

พลังงานภายในของก๊ าซอุดมคติขนกั
ึ บ
อุณหภูมิ
ความดัน และ พลังงานจลน (10)
• รากที่สองของ เรียกวา ความเร็วรากที่
สองของกําลังสองเฉลี่ย
(root-mean-square velocity):

• ซึ่งก็คือความเร็วเฉลี่ยของโมเลกุล
ตัวอยาง rms
พลังงานภายในของแกส
• ในทฤษฎีจลนของแกส
– พลังงานจลนของการเคลื่อนที่เฉลี่ย
• หรือ
– ดังนั้นพลังงานจลนรวมของอนุภาคเทากับ
– พลังงานจํานวนนี้เรียกวา พลังงานภายใน (เนื่องจาก
อุณหภูมิ)
พลังงานภายในของแกส
• พลังงานจลนเฉลี่ยของโมเลกุลตาง ๆ เขียนไดเปน

• โดย f เปนคายังผลของดีกรีของความอิสระ
(degree of freedom)
– f= 3 สําหรับแกสโมเลกุลอะตอมเดี่ยว
– f= 5 สําหรับแกสโมเลกุลอะตอมคู
– F= 6 สําหรับโมเลกุลหลายอะตอม
• สําหรับพลังงานภายในเนื่องจากอุณหภูมิของแกสเขียน
ไดเปน
ตัวอยาง : A Tank of Helium

• ถังบรรจุกาซฮีเลียมมีปริมาตร3.00 m3 และมี
กาซฮีเลียมจํานวน 2 โมล ที่อุณหภูมิ 20.0
องศาเซลเซียส สมมติวากาซฮีเลียมเปนกาซ
อุดมคติ
– (A) หาพลังงานจลนทั้งหมดของโมเลกุลของกาซ
– (B) พลังงานจลนเฉลี่ยตอโมเลกุล
เฉลย : A Tank of Helium
• Solution
– (A)

– (B)
เทอรโมไดนามิกส
Work and Heat in Thermodynamic Processes

• ต ัวแปรสภาวะ
– สภาวะของระบบจะอธิบายดวย ตัวแปรสภาวะ
(State variables)
• Pressure, temperature, volume, internal
energy
– กระบวนการทางเทอรไดนามิกส
• สภาวะของระบบมีการเปลี่ยนแปลง ( ความดัน , อุณหภูมิ
, ปริมาตร หรือพลังงานภายใน มีการเปลียนแปลง)
งาน ทางเทอรโมไดนามิกส
• งานสามารถเกิดจากระบบที่
เคลื่อนที่ได เชน กาซ
• พิจารณากาซที่บรรจุอยูใน
กระบอกสูบที่มีลูกสูบสามารถ
เคลื่อนที่ได
• ออกแรงกระทําตอกาซอยางชา ๆ
– การออกแรงกดอยางชา ๆ จะทําให
ระบบอยูในสมดุลความรอน
– กระบวนแบบนี้เรียกวา
งาน ทางเทอรโมไดนามิกส
• ถาลูกสูบทีพื้นที่หนาตัด A และความดันกาซ
ภายในกระบอกสูบคือ p ดังนั้นกาซภายใน
กระบอกสูบจะดันลูกสูบดวยแรง pA
• ลูกสูบถูกแรงภายนอกกระทําดวยแรง
ทําใหเกิดการกระจัด
• งานที่กระทําตอกาซจะเปน

• ดังนั้นงานที่กระทําตอกาซจะเปน
งาน ทางเทอรโมไดนามิกส
• ถากาซถูกกด จะเปนลบงานที่กระทําตอกาซ
จะเปนบวก
• ถากาซขยายตัว จะเปนบวกงานที่กระทําตอ
กาซจะเปนลบ
• ถาปริมาตรคงที่งานที่กระทําตอกาซจะเปนศูนย
• งานทั้งหมดที่กระทําตอกาซเมื่อทําใหปริมาตร
เปลี่ยนจาก เปน หาไดจากการอินทิเกรต
สมการ จะได
PV Diagrams (กราฟระหวางความดัน
กับปริมาตร)
• เมื่อรูความดันและ
ปริมาตรในแตละชวงของ
กระบวนการ
• สภาวะของกาซแตละชวง
ถูกพลอตเปนกราฟเรียก
วา PV diagram
• เสนโคงในกราฟเรียกวา
เสนทาง(path)
PV Diagrams
(กราฟระหวางความดันกับปริมาตร)
: ตอ

