You are on page 1of 15

แผนการพยาบาลในระยะต่าง ๆ ของการคลอด

ข้อวินิจฉัยการ วัตถุประสงค์ และ


ข้อมูลสนับสนุน กิจกรรมการพยาบาล ผลการประเมิน
พยาบาล เกณฑ์การประเมิน
S: มารดาบอกว่า ปวดท้อง ส่งเสริมผู้คลอด วัตถุประสงค์ 1. ย้ายผู้คลอดเข้าห้องคลอดโดยเปลนอน เพื่อเตรียม ระยะที่ 2 ของการ
ปวดเบ่ง รู้สึกอยากเบ่ง เข้าสู่ระยะที่ 2 เพื่อให้ระยะที่ 2 ของ ตัวคลอด คลอดดำเนินไป
เหมือนเบ่งอุจจาระ ของการคลอด การคลอดดำเนินไป 2.ประเมิน Fetal Heart Sound และ Uterine ตามปกติ โดยใช้
O: มารดา G2 P1 GA 38+1 ตามปกติ contraction ทุก 5 นาที เพื่อประเมินสุขภาพทารก เวลา 6 นาที
wks by U/S with V/E เกณฑ์การประเมิน ในครรภ์ป้องกันภาวะ Fetal distress จากการหดรัด คลอดวิธี V/E with
with Episiotomy - ผู้คลอดเข้าสู่ระยะที่ 2 ตัวของมดลูก episiotomy
- สีหน้าเจ็บครรภ์หน้านิ่ว คิ้ว ของการคลอดโดยไม่มี 3. จัดท่าผู้คลอดในท่า Dorsal recumbent ทารกคลอด 07.31
ขมวด ภาวะแทรกซ้อน เช่น position เพื่อส่งเสริมการคลอดที่ง่ายให้ส่วนนำลงสู่ น. น้ำหนัก 3,250
- PV at 07.25 น. : fetal distress เป็นต้น อุ้งเชิงกรานตามแรงโน้มถ่วงของโลก กรัม ทารก Active
Fully dilatation และปฏิบัติตาม 4. สอนผู้คลอดขณะมดลูกหดรัดตัว หายใจเข้าลึก ๆ ดี หายใจสม่ำเสมอ
effacement 80 % คำแนะนำถูกต้อง กลั้นหายใจคางชิดอก ปิดปากไม่ออกเสียงเบ่งลงก้น no retraction
MR Clear station 0 - Interval อยู่ในช่วง นานครั้งละ 6-8 วินาที เบ่งซ้ำ 3-4 ครั้ง/การหดรัดตัว Apgar score นาที
- Interval 2’ 1.5 - 2 min ของมดลูก ที่ 1 ได้ 9 คะแนน
- Duration 40” - Duration อยู่ในช่วง 5. เตรียมเครื่องมืออุปกรณ์ในการคลอดโดยยึดหลัก นาทีที่ 5 ได้ 9
- Severity +3 60 - 90 sec sterile technique คะแนน
- FHS 140 bpm - severity 2+ - 3+ 6. สวมใส่อุปกรณ์ คือ Mask หมวก ใส่บูท ล้างมือ Vital signs :
- ย้ายมารดาเข้าห้องคลอด - FHS 120-160 bpm. สวมเสื้อกาวน์ ใส่สวมถุงมือ sterile 2 ชิ้น เพื่อ BT 36.9 องศา
- ทารกคลอดปลอดภัย ป้องกันการติดเชื้อ PR 150 bpm
ไม่มีภาวะแทรกซ้อน 7. ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ด้วย sterile water RR 54 bpm
ตามหลัก sterile techniqueโดย
ข้อวินิจฉัยการ วัตถุประสงค์ และ
ข้อมูลสนับสนุน กิจกรรมการพยาบาล ผลการประเมิน
พยาบาล เกณฑ์การประเมิน
