You are on page 1of 47

Criminal Law

กฎหมายอาญา
อ.ชไมพร ไทยดำรงเดช
สำขำวิชำนิติศำสตร์ มหำวิทยำลัยนครพนม
ควำมหมำยและลักษณะของกฎหมำยอำญำ

• กฎหมำยอำญำ หมายถึง กฎหมำยมหำชนที่กาหนดความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับ


เอกชน โดยบัญญัติถึงควำมผิดและโทษ กล่าวคือ เป็ นกฎหมายที่บญั ญัติวา่ การ
กระทาหรื อไม่ กระทาการอย่างใดเป็ นความผิด และกาหนดโทษที่จะลงแก่
ผูก้ ระทาความผิดไว้ดว้ ย ซึ่ งโทษที่จะลงแก่ผกู ้ ระทาความผิดต้องบัญญัติไว้ใน
กฎหมายอยูก่ ่อนการกระทาความผิด
ลักษณะของกฎหมำยอำญำ
1. หลักไม่ มีควำมผิด ไม่ มีโทษ โดยไม่ มีกฎหมำย
• (Nullum crimen, nulla poena sine
lege)
2. กฎหมำยอำญำจะย้ อนหลังเป็ นผลร้ ำยมิได้
3. กฎหมำยอำญำต้ องบัญญัตใิ ห้ ชัดเจนแน่ นอน
4. กฎหมำยอำญำต้ องตีควำมโดยเคร่ งครัด
หลักไม่ มีควำมผิด ไม่ มีโทษ โดยไม่ มีกฎหมำย
• (Nullum crimen, nulla poena sine lege)
• หมายถึง ผูก้ ระทาไม่ตอ้ งรับผิดในทางอาญา หากการกระทานั้นไม่มกี ฎหมาย
บัญญัติไว้ในขณะกระทาว่าเป็ นความผิดและกาหนดโทษไว้ เช่น การฆ่าตัวตาย
การมีชู้ ไม่เป็ นความผิดอาญาเพราะไม่มีกฎหมายบัญญัติเป็ นความผิด
กฎหมำยอำญำจะย้ อนหลังเป็ นผลร้ ำยมิได้
1. หากในขณะกระทาไม่มีกฎหมายบัญญัติเป็ นความผิด ต่อมาจะมีการออก
กฎหมายย้อนหลังโดยถือว่าการกระทานั้นเป็ นความผิดไม่ได้
2. หากในขณะกระทามีกฎหมายบัญญัติเป็ นความผิดและกาหนดโทษไว้ ต่อมา
จะมีการออกกฎหมายย้อนหลังเพิม่ โทษการกระทาดังกล่าวให้หนักขึ้นไม่ได้
• ข้ อสั งเกต กฎหมายอาญาย้ อนหลังเป็ นคุณแก่ ผ้ กู ระทำควำมผิดได้ และ
วิธีการเพื่อความปลอดภัยสามารถย้อนหลังได้เพราะไม่ใช่โทษในทางอาญา เช่น
การกักกัน การคุมตัวไว้ในสถานพยาบาล หรื อการห้ามประกอบอาชีพบางอย่าง
เป็ นต้น
กฎหมำยอำญำต้ องบัญญัติให้ ชัดเจนแน่ นอน
• เหตุผลที่ตอ้ งบัญญัติให้ชดั เจนแน่นอนก็เพื่อให้ประชาชนผูซ้ ่ ึ งอยูภ่ ายใต้กฎหมาย
ได้มีโอกาสรู ้ล่วงหน้าว่า การกระทาหรื อการไม่กระทาของตนนั้นมีกฎหมาย
บัญญัติเป็ นความผิดหรื อไม่ และเพื่อลดการบังคับใช้กฎหมายโดยเลือกปฏิบตั ิ
และโดยอาเภอใจของเจ้าหน้าที่รัฐ ดังนั้น บทบัญญัติของกฎหมายอาญาต้องมี
ความชัดเจนแน่นอน ปราศจากความคลุมเครื อ
• ตัวอย่ำง กฎหมายที่คลุมเครื อ เช่น ผูใ้ ดกระทาการใด ๆ อันขัดต่อความ
สงบเรียบร้ อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน ผูน้ ้ นั จะต้องถูกลงโทษตามทีศ่ าล
เห็นสมควร
กฎหมำยอำญำต้ องตีควำมโดยเคร่ งครัด
• หมายความว่า
1. จะนาบทกฎหมายใกล้เคียง (Analogy) มาใช้ให้เป็ นผลร้ายไม่ได้
2. จะนาจารี ตประเพณี มาใช้ให้เป็ นผลร้ายไม่ได้
3. จะนาหลักกฎหมายทัว่ ไปมาใช้ให้เป็ นผลร้ายไม่ได้
ประมวลกฎหมายอาญา
• ประมวลกฎหมายอาญาฉบับปัจจุบนั มีผลบังคับใช้เมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๐ เพื่อใช้แทนกฎหมาย
ลักษณะอาญา ร.ศ. ๑๒๗ โดยประมวลกฎหมายอาญาฉบับปัจจุบนั แบ่งออกเป็ น ๓ ภาค ดังนี้
• ภำค ๑ บทบัญญัติทวั่ ไป ประกอบด้วยหลักเกณฑ์ทวั่ ไปของกฎหมายอาญา ซึ่ งได้แก่ บท
นิยาม การใช้กฎหมายอาญา โทษ ความรับผิดในทางอาญา การกระทาโดยเจตนาและโดย
ประมาท เหตุยกเว้นความผิด เหตุยกเว้นโทษ การพยายามกระทาความผิด ตัวการ ผูใ้ ช้ และ
ผูส้ นับสนุน เป็ นต้น
• ภำค ๒ ควำมผิด ประกอบด้วยบทบัญญัติที่กล่าวถึงลักษณะความผิดเฉพาะเรื่ องและกาหนด
โทษสาหรับความผิดนั้น ๆ ซึ่งได้แก่ ความผิดเกี่ยวกับความมัน่ คงแห่งราชอาณาจักร การ
ปกครอง การยุติธรรม ชีวติ และร่ างกาย เสรี ภาพและชื่อเสี ยง และทรัพย์ เป็ นต้น
• ภำค ๓ ลหุโทษ ประกอบด้วยบทบัญญัติที่กล่าวถึงลักษณะความผิดเล็กน้อยที่ระวางโทษจาคุก
ไม่เกิน ๑ เดือนหรื อปรับไม่เกิน ๑,๐๐๐ บาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ
ประเภทของความผิดอาญา

