You are on page 1of 26

รายงานผลการทดลอง

การทดลองที่ 4
เรื่อง การทดสอบหาพิกัดอัตเตอร์เบริก (Atterbreg Limits)
วิชา Soil Mechanics Laboratory
รหัสวิชา 010813303

จัดทาโดย
นางสาวปรมาภรณ์ หรรษาวงศ์ รหัสนักศึกษา 6201081630032
นายพิสิษฐ์ แซ่เฮ้ง รหัสนักศึกษา 6201081630041
นางสาวธัญสุดา สอนรอด รหัสนักศึกษา 6201081631021
นายนิติพล ศิริ รหัสนักศึกษา 6201081631039
นายพลวัต พงษ์ยินดี รหัสนักศึกษา 6201081631047
นางสาวสายชล ศรีแสงขอด รหัสนักศึกษา 6201081631055
นายสิรภพ คาโตนด รหัสนักศึกษา 6201081631063
กลุ่ม 5 Sec. 1
นักศึกษาภาควิชาวิศวกรรมโยธา ปีที่3
คณะวิศวกรรมศาสตร์

อาจารย์ที่ปรึกษา
ศ.ดร.พิทยา แจ่มสว่าง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564

คำนำ
รายงานเล่มนี้จัดทาขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของวิชา SOIL MECHANICS LABORATORY เพื่อทดสอบหา
พิกัดอัตเตอร์เบริก (Atterbreg Limits) โดยได้ศึกษาผ่านการลงมือปฎิบัติจริง และหาข้อทางมูลทฤษฎีจากแหล่ง
เรียนรู้ต่างๆเช่น Textbook ตารา หนังสือ โดยรายงานเล่มนี้ต้องมีเนื้อหาเกี่ยวกับ วัตถุประสงค์ ตัวอย่างดิน
อุปกรณ์ หลักการของวิธีการตกตะกอน การคานวณ ขั้นตอนการทดลอง ผลการทดลอง สรุปผลการทดลอง
วิจารณ์ผลการทดลอง และตัวอย่าง รายการคานวณ
ทางคณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าการจัดทารายงานฉบับนี้จะมีข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจ และจะ
ศึกษาเกี่ยวกับการทดสอบหาพิกัดอัตเตอร์เบริก (Atterbreg Limits) เป็นอย่างดี
คณะผู้จัดทา

สำรบัญ
เนื้อเรื่อง หน้า
คานา ก

สารบัญ ข

วัตถุประสงค์ 1

ทฤษฎีและหลักการ 1

ตัวอย่างดิน 6

อุปกรณ์ 6

การทดสอบ 10

การคานวณค่าพิกัด Atterberg 19

ผลการทดลอง 20

สรุปผลการทดลอง 22

วิจารณ์ผลการทดลอง 22

ตัวอย่างรายการคานวณ 23

เอกสารอ้างอิง 23
1

กำรทดลองที่ 4
กำรทดสอบหำพิกัดอัตเตอร์เบริก
(Atterbreg Limits)

1.วัตถุประสงค์
1.1 เพื่อหาค่า พิกัดกัดเหลว (Liquid limit LL) และ พิกัดพลาสติค (Plastic limit PL) ตามมาตรฐาน
ASTM D 4318 และเพื่อหาค่าพิกัดหดตัว (Shrinkage limit SL) ตามมาตรฐานASTM D 427

