You are on page 1of 200

หลักสูตรสถานศึกษา

โรงเรียนบ้านเมืองแก
พุทธศักราช ๒๕๖๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๑-๖
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถม
ศึกษาสุรินทร์ เขต ๒
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น
พื้นฐาน

คำนำ
จุดประสงค์การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนบ้านเมืองแก
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1 – 6 ตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เพื่อใช้ในการ
บริหารการศึกษาและพัฒนาผู้เรียนเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ตามธรรมชาติ
และเต็มศักยภาพตามเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
พุทธศักราช 2542 ฉบับปรับปรุง ( พ.ศ. 2545 )
ในการจัดทำครั้งนี้ได้ทำการประเมินผลการใช้หลักสูตรสถาน
ศึกษากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ศึกษาสภาพปั ญหา บริบท
ของการจัดการศึกษา แต่งตั้งคณะทำงาน วางแผนการปรับปรุง
หลักสูตรรายกลุ่มสาระการเรียนรู้ ประเมินผลการใช้หลักสูตร ก่อนใช้
ระหว่างใช้ และหลังใช้เชิงระบบ จนได้หลักสูตรสถานศึกษากลุ่มสาระ
การเรียนรู้ภาษาต่างประเทศชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๑ – ๖ ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ฉบับสมบูรณ์
ขอขอบคุณ ประธานกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
ตัวแทนผู้ปกครอง คณะครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกท่าน คณะผู้
เชี่ยวชาญ คณะศึกษานิเทศก์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุรินทร์
เขต ๒ ที่ให้การสนับสนุน ร่วมมือ พัฒนาจนแล้วเสร็จ

คณะผู้จัดทำ

คำสั่ง โรงเรียนบ้านเมืองแก
ที่ 23 /2561
เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการและอนุกรรมการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2561 โรงเรียนบ้านเมืองแก ตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ด้วยสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวง
ศึกษาธิการได้ประกาศให้ทุกโรงเรียนทั่วประเทศได้ใช้หลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ฉบับปรับปรุง 2561 ในปี การ
ศึกษา 2561 เพื่อให้การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาเป็ นไปตาม
วัตถุประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลาง พุทธศักราช 2551 และสัมฤทธิ์ผล
ตามเป้ าหมายที่วางไว้ จึงขอแต่งตั้งคณะกรรมการและอนุกรรมการ
ดำเนินการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
2561 ตามสาระต่าง ๆ ดังต่อไปนี้
1.คณะกรรมการจัดทำหลักสูตร ประกอบด้วย
1. นายวิจิตร คงทรัพย์ ครู รักษาราชการแทนผอ.โรงเรียน
ประธานคณะกรรมการ
2. นางชิดกมล ชมพันธ์ ครู รอง
ประธานกรรมการ
3. นางสาคร คงทรัพย์ ครู กรรมการ
4. นายศุภฤกษ์ ทองหล่อ ครู กรรมการ
5. นายประสพ แสนสุข ครู
กรรมการ
6. นายนิคม บุญล้อม ครู กรรมการ
7. นางสาวจีรวรรณ จันทร์กาบ ครู
กรรมการ
8. นางสุภิญญา บุญมะยา ครู กรรมการ
9. นางสาวสุนิสา สุมมาตย์พนักงานราชการ
กรรมการ
10. นางสาวพรนภา สิมอุตม์ ครูอัตราจ้าง
กรรมการ
11. นางสาวเกื้อกูล พิศเพ็ง ครูธุรการ กรรมการและ
เลขานุการ
12 .นายประสิทธิ์ อุดหนุน ครูอัตราจ้าง
กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
มีหน้าที่จัดทำหลักสูตรสถานศึกษาตามสาระต่าง ๆ และพัฒนา
หลักสูตรสถานศึกษาในกลุ่มสาระที่รับผิดชอบ ให้สำเร็จตามเป้ าหมาย
ทันต่อการประกาศใช้ในภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2561

2.คณะอนุกรรมการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ประจำกลุ่มสาระการ
เรียนรู้
ลำดับ ชื่อ – สกุล กลุ่มสาระที่รับผิดชอบ
ที่
1. นายประสพ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
แสนสุข
2. นายนิคม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาฯ
บุญล้อม
3. นางสาคร คง กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
ทรัพย์
4. นายวิจิตร คง กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาฯ
ทรัพย์
5. นายศุภฤกษ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพฯ
ทองหล่อ
6. นายวิจิตร คง กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศและ
ทรัพย์ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
7. นางชิดกมล ชม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
พันธ์
8. นายศุภฤกษ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

