You are on page 1of 9

MORAL

DEVELOPMENT
THEORY
ท ฤ ษ ฎี พั ฒ น า ก า ร ท า ง จ ริ ย ธ ร ร ม ข อ ง โ ค ล เ บิ ร์ ก
ABOUT HIM
ลอเรนส์ โคลเบิร์ก (Lawrence Kohlberg) เป็นชาวอเมริกันนัก
จิตวิทยาที่รู้จักกันดีของเขาทฤษฎีของขั้นตอนของการพัฒนาจริยธรรมที่ทำหน้าที่เป็น
อาจารย์ที่ มหาวิทยาลัยชิคาโก และในบัณฑิตศึกษาที่มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ แม้ว่าจะ
ถือว่าผิดปกติในยุคของเขา แต่เขาตัดสินใจที่จะศึกษาหัวข้อการตัดสินทางศีลธรรม
โดยขยายเรื่องราวของJean Piagetเกี่ยวกับการพัฒนาคุณธรรมของเด็กจากเมื่อยี่สิบ
ห้าปีก่อน อันที่จริง Kohlberg ใช้เวลาห้าปีก่อนที่เขาจะสามารถเผยแพร่บทความตาม
ความคิดเห็นของเขาได้ การทำงานของโคลเบิร์กสะท้อนและขยายผลการวิจัยไม่เพียง
แต่เพียเจต์ แต่ยังทฤษฎีของนักปรัชญาจอร์จเฮอร์เบิร์มธุรสและเจมส์บอลด์วินมาร์ค
ในเวลาเดียวกัน เขากำลังสร้างสาขาใหม่ในด้านจิตวิทยา: "การพัฒนาคุณธรรม"
แนวคิด และหลักการเกี่ยวกับ
พัฒนาการ
โคลเบิร์ก (Lawrence Kohlberg) ได้ศึกษาวิจัยพัฒนาการทางจริยธรรมตามแนว
ทฤษฎีของพีอาเจต์ แต่โคลเบิรก์ได้ปรับปรุงวิธีวิจัย การวิเคราะห์ผลรวมและได้วิจัย
อย่างกว้างขวางในประเทศอื่นที่มีวัฒนธรรมต่างไป วิธีการวิจัย จะสร้างสถานการณ์
สมมติปัญหาทางจริยธรรมที่ผู้ตอบยากที่จะตัดสินใจได้ว่า “ถูก” “ผิด” “ควรทำ”
“ไม่ควรทำ” อย่างเด็ดขาด เพราะขึ้นอยู่กับองค์ประกอบหลายอย่าง การตอบจะขึ้น
กับวัยของผู้ตอบเกี่ยวกับความเห็นใจในบทบาทของผู้แสดงพฤติกรรมในเรื่องค่า
นิยม ความสำนึกในหน้าที่ในฐานะเป็นสมาชิกของสังคม ความยุติธรรมหรือหลัก
การที่ตนยึดถือ
โคลเบิร์ก เชื่อว่าในการพัฒนาการทางจริยธรรมนั้นต้องอาศัยการให้เหตุผลเชิงจริยธรรม ซึ่ง โคลเบิร์ก ได้
แบ่งระดับของจริยธรรมไว้ 3 ระดับ ในแต่ละระดับแบ่งการพัฒนาได้ระดับละ 2 ขั้น

ระดับก่อนกฎเกณฑ์
(Preconventional level)

ขั้นที่ 1 การถูกลงโทษและการเชื่อฟัง ขั้นที่ 2 ใช้หลักการแสวงหารางวัล

ขั้นนี้บุคคลจะยอมทำตามคำสั่งของผู้มีอำนาจเหนือตนโดยไม่มีเงื่อนไข ขั้นนี้บุคคลจะสนใจทำตามกฎข้อบังคับ เพื่อประโยชน์หรือความพอใจ


เพื่อป้องกันไม่ให้ตัวเองถูกลงโทษ หรือเกิดประโยชน์กับตัวเอง ของตนเอง เด็กจะเน้นความสำคัญของการได้รับรางวัลและคำชมเชย
มากกว่า
ระดับตามกฎเกณฑ์
(Conventional level)

ขั้นที่ 3 ความคาดหวังและการยอมรับในสังคม ขั้นที่ 4 กฎและระเบียบ

บุคคลจะให้ความสำคัญกับกลุ่มเพื่อนมาก จะทำทุกอย่างเพื่อให้เพื่อน ขั้นนี้บุคคลจะใช้หลักการกระทำตามหน้าที่ จะเข้าใจในหน้าที่ของ


ยอมรับ โดยส่วนใหญ่จะทำตามในสิ่งที่ตนตัดสินว่าคนอื่นจะ เห็นด้วย ตนเอง เข้าใจกฎระเบียบของสังคมมากขึ้น ส่งผลให้เกิดพฤติกรรมที่
หรือยอมรับ เพื่อให้เป็นที่ยอมรับของกลุ่มเพื่อน ไม่ขัดต่อกฎเกณฑ์สังคม
ระดับเหนือเกณฑ์
(Post conventional level)

ขั้นที่ 5 สัญญาสังคมหรือหลักการทำตามคำมั่นสัญญา ขั้นที่ 6 หลักการคุณธรรมสากล

ขั้นนี้บุคคลจะใช้หลักการเคารพในเหตุผลของตนเอง เคารพการตัดสินใจของ ขั้นนี้จะพบในขั้นของผู้ใหญ่ หรือบุคคลที่มีจริยธรรมขั้นสูงสุดที่จะยึดตาม


ตนเอง และการทำตามคำมั่นสัญญา เพื่อไม่ให้ผู้อื่นบอกว่าเป็นคนขาดเหตุผล หลักสากลของผู้เจริญแล้ว โดยจะคำนึงถึงความถูกต้องและยุติธรรม มีความ
หรือกล่าวได้ว่าในขั้นนี้บุคคลจะเห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าส่วนตัว ละอายใจในการกระทำชั่วและเกรงกลัวบาป
การประยุกต์ใช้ทฤษฎีพัฒนาการทางจริยธรรมของ
ลอว์เรนซ์ โคลเบิร์ก
ทฤษฎีพัฒนาการทางจริยธรรมของโคลเบิร์กทำให้ได้ทราบว่าในช่วงก่อน 10 ขวบเด็กจะ
เรียนด้านจริยธรรมจากผลของการกระทำของตนเอง ในช่วงวัยนี้เราควรชี้แจงถึงสิ่งที่ถูกต้องอย่างเหมาะสม มี
การใช้คำชมเชย ของรางวัลกับเด็กที่กระทำตนเป็นเด็กดี และมีการว่ากล่าวตักเตือนเด็กเมื่อทำผิดไม่ใช่
ปล่อยเพราะคิดว่ายังเยาว์วัยอยู่ ในการว่ากล่าวตักเตือนต้องอธิบายถึงสิ่งที่เด็กทำผิดด้วย
ผู้ปกครองและครูควรเป็นแบบอย่างที่ดี และควรหาแบบอย่างที่ดีให้เด็กเห็นเป็น
ตัวอย่าง เช่น การเล่าถึงผู้ที่กระทำความดี การเล่านิทานที่ให้แง่คิด เป็นต้น ในระดับนี้ครูควรเริ่มสอนเรื่อง
บทบาท หน้าที่ และกฎระเบียบการอยู่ร่วมกันในสังคม แต่ควรใช้วิธีที่เข้าใจง่ายเพื่อให้เด็กสนใจ เช่น
การให้ดูวิดีโอเกี่ยวกับกฎหมาย บทลงโทษ เป็นต้น
ตัวอย่างการใช้ในสถานการณ์จริง
ในการจำลองเหตุการณ์จะใช้การสอนระดับชั้น ป.3 ในวิชาภาษาอังกฤษ สอนในเรื่อง
VOCABBULARY SCHOOL RULES (กฎระเบียบในโรงเรียน) ในขณะที่สอนในห้องเรียน มีทั้ง
นักเรียนที่สนใจฟังและบางคนคุยและไม่ได้ตั้งใจเรียนขณะที่ครูสอน ซึ่งทำให้เกิดเสียงรบกวนเพื่อน
ที่ตั้งใจฟัง ทำให้เพื่อนที่ตั้งใจเรียนเสียสมาธิ
จากนั้นผู้สอนจึงตั้งกฎเกณฑ์ที่อ้างอิงจากหลักการในกระบวนการทฤษฎีของโคลเบิร์ก ช่วงอายุ
ก่อน 10 ปี ระดับก่อนกฎเกณฑ์ ขั้นที่ 2 ใช้หลักการแสวงหารางวัลหรือ ขั้นนี้บุคคลจะสนใจทำตามกฎ
ข้อบังคับ เพื่อประโยชน์หรือความพอใจของตนเอง ใครทำงานดี เสร็จทันเวลา ทำงานเรียบร้อย
ไม่เสียงดัง ตั้งใจเรียน ในท้ายเทอมก็จะมีรางวัล เช่น ขนมหรือเครื่องเขียน หากใครทำผิกกฎก็จะไม่
ได้รางวัล จึงทำให้เด็กสนใจที่จะปฎิบัติตามกฎเกณฑ์ เพื่อที่จะได้รางวัล
จัดทำโดย
นางสาว ศิ วนาถ มุ่ งเกี่ ยวกลาง รหั ส 65114530213
นางสาว ปริ ญาพั ชร์ ประดิ ษฐ์ ทองคำ รหั ส 65114530207
นางสาว ณั ชชา หมวกเสนา รหั ส 65114530217
นางสาว ธิ ติ ยากรณ์ ศรี หมุ น รหั ส 65114530230

คณะมนุ ษศาสตร์ และสั งคมศาสตร์ สาขาวิ ชาภาษาอั งกฤษ(ค.บ)


ชั้ นปี ที่ 1 หมู่ เรี ยนที่ 2

เสนอ
อาจารย์ ดร.ฐิ ติ รั ตน์ คล่ องดี

You might also like