ควำมผิดอำญำ ควำมผิดต่ อ
แผ่ นดิน ส่ วนตัว
ความผิดอาญาแผ่ นดิน
• หมายถึง ความผิดที่นอกจากผูเ้ สี ยหายจะได้รับผลร้ายจากการกระทา
นั้นแล้ว รัฐหรื อสังคมส่ วนรวมยังได้รับผลร้ายจากการกระทานั้นด้วย
เช่น ความผิดฐานฆ่าคนตาย ลักทรัพย์ ทาร้ายร่ างกาย ก่อการร้าย เจ้า
พนักงานปฏิบตั ิหน้าที่โดยมิชอบ เป็ นต้น
• ความผิดอาญาประเภทนี้ผมู ้ ีสิทธิฟ้องคดีมี ๒ ประเภท ได้แก่ ผูเ้ สี ยหาย
และพนักงานอัยการ อีกทั้งผูเ้ สี ยหายไม่สามารถยอมความเพื่อระงับคดี
ได้
ความผิดต่ อส่ วนตัว

• หมายถึง ความผิดที่ผเู ้ สี ยหายได้รับผลร้ายจากการกระทานั้น


โดยเฉพาะ เช่น ความผิดฐานบุกรุ ก ฉ้อโกง ยักยอกทรัพย์ หมิ่น
ประมาท หน่วงเหนี่ยวกักขัง เป็ นต้น
• ความผิดอาญาประเภทนี้ผเู ้ สี ยหายเท่านั้นที่มีสิทธิฟ้องคดี โดย
ผูเ้ สี ยหายต้องร้องทุกข์ภายใน ๓ เดือนนับแต่วนั ที่รู้เรื่ องและรู ้ตวั
ผูก้ ระทาความผิด มิฉะนั้นคดีจะขาดอายุความ อีกทั้งผูเ้ สี ยหายสามารถ
ยอมความเพื่อระงับคดีได้
โครงสร้างความรับผิดทางอาญา
1. กระทำครบองค์ ประกอบของควำมผิด

บุคคลจะต้อง
2. กำรกระทำนั้นไม่ มกี ฎหมำยยกเว้ นควำมผิด รับผิดทาง
(อำนำจกระทำกำร หรื อ หลักควำมผิด) อาญาก็
ต่อเมื่อ
3. กำรกระทำนั้นไม่ มกี ฎหมำยยกเว้ นโทษ
(ควำมชั่ว)
1. กำรกระทำครบองค์ ประกอบที่กฎหมำย
บัญญัติ

1. การกระทาครบองค์ประกอบภายนอกของ
ความผิด
2. การกระทาครบองค์ประกอบภายในของความผิด
3. ผลของการกระทาสัมพันธ์กบั การกระทา
กำรกระทำ (action)
• หมายถึง การเคลื่อนไหวร่ างกายหรื อการไม่เคลื่อนไหวร่ างกายโดยรู ้สานึก กล่าวคือ อยู่
ใต้บงั คับของจิตใจ ซึ่งหมายความว่า จะต้องมีการคิด ตกลงใจ และกระทาไปตามที่ตก
ลงใจอันสื บเนื่องมาจากความคิดนั้น เช่น แดงโกรธดาจึงใช้ปืนยิงดาถึงแก่ความตาย
เช่นนี้ถือว่าแดงมีการกระทาแล้ว เพราะแดงคิดจะยิงดา แดงตกลงใจที่จะยิงดาตามที่คิด
ไว้ และแดงก็ได้ยงิ ดาตามที่ตกลงใจ
• ดังนั้น การเคลื่อนไหวหรื อการไม่เคลื่อนไหวร่ างกายของเด็กไร้เดียงสา คนวิกลจริ ต
หรื อคนเมาถึงขนาดไม่รู้สภาพหรื อสาระสาคัญในการกระทาของตน คนละเมอ คนเป็ น
ลมบ้าหมู คนที่ร่างกายกระตุกโดยไม่รู้ตวั คนที่ถูกสะกดจิต คนที่ถูกผลักถูกชนหรื อถูก
จับมือให้กระทาในขณะเผลอ คนที่ร่างกายเคลื่อนไหวเพราะแรงธรรมชาติ เช่น แรงลม
พายุ ถือว่าไม่เป็ นการกระทาตามกฎหมายอาญา
กำรกระทำครบองค์ ประกอบภำยนอกของควำมผิด