ทองหล่อ
3.คณะอนุกรรมการ จัดทำระเบียบการวัดผลประเมินผลและการเทียบ
โอน ประกอบด้วย
1.นายวิจิตร คง รักษาราชการแทนผู้ ประธานคณะ
ทรัพย์ อำนวยการโรงเรียน กรรมการ
2.นายศุภฤกษ์ ครู รองประธานคณะ
ทองหล่อ กรรมการ
3.นางชิดกมล ชม ครู กรรมการ
พันธ์
4.นางสาคร คง ครู กรรมการ
ทรัพย์
5.นางสาวเกื้อกูล ครูธุรการ กรรมการและ

พิศเพ็ง เลขานุการ

6.นายประสิทธิ์ ครูอัตราจ้าง กรรมการและผู้ช่วย


อุดหนุน เลขานุการ

มีหน้าที่
1.กำหนดสัดส่วนเวลาเรียน โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา การจัดแผนการ

เรียน/กลุ่มการเรียนของสาระการเรียนรู้และการจัดทำและพัฒนาหลักสูตรตามกลุ่ม
สาระการเรียนรู้รายวิชาพื้นฐาน วิชาเพิ่มเติม กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน คุณลักษณะ
อันพึงประสงค์ และการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน การวัดผลประเมินผลและการ
เทียบโอน
2.ดำเนินการพัฒนาการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็ นสำคัญและการ

วัดประเมินผลการเรียนรู้ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่แสดงถึงศักยภาพและความสามารถที่แท้
จริงของผู้เรียน
3.พัฒนาแผนการเรียนรู้ให้เหมาะสม เพื่อให้การเรียนการสอนนำไปสู่การ

เรียนรู้มากที่สุด
4.พัฒนาสื่อ นวัตกรรมที่เหมาะสมและสอดคล้องกับการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้

เรียนเป็ นสำคัญ
5.กำหนดแนวทางการพัฒนา เครื่องมือ และกำกับติดตามการดำเนินการวัด

ประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนให้เป็ นไปตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดของ
กลุ่มสาระฯและกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
6. วิเคราะห์พัฒนาการของนักเรียนเป็ นรายบุคคลและรายกลุ่มหรือชั้นเรียน

7. ดำเนินการวิจัยการศึกษาในชั้นเรียนเพื่อแก้ปั ญหาและพัฒนากระบวนการ

เรียนรู้ และการวัดและประเมินผล ให้เกิดและพัฒนาสาห้องเรียนคุณภาพ


8. ดำเนินงานนิเทศภายในสถานศึกษาในการแลกเปลี่ยน เรียนรู้และ

ประสบการณ์ เพื่อพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนและประสิทธิภาพในการปฏิบัติ
งานส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
9. รวบรวมข้อมูลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรในกลุ่ม
สาระการเรียนรู้และการจัดกระบวนการเรียนรู้ตลอดจนตรวจสอบและ
ประเมินการบริหารหลักสูตรสาระการเรียนรู้ วางแผนพัฒนาการบริหาร
หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน การอ่าน คิด
วิเคราะห์และเขียนคุณลักษณะอันพึงประสงค์ การวัดประเมินผลและ
การเทียบโอนอย่างเป็ นระบบ
10. รายงานผลการปฏิบัติงานตามมาตรฐานการปฏิบัติงานของครู
และผลการบริหารหลักสูตรสถานศึกษา ของกลุ่มสาระการเรียนรู้และ
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอัน
พึงประสงค์ การวัดประเมินผลและการเทียบโอน โดยเน้นผลที่เกิดขึ้น
กับผู้เรียนต่อคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการของสถาน
ศึกษา
ขอให้คณะกรรมการและอนุกรรมการที่ได้รับแต่งตั้งมีหน้าที่ในการ
จัดทำและพัฒนาปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา ของโรงเรียนบ้านเมือง
แก ให้สามารถใช้ได้ทันตามกำหนดเวลาและเป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
และสอดคล้องตามมาตรฐาน และตัวชี้วัดของหลักสูตรแกนกลางการ
ศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 โดยมีการพัฒนาหลักสูตรสถาน
ศึกษาให้บรรลุเป้ าหมายอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