แผนภาพนีแสดงให้ เห็นว่ าก๊ าซถูกกด


อย่ างช้ า ๆ (quasi – static process)
จากสภาวะ i ไปสู่ สภาวะ f งานที
ทําต่ อก๊ าซก็คอื พืนทีใต้ กราฟ ซึงจะ
มีค่าเป็ นบวก
PV Diagrams
(กราฟระหวางความดันกับปริมาตร)
: ตอ
• พิจารณางานที่กระทําตอกาซในเสนทางตาง ๆ
กัน
– ถาในแตละกระบวนการจะมีสภาวะเริ่มตนและสภาวะ
สุดทายเหมือนกัน
– งานที่กระทําตอกาซในแตละกระบวนการจะมีคา
แตกตางกัน
– นั่นคืองานที่กระทําตอกาซจะขึ้นกับเสนทาง(Path)
งานจาก PV Diagram ,
ภาพ(a)
• ปริมาตรของกาซถูกทําใหลด
ลงจาก Vi ไปสู Vf ดวย
ความดันคงที่ Pi
• ตอมาเพิ่มความดันจาก Pi
ไปสู Pf ดวยการใหความ
รอนที่ปริมาตรคงที่ Vf
• งานที่กระทําตอกาซดวย
เสนทางนี้จะเปน W = -Pi
(Vf – Vi)
งานจาก PV Diagram ,
ภาพ(b)
• ความดันของกาซถูกทําให
เพิ่มขึ้นจาก Pi ไปสู Pf ที่
ปริมาตรคงที่ Vi
• จากนั้นทําใหปริมาตรของ
กาซลดลงจาก Vi ไปสูVf
ดวยความดันคงที่ Pf
• ดังนั้นงานที่กระทําตอกาซ
ดวยเสนทางนี้จะเปน W =
-Pf (Vf – Vi) ซึ่งจะมีคา
มากกวากระบวนการในภาพ
(a)
งานจาก PV Diagram ,
ภาพ(c)
• ความดันและ
ปริมาตรมีการ
เปลี่ยนแปลงอยาง
ตอเนื่อง
• งานจะมีคาอยู
ระหวาง
–Pf (Vf – Vi) และ
–Pi (Vf – Vi)
• ในการหาคางานที่
เกิดขึ้นตองรูฟงกชัน
ของ P (V )
กฎขอที่หนึ่งของเทอรโมไดนามิกส
• กฎขอที่หนึ่งของเทอรโมไดนามิกสเปนกรณีพิเศษของ
กฎการอนุรักษพลังงาน
– การถายโอนพลังงานความรอนจะทําใหมีการ
เปลี่ยนแปลงพลังงานภายใน และ งาน
• ถึงแมวา Q และ W จะขึ้นกับเสนทาง(path) แต Q +
W จะไมขึ้นกับเสนทาง
• กฎขอที่หนึ่งของเทอรโมไดนามิกสคือ ΔEint = Q +
W
– ทุกปริมาณจะเปนหนวยเดียวกัน (พลังงาน)
• ถามีการเปลี่ยนนอย ๆ ในระบบ จะได dEint = dQ
+ dW
กฎขอที่หนึ่งของเทอรโมไดนามิกส
• Q เปนบวก สําหรับปริมาณความรอนที่ไหลเขา
สูระบบ
• Q เปนลบ สําหรับปริมาณความรอนที่ไหลออก
จากระบบ
• W เปนบวก สําหรับงานที่ทําตอระบบ (โดย
สิ่งแวดลอม)
• W เปนลบ สําหรับงานที่ทําโดยระบบ (หรือ
ระบบทําตอสิ่งแวดลอม)
ระบบโดดเดี่ยว(Isolated
Systems)