• องค์ประกอบภายนอกของความผิดแทบทุกฐานแบ่งได้
เป็ น ๓ ส่ วน คือ
• (๑) ผูก้ ระทา
• (๒) การกระทา และ
• (๓) วัตถุแห่งการกระทา
• ตัวอย่ ำง ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๓๓๔ บัญญัติวา่ “ผูใ้ ดเอา
ทรัพย์ของผูอ้ ื่น หรื อที่ผอู ้ ื่นเป็ นเจ้าของรวมอยูด่ ว้ ยไปโดยทุจริ ต ผูน้ ้ นั
กระทาความผิดฐานลักทรัพย์ ต้องระวางโทษ...” องค์ประกอบ
ภายนอกของความผิดฐานนี้คือ
• ๑) ผูก้ ระทา ได้แก่ ผูใ้ ด
• ๒) การกระทา ได้แก่ เอาไป
• ๓) วัตถุแห่งการกระทา ได้แก่ ทรัพย์ของผูอ้ ื่นหรื อที่ผอู ้ ื่นเป็ นเจ้าของ
รวมอยูด่ ว้ ย
กำรกระทำครบองค์ ประกอบภำยในของควำมผิด
• แต่ละฐานความผิดอาจอาศัยองค์ประกอบภายในที่แตกต่างกัน กล่าวคือ ความผิด
ส่ วนใหญ่ผกู ้ ระทาต้ องมีเจตนำจึงจะเป็ นความผิด เช่น ความผิดฐานฆ่าผูอ้ ื่น
ความผิดฐานลักทรัพย์ เป็ นต้น
• แต่บางฐานความผิดแม้ผกู ้ ระทาไม่มีเจตนาหากแต่กระทาไปโดยประมำท
กฎหมายก็ยงั บัญญัติให้เป็ นความผิด เช่น ความผิดฐานประมาทเป็ นเหตุให้ผอู ้ ื่น
ถึงแก่ความตาย ความผิดฐานประมาทเป็ นเหตุให้ผอู ้ ื่นได้รับอันตรายสาหัส เป็ น
ต้น
• นอกจากนี้ บางฐานความผิดแม้ผกู ้ ระทาไม่ ได้ เจตนำและไม่ ได้ กระทำโดย
ประมำท กฎหมายก็ยงั บัญญัติให้เป็ นความผิด
• ดังนั้น องค์ประกอบภายในของความผิดจึงแบ่งออกเป็ น ๓ กรณี คือ
(๑) เจตนา (๒) ประมาท และ (๓) ไม่มีท้ งั เจตนาและประมาท
๑) เจตนำ
•จะต้องมีองค์ประกอบ ๒ ประการ คือ
1. ผูก้ ระทาต้อง “รู ้” ข้อเท็จจริ งอันเป็ น
องค์ประกอบภายนอกของความผิด
2. ผูก้ ระทาต้อง “ประสงค์ต่อผล” หรื อ “ย่อม
เล็งเห็นผล” ของการกระทาของตน
ผู้กระทำต้ อง “รู้ ” ข้ อเท็จจริงอันเป็ นองค์ ประกอบ
ของควำมผิด
• ความผิดฐานฆ่าผูอ้ ื่นโดยเจตนาตามมาตรา ๒๘๘ องค์ประกอบภายนอกคือ (๑) ผูใ้ ด (๒)
ฆ่า (๓) ผูอ้ ื่น องค์ประกอบภายในคือ เจตนา การที่จะถือว่าผูก้ ระทามีเจตนามาตรา ๒๘๘
ผูก้ ระทาต้องรู ้ขอ้ เท็จจริ งที่วา่ การกระทาของตนเป็ นการ “ฆ่า” และรู ้ดว้ ยว่าวัตถุแห่งการ
กระทาเป็ น “ผูอ้ ื่น” หากผูก้ ระทาเข้าใจไปว่าวัตถุแห่งการกระทาไม่ใช่ “ผูอ้ ื่น” เช่น เข้าใจผิด
ไปว่าเป็ นสัตว์หรื อศพ ก็ไม่ถือว่ามีเจตนาฆ่าผูอ้ ื่นอันเป็ นความผิดมาตรา ๒๘๘
• ความผิดฐานลักทรัพย์ตามมาตรา ๓๓๔ องค์ประกอบภายนอกคือ (๑) ผูใ้ ด (๒) เอาไป
(๓) ทรัพย์ของผูอ้ ื่นหรื อที่ผอู ้ ื่นเป็ นเจ้าของรวมอยูด่ ว้ ย องค์ประกอบภายในคือ เจตนา การที่
จะถือว่าผูก้ ระทามีเจตนามาตรา ๓๓๔ ผูก้ ระทาต้องรู ้ขอ้ เท็จจริ งที่วา่ การกระทาของตนเป็ น