ทังนี้ ตั้งแต่ วันที่ 7 เดือนพฤษภาคม พ.ศ.2561


สั่ง ณ วันที่ 7 เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2561
(นายวิจิตร คงทรัพย์)
ครูชำนาญการพิเศษ รักษาราชการแทน
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านเมืองแก
สารบัญ
หน้า
คำนำ ก

คำสั่งโรงเรียนบ้านเมืองแก ที่ 23/2561 ลงวันที่ 7 ข

เมษายน 2561 เรื่อง


แต่งตั้งคณะกรรมการบริหารหลักสูตรสถานศึกษา
ความนำ 1

วิสัยทัศน์ 3

หลักการ 3

จุดหมาย 4

สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 4

สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
มาตรฐานการเรียนรู้ 6

โครงสร้างเวลาเรียน 7

ทำไมต้องเรียนภาษาต่างประเทศ 8

คุณภาพผู้เรียน 9

ตัวชี้วัดชั้นปี 11

ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง 18

โครงสร้างหลักสูตร 38

คำอธิบายรายวิชา 39

โครงสร้างรายวิชา 45

อภิธานศัพท์ 83

เอกสารอ้างอิง 85
คณะผู้จัดทำ 86
ความนำ
กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ใน
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง
พ.ศ.๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
๒๕๕๑ ตามคำสั่งกระทรวงศึกษาธิการที่ สพฐ. ๑๒๓๙/๒๕๖๐ ลงวันที่ ๗
สิงหาคม ๒๕๖๐ และคำสั่งสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ที่ ๓๐/๒๕๖๑ ลงวันที่ ๕ มกราคม ๒๕๖๑ ให้เปลี่ยนแปลงมาตรฐานการ
เรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ (ฉ
บับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) โดยมีคำสั่งให้โรงเรียนดำเนินการใช้หลักสูตร
ในปี การศึกษา ๒๕๖๑ โดยให้ใช้ในชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๑ และ ๔ ตั้งแต่ปี
การศึกษา ๒๕๖๑ เป็ นต้นมา ให้เป็ นหลักสูตรแกนกลางของประเทศ โดย
กำหนดจุดหมาย และมาตรฐานการเรียนรู้เป็ นเป้ าหมายและกรอบ
ทิศทางในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนมีพัฒนาการเต็มตามศักยภาพ มี
คุณภาพและมีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ เพื่อให้สอดคล้องกับ
นโยบายและเป้ าหมายของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
2

โรงเรียนบ้านเมืองแก จึงได้ทำการปรับปรุงหลักสูตรแกนกลางการ
ศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐
ในกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ใน
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ตลอดทั้งสาระ
อื่นๆอีกด้วย เพื่อนำไปใช้ประโยชน์และเป็ นกรอบในการวางแผนและ
พัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษาและจัดการเรียนการสอน โดยมีเป้ า
หมายในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ให้มีกระบวนการนำหลักสูตรไปสู่การ
ปฏิบัติ โดยมีการกำหนดวิสัยทัศน์ จุดหมาย สมรรถนะสำคัญของผู้
เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
โครงสร้างเวลาเรียน ตลอดจนเกณฑ์การวัดประเมินผลให้มีความ
สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ เปิ ดโอกาสให้โรงเรียนสามารถ
กำหนดทิศทางในการจัดทำหลักสูตรการเรียนการสอนในแต่ละระดับ
ตามความพร้อมและจุดเน้น โดยมีกรอบแกนกลางเป็ นแนวทางที่ชัดเจน
เพื่อตอบสนองนโยบายไทยแลนด์ ๔.๐ มีความพร้อมในการก้าวสู่สังคม
คุณภาพ มีความรู้อย่างแท้จริง และมีทักษะในศตวรรษที่ ๒๑
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดที่กำหนดไว้ในเอกสารนี้ ช่วยทำให้
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในทุกระดับเห็นผลคาดหวังที่ต้องการในการ
พัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนที่ชัดเจนตลอดแนว ซึ่งจะสามารถช่วยให้
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในระดับท้องถิ่นและสถานศึกษาร่วมกันพัฒนา
หลักสูตรได้อย่างมั่นใจ ทำให้การจัดทำหลักสูตรในระดับสถานศึกษามี
คุณภาพและมีความเป็ นเอกภาพยิ่งขึ้น อีกทั้งยังช่วยให้เกิดความชัดเจน
เรื่องการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ และช่วยแก้ปั ญหาการเทียบโอน
ระหว่างสถานศึกษา ดังนั้นในการพัฒนาหลักสูตรในทุกระดับตั้งแต่ระดับ
ชาติจนกระทั่งถึงสถานศึกษา จะต้องสะท้อนคุณภาพตามมาตรฐานการ
เรียนรู้และตัวชี้วัดที่กำหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
3