• ระบบโดดเดี่ยว คือระบบที่ไมมีอันตรกริยากับ
สิ่งแวดลอม
– ไมมีการถายโอนพลังงานและมวลสารกับสิ่งแวดลอม
– งานที่กระทําตอระบบจะเปนศูนย
– Q = W = 0, ดังนั้น ΔEint = 0
• พลังงานภายในของระบบโดดเดี่ยว จะคงที่
กระบวนการแบบวัฏจักร
(Cyclic Processes)
• เปนกระบวนการที่สภาวะตั้งตนและสภาวะสุดทาย
เปนสภาวะเดียวกัน
– กระบวนการนี้จะไมไดเปนระบบโดดเดี่ยว
– กระบวนการแบบวัฎจักรจะมีแผนภาพ PV เปนโคง
ปด
• พลังงานภายในจะเปนศูนย
• ΔEint = 0, Q = -W
• ในกระบวนการแบบวัฎจักร งานทั้งหมดที่กระทํา
ตอระบบตอหนึ่งวัฎจักรจะเทากับพื้นที่ภายในที่ปด
ลอมดวยเสนทางของระบบในแผนภาพPV
กระบวนการแอเดียแบติก
(Adiabatic Process)
• กระบวนการแอเดียแบติกจะ
ไมมีการสงผานพลังงาน
ความรอนเขาหรือออกจาก
ระบบ
– Q=0
– นั่นคือ :
• ปองกันการไหลของความรอน
โดยการลอมรอบผนังของระบบ
ดวยวัสดุกันความรอน
• หรือทําใหระบบเปลี่ยนสภาวะ
อยางรวดเร็วโดยความรอน
กระบวนการแอเดียแบติก(Adiabatic
Process),ตอ
• เมื่อ Q = 0 จะได ΔEint = W
• ในกระบวนแอเดียบาติก ถากาซถูกกด W
จะเปนบวก ดังนั้น ΔEint จะเปนบวก ซึ่งจะ
ทําใหอุณหภูมิของกาซเพิ่มขึ้น
• ในกระบวนการแอเดียบาติก ถากาซขยาย
ตัว ในทํานองเดียวกันจะทําใหอุณหภูมิของ
กาซลดลง
กระบวนการความดันคงตัว (Isobaric Processes)
• กระบวนการความดันคงตัวเกิดขึ้นเมื่อ
ความดันของระบบมีคาคงตัว
• โดยที่คาของความรอนและงานจะไม
เปนศูนย
• คาของงานคือ W = P (Vf – Vi) เมื่อ
P คือความดันที่มีคาคงที่
กระบวนการปริมาตรคงตัว
(Isochoric Process หรือ Isovolumetric Processes)
• เปนกระบวนการที่ปริมาตรของระบบคงตัว คือไม
มีการเปลี่ยนแปลงปริมาตร
• เมื่อปริมาตรไมมีการเปลี่ยนแปลงจะทําให W =
0
• ดังนั้นจากกฎขอที่หนึ่งทางเทอรโมไดนามิกส จะ
ได ΔEint = Q
• นั่นคือถาพลังงานความรอนไหลเขาระบบที่มี
ปริมาตรคงที่จะทําใหพลังงานภายในเพิ่มขึ้น
กระบวนการไอโซเทอรมัล
(Isothermal Process)
• เปนกระบวนการที่อุณหภูมิของระบบมีคาคงตัว
• เมื่อไมมีการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ นั่นคือ
ΔEint = 0
• ดังนั้น , Q = - W
• นั่นคือพลังงานความรอนทั้งหมดที่ระบบไดรับจะ
กลายไปเปนงานที่ระบบทํา
กระบวนการไอโซเทอร์มลั (Isothermal Process) , ต่อ

• แผนภาพ PV ดานขวา
กาซจะมีการขยายตัวดวย
อุณหภูมิคงที่
• เสนโคงเปนโคง
hyperbola
• เสนโคงนี้เรียกวาเสน
isotherm
กระบวนการไอโซเทอร์มลั (Isothermal Process) , ต่อ
• จากเสนโคงของแผนภาพ PV ชี้ใหเห็นวา PV = คา
คงที่
– สมการจะเปนสมการแบบ hyperbola
• พลังงานภายในของกาซอุดมคติจะขึ้นอยูกับอุณหภูมิ
เทานั้น ดังระบบจะเปนระบบแบบ quasi-static
นั่นคือ PV = nRT จะได
กระบวนการไอโซเทอร์มลั (Isothermal Process) , สุ ดท้าย
• งานจะเทากับพื้นที่ใตโคงของโคง PV
– ซึ่งก็คือพื้นที่ที่ถูกแรเงาในแผนภาพ PV
นั่นเอง
• ถากาซขยายตัวดังนั้น Vf > Vi นั่น
คืองานที่กระทําตอระบบ(กาซ) จะเปน
ลบ
• ถากาซถูกกดดังนั้น Vf < Vi นั่นคือ
งานที่กระทําตอระบบ(กาซ) จะเปน
บวก
pV-diagram และการเปลียนสภาวะ
ทัง แบบของแก๊สอุดมคติ
ความจุความร้อนโมลาร์ของก๊าซอุดมคติ
Molar Specific Heat of an Ideal Gas
• ความจุความรอนโมลารที่ปริมาตรคงตัว (molar heat
capacity at constant volume)

• ความจุความรอนโมลารที่ความดันคงตัว (molar heat


capacity at constant pressure)

• คาดวา(สมมติฐาน)
– Cp มากกวา Cv
• เนื่องจากในกระบวนการ ความดัน
คงตัว ตองใชความรอนปริมาณหนึ่ง
ถูกใชในการทํางานโดยระบบ
ความจุความร้อนโมลาร์ของก๊าซอุดมคติ
Molar Specific Heat of an Ideal Gas
• พิจารณากระบวนการที่ปริมาตรคงตัว
– จากกฎขอที่หนึ่งทางเทอรโมไดนามิกส

– ดังนั้น

– หรือ
ความจุความร้อนโมลาร์ของก๊าซอุดมคติ(ต่อ)
Molar Specific Heat of an Ideal Gas
• จาก

• และ

– จะได
• สําหรับกาซอุดมคติอะตอมเดี่ยว

– ทํานองเดียวกัน จะได
• สําหรับกาซอุดมคติอะตอมคู

– ทํานองเดียวกันจะได
• สําหรับกาซอุดมคติหลายอะตอม
ความจุความร้อนโมลาร์ของก๊าซอุดมคติ(ต่อ)
Molar Specific Heat of an Ideal Gas
• จากนั้นพิจารณากระบวนการที่ความดันคงที่
– จากกฎขอที่หนึ่งทางเทอรโมไดนามิกสจะได

– จาก และ
– แทนคาจะได
ความจุความร้อนโมลาร์ของก๊าซอุดมคติ(ต่อ)
Molar Specific Heat of an Ideal Gas
• เนื่องจาก ดังนั้น
• นอกจากนั้นพิจารณาอัตราสวน

(แกสอุดมคติอะตอม
เดี่ยว)
ตารางความจุความรอนโมลาร
ตัวอยาง
ตัวอยาง
ตัวอยาง
กระบวนการแอเดียบาติกของกาซ
อุดมคติ
• pV-diagram แสดงการเปลี่ยนสภาวะแบบแด
เดียแบติกของกาซอุดมคติ
– จะไดสมการ
Proof That
for an Adiabatic Process
• จากกฎข้ อทีหนึงทางเทอร์ โมไดนามิกส์
• เมือ
• จะได้
• จาก หาอนุพนั ธ์ ทงสองข้
ั างของสมการได้

• แทนค่ า ในสมการข้ างต้ นและหารตลอดด้ วย ได้


Proof That
for an Adiabatic Process
• อินทิเกรตสมการ
– ได้
– ดังนัน หรือ
– ใช้ กฎของก๊ าซอุดมคติจะได้

– ซึงจะได้ งานทีทําโดยก๊ าซอุดมคติในกระบวนการแอเดียบาติก คือ


กฎขอที่สองของเทอรโมไดนามิกส
(The Second Law of Thermodynamics)

• ทิศทางของกระบวนการทางเทอรโมไดนามิกส
(Directions of Thermodynamics
Process)
– กระบวนการทางเทอรโมไดนามิกสทุกกระบวนการที่เกิดขึ้น
เองในธรรมชาติเปนแบบผันกลับไมได เรียกวาเปน
irreversible process
• นั่นคือกระบวนการที่เกิดขึ้นจะเปนไปในทิศทางเดียว
– การไหลของของความรอนจะไหลจากวัตถุที่รอนกวาไปยังวัตถุที่เย็น
กวา
– ทิศทางของกระบวนการจะสัมพันธกับความไมเปนระเบียบ
(disorder) ในสภาวะสุดทาย
• การสงผานความรอนจะเกี่ยวของกับการเปลี่ยนของพลังงานของการ
เคลื่อนที่อยางไมเปนระเบียบของโมเลกุล
• ดังนั้นการเปลี่ยนรูปของพลังงานกลไปเปนความรอน จะมีความไม
กฎขอที่สองของเทอรโมไดนามิกส
(The Second Law of Thermodynamics)

• เครืองจักรความร้ อน (Heat Engines)

• ประสิ ทธิภาพ (thermal efficiency)


กฎขอที่สองของเทอรโมไดนามิกส
(The Second Law of Thermodynamics)

• ตัวอยางที่ 12 ถาเครื่องจักรความรอนมี
ประสิทธิภาพ 20% และคายพลังงาน
ใหแกนํ้าที่ใชหลอเย็นเครื่องจักร จงหางานที่
เครื่องจักรทํา

สําหรับเครื่องจักรความ
รอน
กฎขอที่สองของเทอรโมไดนามิกส
(The Second Law of Thermodynamics)

• เครื่องทําความเย็น (Refrigerators)

• สัมประสิทธิ์ของการทํางาน (coefficient of
performance)
กฎขอที่สองของเทอรโมไดนามิกส
(The Second Law of Thermodynamics)

• ตัวอยางที่ 13 เครื่องทําความเย็นดึงเอาความรอนจาก
ที่ที่เย็นกวาเขามาในเครื่องได 3 เทาของงานที่ทําให
แกเครื่อง
(ก) จงหาสัมประสิทธิ์ของการทํางานของเครื่อง
ทําความเย็นนี้
(ข) จงหาอัตราสวนของความรอนที่เครื่องระบายออก
ตอความรอนที่เครื่องไดรับ
กฎขอที่สองของเทอรโมไดนามิกส
(The Second Law of Thermodynamics)

• ไมมีเครื่องจักรความรอนใดที่มีประสิทธิภาพ
เปน 100%
– “ ไมมีระบบใดที่สามารถเปลี่ยนสภาวะแบบ
วัฏจักรโดยดึงความรอนจากแหลงใหความรอนที่
อุณหภูมิหนึ่งแลวเปลี่ยนความรอนทั้งหมดไปเปน
งานกล ”
• “ engine ” statement
– “ ไมมีระบบใดที่สามารถสงผานความรอนจากที่ที่
เย็นกวาไปยังที่ที่รอนกวาดวยตนเองได ”
• “ refrigerator ” statement
กฎขอที่สองของเทอรโมไดนามิกส
(The Second Law of Thermodynamics)

• วัฎจักรคารโนต
(The Carnot Cycle)
– เครื่องจักรความรอน
ในอุดมคติที่มี
ประสิทธิภาพสูงที่สุด
• โดยวิศวกรชาวฝรั่งเศส
Sadi Carnot
กฎขอที่สองของเทอรโมไดนามิกส
(The Second Law of Thermodynamics)

• วัฎจักรคารโนต
– ทุกกระบวนการที่มีการสงผาน
ความรอน จะตองเปนกระบวนการ
ที่อุณหภูมิของระบบคงที่
กฎขอที่สองของเทอรโมไดนามิกส
(The Second Law of Thermodynamics)

• วัฎจักรคารโนต
– แสดงวัฎจักรคาร์โนต์ทีมีก๊าซอุดมคติเป็ น
working substance ประกอบด้วยขันตอนต่อ
ไปนี
กฎขอที่สองของเทอรโมไดนามิกส
(The Second Law of Thermodynamics)

• ประสิทธิภาพของเครื่องจักรความ
รอนคารโนต
– โดยเริ่มจากการหาอัตราสวน
•.

•.

• อัตราสวนของความรอนทั้งสองนี้คือ
กฎขอที่สองของเทอรโมไดนามิกส
(The Second Law of Thermodynamics)

• ประสิทธิภาพของเครื่องจักรความ
รอนคารโนต
– สําหรับกระบวนการแอเดียแบติกทั้งสองใน
วัฎจักรคารโนต
• จาก
• และ
– จับสองสมการนี้มาหารกัน จะได
• จะได หรือ

• ดังนั้น

– ประสิทธิภาพ
กฎขอที่สองของเทอรโมไดนามิกส
(The Second Law of Thermodynamics)

• เอนโทรป (Entropy)
– กฎข้ อทีสองก็สามารถเขียนออกมาให้ อยู่ในรู ปของความสั มพันธ์ ของ
ปริมาณทีเรียกว่ า เอนโทรปี (entropy) ได้
– เอนโทรปี เป็ นปริมาณทีใช้ วดั ความไม่ เป็ นระเบียบ (disorder)
• พิจารณา
– กาซอุดมคติ เมื่อเราใหความรอน แกกาซแลว
ปลอยใหกาซขยายตัวโดยที่อุณหภูมิคงตัว
– จากกฎขอที่ 1 ได หรือ
กฎขอที่สองของเทอรโมไดนามิกส
(The Second Law of Thermodynamics)

• เอนโทรป (Entropy)
– ใชสัดสวนการเปลี่ยนของปริมาตร เปนตัววัด
การเพิ่มขึ้นของความไมเปนระเบียบ
– จาก นั้น แปรผันกับปริมาณ
– ใชสัญลักษณ S แทนเอนโทรปของระบบ

– ถามีความรอนปริมาณ Q ใสเขาไปในชวง
กระบวนการไอโซเทอรมัลแบบผันกลับได เอน
โทรปของระบบจะเปลี่ยนไปทั้งสิ้น
กฎขอที่สองของเทอรโมไดนามิกส
(The Second Law of Thermodynamics)

• เอนโทรปี กับกฎข้ อทีสอง (Entropy and The Second Law)


– “ กระบวนการที่เกิดขึ้นไดเองในธรรมชาติจะเกิด
ขึ้นในทิศทางที่ทําใหเอนโทรปรวมของระบบมีคา
คงตัวหรือไมก็เพิ่มขึ้นเทานั้น ”
แบบฝกหัด
• พิสูจนวา สําหรับกาซ
อุดมคติ
แบบฝกหัด
ทดสอบ
• จงเติมเครื่องหมายในชองวาง
• เฉลย
ทดสอบ
• ในแตละเสนทางเปนกระบวนการแบบใด Q =
0 สําหรับเสนทาง B
ทดสอบ
1. กาซอุดมคติจํานวน 1 โมลถูกทําใหขยายตัว
จากปริมาตร 3.0 ลิตรไปเปน 10.0 ลิตร
ที่อุณหภูมิคงที่ 0.0 องศาเซลเซียส
1.1 จงหางานที่กระทําตอระบบ
1.2 จงหาความรอนที่ไหลเขาไปในระบบ
1.3 ถากาซถูกอัดจนมีปริมาตรเทาเดิมจงหางานที่
กระทําตอกาซนี้ในกระบวนการความดันคงที่
เฉลยขอ 1.1
1.1
เฉลยขอ 1.2
1.2
เฉลยขอ 1.3
1.3

You might also like