2.ทฤษฎีและหลักกำร
2.1 บทนำ
พฤติกรรมทางวิศวกรรมของดินเม็ดละเอียด (fined-grained soils) ขึ้นอยู่กับหลายปัจจัยอื่นๆมากกว่า
ลักษณะการกระจายขนาดของเม็ดดิน ปัจจัยหลักได้แก่ ส่วนประกอบของแร่ส่วนประกอบ และ ปริมาณความชื้นที่
มีอยู่ในดิน การทดสอบหาค่าพิกัดเหลว พิกัดพลาสติค และ พิกัดหดตัว เป็นการแสดงถึงผลกระทบของปริมาณ
ความชื้นที่มีต่อดินเม็ดละเอียดเพื่อประเมินส่วนประกอบของแร่และคุณสมบัติทางวิศวกรรม
2.2 ปริมำณควำมชื้น
ดินประกอบไปด้วยส่วนที่อนุภาคที่เป็นของแข็ง ซึ่งมีช่องว่างอยู่ระหว่างอนุภาคที่อยู่ติดกันโดยทั่วไป
ช่องว่างนี้ถูกเติมเต็มด้วยอากาศและน้า ปริมาณความชื้น (w) ของดินคานวณได้
จากสมการที่1
𝑤𝑤
𝑤= × 100% (1)
𝑤𝑠

เมื่อ
𝑤𝑤 คือ น้าหนักของน้าที่หายไปจากดินด้วยการอบให้แห้งที่อุณหภูมิ 105 ℃ ถึง 110 ℃ เป็นเวลา 24
ชั่วโมง
𝑤𝑠 คือ น้าหนักของดินแห้ง

การที่จะพิจารณาดินว่าแห้งนั้น ก็ต่อเมื่อมวลดินไม่เกิดการเปลี่ยนแปลงโดยการอบให้แห้ง ซึ่งใช้เวลา


ประมาณ 24 ชั่วโมง
2

การอบดินให้แห้งนั้นเป็นการทาให้น้าหายไปจากมวลดินอย่างสมบูรณ์ ซึ่งปราศจากการสูญหายไปของแร่
ดินเหนียว อนุภาคของดินที่เป็นแร่ดินเหนียวซึ่งมีรูปร่างเป็นแผ่นขนาดเล็กกว่า 0.002 mm ตางรางที่ 1 แสดง
ลักษณะทั่วไปของแร่ดินเหนียว 3 ชนิดได้แก่ Montmorillonite Illite และ Kaoliniteน้าที่อยู่รอบๆอนุภาคของแร่
ดินเหนียวแบ่งออกเป็น 3 ชนิดดังนี้
1. น้าดูดซับ (Adsorbed water) ถูกยึดเกาะบนผิวของอนุภาคดินเหนียวโดยแรงดึงดูดทางไฟฟ้า และอยู่
ในสถานะของแข็ง ชั้นน้าชั้นนี้มีความหนาประมาณ 0.0005 µm ซึง่ ไม่สามารถเอาออกโดยการอบให้
แห้งที่อุณหภูมิ 110 ℃ ได้ และสามารถพิจารณาได้ว่าเป็นสวนหนึ่งของอนุภาคดินเหนียว
2. น้าที่มีองค์ประกอบทางเคมี (Chemically combined water) อยู่ในรูปแบบของน้าที่มีโครงสร้างเป็น
ผลึก หรือเรียกว่า ชั้นน้าสองชั้น (double layer) โดยความหนาของน้าชั้นนี้ขึ้นอยู่กับ แร่ดินเหนียว
ชนิด และความเข้มข้นของไอออนในน้า รูปที่ 1 แสดงอนุภาคของดินเหนียว Kaolinite
3. น้าอิสระ (Free water) เป็นชั้นน้าที่ยึดเกาะกันไม่แน่นเมื่อเทียบกับ ชั้นน้าสองชั้น และชั้นน้าดูดชับ ดัง
น้าจึงสามารถเอาออกจากมวลดินได้ด้วยการ ระบายน้าออก ตากให้แห้งในอากาศ หรือ อบให้แห้ง

ตำรำงที่1 ค่าเฉลี่ยของขนาด ความหนา และ พื้นที่ผิวจาเพาะ ของแร่ดินเหนียว


แร่ดินเหนียว ควำมหนำ ขนำดเส้นผ่ำนศูนย์กลำง พื้นที่ผิวจำเพำะ
(µm) (µm) (m2 /g)
Montmorillonite 0.003 0.1-1 800
Illite 0.03 10 80
Kaolinite 0.05-2 0.3-4 15