รวมทั้งเป็ นกรอบทิศทางในการจัดการศึกษาทุกรูปแบบ และครอบคลุมผู้


เรียนทุกกลุ่มเป้ าหมายในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การจัดหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานจะประสบความสำเร็จตามเป้ า
หมายที่คาดหวังได้ ทุกฝ่ าย ที่เกี่ยวข้องทั้งระดับชาติ ชุมชน ครอบครัว
และบุคคลต้องร่วมรับผิดชอบ โดยร่วมกันทำงานอย่างเป็ นระบบ และต่อ
เนื่อง ในการวางแผน ดำเนินการ ส่งเสริมสนับสนุน ตรวจสอบ ตลอดจน
ปรับปรุงแก้ไข เพื่อพัฒนาเยาวชนของชาติไปสู่คุณภาพตามมาตรฐานการ
เรียนรู้ที่กำหนดไว้

วิสัยทัศน์หลักสูตรสถานศึกษา ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐


หลักสูตรโรงเรียนบ้านเมืองแก พุทธศักราช ๒๕๖๑ ตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เป็ น
หลักสูตรที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคนเป็ นบุคคลแห่งการเรียนรู้สู่มาตรฐาน
สากลและเป็ นมนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งร่างกาย ความรู้คู่คุณธรรม มี
ความเป็ นผู้นำของสังคมมีจิตสำนึกในความเป็ นพลเมืองไทยและเป็ น
พลโลกโดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงยึดมั่นในการปกครอง
ตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็ นประมุข มีความรู้และ
ทักษะพื้นฐานสามารถใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีรวมทั้งเจตคติที่จำเป็ น
ต่อการศึกษาในการประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิตโดยมุ่งเน้นผู้
เรียนเป็ นสำคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่าทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนา
ตนเองได้เต็มตามศักยภาพ
เป้ าประสงค์หลักสูตร (Corporate objective)
๑.เพื่อให้ผู้เรียนทุกคนได้รับการปลูกฝั งคุณธรรม จริยธรรม มี
คุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ มีการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ มีทักษะชีวิต มีสุขภาพกาย
และสุขภาพจิตดี นำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็ นแนวทาง
การดำเนินชีวิต เป็ นผู้นำที่ดีของสังคมและมีความสามารถในการใช้
เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้และการสื่อสารอย่างหลากหลาย ผู้เรียนมี
ศักยภาพเป็ นพลโลก (Worid Citizen)
4

2. เพื่อให้สถานศึกษามีระบบการบริหารและจัดการศึกษาด้วย
ระบบคุณภาพ (Quality
System Management) เพื่อรองรับการกระจายอำนาจอย่างทั่วถึง
3. เพื่อให้บุคลากรทุกคนมีทักษะวิชาชีพในการพัฒนาการเรียนการ
สอนและใช้
นวัตกรรมเทคโนโลยีที่ทันสมัยยกระดับการจัดการเรียนการสอนเทียบ
เคียงมาตรฐานสากล (Worle Class standard)
4. เพื่อให้การใช้งบประมาณและทรัพยากรของทุกหน่วยงานเป็ นไป
ตามเป้ าหมายได้
อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด

วิสัยทัศน์
โรงเรียนบ้านเมืองแก มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้คู่คุณธรรม โดย
ยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เอกลักษณ์
เกษตรอินทรีย์ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
อัตลักษณ์
คุณธรรมนำวิชาการ

หลักการ

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีหลักการที่สำคัญ ดังนี้


1. เป็ นหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเป็ นเอกภาพของชาติ มี
จุดหมายและมาตรฐานการเรียนรู้เป็ นเป้ าหมายสำหรับพัฒนาเด็กและ
เยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพื้นฐานของความเป็ น
ไทยควบคู่กับความเป็ นสากล
2. เป็ นหลักสูตรการศึกษาเพื่อปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้
รับการศึกษาอย่างเสมอภาค
และมีคุณภาพ
3. เป็ นหลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอำนาจ ให้สังคมมี
ส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
5