การ “เอาไป” และรู ้ดว้ ยว่าวัตถุแห่งการกระทาเป็ น “ทรัพย์ของผูอ้ ื่นหรื อที่ผอู ้ ื่นเป็ นเจ้าของ
รวมอยูด่ ว้ ย” หากผูก้ ระทาเข้าใจว่าวัตถุแห่งการกระทาเป็ นทรัพย์ของตนเองไม่ใช่ทรัพย์ของ
ผูอ้ ื่นก็ไม่ถือว่ามีเจตนาลักทรัพย์ตามมาตรา ๓๓๔
ผู้กระทำต้ อง “ประสงค์ ต่อผล” หรื อ “ย่ อมเล็งเห็น
ผล” ของกำรกระทำของตน
• เจตนำประสงค์ ต่อผล หมายถึง ความประสงค์ที่จะให้เกิดผลขึ้นตามที่
ตั้งใจนั้นโดยตรง กล่าวคือ ผูก้ ระทาได้กระทาโดยมุ่งหมายหรื อมีความ
ต้องการที่จะให้ความผิดเกิดขึ้น
• แดงต้องการฆ่าดาจึงใช้ปืนยิงดาถึงแก่ความตาย การกระทาดังกล่าวจึง
เป็ นการกระทาโดยเจตนาประสงค์ต่อผล หรื อ แดงต้องต้องการขโมย
โทรศัพท์มือถือของดา จึงแอบหยิบโทรศัพท์มือถือของดาที่วางอยูบ่ น
โต๊ะ
ผู้กระทำต้ อง “ประสงค์ ต่อผล” หรื อ “ย่ อมเล็งเห็น
ผล” ของกำรกระทำของตน
• เจตนำย่ อมเล็งเห็นผล หมายถึง ผูก้ ระทาไม่ประสงค์ให้ผลเกิดโดยตรง
หากแต่โดยลักษณะของการกระทาผูก้ ระทาย่อมเล็งเห็นได้วา่ จะก่อให้เกิด
ผลขึ้น
• แดงใช้ปืนลูกซองยิงไปที่ขวดเหล้าซึ่งมีดานัง่ อยูท่ ี่โต๊ะใกล้ขวดเหล้า แดง
ย่อมเลกเห็นผลได้วา่ กระสุ นปื นที่จาเลยยิงย่อมจะต้องถูกดาด้วย การกระทา
ดังกล่าวจึงเป็ นการกระทาโดยเจตนาประสงค์ต่อผลต่อขวดเหล้าและเจตนา
ย่อมเล็งเห็นผลต่อดา หรื อแดงขับรถด้วยความเร็ วสู งไปตามถนนที่มีคนเดิน
พลุกพล่าน ทั้ง ๆ ที่แดงเล็งเห็นได้วา่ อาจชนคนได้ แต่แดงก็ไม่ลดความเร็ ว
ลงแต่อย่างใด แดงจึงชนดาบาดเจ็บสาหัส
ประมำท
• โดยหลักแล้วบุคคลจะต้องรับผิดในทางอาญาก็ต่อเมื่อได้
กระทาโดยเจตนาเท่านั้น ผูก้ ระทาจะมีความผิดฐานกระทาโดย
ประมาทก็ต่อเมื่อมีกฎหมายบัญญัติไว้เฉพาะเท่านั้น การ
กระทาโดยประมาทที่กฎหมายบัญญัติให้ตอ้ งรับผิด
• เช่น ความผิดฐานทาให้เกิดเพลิงไหม้โดยประมาท ทาให้คน
ตายโดยประมาท ทาให้ผอู ้ ื่นได้รับอันตรายแก่กายโดยประมาท
ประมำท
• กำระทำโดยประมำท หมำยถึง กำรกระทำโดยไม่ เจตนำแต่ กระทำโดย
ปรำศจำกควำมระมัดระวัง ซึ่งบุคคลทัว่ ไปในภำวะเช่ นนั้นจะต้ องใช้
ควำมระมัดระวัง เช่น ฟ้าเป็ นหญิงขับรถคนเดียวในเวลากลางดึก
ระหว่างติดไฟแดงอยูไ่ ด้มีโจรเข้ามาในรถและใช้ปืนจี้ศีรษะฟ้า ฟ้า
ตกใจกลัวจึงขับรถไปข้างหน้าด้วยความเร็ วสู งจนชนเด็กที่กาลังข้าม
ถนนถึงแก่ความตาย ดังนี้ การกระทาของฟ้าไม่เป็ นการกระทาโดย
ประมาท เพราะบุคคลทัว่ ไปที่เป็ นหญิงและถูกปื นจี้กลางดึก
เช่นเดียวกับฟ้า ย่อมตกใจกลัวและขาดสติในการขับรถ
2.กำรกระทำไม่ มีกฎหมำยยกเว้ นควำมผิด