รูปที่ 1 ลักษณะทั่วไปของอนุภาคดินเหนียว Kaolinite


3

2.3 พิกัดเหลว พิกัดพลำสติค และพิกัดหดตัว


คุณสมบัติทางกลของดินเหนียวมีการสับเปลี่ยนไปตามการเปลี่ยนแปลงของปริมาณความชื้น ดินเหนียว
อ่อนตัวลงเมื่อมีการเพิ่มน้าแก่มวลดินเหนียว เมื่อปริมาณน้าเพียงพอทาให้ดินเหนียวเกิดสภาพเป็นของเหลวข้น
(slurry) ซึ่งมีพฤติกรรมแบบของเหลวหนืด (viscous liquid) ซึ่งดินมีสถานะเป็นของเหลว (liquid state) เมื่อ
ปริมาณน้าค่อยๆลดลงเนื่องจากการทาให้ดินแห้งอย่างช้าๆ ดินเหนียวเริ่มยึดเกาะกันและเริ่มมีความต้านต่อการ
เปลี่ยนแปลงรูปร่าง ดินมีสภาพเป็นของที่สามารถปั้นได้ (plastic state) เมื่อมีการสูญเสียน้าต่อไปอีก ดินเหนียว
จะเกิดการหดตัว และมีความแข็งแกร่งลดลงจนกระทั่งดินมีลักษณะเปราะดินมีสถานะเป็นกึ่งของแข็ง (semisolid
state)และเมื่อดินเกิดการแห้งต่อไปอีก ดินเหนียวจะเกิดการหดตัวจนกระทั่งดินมีปริมาตรต่าสุดคงที่ ซึ่งเมื่อดิน
แห้งต่อไปอีกก็จะไม่เกิดการเปลี่ยนแปลงปริมาตร อีกต่อไป ดินในสถานะนี้เป็นของแข็ง (solid state) สถานะของ
ดินทั้ง 4 แบบ แสดงในรูปที่ 2
การเปลี่ยนแปลงสถานะที่เกิดขึ้นสามารถหาได้จาการทดลอง ได้แก่ การทดลองการค่า liquid limit
(LL) plastic limit (PL) และ shrinkage limit (SL) ปริมาณความชื้นระหว่าง PL และ LL คือค่า ดัชนีความ
เหนียว (plasticity index PI) ซึ่งเป็นเทอมที่ใช้วัดความเหนียวของดินเหนียว ซึ่งสามารถแสดงเป็นช่วงค่าได้ดัง
ตารางที่ 2
PI = LL − PL (2)

รูปที่ 2 การเปลี่ยนแปลงความเหนียวของดินเม็ดละเอียดตามปริมาณความชื้น
4

ตำรำงที่ 2 ช่วงของค่า Plasticity index


Plastic index (PI) Description
0 Non-plastic
1-5 Slightly plastic
5-10 Low plasticity
10-20 Medium plasticity
20-40 High plasticity
>40 Very high plasticity

2.4 แผนภูมิควำมเหนียว (Plasticity chart)


ดินเม็ดละเอียดสามารถจาแนกโดยการใช้แผนภูมิความเหนียว ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ระหว่าง พิกัดเหลว
กับค่าความเหนียว แผนภูมิความเหนียวแบบมาตรฐานแสดงในรูปที่ 3 เมื่อค่าของ LL และ PI ของดินเหนียวพล็อต
ลงบนแผนภูมินี้ ทุกๆจุดจะอยู่เหนือเส้นตรง A-line ซึ่งมีสมการดังนี้

PI = 0.73 (LL-20) (3)

ส่วนเส้นตรง U-line แสดงขอบเขตของดินทุกชนิด ซึ่งมีสมการดังนี้

PI = 0.9(LL-8) (4)

ตารางที่ 3 แสดงตัวอย่างของค่าพิกัดพิกัดกัดเหลว พิกัดพลาสติค และพิกัดหดตัวของแร่ดินเหนียวชนิดต่างๆ


นอกจากนี้แผนภูมิความเหนียวยังสามารถแสดงถึงชนิดของแร่ดินเหนียวได้อีกด้วย ดังรูปที่ 4

ตำรำงที่ 3 พิกัด Atterberg ของแร่ดินเหนียว


Mineral Liquid limit Plastic limit Shrinkage limit
(%) (%) (%)
Montmorillonite 100-900 50-100 8.5-15
Illite 60-120 35-60 15-17
Kaolinite 30-110 25-40 25-29
5

2.5 ควำมข้นเหลวของดินเหนียว (Consistency of clays)


สถานะของดินเหนียวสามารถนิยามโดยอาศัยปริมาณความขึ้นที่มีอยู่ในมวลดินเหนียวเอง ดินเหนียว
สองชนิดที่แตกต่างกัน ด้วยปริมาณความชื้น (moisture content w) อาจแสดงคุณสมบัติที่แตกต่างกันโดยสิ้นเชิง
ดังนั้นจึงจาแนกสถานะของดินเหนียวโดยใช้ค่า ดัชนีความเหลว (liquidity index LI) ซึ่งสัมพันธ์กันกับค่าปริมาณ
ความชื้น และพิกัดเหลวกับพิกัดพลาสติคดังนี้

𝑤 − 𝑃𝐿 𝑤 − 𝑃𝐿
𝐿𝐼 = = (5)
𝐿𝐿 − 𝑃𝐿 𝑃𝐼

ค่า LI เป็นตัวแทนของปริมาณความขึ้นซึ่งสัมพันธ์กับช่วงความเหนียวของดิน ค่า L ต่ากว่าช่วงพลาสติก


( w < PL) LI จะมีค่าเป็นลบ และที่พิกัดเหลว (LI = 1) ของเหลวหนืดมีกาลังเฉือนอยู่เพียงเล็กน้อย เมื่อปริมาณ
ความชื้นลดลงและค่า LI เข้าใกล้ศูนย์ กาลังเฉือนของดินเพิ่มขึ้น และ ที่พิกัดพลาสติค (L = 0) กาลังเฉือนอาจ
มากกว่าที่พิกัดเหลว 100 เท่า

รูปที่ 3 แผนภูมิความเหนียว
6

รูปที่ 4 ตาแหน่งของแร่ดินเหนียวบนแผนภูมิความเหนียว

3.ตัวอย่ำงดินที่ใช้ในกำรทดสอบ
3.1 ตัวอย่างดินเม็ดหยาบ (ดินลูกรัง) ที่ผ่านตะแกรงเบอร์ 40
3.2 ตัวอย่างดินเหนียวไม่ต้องร่อนผ่านตะแกรง สามารถใช้ดินสภาพดินตามธรรมชาติได้เลย

4.อุปกรณ์
4.1 กำรทดสอบหำค่ำพิกัดเหลว (Liquid limit, LL)
4.1.1 เครื่องมือเคาะดิน (Mechanical device)
4.1.2 มีดปาดร่องดิน (Grooving tool)
4.1.3 มีดคลุกดิน (Spatula)
4.1.4 ถ้วยผสมดิน
4.1.5 ตาชั่งละเอียด 0.01g
4.1.6 ตู้อบดิน
4.1.7 ตะแกรงเบอร์ 40
4.1.8 ขวดบีบน้า
4.1.9 กระป้องสาหรับหาค่าปริมาณความชื้น
7
8

4.2 กำรทดสอบหำค่ำพิกัดพลำสติค (Plastic limit, LL)


4.2.1 แผ่นกระจกสาหรับปั้นดิน
4.2.2 ไม้บรรทัด
4.2.3 มีดคลุกดิน (Spatula)
4.2.4 กระป้องสาหรับหาค่าปริมาณความชื้น
9

4.3 กำรทดสอบหำค่ำพิกัดหดตัว (Shrinkage limit, SL)


4.3.1 ถ้วยหาพิกัดหดตัว
4.3.2 แผ่นพลาสติค 3 ขา
4.3.3 ถ้วยแก้วหาปริมาตร
4.3.4 ปรอท
4.3.5 วาสลีน
4.3.6 ถ้วยกระเบื้อง
10