ให้สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของท้องถิ่น
4. เป็ นหลักสูตรการศึกษาที่มีโครงสร้างยืดหยุ่นทั้งด้านสาระการ
เรียนรู้ เวลาและการจัด การเรียนรู้
5. เป็ นหลักสูตรการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็ นสำคัญ
6. เป็ นหลักสูตรการศึกษาสำหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ
และตามอัธยาศัย ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้ าหมาย สามารถเทียบโอนผล
การเรียนรู้ และประสบการณ์
6

จุดหมาย
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็ นคนดี
มีปั ญญา มีความสุข
มีศักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ จึงกำหนดเป็ นจุด
หมายเพื่อให้เกิดกับผู้เรียน เมื่อจบ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน ดังนี้
1. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่า
ของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา
หรือศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
2. มีความรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปั ญหา
การใช้เทคโนโลยี และมีทักษะชีวิต
3. มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัย และรักการออก
กำลังกาย
4. มีความรักชาติ มีจิตสำนึกในความเป็ นพลเมืองไทยและพลโลก
ยึดมั่นในวิถีชีวิตและการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหา
กษัตริย์ทรงเป็ นประมุข
5. มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปั ญญาไทย การ
อนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม มีจิตสาธารณะที่มุ่งทำประโยชน์และ
สร้างสิ่งที่ดีงามในสังคม และอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ในการพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานที่กำหนด ซึ่งจะช่วยให้ผู้
เรียนเกิดสมรรถนะสำคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ดังนี้
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะ
สำคัญ ๕ ประการ ดังนี้
1. ความสามารถในการสื่อสาร เป็ นความสามารถในการรับและ
ส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ
ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ
ประสบการณ์อันจะเป็ นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้ง
การเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปั ญหาความขัดแย้งต่างๆ การเลือกรับ
หรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการ
7

เลือกใช้วิธีการสื่อสาร ที่มีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่มีต่อ
ตนเองและสังคม
2. ความสามารถในการคิด เป็ นความสามารถในการคิดวิเคราะห์
การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ
และการคิดเป็ นระบบ เพื่อนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศ
เพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม
3. ความสามารถในการแก้ปั ญหา เป็ นความสามารถในการแก้
ปั ญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐาน
ของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และ
การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์
ความรู้มาใช้ในการป้ องกันและแก้ไขปั ญหา และมีการตัดสินใจที่มี
ประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้น ต่อตนเอง สังคมและ
สิ่งแวดล้อม
8

4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็ นความสามารถในการนำ


กระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวัน การเรียนรู้ด้วย
ตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทำงาน และการอยู่ร่วมกันในสังคม
ด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปั ญหาและ
ความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการ
เปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยง
พฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็ นความสามารถในการ
เลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ และมีทักษะกระบวนการทาง
เทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร
การทำงาน การแก้ปั ญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมี
คุณธรรม
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มี
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้
อย่างมีความสุข ในฐานะเป็ นพลเมืองไทยและพลโลก ดังนี้
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
2. ซื่อสัตย์สุจริต
3. มีวินัย
4. ใฝ่ เรียนรู้
5. อยู่อย่างพอเพียง
6. มุ่งมั่นในการทำงาน
7. รักความเป็ นไทย
8. มีจิตสาธารณะ
9

มาตรฐานการเรียนรู้

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้

สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร
มาตรฐาน ต 1.1 เข้าใจและตีความเรื่องที่ฟั งและอ่านจากสื่อประเภท
ต่างๆ และแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล
มาตรฐาน ต 1.2 มีทักษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยน
ข้อมูลข่าวสาร แสดงความรู้สึก และความคิดเห็นอย่างมี
ประสิทธิภาพ
มาตรฐาน ต 1.3 นำเสนอข้อมูลข่าวสาร ความคิดรวบยอด และ
ความคิดเห็นในเรื่องต่างๆ โดยการพูดและการเขียน

สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม
มาตรฐาน ต 2.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของ
เจ้าของภาษา และนำไปใช้ ได้อย่างเหมาะสมกับกาลเทศะ
มาตรฐาน ต 2.2 เข้าใจความเหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษา
และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา
กับภาษาและวัฒนธรรมไทย และนำมาใช้อย่างถูกต้องและ
เหมาะสม

สาระที่ 3 ภาษากับความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น
มาตรฐาน ต 3.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในการเชื่อมโยงความรู้กับกลุ่ม
สาระการเรียนรู้อื่น และเป็ นพื้นฐานในการพัฒนา แสวงหา
ความรู้ และเปิ ดโลกทัศน์ของตน

สาระที่ 4 ภาษากับความสัมพันธ์กับชุมชนและโลก
10

มาตรฐาน ต 4.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในสถานการณ์ต่างๆ ทั้งใน


สถานศึกษา ชุมชน และสังคม
มาตรฐาน ต 4.2 ใช้ภาษาต่างประเทศเป็ นเครื่องมือพื้นฐานในการ
ศึกษาต่อ การประกอบอาชีพ และ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้
กับสังคมโลก
11
โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา
แผนภูมิตารางที่ 5 แสดงโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา
เวลาเรียน (ชั่วโมง / ปี )
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ระดับประถมศึกษา
/กิจกรรม ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6
• กลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาไทย 200 200 200 160 160 160
คณิตศาสตร์ 200 200 200 160 160 160
วิทยาศาสตร์ 40 40 40 120 120 120
สังคมศึกษา ศาสนา 40 40 40 80 80 80
และวัฒนธรรม
ประวัติศาสตร์ 40 40 40 40 40 40
สุขศึกษาและพลศึกษา 40 40 40 40 40 40
ศิลปะ 40 40 40 40 40 40
การงานอาชีพและ 40 40 40 80 80 80
เทคโนโลยี
ภาษาต่างประเทศ 200 200 200 120 120 120
รวมเวลาเรียน(พื้นฐาน) 840 840 840 840 840 840
•รายวิชาเพิ่มเติม
เกษตรอินทรีย์ 40 40 40 40 40 40
หน้าที่พลเมือง - - - - - -
รวมเวลาเรียน(เพิ่มเติม) 40 40 40 40 40 40
•กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
- กิจกรรมแนะแนว 40 40 40 40 40 40
- กิจกรรมนักเรียน
1 ลูกเสือเนตรนารี 30 30 30 30 30 30
2 ชุมนุม 40 40 40 40 40 40
- กิจกรรมเพื่อสังคมและ 10 10 10 10 10 10
สาธารณประโยชน์
รวมเวลากิจกรรมพัฒนาผู้ 120 120 120 120 120 120
เรียน
รวมเวลาเรียนทั้งหมด 1,000 1,000 1,000 1,000 1,000 1,000
กิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลา 5 5 5 5 5 5
รู้
12

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ

ทำไมต้องเรียนภาษาต่างประเทศ

ในสังคมโลกปั จจุบัน การเรียนรู้ภาษาต่างประเทศมีความสำคัญและ


จำเป็ นอย่างยิ่ง
ในชีวิตประจำวัน เนื่องจากเป็ นเครื่องมือสำคัญในการติดต่อสื่อสาร การ
ศึกษา การแสวงหาความรู้
การประกอบอาชีพ การสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับวัฒนธรรมและวิสัย
ทัศน์ของชุมชนโลก และตระหนักถึงความหลากหลายทางวัฒนธรรมและ
มุมมองของสังคมโลก นำมาซึ่งมิตรไมตรีและความร่วมมือกับประเทศ
ต่างๆ ช่วยพัฒนาผู้เรียนให้มีความเข้าใจตนเองและผู้อื่นดีขึ้น เรียนรู้และ
เข้าใจความแตกต่างของภาษาและวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี
การคิด สังคม เศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง มีเจตคติที่ดีต่อการ
ใช้ภาษาต่างประเทศ และใช้ภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่อสารได้ รวม
ทั้งเข้าถึงองค์ความรู้ต่างๆ ได้ง่ายและกว้างขึ้น และมีวิสัยทัศน์ในการ
ดำเนินชีวิตภาษาต่างประเทศที่เป็ นสาระการเรียนรู้พื้นฐาน ซึ่งกำหนดให้
เรียนตลอดหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน คือ ภาษาอังกฤษ ส่วนภาษา
ต่างประเทศอื่น เช่น ภาษาฝรั่งเศส เยอรมัน จีน ญี่ปุ่น อาหรับ บาลี และ
ภาษากลุ่มประเทศเพื่อนบ้าน หรือภาษาอื่นๆ ให้อยู่ในดุลยพินิจของสถาน
ศึกษาที่จะจัดทำรายวิชาและจัดการเรียนรู้ตามความเหมาะสม

เรียนรู้อะไรในภาษาต่างประเทศ

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ มุ่งหวังให้ผู้เรียนมีเจตคติที่
ดีต่อภาษาต่างประเทศ สามารถใช้ภาษาต่างประเทศ สื่อสารใน
สถานการณ์ต่าง ๆ แสวงหาความรู้ ประกอบอาชีพ และศึกษาต่อ ในระดับ
13

ที่สูงขึ้น รวมทั้งมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องราวและวัฒนธรรมอันหลาก
หลายของประชาคมโลก และสามารถถ่ายทอดความคิดและวัฒนธรรม
ไทยไปยังสังคมโลกได้อย่างสร้างสรรค์ ประกอบด้วยสาระสำคัญ ดังนี้
 ภาษาเพื่อการสื่อสาร การใช้ภาษาต่างประเทศในการฟั ง-
พูด-อ่าน-เขียน แลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสาร แสดงความรู้สึกและความ
คิดเห็น ตีความ นำเสนอข้อมูล ความคิดรวบยอดและความคิดเห็นใน
เรื่องต่างๆ และสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลอย่างเหมาะสม
 ภาษาและวัฒนธรรม การใช้ภาษาต่างประเทศตามวัฒนธรรม
ของเจ้าของภาษาความสัมพันธ์ ความเหมือนและความแตกต่างระหว่าง
ภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา ภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าของ
ภาษากับวัฒนธรรมไทย และนำไปใช้อย่างเหมาะสม
 ภาษากับความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น การใช้
ภาษาต่างประเทศในการเชื่อมโยงความรู้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น เป็ น
พื้นฐานในการพัฒนา แสวงหาความรู้ และเปิ ดโลกทัศน์ของตน
 ภาษากับความสัมพันธ์กับชุมชนและโลก การใช้ภาษาต่าง
ประเทศในสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน ชุมชน
และสังคมโลก เป็ นเครื่องมือพื้นฐานในการศึกษาต่อ ประกอบอาชีพ
และแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสังคมโลก
คุณภาพผู้เรียน

จบชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3

 ปฏิบัติตามคำสั่ง คำขอร้องที่ฟั ง อ่านออกเสียงตัวอักษร คำ กลุ่ม


คำ ประโยคง่ายๆ และ บทพูดเข้าจังหวะง่ายๆ ถูกต้องตามหลักการ
อ่าน บอกความหมายของคำและกลุ่มคำที่ฟั งตรงตามความหมาย ตอบ
คำถามจากการฟั งหรืออ่านประโยค บทสนทนาหรือนิทานง่ายๆ
14

 พูดโต้ตอบด้วยคำสั้นๆ ง่ายๆ ในการสื่อสารระหว่างบุคคลตาม


แบบที่ฟั ง ใช้คำสั่งและ
คำขอร้องง่ายๆ บอกความต้องการง่ายๆ ของตนเอง พูดขอและให้ข้อมูล
เกี่ยวกับตนเองและเพื่อน
บอกความรู้สึกของตนเองเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ ใกล้ตัวหรือกิจกรรมต่างๆ
ตามแบบที่ฟั ง
 พูดให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเองและเรื่องใกล้ตัว จัดหมวดหมู่คำตาม
ประเภทของบุคคล สัตว์ และสิ่งของตามที่ฟังหรืออ่าน
 พูดและทำท่าประกอบ ตามมารยาทสังคม/วัฒนธรรมของ
เจ้าของภาษา บอกชื่อและคำศัพท์ง่ายๆ เกี่ยวกับเทศกาล/วัน
สำคัญ/งานฉลอง และชีวิตความเป็ นอยู่ของเจ้าของภาษา เข้าร่วม
กิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมที่เหมาะกับวัย
 บอกความแตกต่างของเสียงตัวอักษร คำ กลุ่มคำ และประโยค
ง่ายๆ ของภาษาต่างประเทศและภาษาไทย
 บอกคำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น
 ฟั ง/พูดในสถานการณ์ง่ายๆ ที่เกิดขึ้นในห้องเรียน
 ใช้ภาษาต่างประเทศ เพื่อรวบรวมคำศัพท์ที่เกี่ยวข้องใกล้ตัว
 มีทักษะการใช้ภาษาต่างประเทศ (เน้นการฟั ง-พูด) สื่อสารตาม
หัวเรื่องเกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว โรงเรียน สิ่งแวดล้อมใกล้ตัว
อาหาร เครื่องดื่ม และเวลาว่างและนันทนาการ ภายในวงคำศัพท์
ประมาณ 300-450 คำ (คำศัพท์ที่เป็ นรูปธรรม)
 ใช้ประโยคคำเดียว (One Word Sentence) ประโยคเดี่ยว
(Simple Sentence) ในการสนทนาโต้ตอบตามสถานการณ์ในชีวิต
ประจำวัน

จบชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6
15

 ปฏิบัติตามคำสั่ง คำขอร้อง และคำแนะนำที่ฟั งและอ่าน อ่าน


ออกเสียงประโยค ข้อความ นิทาน และบทกลอนสั้นๆ ถูกต้องตามหลัก
การอ่าน เลือก/ระบุประโยคและข้อความตรงตามความหมายของ
สัญลักษณ์หรือเครื่องหมายที่อ่าน บอกใจความสำคัญ และตอบคำถาม
จากการฟั งและอ่าน บทสนทนา นิทานง่ายๆ และเรื่องเล่า
 พูด/เขียนโต้ตอบในการสื่อสารระหว่างบุคคล ใช้คำสั่ง คำขอ
ร้อง และให้คำแนะนำ พูด/เขียนแสดงความต้องการ ขอความช่วย
เหลือ ตอบรับและปฏิเสธการให้ความช่วยเหลือในสถานการณ์ง่ายๆ
พูดและเขียนเพื่อขอและให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง เพื่อน ครอบครัว และ
เรื่องใกล้ตัว พูด/เขียนแสดงความรู้สึกเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ ใกล้ตัว
กิจกรรมต่างๆ พร้อมทั้งให้เหตุผลสั้นๆ ประกอบ
 พูด/เขียนให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง เพื่อน และสิ่งแวดล้อมใกล้ตัว
เขียนภาพ แผนผัง แผนภูมิ และตารางแสดงข้อมูลต่างๆ ที่ฟั งและอ่าน
พูด/เขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ ใกล้ตัว
 ใช้ถ้อยคำ น้ำเสียง และกิริยาท่าทางอย่างสุภาพ เหมาะสม ตาม
มารยาทสังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา ให้ข้อมูลเกี่ยวกับ
เทศกาล/วันสำคัญ/งานฉลอง/ชีวิตความเป็ นอยู่ของเจ้าของภาษา เข้า
ร่วมกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมตามความสนใจ
 บอกความเหมือน /ความแตกต่างระหว่างการออกเสียงประโยค
ชนิดต่างๆ การใช้เครื่องหมายวรรคตอน และการลำดับคำ ตาม
โครงสร้างประโยคของภาษาต่างประเทศและภาษาไทย เปรียบเทียบ
ความเหมือน/ความแตกต่างระหว่างเทศกาล งานฉลองและประเพณีของ
เจ้าของภาษากับของไทย
 ค้นคว้า รวบรวมคำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นจาก
แหล่งการเรียนรู้ และนำเสนอด้วยการพูด/การเขียน
16

 ใช้ภาษาสื่อสารในสถานการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในห้องเรียนและ
สถานศึกษา
 ใช้ภาษาต่างประเทศในการสืบค้นและรวบรวมข้อมูลต่างๆ
 มีทักษะการใช้ภาษาต่างประเทศ (เน้นการฟั ง-พูด-อ่าน-เขียน)
สื่อสารตามหัวเรื่องเกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว โรงเรียน สิ่งแวดล้อม
อาหาร เครื่องดื่ม เวลาว่างและนันทนาการ สุขภาพและสวัสดิการ การ
ซื้อ-ขาย และลมฟ้ าอากาศ ภายในวงคำศัพท์ประมาณ 1,050-1,200 คำ (
คำศัพท์ที่เป็ นรูปธรรมและนามธรรม)
 ใช้ประโยคเดี่ยวและประโยคผสม (Compound Sentences)
สื่อความหมายตามบริบทต่างๆ

ตัวชี้วัดชั้นปี
สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร
17

มาตรฐาน ต 1.1 เข้าใจและตีความเรื่องที่ฟั งและอ่านจากสื่อประเภท


ต่างๆ และแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล
ตัวชี้วัดชั้นปี
ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6
1. ปