You are on page 1of 52

COURT OF ORGANIZATION AND JUDICIAL SYSTEM

พระธรรมนู ญศาลยุ ติ ธ รรมและระบบตุ ล าการ ครัง้ ที่ 2


วิ วัฒนาการของ
ระบบกฎหมายและศาลไทย
วิวฒ
ั นาการของ
ระบบกฎหมายและศาลไทย
 สมัยสุโขทัย
 สมัยกรุ งศรีอยุธยา
 สมัยกรุ งธนบุ รี
 สมัยกรุ งรัตนโกสินทร์
สมัยสุโขทัย
 สมัยพ่อขุนรามคาแหงมหาราช
 การปกครองและระบบสังคมยังไม่ซบั ซ้อน
 พระมหากษัตริยท์ รงใช้อานาจทางการศาลด้วยพระองค์เอง
สมัยสุโขทัย
“…ในปากประตูมกี ะดิ่งอันณึ่ งแขวนไว้หนั้ ไพร่ฟ้าหน้าปกกลางบ้านกลางเมือง
มีถอ้ ยมีความ เจ็บท้องข้องใจ มักจักกล่างเถิงเจ้าเถิงขุนบ่ไว้ ไปลัน่ กะดิ่งอันท่านแขวนไว้
พ่อขุนรามคาแหงเจ้าเมืองได้ยนิ เรียกเมือถาม สวนความแก่มนั ด้วยซื่อ
ไพร่ในเมืองสุโขทัยนี้จ่งึ ชม”
สมัยสุโขทัย
 พระมหากษัตริยท์ รงใช้อานาจทางการศาลด้วยพระองค์เอง และยังทรงมอบอานาจให้มผี ูท้ าแทน
เรียกว่า “ตระลาการ” ซึ่งมีการวางหลักเกณฑ์การพิจารณาและพิพากษาไว้ เป็ นข้อปฏิ บตั ิในการ
พิจารณาและพิพากษาคดีตอ้ งกระทาด้วยความซื่อสัตย์สุจริต บริสุทธิ์ ยุติธรรมไม่ลาเอียงเข้าข้าง
ฝ่ ายใดและไม่เห็นแก่สนิ จ้างหรือสินบน

“...ไพร่ฟ้าลูกเจ้าลูกขุน ผิแลผิแผกแสกว้างกัน สวนดูแท้แล้ว จึงแล่งความแก่ขา้ ด้วยซื่อบ่เข้า


ผูล้ กั มักผูซ้ ่อน เห็นข้าวท่านบ่ใครพินเห็นสืนท่านบ่ใคร่เดือด”
สมัยกรุ งศรีอยุ ธยา
 สภาพสังคมสมัยกรุ งศรีอยุธยามีความซับซ้อนมากขึ้น
 พระรามาธิบดีท่ี 1 (พระเจ้าอู่ทอง) พระมหากษัตริยพ์ ระองค์แรกได้รบั ขนบประเพณี จาก
พราหมณ์ท่เี ชี่ยวชาญด้านการปกครองและการวางแผนราชประเพณี เป็ นผูต้ รากฎหมายต่าง ๆ
 การพิจารณาประกอบด้วยลูกขุน ณ ศาลหลวง และ ลูกขุน ณ ศาลา
 ใช้คมั ภีรพ์ ระธรรมศาสตร์ฉบับของพระมนู สาราจารย์ โดยมีตน้ กาเนิดมาจากประเทศอินเดีย
เป็ นที่มาของกฎหมายตราสามดวงในยุคต่อมา
สมัยกรุ งธนบุ รี
 พระเจ้าตากสินมหาราชครองราชย์เป็ นระยะเวลา 15 ปี และต้องทาศึกสงครามอยู่เสมอ
จึงมิได้ปรับปรุ งด้านการศาล
 นาระบบศาลสมัยกรุ งศรีอยุธยามาใช้เท่าที่เหมาะสมกับสถานการณ์บา้ นเมืองในขณะนัน้
สมัยกรุ งรัตนโกสินทร์
1. ระบบศาลก่อนการปฏิรูปศาลไทยและสถาปนากระทรวงยุตธิ รรม
- คดีอำแดงป้ อมเป็ นชูก้ บั นำยรำชำอรรถ จึงฟ้ องหย่ำนำยบุญศรี ช่ำงเหล็กหลวงและศำล
ได้พพิ ำกษำให้หย่ำได้ตำมทีอ่ ำแดงป้ อมฟ้ อง โดยอำศัยกำรพิจำรณำคดีตำมบทกฎหมำย ทีม่ คี วำม
ว่ำ “ชำยหำผิดมิได้ หญิงขอหย่ำ ท่ำนว่ำเป็ นหญิงหย่ำชำย หย่ำได้”
- พระบำทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ ำจึงได้ทรงพระกรุณำโปรดเกล ้ำฯ ให้ชำระกฎหมำยเก่ำที่
มีมำตัง้ แต่สมัยอยุธยำเกิดเป็ น “กฎหมำยตรำสำมดวง”
สมัยกรุ งรัตนโกสินทร์
2. ระบบศาลตัง้ แต่การปฏิรูปการศาลไทยและการสถาปนากระทรวงยุตธิ รรม
- ไทยเสียสิทธิสภำพนอกอำณำเขต
- จำเป็ นต้องปรับปรุงและพัฒนำกระบวนกำรยุติธรรมโดยเร่งด่วน
- มีกำรยกเลิกจำรีตนครบำล
ปัจจุ บนั
ระบบศาลตามรัฐธรรมนู ญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 มาตรา 3 บัญญัติว่า
“อานาจอธิปไตยเป็ นของปวงชนชาวไทย พระมหากษัตริ ยผ์ ู ท้ รงเป็ นประมุ ข ทรงใช้
อานาจนัน้ ทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาล ตามบทบัญญัตแิ ห่งรัฐธรรมนู ญ
รัฐสภำ คณะรัฐมนตรี ศำล องค์กรอิสระ และหน่ วยงำนของรัฐ ต้องปฏิบตั ิหน้ำทีใ่ ห้
เป็ นไปตำมรัฐธรรมนู ญ กฎหมำย และหลักนิติธรรม เพือ่ ประโยชน์ส่วนรวมของประเทศชำติและ
ควำมผำสุกของประชำชนโดยรวม”
อำนำจอธิปไตย

บริหำร นิ ติบญ
ั ญัติ ตุลำกำร
ตุ ลาการ
ระบบศาลตามรัฐธรรมนู ญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 มาตรา 188 บัญญัติว่า
“การพิจารณาพิพากษาอรรถคดีเป็ นอานาจของศาล ซึ่ งต้องดาเนิ นการให้เป็ นไปตาม
กฎหมาย และในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย ์
ผู พ้ ิพากษาและตุ ลาการย่อมมีอิสระในการพิจารณาพิพากษาอรรถคดีตามรัฐธรรมนู ญ
และกฎหมาย ให้เป็ นไปโดยรวดเร็ว เป็ นธรรม และปราศจากอคติทงั้ ปวง”
ศาลรัฐธรรมนูญ

ศาลปกครอง
ระบบศาลไทย
ศาลทหาร

ศาลยุตธิ รรม
1. ศาลรัฐธรรมนู ญ
1. ศาลรัฐธรรมนู ญ

- ศาลรัฐธรรมนู ญบัญญัติอยู่ในรัฐธรรมนู ญหมวด 11


- ส่วนศาลยุติธรรม ศาลปกครอง ศาลทหาร บัญญัติอยู่ในรัฐธรรมนู ญหมวด 10
1. ศาลรัฐธรรมนู ญ

ศาลรัฐธรรมนู ญเป็ นกลไกหลักสาคัญ ในการทาหน้าที่ตีความรัฐธรรมนู ญ ว่ากฎหมาย


ใดจะขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนู ญมิได้
 มีอานาจหน้าที่ท่สี าคัญดังนี้
- พิทกั ษ์รฐั ธรรมนู ญการคุม้ ครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน
- การคุม้ ครองประโยชน์สาธารณะ
- การธารงรักษาไว้ซง่ึ การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยท์ รง
เป็ นประมุข
 ใช้วธิ ีพจิ ารณาในระบบไต่สวน
1. ศาลรัฐธรรมนู ญ
 รัฐธรรมนู ญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา ๒๐๐ กาหนดให้ศาลรัฐธรรมนู ญ ประกอบด้วย
“ประธานศาลรัฐธรรมนู ญ 1 คน + ตุลาการศาลรัฐธรรมนู ญอืน่ 8 คน = 9 คน”
พระมหากษัตริยท์ รงแต่งตัง้ ตุลาการศาลรัฐธรรมนู ญตามคาแนะนาของวุฒสิ ภา ประกอบด้วย
1. ผูพ้ พิ ากษาศาลฎีกา จานวน 3 คน
2. ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด จานวน 2 คน
3. ผูท้ รงคุณวุฒสิ าขานิตศิ าสตร์ จานวน 1 คน
4. ผูท้ รงคุณวุฒสิ าขารัฐศาสตร์หรือรัฐประศาสนศาสตร์ จานวน 1 คน
5. ผูท้ รงคุณวุฒอิ น่ื จานวน 2 คน
1. ศาลรัฐธรรมนู ญ
 ตุลาการศาลรัฐธรรมนู ญต้องมีคณ
ุ สมบัตดิ งั ต่อไปนี้ ด้วย
(๑) มีสญั ชาติไทยโดยการเกิด
(๒) มีอายุไม่ตา่ กว่าสี่สบิ ห้าปี แต่ไม่ถึงหกสิบแปดปี ในวันที่ได้รบั การคัดเลือกหรือวันสมัคร
เข้ารับการสรรหา
(๓) สาเร็จการศึกษาไม่ตา่ กว่าปริญญาตรีหรือเทียบเท่า
(๔) มีความซื่อสัตย์สจุ ริตเป็ นที่ประจักษ์
(๕) มีสุขภาพที่สามารถปฏิบตั หิ น้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ”
1. ศาลรัฐธรรมนู ญ
 ตุลาการศาลรัฐธรรมนู ญมีวาระการดารงตาแหน่ งเจ็ดปี นบั แต่วนั ที่พระมหากษัตริยท์ รงแต่งตัง้
 ดารงตาแหน่ งได้เพียงวาระเดียว
อานาจศาลรัฐธรรมนู ญ
 ข้อกาหนดของศาลรัฐธรรมนู ญว่าด้วยวิธีพจิ ารณาและการทาคาวินิจฉัย พ.ศ. 2550
 ศาลรัฐธรรมนู ญมีอานาจหน้าที่วนิ ิ จฉัยคดีท่มี ีการขอวินิจฉัยว่า
1. บุคคลใดกระทาการโดยใช้สทิ ธิหรือเสรีภาพเพือ่ ลม้ ลา้ งการปกครองระบอบประชาธิป ไตยอันมี
พระมหากษัตริยท์ รงเป็ นประมุขตามรัฐธรรมนู ญหรือไม่
2. สมาชิ ก ภาพของสมาชิ ก สภาผู แ้ ทนราษฎรหรื อ สมาชิ ก รัฐ สภาคนใดคนหนึ่ ง สิ้น สุ ด ตาม
บทบัญญัตขิ องรัฐธรรมนู ญหรือไม่
3. การพิจ ารณาร่ า งพระราชบัญ ญัติ ง บประมาณของสภาผู แ้ ทนราษฎรหรื อ วุ ฒิ ส ภา หรื อ
คณะกรรมาธิการ มีผลให้สมาชิกของสภาดังกล่าว หรือกรรมาธิการมีส่วนในการใช้งบประมาณนัน้ หรือไม่
อานาจศาลรัฐธรรมนู ญ
4. ร่างพระราชบัญญัติใดที่รฐั สภาให้ความเห็นชอบแลว้ ก่อนที่นายกรัฐมนตรีจะนาขึ้นทูลเกลา้
ทูลกระหม่อมถวายเพือ่ พระมหากษัตริยท์ รงลงพระปรมาภิไธย มีขอ้ ความขัดหรือแย้งต่อรัฐ ธรรมนู ญ หรือ
ตราไม่ถกู ต้องตามบทบัญญัตแิ ห่งรัฐธรรมนู ญหรือไม่
5. ร่างข้อบังคับการประชุมสภาผูแ้ ทนราษฎร วุฒสิ ภา หรือรัฐสภาที่ผ่านความเห็น ชอบแลว้ ก่อน
นาไปประกาศในราชกิจจานุเบกษา มีขอ้ ความขัดหรือแย้งหรือตราไม่ถกู ต้องต่อรัฐธรรมนู ญ หรือไม่
6. ความเป็ นรัฐมนตรีส้นิ สุดลงเฉพาะตัวตามรัฐธรรมนู ญหรือไม่
7. การตราพระราชกาหนดเป็ นไปตามบทบัญญัตแิ ห่งรัฐธรรมนู ญหรือไม่
8. หนังสือสัญญาใดมีบทเปลีย่ นแปลงอาณาเขตไทยหรือเขตพื้นทีน่ อกอาณาเขตซึง่ ประเทศไทยมี
สิทธิอธิปไตยฯ ต้องได้รบั ความเห็นชอบของรัฐสภาตามรัฐธรรมนู ญหรือไม่
อานาจศาลรัฐธรรมนู ญ
9. บทบัญญัตแิ ห่งกฎหมายที่ศาลยุตธิ รรม ศาลปกครอง หรือศาลทหารจะใช้บงั คับแก่ คดีใด ขัด
หรือแย้งต่อรัฐธรรมนู ญหรือไม่
10. การกระทาใดขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนู ญ ตามคาร้องของบุคคลซึ่งถูกละเมิดสิท ธิเสรีภาพที่
รัฐธรรมนู ญคุม้ ครองไวห้ รือไม่
11. ปัญหาเกี่ยวกับอานาจหน้าที่ของสภาผูแ้ ทนราษฎร วุฒสิ ภา รัฐสภา คณะรัฐมนตรี หรือองค์
อิสระ ตามรัฐธรรมนู ญ
12. บทบัญญัติแห่งกฎหมายใด มีปญ
ั หาเกี่ยวกับความชอบด้วยรัฐธรรมนู ญ ตามคาร้องของ
ผูต้ รวจการแผ่นดินหรือไม่
13. คดี ท่ี ข อให้วิ นิ จ ฉั ย ว่ า ร่ า งพระราชบัญ ญัติ ใ ดที่ ส ภาผู แ้ ทนราษฎร วุ ฒิ ส ภ า เห็ น ว่ า
คณะรัฐมนตรีหรือสภาผูแ้ ทนราษฎร ได้เสนอร่างทีต่ อ้ งยับยัง้ ไว ้ ตามรัฐธรรมนู ญหรือไม่
อานาจศาลรัฐธรรมนู ญ
14. คดีทข่ี อให้วนิ ิจฉัยร่างรัฐธรรมนู ญแก้ไขเพิม่ เติม
15. คดีทร่ี ฐั ธรรมนู ญหรือกฎหมายอืน่ ให้เป็ นอานาจหน้าทีข่ องรัฐธรรมนู ญ ในการวินิจฉัย
องค์คณะศาลรัฐธรรมนู ญ
 ในการนั ่ง พิ จ ารณาและท าค าวิ นิ จ ฉั ย ต้อ งประกอบด้ว ยตุ ล าการศาลรัฐ ธรรมนู ญ
ไม่นอ้ ยกว่า 7 คน
 ถือเสียงข้างมากในการวินิจฉัย (เว้นแต่กรณี กฎหมายบัญญัติไว้เป็ นกรณี พเิ ศษ)
 องค์คณะทุกคนต้องทาความเห็นในการวินิจฉัยในส่วนของตน
 คาวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนู ญ ให้เป็ นเด็ดขาด มีผลผู กพันรัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล
องค์กรอิสระ และหน่ วยงานของรัฐ
2. ศาลปกครอง
2. ศาลปกครอง
 รัฐธรรมนู ญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 มาตรา 197
“ศาลปกครองมีอานาจพิจารณาพิพากษาคดีปกครองอันเนื่องมาจากการใช้อานาจทาง
ปกครองตามกฎหมายหรือเนื่องมาจากการดาเนินกิจการทางปกครอง
ให้มศี าลปกครองสูงสุดและศาลปกครองชัน้ ต้น
อานาจศาลปกครองตามวรรคหนึ่ง ไม่รวมถึงการวินิจฉัยชี้ขาดขององค์กรอิสระซึง่ เป็ น
การใช้อานาจโดยตรงตามรัฐธรรมนู ญขององค์กรอิสระนัน้ ๆ
การจัดตัง้ วิธพี จิ ารณาคดี และการดาเนินงานของศาลปกครองให้เป็ นไปตามกฎหมาย
ว่าด้วยการนัน้ ”
2. ศาลปกครอง
 พระราชบัญญัตจิ ดั ตัง้ ศาลปกครองและวิธีพจิ ารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542 มาตรา 7 แบ่ง
ศาลปกครองออกเป็ น 2 ชัน้ คือ
1. ศาลปกครองสูงสุด
2. ศาลปกครองชัน้ ต้น แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท
ประเภทที่ 1 ศาลปกครองกลาง มีเขตศาลตลอดท้องที่ของกรุงเทพฯ และจังหวัด อื่น
เช่น นนทบุรี นครปฐม ปทุมธานี สมุทรปราการ สมุทรสาคร สมุทรสงคราม
ประเภทที่ 2 ศาลปกครองในภูมิภาค เช่น ศาลปกครองเชียงใหม่ ศาลปกครองสงขลา
ศาลปกครองระยอง เป็ นต้น
อานาจศาลปกครอง
 ศาลปกครองมีอานาจพิจารณาพิพากษาคดี รวม 6 ประเภท
(1) คดีพพิ าทเกี่ยวกับการที่หน่ วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐกระทาการโดย
ไม่ชอบด้วยกฎหมาย ไม่ว่าจะเป็ นการออกกฎ คาสัง่ หรือการกระทาอื่นใดเนื่องจากกระทาโดย
ไม่มอี านาจหรือนอกเหนืออานาจหน้าที่หรือไม่ถูกต้องตามกฎหมาย หรือโดยไม่ ถูกต้องตาม
รู ปแบบขัน้ ตอน หรือวิธีการอันเป็ นสาระสาคัญที่กาหนดไว้สาหรับการกระทานัน้ หรือโดยไม่
สุจริต หรือมีลกั ษณะเป็ นการเลือกปฏิบตั ทิ ไ่ี ม่เป็ นธรรม หรือมีลกั ษณะเป็ นการสร้างขัน้ ตอนโดย
ไม่จาเป็ นหรือสร้างภาระให้เกิดกับประชาชนเกินสมควรหรือเป็ นการใช้ดุลพินิจโดยมิชอบ
(2) คดีพิพาทเกี่ยวกับการที่หน่ วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐละเลย ต่อ
หน้าที่ตามที่กฎหมายกาหนดให้ตอ้ งปฏิบตั ิ หรือปฏิบตั ิหน้าที่ดงั กล่าวล่าช้าเกินสมควร
อานาจศาลปกครอง
(3) คดีพิพาทเกี่ยวกับการกระทาละเมิดหรือความรับผิดอย่างอื่นของหน่ วยงาน ทาง
ปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐอันเกิดจากการใช้อานาจตามกฎหมาย หรือจากกฎ คาสัง่ ทาง
ปกครอง หรือคาสัง่ อื่น หรือจากการละเลยต่อหน้าที่ตามที่กฎหมายกาหนดให้ตอ้ งปฏิบตั ิหรือ
ปฏิบตั หิ น้าทีด่ งั กล่าวล่าช้าเกินสมควร
(4) คดีพพิ าทเกี่ยวกับสัญญาทางปกครอง
(5) คดีท่ีมีกฎหมายกาหนดให้หน่ วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐฟ้ องคดีต่อ
ศาลเพื่อบังคับให้บคุ คลต้องกระทาหรือละเว้นกระทาอย่างหนึ่ งอย่างใด
(6) คดีพพิ าทเกี่ยวกับเรื่องที่มีกฎหมายกาหนดให้อยู่ในเขตอานาจศาลปกครอง
อานาจศาลปกครอง
เรื่องดังต่อไปนี้ ไม่อยู่ในอานาจศาลปกครอง
(1) การดาเนินการเกี่ยวกับวินยั ทหาร
(2) การดาเนินการของคณะกรรมการตุลาการตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการ
ฝ่ ายตุลาการ
(3) คดีทอ่ี ยู่ในอานาจของศาลเยาวชนและครอบครัว ศาลแรงงาน ศาลภาษีอากร ศาล
ทรัพย์สนิ ทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ ศาลล ้มละลาย หรือศาลชานัญพิเศษอื่น
องค์คณะศาลปกครอง
 องค์คณะในการพิจารณาพิพากษาคดี
- ในศาลปกครองสูงสุด ต้องมีตลุ าการในศาลปกครองสูงสุดอย่างน้อย 5 คน
- ในศาลปกครองชัน้ ต้น ต้องมีตลุ าการในศาลปกครองชัน้ ต้นอย่างน้อย 3 คน
 ตัดสินตามเสียงข้างมาก
- ในศาลปกครองชัน้ ต้น ฝ่ ายเสียงข้างน้อยอาจทาความเห็นแย้งได้
3. ศาลทหาร
3. ศาลทหาร
 รัฐธรรมนู ญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 มาตรา 199
“ศาลทหารมีอานาจพิจารณาพิพากษาคดีอาญาที่ผูก้ ระทาความผิดเป็ นบุคคลซึ่งอยู่ใน
อานาจศาลทหารและคดีอน่ื ทัง้ นี้ ตามทีก่ ฎหมายบัญญัติ
การจัดตัง้ วิธีพจิ ารณาคดี และการดาเนินงานของศาลทหาร ตลอดจนการแต่งตั้งและ
การให้ตลุ าการศาลทหารพ้นจากตาแหน่ง ให้เป็ นไปตามทีก่ ฎหมายบัญญัติ”
3. ศาลทหาร
 พระราชบัญญัตธิ รรมนู ญศาลทหาร พ.ศ. ๒๔๙๘ มาตรา ๑๖ บัญญัตวิ ่า “บุคคลที่อยู่ในอานาจศาลทหาร คือ
(๑) นายทหารชัน้ สัญญาบัตรประจาการ
(๒) นายทหารชัน้ สัญญาบัตรนอกประจาการ เฉพาะเมือ่ กระทาผิดต่อคาสังหรื
่ อข้อบังคับตามประมวลกฎหมายอาญาทหาร
(๓) นายทหารประทวนและพลทหารกองประจาการหรือประจาการ หรือบุคคลทีร่ บั ราชการทหารตามกฎหมายว่าด้วยการรับราชการ
ทหาร
(๔) นักเรียนทหารตามทีก่ ระทรวงกลาโหมกาหนด
(๕) ทหารกองเกินทีถ่ กู เข้ากองประจาการ ซึง่ เจ้าหน้าทีฝ่ ่ ายทหารได้รบั ตัวไว้เพือ่ ให้เข้ารับราชการประจาอยู่ในหน่วยทหาร
(๖) พลเรือนทีส่ งั กัดอยู่ในราชการทหาร เมือ่ กระทาผิดในหน้าทีร่ าชการทหาร หรือกระทาผิดอย่างอืน่ เฉพาะในหรือบริเวณ อาคาร
ทีต่ งั้ หน่วยทหาร ทีพ่ กั ร้อน พักแรม เรือ อากาศยาน หรือยานพาหนะใด ๆ ในความควบคุมของเจ้าหน้าทีฝ่ ่ ายทหาร
(๗) บุคคลซึง่ ต้องขังหรืออยู่ในความควบคุมของเจ้าหน้าทีฝ่ ่ ายทหารโดยชอบด้วยกฎหมาย
(๘) เชลยศึกหรือชนชาติศตั รูซง่ึ อยู่ในความควบคุมของเจ้าหน้าทีฝ่ ่ ายทหาร”
3. ศาลทหาร
 ศาลทหารสังกัดกระทรวงกลาโหม
 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมมีหน้าที่รบั ผิดชอบในงานธุรการของศาลให้เป็ นไปโดย
เรียบร้อย
 การพิจารณาพิพากษาหรือมีคาสังในคดี
่ ให้อยู่ในดุลพินิจของศาลทหารโดยเฉพาะ
3. ศาลทหาร
 ศาลทหารมี 2 ประเภท คือ
1. ศาลทหารในเวลาไม่ปกติ หมายถึง ศาลทหารในเวลาทีม่ กี ารรบหรือสงครามหรือ มี
การประกาศกฎอัยการศึก
2. ศาลทหารในเวลาปกติ มีการแบ่งศาลทหารออกเป็ น 3 ชัน้ คือ ศาลทหารชัน้ ต้น
ศาลทหารกลาง ศาลทหารสูงสุด
3. ศาลทหาร
 ในศาลทหารชัน้ ต้นแบ่งออกเป็ น 4 ประเภท ได้แก่
1. ศาลจังหวัดทหาร
2. ศาลมณฑลทหาร
3. ศาลทหารกรุงเทพ
4. ศาลประจาหน่วยทหาร
3. ศาลทหาร
 ผูก้ ระทาความผิดเป็ นบุคคลที่อยู่ในเขตอานาจของศาลทหารในขณะกระทาความผิด คือ
1. นายทหารชัน้ สัญญาบัตรประจาการ
2. นายทหารชัน้ สัญญานอกประจาการ
3. นายทหารประทวน และพลทหารกองประจาการหรือประจาการ หรือบุคคลที่รบั ราชการทหารตามกฎหมาย
ว่าด้วยการรับราชการทหาร
4. นักเรียนทหารตามที่กระทรวงกลาโหมกาหนด
5. ทหารกองเกินที่ถูกเข้ากองประจาการ
6. พลเรือนที่สงั กัดอยู่ในราชการทหาร
7. บุคคลที่ตอ้ งขังหรืออยู่ในความควบคุมของเจ้าหน้าที่ฝ่ายทหาร
8. เชลยศึกซึ่งอยู่ในความควบคุมของเจ้าหน้าที่ฝ่ายทหาร
3. ศาลทหาร
 คดีท่ไี ม่อยู่ในอานาจศาลทหาร
1. คดีท่บี คุ คลที่อยู่ในอานาจศาลทหารกับบุคคลที่ไม่ได้อยู่ในอานาจศาลทหารกระทาผิดด้วยกัน
2. คดีท่เี กี่ยวพันกับคดีท่อี ยู่ในอานาจของศาลพลเรือน
3. คดีท่ตี อ้ งดาเนิ นในศาลเยาวชนและครอบครัว
4. คดีท่ศี าลทหารเห็นว่าไม่อยู่ในอานาจศาลทหาร
4. ศาลยุติธรรม
4. ศาลยุติธรรม
 รัฐธรรมนู ญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 มาตรา 194
“ศาลยุติธรรมมีอานาจพิจารณาพิพากษาคดีทงั้ ปวง เว้นแต่ คดีท่ีรฐั ธรรมนู ญหรือ
กฎหมายบัญญัตใิ ห้อยู่ในอานาจของศาลอืน่
การจัดตัง้ วิธีพจิ ารณาคดี และการดาเนินงานของศาลยุตธิ รรมให้เป็ นไปตามกฎหมาย
ว่าด้วยการนัน้ ”
คาพิพากษาฎีกาที่ 7696/2548
จาเลยทัง้ สิบห้าเป็ นคณะกรรมการตุลาการศาลยุตธิ รรมตามที่รฐั ธรรมนู ญแห่งราชอาณาจักรไทย พุท ธศักราช 2540
มาตรา 274 และพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการฝ่ ายตุลาการศาลยุติธรรม พ.ศ.2543 บัญญัติให้มขี ้นึ การดาเนินงานของ
คณะกรรมการตุลาการศาลยุตธิ รรมเป็ นการใช้อานาจในการบริหารงานบุคคล และเป็ นการกระทาทางปกครองประเภทหนึ่ ง ถ้า
การดาเนินงานของคณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรมไม่ชอบด้วยกฎหมาย ผูม้ สี ทิ ธิเสนอคดีย่อมนาคดีข้นึ สู่การวินิจฉัยของ
ศาลได้ แต่เนื่องจากพระราชบัญญัตจิ ดั ตัง้ ศาลปกครองและวิธพี จิ ารณาคดีปกครอง พ.ศ.2542 มาตรา 9 วรรคสอง (2) บัญญัติ
ว่า การดาเนินการของคณะกรรมการตุลาการตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการฝ่ ายตุลาการ ไม่อยู่ในอานาจศาลปกครอง
และรัฐธรรมนู ญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 มาตรา 271 บัญญัตวิ ่า "ศาลยุตธิ รรมมีอานาจพิจารณาพิพากษาคดี
ทัง้ ปวง เว้นแต่คดีท่ีรฐั ธรรมนู ญนี้หรือกฎหมายบัญญัติให้อยู่ในอานาจของศาลอื่น " ดังนั้น คดีท่ีโจทก์ซ่ึงเป็ นผู ส้ มัครสอบ
คัดเลือกเพื่อบรรจุเป็ นข้าราชการตุลาการในตาแหน่ งผูช้ ่ วยผูพ้ พิ ากษากล่าวอ้างว่าการดาเนิ นงานของคณะกรรมการตุลาการ
ศาลยุตธิ รรมที่เกี่ยวกับการไม่รบั สมัครสอบโจทก์ไม่ชอบด้วยกฎหมาย จึงอยู่ในอานาจศาลยุตธิ รรม
4. ศาลยุติธรรม
 ศาลยุติธรรมแต่เดิมเป็ นศาลที่อยู่ในสังกัดกระทรวงยุติธรรม
 รัฐธรรมนู ญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ได้แยกศาลยุติธรรมดังกล่าวออกเป็ นอิสระ
จากกระทรวงยุ ติ ธ รรม และมี พ ระธรรมนู ญศาลยุ ติ ธ รรมฉบับ ใหม่ พ.ศ. 2543 จัด ตั้ง
สานักงานศาลยุตธิ รรมเป็ นหน่ วยงานธุรการขึ้นทาหน้าที่บริหารงานธุรการของศาลยุติธรรม
เดิม ปัจจุบนั
กระทรวงยุติธรรม ศาลยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม

ศาลยุติธรรม
4. ศาลยุติธรรม
 พระธรรมนู ญศาลยุติธรรม มาตรา 1
“ศาลยุติธรรมตามพระธรรมนู ญนี้ มสี ามชัน้ คือ ศาลชัน้ ต้น ศาลชัน้ อุ ทธรณ์ และศาล
ฎีกา เว้นแต่จะมีกฎหมายบัญญัติไว้เป็ นอย่างอื่น”
4. ศาลยุติธรรม
 ศาลยุติธรรมแบ่งออกเป็ น 3 ชัน้
1. ศาลชัน้ ต้น
2. ศาลชัน้ อุทธรณ์
3. ศาลฎีกา
กรณี มีปญั หาเกี่ยวกับอานาจหน้าที่ระหว่างศาล

ระบบศาลตามรัฐธรรมนู ญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 มาตรา 192 บัญญัติว่า


“ในกรณีท่มี ปี ญั หาเกี่ยวกับหน้าที่และอานาจระหว่างศาลยุติธรรม ศาลปกครอง หรือ
ศาลทหาร ให้พจิ ารณาวินิจฉัยชี้ขาดโดยคณะกรรมการซึ่งประกอบด้วยประธานศาลฎี กาเป็ น
ประธาน ประธานศาลปกครองสู งสุด หัวหน้าสานักตุลาการทหาร และผูท้ รงคุณวุฒิ อ่นื อีกไม่
เกินสีค่ นตามทีก่ ฎหมายบัญญัติ เป็ นกรรมการ
หลักเกณฑ์และวิธกี ารชี้ขาดปัญหาเกี่ยวกับหน้าทีแ่ ละอานาจระหว่างศาลตามวรรคหนึ่ง
ให้เป็ นไปตามทีก่ ฎหมายบัญญัต”ิ
กรณี มีปญั หาเกี่ยวกับอานาจหน้าที่ระหว่างศาล

 คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอานาจหน้าที่ระหว่างศาล ประกอบด้วย
- ประธานศาลฎีกา ประธาน
- ประธานศาลปกครองสูงสุด กรรมการ
- หัวหน้าสานักตุลาการทหาร กรรมการ
- ผูท้ รงคุณวุฒอิ น่ื อีกไม่เกินสีค่ นตามทีก่ ฎหมายบัญญัติ กรรมการ
อ้างอิง

 บทความ “ระบบศาลตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 และพระ


ธรรมนูญศาลยุติธรรม” โดยนายพงษ์ธวัฒน์ บุญพิทกั ษ์ ที่มา
https://www.parliament.go.th/ewtadmin/ewt/elaw_parcy/ewt_dl_link.php?nid=224
4

You might also like