เช่น cyanosis หายใจ 7.1 ก้อนที่ 1 flush บริเวณหัวเหน่าไปถึงหน้าท้อง มารดาหลังคลอด
เร็ว 7.2 ก้อนที่ 2 flush หน้าขาด้านใกล้ตัว ตั้งแต่ขา มดลูกหดรัดตัวดี
- APGAR score นาทีที่ หนีบถึงหน้าขา Normal
1 และ นาทีที่ 5 ต้อง ≥ 7.3 ก้อนที่ 3 flush หน้าขาด้านไกลตัวตั้งแต่ขา bleeding per
8 คะแนน หนีบถึงหน้าขา vagina
- ระยะเวลาในระยะที่ 2 7.4 ก้อนที่ 4 flush แคมใหญ่ด้านใกล้ตัวจากบนลง
ไม่นานเกิน 1 ชั่วโมง ใน ล่าง
ครรภ์แรก 7.5 ก้อนที่ 5 flush แคมใหญ่ด้านไกลตัวจากบนลง
- No bladder full ล่าง
- เบ่งคลอดถูกวิธี 7.6 ก้อนที่ 6 flush แคมเล็กด้านใกล้ตัวจากบนลง
ล่าง
7.7 ก้อนที่ 7 flush แคมเล็กด้านไกลตัวจากบนลง
ล่าง
7.8 ก้อนที่ 8 flush clitoris จนถึงช่องคลอดจาก
บนล่าง
7.9 ก้อนที่ 9 flush จากช่องคลอดจนถึงทวารหนัก
จากบนลงล่าง
8. ปูผ้ารองก้นปลอกขาด้านใกล้ตัว ด้านไกลตัว และปู
ผ้ า คลุ ม หน้ า ท้ อ ง โดยยึ ด หลั ก Sterile technique
เพื่อเตรียมบริเวณคลอดให้สะอาด
ข้อวินิจฉัยการ วัตถุประสงค์ และ
ข้อมูลสนับสนุน กิจกรรมการพยาบาล ผลการประเมิน
พยาบาล เกณฑ์การประเมิน
9. เตรียมอุปกรณ์วางบนเตียงคลอดประกอบด้วยTop
gauze ลูกสูบยางแดง สำลีเช็ดตาเด็ก และ กรรไกร
ตัดฝีเย็บ
10. ช่วยเชียร์เบ่งให้ผู้คลอดถูกวิธี โดยใช้มือจับแก้ม
ก้นทั้ง 2 ข้างและหายใจเข้าลึกๆกลั้นหายใจ คางชิด
อก เบ่งลงก้น ช้า ๆ
11. แพทย์พิจารณาช่วยคลอดด้วยสูติศ าสตร์หัตถการ
Vacuum extraction (VE) คื อ การช่ ว ยคลอดด้ ว ย
เครื่องดูดสุญญากาศ วิธีการนี้จะใช้ ถ้วยยางซิลิโคน
(Silicone rubber cup) เล็กๆไปครอบที่ศีรษะทารก
แล้วมีการต่อสายเข้ากับเครื่องที่เหนี่ยวนำให้เกิดภาวะ
สุญญากาศที่ศีรษะทารก เมื่อได้ระดับสุญญากาศที่
เหมาะสม แพทย์ จ ะทำการดึ ง สายที ่ ต ่ อ กั บ ถ้ ว ย
พร้อมๆกับการเบ่งของมารดาขณะมีมดลูกหดรัดตัว
เป็นการช่วยเสริมแรงกันกับแรงเบ่งมารดา ซึ่งสามารถ
ช่วยให้ทารกคลอดออกมาได้
ข้อวินิจฉัยการ วัตถุประสงค์ และ
ข้อมูลสนับสนุน กิจกรรมการพยาบาล ผลการประเมิน
พยาบาล เกณฑ์การประเมิน
12. เมื่อทารกคลอดทั้งตัว ฉีด Syntocinon 10 unit
IM ที่แขนด้านขวาแก่มารดาเพื่อช่วยในการหดรัดตัว
ของมดลูก (Circulated)
13. ใช้ล ูกสูบยางแดง Suction อีกครั้งในปากและ
จมูก เพื่อให้ทารกไม่สำลักน้ำคร่ำลงปอด กระตุ้นให้
ทารกร้ อ ง โดยการใช้ Gauze ลู บ หลั ง ตบส้ น เท้ า
พร้อมประเมินสภาพของทารกโดยใช้ APGAR Score
ทั้งนาทีที่ 1
14. ทำการ cord clamp สายสะดือโดยใช้ Arterial
clamp ตั ว ที ่ 1 ที ่ ม ี Rubbering clamp สายสะดื อ
ห่างจากทารก 2-3 cm จากนั้นรูดเลือดในสายสะดือ
ให้ห ่างจาก Arterial clamp ตัว ที่ 1ประมาณ 2-3
cm ใช้ Arterial clamp ตัวที่ 2 clamp สายสะดือไว้
ใช้ alcohol เช็ดบริเวณสายสะดือแล้วตัดด้วยกรรไกร
ตัด cord วางสายสะดือที่ติดกับแม่ไว้บนผ้าคลุมหน้า
ท้ อ ง แล้ ว ใช้ forceps จั บ Rubbering ใน Arterial
Clamp รูดพันสายสะดือไว้เช็ดปลายสายสะดือด้วย
Providine อีกครั้ง เก็บอุปกรณ์ไว้บน set คลอด
ข้อวินิจฉัยการ วัตถุประสงค์ และ
ข้อมูลสนับสนุน กิจกรรมการพยาบาล ผลการประเมิน
พยาบาล เกณฑ์การประเมิน
14. ยกทารกเพื่อให้ผู้คลอดดูเพศ ผูกข้อมือ ที่มีชื่อ
แรกของทารกโดยให้มารดาดูว่าเขียนถูกต้ องหรือไม่
และผู้ข้อมือต่อหน้ามารดา
15. นำทารกไปวางที่ radian warmer เช็ดตัวให้แห้ง
และห่อตัวให้อบอุ่น เพื่อป้องกันอุณหภูมิต่ำในทารก
16. นำทารกไปชั่งน้ำหนักวัดอุณหภูมิทางก้น ดูแลเช็ด
ตัว ให้ส ะอาด ตรวจร่างกายเด็กไปด้ว ยขณะเช็ดตัว
เพื่อประเมินภาวะปกติ ประเมิน Apgar score นาทีที่
5
17. เมื่อเช็ดตัวทารกเสร็จและตรวจร่างกายเรียบร้อย
แล้วห่อตัวทารกให้มิดชิด เพื่อให้เกิดความอบอุ่นและ
ป้องกันการสูญเสียความร้อนของร่างกาย
18. นำทารกมาวางบนอกมารดา เพื่อ Bonding
ส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างมารดาและทารก
ข้อวินิจฉัยการ วัตถุประสงค์ และ
ข้อมูลสนับสนุน กิจกรรมการพยาบาล ผลการประเมิน
พยาบาล เกณฑ์การประเมิน
O: มี sign ของการลอกตัว ส่งเสริมผู้คลอด วัตถุประสงค์ 1. หลังจากนำทารกวางบน radian warmer แล้วทำ - การคลอดใน
ของรก 3 sign เข้าสู่ระยะที่ 3 เพื่อให้ระยะที่ 3 การ การเปลี่ยนถุงมือ sterile คู่นอก ระยะที่ 3
-Uterine sign มดลูกของ ของการคลอด คลอดเป็นไปตามปกติไม่ 2.แนะนำให้ผู้คลอดทำหน้าท้องหย่อน ๆ ไม่เกร็ง ไม่ ดำเนินไปตามปกติ
มารดากลมแข็งนูนขึ้น มีภาวะแทรกซ้อน ต้องออกแรงเบ่งเพราะจะทำให้มดลูกถูกดันลงมา เพื่อ ไม่มีรกค้าง
บริเวณระดับสะดือเยื้องไป ไม่ให้เกิดแรงในการต้านทานในระหว่างการดึงในการ -ใช้เวลาทำคลอด 4
ทางด้านขวาเล็กน้อย เกณฑ์การประเมิน ทำคลอดรก นาที
-Valva sign พบมีเลือดไหล - รกคลอดสมบูรณ์ใช้ 3. ผู้ทำคลอด : ปูถุงรองเลือดบริเวณใต้ก้นมารดา -รกลอกตัวแบบ
ออกมาทางช่องคลอด เวลาไม่เกิน 30 นาที หยิบสายสะดือที่วางบนหน้าท้องวางในถุงรองเลือด Duncan method
-Cord sign คลำไม่พบชีพจร - รกและเยื่อหุ้มรกไม่ เพื่อดูปริมาณเลือดที่ออกมาขณะทำคลอดรกและ - V/S หลังคลอด
ที่สายสะดือ สายสะดือคลาย ค้างในโพรงมดลูก ประเมินการสูญเสียเลือดของผู้คลอด BP 120/70
เกลียว และเคลื่อนต่ำลง - BP หลังคลอดรกอยู่ 4. ผู้ทำคลอด : สวนปัสสาวะก่อนทำคลอดรก เพราะ mmHg
ทำ Cord test ไม่มีการ ในช่วง 90/60 –140/90 หากกระเพาะปัสสาวะเต็มจะทำให้การหดรัดตัวของ PR = 90 bpm
เคลื่อนตามของสายสะดือ mmHg มดลูกไม่ดี เนื่องจากกระเพาะปัสสาวะและมดลูกใช้ RR = 20 bpm
รกลอกตัวสมบูรณ์ - Blood loss ไม่เกิน เส้นประสาทเส้นเดียวกันคือ hypogastric nerve ซึง่ - Blood loos
500 cc เส้นประสาทนี้กระตุ้น Alpha receptor ให้มดลูกมี 200 ml
- ไม่มี active bleeding การหดรัดตัวที่ดี หากกระพาะปัสสาวะเต็มจะทำให้ - ไม่มี active
เส้นประสาทกระตุ้น Beta receptor ทำให้มดลูกหด bleeding
รัดตัวไม่ดี - good uterine
5. ผู้ทำคลอด : ประเมินการลอกตัวของทารกเพื่อทำ contraction
การคลอดรก มี 3 signคือ uterine sign, และ cord
ข้อวินิจฉัยการ วัตถุประสงค์ และ
ข้อมูลสนับสนุน กิจกรรมการพยาบาล ผลการประเมิน
พยาบาล เกณฑ์การประเมิน
sign ให้ครบถ้วน แล้วทำ cord test ดูว่าสายสะดือ - น้ำหนักรก 600
เคลื่อนต่ำหรือไม่ ถ้าไม่เคลื่อนตามแสดงว่ารกลอกตัว กรัม
สมบูรณ์แล้ว - มารดาได้รับ
6. ผู้ทำคลอด : ทดสอบ Cord test โดยการใช้มือข้าง Syntocinon 20
ที่ไม่ถนัดกดบริเวณเหนือกระดูกหัวเหน่า ถ้าหากสาย unit ใน IV เดิม
สะดือไม่เคลื่อนตามแรงที่กดแสดงว่ารกลอกตัว rate 100 cc/hr.
สมบูรณ์จากนั้นทำคลอดรก โดยวิธี Modified crede - ไม่มี active
maneuver โดยผู้ทำคลอดใช้มือขวาจับยอดมดลูก bleeding
คลึงมดลูกให้แข็งตัวและจับมดลูกมาอยู่ตรงกลางหน้า -การคลอดรกและ
ท้อง ใช้อุ้งมือดันส่วนบนลงมาหาปุ่มกระดูก Sacrum เนื้อเยื่อหุ้มรกจาก
เมื่อรกผ่านช่องคลอดแล้ว 2/3 ของรก ใช้มือซ้าย การตรวจรก พบว่า
รองรับรกไว้หมุนไปทางเดียวกันเพื่อให้เยื่อหุ้มเด็กลอก มีเส้นเลือดครบ 3
ตัวได้ดี ส่วนมือขวาที่ดันยอดมดลูกให้เปลี่ยนมากด เส้น umbilical
ตรงหัวเหน่าดันมดลูกขึ้นไปเพื่อช่วยให้เยื่อหุ้มทารก vein 1 เส้น
คลอดออกมา Arteries 2 เส้น
7. ผู้ทำคลอด : หลังรกคลอดให้คลึงมดลูก เค้น ไล่ -สายสะดือยาว 60
blood clot และโกยมดลูกกลับ เพื่อป้องกันภาวะตก cm.
เลือดหลังคลอด -สายสะดือเกาะ
แบบ lateral
insertion
ข้อวินิจฉัยการ วัตถุประสงค์ และ
ข้อมูลสนับสนุน กิจกรรมการพยาบาล ผลการประเมิน
พยาบาล เกณฑ์การประเมิน
8. Circulated : วัด V/S หลังรกคลอดทันที ทุก 15
นาที 4 ครั้ง 30 นาที่ 2 ครั้ง Keep BP <140 /90 -
>90/60 mmHg
9. Circulated : ดูแลให้ Add syntocinon 20 unit
ใน LRI 1,000 cc. Iv rate 100 cc/hr.
10. ผู้ทำคลอด : ตรวจสอบการฉีกขาดของแผลฝีเย็บ
ว่ามีการฉีกขาดในระดับใดเพื่อให้การพยาบาลที่
เหมาะสม
11. ผู้ทำคลอด : ตรวจรก และเยื่อหุ้มรกเพื่อประเมิน
ภาวะรกค้างในโพรงมดลูก
12.ผู้ทำคลอด : นำรกไปชั่งน้ำหนัก น้ำหนักของรก
ปกติ หนัก 1/5-1/6 ของน้ำหนักทารก เฉลี่ย 500
กรัม และทิ้งรก
13. ให้คำแนะนำผู้คลอด ดังนี้
- นวดคลึงมดลูกให้กลมแข็งเพื่อป้องกันการตกเลือด
หลังคลอด
- สังเกตอาการจกการตกเลือด เช่น มีเลือดออก
ผิดปกติ เวียนศีรษะ เหงื่อออก ตัวเย็น
- มารดาขับปัสสาวะใน 8 ชั่วโมง หลังคลอด
ข้อวินิจฉัยการ วัตถุประสงค์ และ
ข้อมูลสนับสนุน กิจกรรมการพยาบาล ผลการประเมิน
พยาบาล เกณฑ์การประเมิน
- แนะนำการทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธ์จากหน้า
ไปหลัง
- แนะนำทำ Kegel exercise วันละ 100 – 200 ครั้ง
ข้อวินิจฉัยการ วัตถุประสงค์ และ
ข้อมูลสนับสนุน กิจกรรมการพยาบาล ผลการประเมิน
พยาบาล เกณฑ์การประเมิน
O : มารดาหลั ง คลอด 2 ผู้คลอดเข้าสู่ระยะ วัตถุประสงค์ 1. คลึ ง มดลู ก ให้ ก ลมแข็ ง ป้ อ งกั น การตกเลื อ ดหลั ง การคลอดระยะที่
ชั ่ ว โมง สามารถช่ ว ยเหลื อ ที่ 4 ของการ - เพื่อให้ระยะที่ 4 ของ คลอดแลละเพื่อให้มดลูกหดรัดตัวมากขึ้น 4 ดำเนินไปตาม
ตนเองได้ มีสีหน้าอ่อนเพลีย คลอด การคลอดดำเนินไป 2. ประเมินสภาพทั่วไปของผู้คลอดดูแลให้ได้รับสารน้ำ ปกติไม่มีภาวะตก
เล็กน้อย ตามปกติ ไม่มี LRI 1000 cc + Syntocinon 20 unit rate 100 เลือดหลังคลอด
BP = 120/70 ภาวะแทรกซ้อน cc/hr. - Vital Sign ก่อน
mmHg. เกณฑ์การประเมิน 3. ดูแลให้ถ่ายปัสสาวะทุก 2-4 ชม. เพื่อให้มดลูกมีการ ย้ายไป PP
PR = 82 bpm - ไม่มีภาวะตกเลือด EBL หดรัดตัวดีขึ้น เนื่องจากกระเพาะปัสสาวะและมดลูก BT 36.8 องศา
RR = 20 bpm ไม่ เ กิ น 500 cc. ใน 2 ใช้เส้นประสาทเดียวกัน hypogastric nerve ซึ่งจะมี เซลเซียส
- มดลูกหดรัดตัวดี ชั่วโมง ตัว 2 ตัว คือ Beta receptor และ Alpha receptor BP 120/74
- BP 90/ 60 – 140/ 90 หาก bladder full จะกระตุ้นการทำงานของ Beta mmHg
mmHg. receptor และลดการทำงานของ Alpha receptor PR = 82 bpm
- PR อยู่ในช่วง 60-100 ทำให้มดลูกหดรัดตัวน้อยลง RR = 20 bpm
bpm 4. สังเกตปริมาณลักษณะเลือดที่ออกทางช่องคลอดว่า - มี bleed ซึม ¾
- ผู ้ ค ลอดสามารถคลึ ง มีล ักษณะเป็น Normal หรือ Active bleed โดยใช้ ของผ้าอนามัย
มดลูกได้ถูกต้อง pad เพื่อประเมินการตกเลือด - ไม่มีอาการหน้า
- ลักษณะของมดลูกกลม 5. วัด Vital Sign ทุก 15 นาที 4 ครั้ง ทุก 30 นาที 2 มืดเวียนศีรษะ
แข็งเป็นก้อน หดรัดตัวดี ครั้ง และก่อนย้ายมารดา เพื่อประเมินสภาพร่างกาย ตาลาย
- No Bladder Full ของผู้คลอด - มดลูกหดรัดตัวดี
เป็น
ข้อวินิจฉัยการ วัตถุประสงค์ และ
ข้อมูลสนับสนุน กิจกรรมการพยาบาล ผลการประเมิน
พยาบาล เกณฑ์การประเมิน
6. เค้ น Blood clot และทำความสะอาดอวั ย วะ ก้อนกลมแข็ง ผู้
สื บ พั น ธุ ์ (Flushing) และเปลี ่ ย นผ้ าอนามั ย เปลี่ยน คลอดสามารถคลึง
ผ้าถุงเพื่อประเมินภาวะตกเลือดหลังคลอด มดลูกได้ถูกวิธี
7. ส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างมารดา และทารกโดย - ไม่มี Bladder
การ Bonding และตรวจ Sucking Breast Feeding Full
8. ดูแลให้มารดาได้รับประทานน้ำหวาน และได้รับ - ย้ายมารดาไป PP
การพักผ่อนอย่างเพียงพอ พร้อมทารก
ข้อวินิจฉัยการ วัตถุประสงค์ และ
ข้อมูลสนับสนุน กิจกรรมการพยาบาล ผลการประเมิน
พยาบาล เกณฑ์การประเมิน
O: ทารกเพศชาย น้ ำ หนั ก ส่งเสริมการดูแล วัตถุประสงค์ 1. จั ด ทารกอยู ่ ใ น Radian Warmer ที ่ ม ี อ ุ ณ หภู มิ ทารกคลอด
3,250 g. ทารกแรกเกิดให้ -เพื ่ อ ส่ ง เสริ ม การดู แ ล เหมาะสม 36.8 -37.3 oC เพื่อประเมิน Apgar score Active ดี ไม่ซึม
: Apgar score ดำเนินไปตาม ทารกแรกเกิดให้ดำเนิน นาทีที่ 1 และ นาทีที่ 5 หายใจสม่ำเสมอ
นาทีที่ 1= 9 คะแนน ปกติ ไปตามปกติ 2. ทำการดูดเสมหะให้ทารกเพื่อเปิดทางเดินหายใจให้ ปลายมือปลายเท้า
นาทีที่ 5= 9 คะแนน เกณฑ์การประเมิน โล่ง ในทารกแรกเกิดและประเมิน BT PR RR O2sat เขียวเล็กน้อย อุณ
-BT 36.8-37.2oC ทุก 30 นาที ภูมิปกติ
-RR 40-60 ครั้งต่อนาที 3. ดูแลเช็ดตาทารกด้วยสำลีชุบ 0.9% NSS แล้วป้าย BT 37oC
-PR 120-160 ครั ้ ง ต่ อ ตาด้วย Terramycin จากหัวตาไปหางตา ป้องกันการ RR 54 ครั้งต่อนาที
นาที ติดเชื้อหนองใน PR 150 ครั้งต่อ
-SpO2 96-100% 4. ดูแลเช็คศีรษะทารกและใช้หวี หวีผมเพื่อเอาคราบ นาที
- ไม่มีภาวะ cyanosis เลือดและคราบไขมันบนศีรษะออก และเช็ดตัวทารก Apgar score
-ไม่มีสารคัดหลั่งในจมูก จากตั้งแต่ศีรษะจรดปลายเท้า เพื่อความสะอาดของ นาทีที่ 1= 9
และในปาก ร่างกาย คะแนน
-ทารก Active ดี ไม่ซึม 5. ตรวจร่างกายทารกอย่างละเอียด เพื่อประเมินความ นาทีที่ 5= 9
Apgar score ผิดปกติ คะแนน
น า ท ี ท ี ่ 1 ม า ก ห รื อ 6. ดูแลเช็ดสายสะดือด้วย Povidine จากปลายไปโคน -ตรวจร่างกายไม่มี
เท่ากับ 7 คะแนน เพื่อป้องกันการติดเชื้อ ความผิดปกติ
นาทีที่ 5 มากหรือ 7. ดู แ ลให้ ท ารกได้ ร ั บ ยา Vit K 1 amp ที่ ต ำแหน่ ง -ได้รับ konakion
เท่ากับ 9 คะแนน vastus lateralis เพื่อทำให้เลือดแข็งตัว 1 g. ที่ตำแหน่ง
Vastus lateralis
ข้อวินิจฉัยการ วัตถุประสงค์ และ
ข้อมูลสนับสนุน กิจกรรมการพยาบาล ผลการประเมิน
พยาบาล เกณฑ์การประเมิน
8. วัดศีรษะทารก รอบอกและความยาว ตั้งแต่ศีรษะ -รอบศีรษะ 34
จนถึงส้นเท้า cm
9. วัด BT นับ RR อีกครั้งหลังเช็ดตัวเด็ก เพื่อประเมิน -รอบอก 32 cm
การเปลี่ยนแปลงของร่างกาย -ความยาว 55 cm
10. ดูแลห่อตัวทารกให้อุ่นโดยห่อผ้าสักหลาด เพื่อ -ดูแล keep
ป้องกันภาวะ Hypothermia warm ย้ายทารก
11. ดูแลให้ทารกดูดนมมารดา ภายใน 30 นาที หลัง ไป PP พร้อมทารก
คลอด โดยดูดข้างละ 20 นาที โดยดูแลให้ปากทารก
อมชิดลานนมคางชิดเต้านม โดยจะช่วยกระตุ้นการ
ไหลของน้ำนม เนื่องจาก Hormone Prolactin เริ่ม
ทำงานช่วยให้น้ำนมมาเร็วและช่วยกระตุ้น Oxytocin
ช่วยมดลูกหดรัดตัว
12. สังเกตการณ์ขั บถ่ายปัสสาวะและอุจจาระทารก
เพื่อดูการสูญเสียสารน้ำในทารก
13. ดูแล Obs. BT,PR, RR, O2sat ทุก 30 นาที จน
ครบย้ายไปหลังคลอด

You might also like