5. ขั้นตอนกำรทดลอง
5.1 กำรทดสอบหำค่ำพิกัดเหลว (Liquid limit, LL)
5.1.1 ทาการสอบเทียบเครื่องมือเคาะดิน โดยการปรับตั้งระยะตกของก ระทะที่จุดสัมผัสฐานให้ระยะ
10 มม. โดยใช้แท่งวัดที่ติดอยู่กับปลายมีดปาดร่องดินสอดเข้าไปใต้กระทะ โดยปรับที่ยึดกระทะเข้า
ออกจนผิวใต้กระทะสัมผัสแตะแท่งวัดพอดี หลังจากนั้นขันสกรูให้แน่น ดังรูปที่ 8

รูปที่ 8 การสอบเทียบเครื่องมือเคาะดิน
11

5.1.2 สาหรับผู้ที่ไม่มีประสบการณ์ในการเคาะดินมาก่อน ให้ฝึกการเคาะให้ได้อัตราเร็ว 120 ครั้งต่อนาที


ด้วยการจับเวลา

5.1.3 ทาการเตรียมดินโดยดินลูกรังให้ร่อนผ่านตะแกรงเบอร์ 40 ประมาณ 300 กรัม โดยแยกไว้


ประมาณ30 กรัม สาหรับทาการทดสอบพิกัดพลาสติค และ 100 กรัม สาหรับการทดสอบพิกัด
หดตัวส่วนตัวอย่างดินเหนียวอ่อนให้เตรียมดินชื้นไว้ประมาณ 300 กรัมเช่นเดียวกัน
12

5.1.4 ทาการทดลองโดยผสมน้าในดินที่เตรียมไว้ในถ้วยผสมดิน ทาการคลุกดินให้เข้ากันด้วยมีดคลุกดิน


ทาการปาดดินใส่กระทะแล้วกดอัดด้วยมีดให้ติดก้นกระทะไม่มีฟองอากาศปาดให้เรียบ ความลึก
ของดินในกระทะประมาณ 10 มม. ดังรูปที่ 5

รูปที่ 5 การใส่ตัวอย่างดินในกระทะเครื่องมือเคาะดิน
13

5.1.5 ใช้มีดปาดร่องดินในกระทะให้เป็นร่องดินตรงกลางโดยปาดให้มีดปาดร่องดินอยู่ในตาแหน่งตั้งฉาก
กับผิวกระทะ แล้วปาดร่องดินเข้าหาตัว ดังรูปที่ 6

รูปที่ 6 การปาดร่องดิน

5.1.6 เริ่มเคาะกระทะด้วยอัตราเร็ว 120 ครั้งต่อนาที จนกระทั่งร่องดินที่ปาดไว้ไหลมาชนกันยาว


ประมาณ 13 มม. ดังรูปที่ 7 นับจานวนครั้งที่เคาะซึ่งการทดลองครั้งแรกควรมีค่าประมาณ
30-45 ครั้ง ถ้าสูงกว่านี้ให้เพิ่มปริมาณน้าแล้วทาการเคาะใหม่

รูปที่ 7 ลักษณะของดินมาบรรจบกัน
14

5.1.7 เมื่อได้จานวนครั้งที่ต้องการแล้ว ใช้มีดคลุกดินเก็บตัวอย่างบริเวณร่องที่ไหลมาชนกันประมาณ


15 กรัม ใส่ตัวอย่างดินในกระป๋องเพื่อหาค่าปริมาณความชื้น

5.1.8 ทาการทดลองครั้งต่อไปโดยการเพิ่มน้าอีกเล็กน้อย คลุกดินให้เข้ากัน ทาการทดลองตามข้อ 5.1.6


ถึง 5.1.7 โดยประมาณให้ได้จานวนครั้งในการเคาะดังนี้
25-40 ครั้ง 1ค่า
20-30 ครั้ง 1ค่า
10-25 ครั้ง 1ค่า
รวมกับค่าแรกประมาณ 30-45 ครั้งอีก 1 ค่า รวมเป็น 4-5 ค่า จึงหยุดการทดลอง
15

5.1.9 เมื่อทราบค่า ปริมาณน้าในแต่ละจานวนครั้งที่เคาะ จะสามารถหาค่าพิกัดเหลวได้ดังรูปที่ 8 ซึง่


เป็นปริมาณน้าที่การเคาะ 25 ครั้ง

รูปที่ 8 การหาค่าพิกัดเหลว
16

5.2 กำรทดสอบหำค่ำพิกัดพลำสติค (Plastic limit, PL)


5.2.1 นาดินที่แยกไว้มาผสมน้า ทดลองปั้นบนกระจกด้วยฝ่ามือดังรูปที่ 9

รูปที่ 9 การทดสอบหาค่าพิกัดพลาสติคโดยการปั้นดินเป็นเส้น

5.2.2 ปั้นดินเป็นเส้นจนกระทั่งได้เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 3.2 มม. ภายในระยะเวลาไม่เกิน 2 นาที


แล้วดินเริ่มมีรอยแตกและหักเป็นท่อนได้ง่าย โดยไม่สามารถปั้นให้เล็กว่า 3.2 มม. ได้อีก ดังรูปที่
10 แสดงว่าสถานะความชื้นของดินตรงจุดนี้เป็นพิกัดพลาสติค โดยนาดินที่แตกร้าวนี้ไปหาค่า
ปริมาณความชื้น ดังรูปที่ 11

รูปที่ 10 รอยแตกของดินที่พิกัดพลาสติค
17

รูปที่ 11 การหาปริมาณความชื้นจากการทดสอบพิกัดพลาสติค

5.3 กำรทดสอบหำค่ำพิกัดหดตัว (Shrinkage limit, SL)


5.3.1 นาดินที่แยกไว้ 100 กรัมมาผสมน้าใช้มีดคลุกดินผสมให้มีค่าปริมาณความชื้นสูงกว่าพิกัดเหลว
5.3.2 ทาวาสลีนบางๆภายในถ้วยหาค่าพิกัดหดตัว เพื่อป้องกันดินติดถ้วย

5.3.3 นาดินที่ผสมน้าไว้แล้วใส่ลงในถ้วยหาค่าพิกัดหดตัว ค่อยๆใส่ประมาณ 3-4 ชั้น พยายามอย่าให้เกิด


ฟองอากาศโดยการเคาะถ้วยลงบนโต๊ะเบาๆ ใส่ดินจนล้นปากถ้วยเอามีดปาดออกให้เรียบเสมอปาก
ถ้วย ชั่งน้าหนักดินเปียกและถ้วย นาเอาเข้าตู้อบที่อุณหภูมิ 105 ±5 ℃ เป็นเวลา 24 ชม. เพื่อหา
ปริมาณความชื้นเริ่มต้น
18

5.3.4 หลังจาก เวลา 24 ชม. นาดินออกจากตู้อบดินปล่อยให้ตัวอย่างเย็นลงจึงชั่งน้าหนักดินแห้งและถ้วย

5.3.5 ทาการหาปริมาตรของดินแห้งโดยการนาปรอทใส่ในถ้วยแก้วหาปริมาตรจนเต็มให้ทาการชั่งน้าหนัก
ของปรอทและถ้วยหาปริมาตร หลังจากนั้นนาถ้วยไปวางบนถ้วยกระเบื้องเพื่อเก็บปรอทที่ล้น
ดังรูปที่ 12
5.3.6 นาดินแห้งวางบนถ้วยปริมาตรซึ่งดินแห้งจะลอยอยู่บนปรอทหลังจากนั้นใช้แผ่น 3 ขา กดตัวอย่าง
ดินแห้งให้จมลง ปรอทที่มีปริมาตรเท่ากับดินแห้งจะล้นออกมาในถ้วยกระเบื้อง ให้ทาการชั่งน้าหนัก
ของถ้วยหาปริมาตรกับปรอทที่เหลือ

รูปที่ 12 การหาปริมาตรดินแห้งในการทดสอบพิกัดหดตัว
19

6. กำรคำนวณค่ำพิกัด Atterberg
6.1 Liquid limit = ปริมาณความชื้นที่ทาให้ดินเข้ามาบรรจบกันเป็นระยะ 13 มม. ที่จานวนครั้งการ
เคาะ 25 ครั้ง (รูปที่ 8)
6.2 Plastic limit = ปริมาณความชื้นที่ทาให้ดินเกิดการปริแตกที่เส้นผ่านศูนย์กลาง 3.2 มม.
6.3 Shinkage limit = ปริมาณความชื้นของดินที่ดินไม่มีการเปลี่ยนแปลงปริมาตรอีกต่อไป

𝑀1 −𝑀2 (𝑉𝑖 −𝑉𝑓 )𝜌𝑤


𝑆𝐿 = 𝑤𝑖 (%) − ∆𝑤(%) = × 100 − × 100
𝑀2 𝑀2

6.4 Liquidity index


𝑤𝑛 − 𝑃𝐿
𝐿𝐼 =
𝑃𝐼

7. ผลกำรทดลอง
ผลการทดลองประกอบตารางการหาค่าพิกัด Atterberg
20

King Mongkut’s University of Technology North Bangkok


DEPARTMENT OF CIVIL ENGINEERING

Liquid Limit and Plastic Limit of Soil (ASTM D 4318)


Atterberg Limits Date: ___________________________________
15-03-2022
Project : ________________________________________
- Test by: GROUP 5
___________________________________
Sample No.: ________________________________________
- Dr. Pitthaya Jamsawang
Checked by: ___________________________________
Station ________________________________________
Location : Building 89
________________________________________
Soil Description: Laterite
________________________________________
PLASTIC LIMIT NATURAL WATER CONTENT
Container No. 2 6
Weight of Wet Soil + Container g 11.43 10.10
Weight of Dry Soil + Container g 11.16 9.86
Weight of Water g 0.27 0.24
Weight of Container g 9.53 8.43
Weight of Dry Soil g 1.63 1.43
Water Content, wc % 16.56 16.78
Average Water Content % 16.67
LIQUID LIMIT
Number of Blows 45 33 20 15
Container No. 14 21 31 335
Weight of Wet Soil + Container g 14.37 18.16 17.08 15.17
Weight of Dry Soil + Container g 13.12 16.09 15.45 13.62
Weight of Water g 1.25 2.07 1.63 1.55
Weight of Container g 8.39 8.37 9.48 8.42
Weight of Dry Soil g 4.73 7.72 5.97 5.20
Water Content % 26.43 26.81 27.30 29.81

ATTERBERG LIMITS TEST


35.00 Liquid Limit, LL = __________%
27.94
30.00 Plastic Limit, PL = __________%
16.67
WATER CONTENT , %

25.00 Natural Water Content, Wn = __________%


20.00
Plasticity Index, PI =LL-PL __________%
11.27
15.00
Liquidity Index, LI =(Wn -PL)/PI __________
10.00

5.00

0.00
LOG SCALE
10 100
NUMBER OF BLOWS
21

King Mongkut’s University of Technology North Bangkok


DEPARTMENT OF CIVIL ENGINEERING

Shrinkage Limit Test (ASTM D 427)


Project : ________________________________________
Atterberg Limits Date: ___________________________________
15-03-2022
Sample No.: -
________________________________________ Test by: ___________________________________
GROUP 5
Station -
________________________________________ Checked by: ___________________________________
Dr. Pitthaya Jamsawang
Location : ________________________________________
Building 89
Soil Description: ________________________________________
Laterite

1 Mass of wet soil + coated dish (g) 77.88


2 Mass of dry soil + coated dish (g) 71.47
3 Mass of coated dish (g) 50.28
4 Mass of dry soil (g) 21.19
5 Mass of water (g) 6.41
6 Initial water content of wet soil, wi (%) 30.25
7 Diameter of coated dish (cm) 4.25
8 Hight of coated dish (cm) 1.19
9 Initial volume of wet soil, Vi (cm3) 16.881639
10 Initial mass of mercury + dish (g) 1304.16
11 Final mass of mercury + dish (g) 1144.64
12 Mass of displaced mercury (g) 159.52
13 Density of Mercury (g/ cm3) 13.50
14 Density of water (g/ cm3) 1.00
15 Final volume of dry soil, Vf (cm3) 11.82
16 Shrinkage limit, SL (%) 6.3457157
22

8.สรุปผลกำรทดลอง
จากกราฟการทดลองพบว่า
8.1 ตัวอย่างดินเม็ดละเอียด มีค่าพิกัดเหลว (Liquid limit LL) อยู่ร้อยละ 27.94
มีค่าพิกัดพลาสติค (Plastic limit Pl) อยู่ร้อยละ 16.67 ตามมาตรฐาน ASTM D 4318
และมีค่าพิกัดหดตัว (Shrinkage limit Sl) อยู่ร้อยละ 6.346 ตามมาตรฐาน ASTM D 427

9.วิจำรณ์ผลกำรทดลอง
จากการทดลองพบว่าความผิดพลาดเกิดขึ้น อาจเนื่องมาจากระหว่างการทดลองมีความคลาดเคลื่อน เช่น
ตัวอย่างดินที่ปาดไว้ไหลมาชนกันยาวมากกว่าครึ่งนิ้ว การเคาะมีอัตราเร็วที่มากเกินไป การปั้นดินเป็นเส้นที่ต้องการ
ใช้เวลาเกิน2นาที หรืออาจเกิดฟองอากาศในตัวอย่างดินที่ใช้หาพิกัดหดตัว
จากการทดลองการพบว่าตัวอย่างดินมีค่า Plastic index (PI) ร้อยละ 11.27 ซึ่งอยู่ในช่วงความเหนียว
ปานกลาง (Medium plasticity) พบว่ามีค่า Liquid limit (LL) ร้อยละ 27.94 Plasticity Index (PI) ร้อยละ
11.27 เมื่อเปรียบเทียบกับแผนภูมิความเหนียว (Plasticity chart) พบว่าเป็นดินเหนียว(clay) ที่มีความเหนียวต่า
(low plasticity) และพบแร่ชนิด Illite
23

10.ตัวอย่ำงรำยกำรคำนวณ
Mass of Water = (Mass of Wet Soil+Container) – (Mass of Dry Soil+Container)
= 11.43 – 11.16 =0.27 g
Mass of Dry Soil = (Mass of Dry Soil+Container) – (Mass of Container)
= 11.16 – 9.53 = 1.63 g
Water Content = ( Mass of Water)x100/(Mass of Dry Soil)
= 0.27x100/1.63= 16.56 %
Mass of Wet Soil – Mass of Dry Soil
Initial water content of wet soil, wi = x 100
Mass of Dry Soil
= 6.41*100/21.19 = 30.25 %
Final volume of dry soil, Vf = (Initial volume of wet soil, Vi) / ( Density of Mercury)
=159.52/13.50 = 11.82 cm3
Change in moisture content, ∆w
(Initial volume of wet soil−Final volume of dry soil)(Density of water)
= Mass of Dry Soil
x 100
= (16.881639 - 11.82)(1)(100)/ 21.19 = 23.9042843 %
Shrinkage limit, SL
= (Initial water content of wet soil, wi) – (Change in moisture content, ∆w)
=30.25 - 23.9042843 = 6.3457157 %
Plasticity Index, PI = LL – PL
= 27.94 – 16.67= 11.27 %

11.เอกสำรอ้ำงอิง
ASTM D 427-93 (1993). Standard Test Method for Shrinkage Factor of Soil by Mercury Method,
Annual Book of ASTM Standards.
ASTM D 4318-93 (1993). Standard Test Method for Liquid Limit, Plastic Limit and Plastic Index of
Soils, Annual Book of ASTM Standards.

You might also like