• อาญา เหตุยกเว้นความผิดมีอยูห่ ลายกรณี ดว้ ยกัน แต่ในที่น้ ีจะ


กล่าวเฉพาะเหตุยกเว้นความผิดที่สาคัญ ได้แก่
1. กำรป้ องกันโดยชอบด้ วยกฎหมำย
2. ควำมยินยอม
3. จำรีตประเพณี
กำรป้ องกันโดยชอบด้ วยกฎหมำย

•หมายถึง การที่ผกู ้ ระทาได้กระทาการใดเพื่อ


ป้องกันสิ ทธิของตนหรื อของผูอ้ ื่นให้พน้ ภยันตราย
ซึ่งเกิดจากการประทุษร้ายอันละเมิดต่อกฎหมาย
และเป็ นภยันตรายอันใกล้จะถึง โดยผูก้ ระทาได้
กระทาไปพอสมควรแก่เหตุ มีผลทาให้ผกู ้ ระทา
“ไม่ มีควำมผิด”
กำรป้ องกันโดยชอบด้ วยกฎหมำย
• จะต้องเป็ นการกระทาที่ครบหลักเกณฑ์ ๔ ประการ ดังต่อไปนี้
1. ต้องมีภยันตรายซึ่งเกิดจากการประทุษร้ายอันละเมิดต่อกฎหมาย
2. ภยันตรายนั้นเป็ นภยันตรายที่ใกล้จะถึง
3. ผูก้ ระทาต้องกระทาเพื่อป้องกันของตนเองหรื อของผูอ้ ื่นให้พน้ จาก
ภยันตรายนั้น
4. ผูก้ ระทาได้กระทาไปพอสมควรแก่เหตุ
ตัวอย่าง การป้องกัน
• แดงยกมีดขึ้นกาลังจะฟันดา แต่ดาชักปื นออกมายิงแดงได้ก่อนจนแดง
เสี ยชีวิต การกระทาของดาครบองค์ประกอบความผิดฐานฆ่าผูอ้ ื่น แต่
ดาไม่มีความผิดฐานฆ่าผูอ้ ื่น เพราะการกระทาของดาเป็ นการป้องกัน
โดยชอบด้วยกฎหมายอันเป็ นเหตุยกเว้นความผิด กล่าวคือ ดายิงแดง
เพื่อป้องกันตนเองไม่ให้ถูกแดงฟัน
ตัวอย่าง การป้องกัน
• แดงกาลังเดินเข้ามาจะฆ่าดาโดยชักปื นออกมาแต่ยงั ไม่ได้จอ้ งเล็งไปที่ดา ดากลัวจะถูกฆ่า
จึงใช้ปืนยิงแดงเสี ยก่อนเพื่อป้องกันตัว จนแดงถึงแก่ความตาย การกระทาของแดงไม่เป็ น
การป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย เพราะภยันตรายไม่ใกล้จะถึง กล่าวคือ แดงยังไม่ได้ยก
ปื นขึ้นจ้องเล็งไปที่ดา ดังนี้ ดาจึงมีความผิดฐานฆ่าผูอ้ ื่น
• แดงต่อยและเตะดาโดยแดงไม่มีอาวุธใด ๆ ดาจึงป้องกันตัวโดยใช้ปืนยิงแดงถึงแก่ความ
ตาย การกระทาของแดงไม่เป็ นการป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย เพราะดาป้องกันเกิน
สมควรแก่เหตุ กล่าวคือ การกระทาของดาไม่ได้สัดส่ วนกับภยันตรายที่เกิดแก่ตน แดง
เพียงแค่เตะต่อยทาร้ายร่ างกาย แต่ดากลับใช้ปืนยิงแดงจนถึงแก่ความตาย ดังนี้ ดาจึงมี
ความผิดฐานฆ่าผูอ้ ื่นโดยป้องกันเกินสมควรแก่เหตุ
ควำมยินยอม
• ความยินยอมที่จะทาให้การกระทานั้นไม่เป็ นความผิด จะต้องเป็ น
ความยินยอมที่ครบองค์ประกอบทั้ง ๓ ประการดังต่อไปนี้
1. ต้องเป็ นความยินยอมอันบริ สุทธิ์ของผูเ้ สี ยหาย กล่าวคือ ผูเ้ สี ยหาย
ให้ความยินยอมโดยไม่สาคัญผิด ไม่ถูกหลอกลวง หรื อไม่ถูกข่มขู่
2. ความยินยอมนั้นไม่ขดั ต่อความสานึกในศีลธรรมอันดี
3. ความยินยอมจะต้องมีอยูต่ ลอดเวลาที่กระทาการอันกฎหมายบัญญัติ
เป็ นความผิด
ตัวอย่ ำง ควำมยินยอม
• ตัวอย่ำงที่ ๑ แพทย์ผา่ ตัดผูป้ ่ วยโดยได้รับความยินยอมจากผูป้ ่ วย นักมวยชกต่อย
กันโดยความยินยอมที่จะชกกันตามกติกา การกระทาของแพทย์และนักมวยครบ
องค์ประกอบความผิดฐานทาร้ายผูอ้ ื่น แต่แพทย์และนักมวยไม่มีความผิดฐานทา
ร้ายผูอ้ ื่น เพราะกระทาโดยได้รับความยินยอม อันเป็ นเหตุยกเว้นความผิด
• ตัวอย่ำงที่ ๒ แดงซึ่ งเป็ นนักประชาธิปไตยตัวยงเสี ยใจที่มีการทารัฐประหาร จึง
ไม่อยากมีชีวติ อยูอ่ ีกต่อไป ดังนั้นแดงจึงขอร้องให้ดาเพื่อนสนิทของตนใช้ปืนยิง
ตนเองให้ตาย ดาจึงยิงแดงถึงแก่ความตายตามที่แดงร้องขอ การกระทาของดา
เป็ นความผิดฐานฆ่าผูอ้ ื่น ดาจะอ้างความยินยอมของแดงเพื่อเป็ นเหตุยกเว้น
ความผิดไม่ได้ เพราะความยินยอมของแดงขัดต่อศีลธรรมอันดีของประชาชน
3. กำรกระทำไม่ มีกฎหมำยยกเว้ นโทษ

• การกระทาที่ครบองค์ประกอบที่กฎหมายบัญญัติตามโครงสร้าง
ที่ ๑ และไม่มีกฎหมายยกเว้นความผิดตามโครงสร้างที่ ๒ แต่ถา้
มีกฎหมายยกเว้นโทษสาหรับการกระทานั้น ผูก้ ระทาจะมี
ควำมผิดแต่ไม่ ต้องรับโทษ (เพราะ ผูก้ ระทาปราศจากความชัว่ )
• เหตุยกเว้นโทษมีอยูห่ ลายกรณี ดว้ ยกัน
กำรกระทำโดยจำเป็ น
• การกระทาโดยจาเป็ นสามารถแบ่งได้เป็ น ๒ กรณี
1. การกระทาโดยจาเป็ นเพราะอยูใ่ นที่บงั คับหรื อภายใต้อานาจ
2. การกระทาโดยจาเป็ นเพื่อให้ตนเองหรื อผูอ้ ื่นพ้นภยันตราย
ตัวอย่ ำง การกระทาโดยจาเป็ น
• ตัวอย่ ำงที่ ๑ แดงเอาปื นจ่อหัวดาและขู่ดาว่าจะยิงดาเสี ยหากดาไม่ยงิ เขียวให้ตาย
ดากลัวตายจึงยิงเขียวจนถึงแก่ความตาย ดังนี้ ดามีความผิดฐานฆ่าผูอ้ ื่น แต่ดาไม่
ต้องรับโทษ เนื่องจากเป็ นการกระทาโดยจาเป็ นเพราะถูกบังคับ
• ตัวอย่ ำงที่ ๒ แดงและพวกวิ่งไล่ตีดา ดาไม่มีทางเลือกจึงปี นรั้วบ้านของเขียว
และทาให้ร้ ัวบ้านของเขียว ดังนี้ ดามีความผิดฐานบุกรุ กและทาให้เสี ยทรัพย์ แต่
ดาไม่ตอ้ งรับโทษ เนื่องจากเป็ นการกระทาโดยจาเป็ นเพื่อให้ตนเองพ้น
ภยันตราย
• ตัวอย่ ำงที่ ๓ แดงโดนหมาของเขียวไล่กดั จึงได้ใช้ไม้ฟาดหมาจนหมาบาดเจ็บ
การกระทาความผิดของเด็กอายุไม่เกินสิ บห้าปี
• มาตรา 73 เด็กอายุไม่เกิน สิ บปี กระทาการอันกฎหมายบัญญัติเป็ น
ความผิด เด็กนั้นไม่ตอ้ งรับโทษ
• มาตรา74 เด็กอายุกว่าสิ บปี แต่ยงั ไม่เกินสิ บห้าปี กระทาการอัน
กฎหมายบัญญัติเป็ นความผิด เด็กนั้นไม่ตอ้ งรับโทษ แต่ให้ศาลมี
อานาจดาเนินการ เช่น ว่ากล่าวตักเตือนเด็กหรื อบิดามารดาของเด็ก
วางข้อกาหนดให้บิดามารดาระวังไม่ให้เด็กก่อเหตุร้ายตลอดเวลาที่
ศาลกาหนด หรื อส่ งตัวเด็กไปยังโรงเรี ยนหรื อสถานฝึ กและอบรมเพื่อ
ฝึ กและอบรมเด็ก เป็ นต้น
กำรกระทำควำมผิดของคนวิกลจริต
• ผูท้ ี่จะได้รับการยกเว้นโทษเพราะวิกลจริ ต ได้แก่ ผูท้ ี่กระทาความผิด
ในขณะทีไ่ ม่สามารถรู ้ผดิ ชอบ หรื อไม่สามารถบังคับตนเองได้
เพราะเหตุใดเหตุหนึ่งดังต่อไปนี้
• จิตบกพร่ อง ได้แก่ บุคคลที่สมองไม่เจริ ญเติบโตตามวัยหรื อ
บกพร่ องมาแต่กาเนิด
• โรคจิต ได้แก่ บุคคลที่มีความบกพร่ องแห่งจิตที่เกิดจากโรค
• จิตฟั่นเฟื อน ได้แก่ บุคคลที่มีความหลงผิด ประสาทหลอนและแปร
ผิด
กำรกระทำควำมผิดของผู้มนึ เมำ
• ผูท้ ี่จะได้รับการยกเว้นโทษเพราะความมึนเมา ได้แก่ ผูท้ ี่
กระทาความผิดในขณะที่ไม่สามารถรู ้ผดิ ชอบ หรื อไม่สามารถ
บังคับตนเองได้ เพราะความมึนเมา และความมึนเมานั้นได้
เกิดขึ้นโดยเหตุใดเหตุหนึ่งดังต่อไปนี้
1. ผู้กระทำควำมผิดเสพย์ โดยไม่ รู้ ว่ำสิ่ งนั้นจะทำให้ มึนเมำ
2. ผู้กระทำควำมผิดถูกขืนใจให้ เสพย์
กำรกระทำควำมผิดเกีย่ วกับทรัพย์ ในบำงควำมผิด
ระหว่ ำงสำมีภรรยำ
• กฎหมายได้ยกเว้นโทษให้กบั การกระทาความผิดที่สามีกระทาต่อภรรยา
หรื อภรรยากระทาต่อสามีเฉพำะควำมผิดเกีย่ วกับทรัพย์ ๘ ฐำนควำมผิด
คือ การลักทรัพย์ วิ่งราวทรัพย์ ฉ้อโกง โกงเจ้าหนี้ ยักยอก รับของโจร ทา
ให้เสี ยทรัพย์ และการบุกรุ ก
• ดังนั้น หากสามีกระทาความผิดต่อภรรยา หรื อภรรยากระทาความผิดต่อ
สามีนอกเหนือจาก ๘ ฐานความผิดข้างต้น สามีหรื อภรรยาที่กระทา
ความผิดก็ตอ้ งรับโทษตามกฎหมาย เช่น สามีทุบตีภรรยาจนบาดเจ็บ สามี
มีความผิดฐานทาร้ายร่ างกายและต้องรับโทษตามกฎหมาย
เหตุลดโทษ

• เมื่อกำรกระทำครบองค์ ประกอบควำมผิดทีก่ ฎหมำยบัญญัติ ไม่ มี


กฎหมำยยกเว้ นควำมผิด และไม่ มีกฎหมำยยกเว้นโทษแล้ว ผู้กระทำมี
ควำมผิดและต้ องรับโทษตำมกฎหมำย
• อย่างไรก็ตาม หากมีเหตุบางประการที่กฎหมายบัญญัติให้ศาลอาจใช้
ดุลพินิจลดโทษได้ ผูก้ ระทาอาจต้องรับโทษน้อยกว่าที่กฎหมาย
กาหนดไว้สาหรับความผิดนั้น เหตุดงั กล่าวเรี ยกว่า “เหตุลดโทษ”
เหตุลดโทษ
1. ควำมไม่ ร้ ู กฎหมำย
2. คนวิกลจริตซึ่งยังสำมำรถรู้ ผดิ ชอบอยู่บ้ำงหรื อยังสำมำรถบังคับตนเองได้ บ้ำง
3. คนมึนเมำซึ่งยังสำมำรถรู้ ผดิ ชอบอยู่บ้ำงหรื อยังสำมำรถบังคับตนเองได้ บ้ำง
4. ป้ องกันหรื อจำเป็ นทีเ่ กินสมควรแก่ เหตุ
5. กำรกระทำควำมผิดเกีย่ วกับทรัพย์ในบำงควำมผิดระหว่ ำงญำติสนิท
(ผูส้ ื บสันดานกระทาต่อบุพการี หรื อพี่หรื อน้องร่ วมบิดามารดาเดียวกัน
กระทาต่อกัน)
6. ผู้กระทำควำมผิดอำยุกว่ ำ ๑๕ ปี แต่ ไม่ เกิน ๒๐ ปี
เหตุลดโทษ
• เหตุบรรเทำโทษ ถ้าผูก้ ระทาความผิดเป็ นผูโ้ ฉดเขลาเบาปัญญา ตกอยูใ่ นความทุกข์
อย่างสาหัส มีคุณความดีมาแต่ก่อน สานึกผิดและพยายามบรรเทาผลร้ายแห่ งความผิด
นั้น ให้ความร่ วมมือต่อเจ้าพนักงานหรื อให้ความรู ้แก่ศาลอันเป็ นประโยชน์แก่การ
พิจารณา หรื อเหตุอื่นที่ศาลเห็นว่ามีลกั ษณะทานองเดียวกัน ถ้าศาลเห็นสมควรจะลด
โทษไม่เกินกึ่งหนึ่งของโทษที่จะลงแก่ผกู ้ ระทาความผิดนั้นก็ได้
• กระทำโดยบันดำลโทสะ ผูใ้ ดบันดาลโทสะโดยถูกข่มเหงอย่างร้ายแรงด้วยเหตุอนั ไม่
เป็ นธรรม จึงกระทาความผิดต่อผูข้ ่มเหงในขณะนั้น ศาลจะลงโทษผูน้ ้ นั น้อยกว่าที่
กฎหมายกาหนดไว้สาหรับความผิดนั้นเพียงใดก็ได้
ประเภทของโทษอาญา
• มำตรำ 18
1. ประหำรชีวติ
2. จำคุก
3. กักขัง
4. ปรับ
5. ริบทรัพย์ สิน
โทษ
• ประหำรชีวติ โทษประหารชีวติ เป็ นโทษที่ร้ายแรงที่สุด ผูใ้ ดต้องโทษประหารชีวติ ให้
ดาเนินการด้วยวิธีฉีดยำหรื อสำรพิษให้ตาย จะทาให้ตายด้วยวิธีอื่นไม่ได้ เช่น จะใช้
วิธีการยิงให้ตายไม่ได้
• จำคุก ผูไ้ ด้รับโทษจาคุกจะต้องรับโทษโดยการอยูใ่ นเรื อนจา โทษจาคุกมี ๒ ประเภท
คือ (๑) โทษจาคุกตลอดชีวติ หรื อจาคุกไม่มีกาหนดเวลา และ (๒) โทษจาคุกมี
กาหนดเวลา
• ข้ อสั งเกต โทษประหารชีวติ และโทษจาคุกตลอดชีวติ ไม่ นามาใช้ แก่ ผ้ กู ระทา
ความผิดในขณะที่มอี ายุต่ากว่ า ๑๘ ปี กรณี ที่ผกู ้ ระทาความผิดในขณะที่มีอายุต่ากว่า
๑๘ ปี ได้กระทาความผิดที่มีระวางโทษประหารชีวติ และโทษจาคุกตลอดชีวิต ไม่ให้
ประหารชีวติ หรื อจาคุกตลอดชีวติ แต่ให้ ลงโทษจำคุก ๕๐ ปี แทน
โทษ
• กักขัง ผูต้ อ้ งโทษจะถูกกักขังในสถานที่ที่มิใช่เรื อนจา สถานีตารวจ หรื อสถานที่ควบคุม
ผูต้ อ้ งหาของพนักงานสอบสวน เช่น กักขังให้อยูใ่ นบ้านของตนเอง กักขังให้อยูใ่ น
โรงพยาบาล เป็ นต้น ตามประมวลกฎหมายอาญาไม่มีความผิดฐานใดที่บญั ญัติให้ตอ้ งโทษ
กักขังโดยตรง แต่โทษกักขังเป็ นโทษที่เปลี่ยนมาจากโทษอื่น ๆ เช่น กรณี ผกู ้ ระทาความผิด
ต้องโทษปรับแต่ไม่มีเงินชาระค่าปรับ ผูน้ ้ นั จะต้องถูกกักขังแทนการชาระค่าปรับ
• ปรับ โทษปรับเป็ นการลงโทษทางทรัพย์สิน กล่าวคือ ผูใ้ ดต้องโทษปรับ ผูน้ ้ นั จะต้องชาระ
เงินตามจานวนที่กาหนดไว้ในคาพิพากษาของศาล
• ริบทรัพย์ สิน เป็ นกรณี ที่ศาลพิพากษาให้ริบทรัพย์สินซึ่งเกี่ยวข้องกับการกระทาความผิด เช่น
ธนบัตรปลอม ยาเสพติด อาวุธที่ใช้ในการปล้น เงินสิ นบนที่ให้แก่เจ้าพนักงาน เป็ นต้น
ทรัพย์สินซึ่งศาลพิพากษาให้ริบย่อมตกเป็ นของแผ่นดิน
การรอลงอาญา
• มาตรา ๕๖ ผูใ้ ดกระทาความผิดซึ่ งมีโทษจาคุก และในคดีน้ันศำลจะลงโทษจำคุก
ไม่ เกินสำมปี ถ้ ำไม่ ปรำกฏว่ ำผู้น้ันได้ รับโทษจำคุกมำก่ อน หรื อปรากฏว่าได้รับ
โทษจาคุกมาก่อน แต่เป็ นโทษสาหรับความผิดที่ได้กระทาโดยประมาท หรื อ
ความผิดลหุโทษ เมื่อศำลได้ คำนึงถึงอำยุ ประวัติ ควำมประพฤติ สติปัญญำ
กำรศึกษำอบรม สุ ขภำพ ภำวะแห่ งจิต นิสัย อำชีพ และสิ่ งแวดล้ อมของผู้น้ัน
หรื อสภำพควำมผิดหรื อเหตุอื่นอันควรปรำนีแล้ ว เห็นเป็ นกำรสมควร ศาลจะ
พิพากษาว่าผูน้ ้ นั มีควำมผิดแต่ รอกำรกำหนดโทษไว้ หรื อกำหนดโทษแต่ รอกำร
ลงโทษไว้ แล้วปล่อยตัวไป เพื่อให้โอกาสผูน้ ้ นั กลับตัวภายในระยะเวลาที่ศาลจะ
ได้กาหนด แต่ตอ้ งไม่เกินห้าปี นับแต่วนั ที่ศาลพิพากษา โดยจะกาหนดเงื่อนไข
เพื่อคุมความประพฤติของผูน้ ้ นั ด้วยหรื อไม่กไ็ ด้
วิธีการเพื่อความปลอดภัย
• วิธีการเพื่อความปลอดภัยเป็ นมาตรการทางกฎหมายซึ่ งไม่ใช่
โทษทางอาญา แต่กฎหมายกาหนดขึ้นเพื่อสนับสนุนการ
ปรับปรุ งแก้ไขตัวบุคคลที่มีลกั ษณะอันตราย วิธีการเพื่อความ
ปลอดภัยมี ๕ ประการ คือ
• (๑) กักกัน (๒) ห้ามเข้าเขตกาหนด (๓) เรี ยกประกันทัณฑ์
บน (๔) คุมตัวไว้ในสถานพยาบาล และ (๕) ห้ามการ
ประกอบอาชีพบางอย่าง

You might also like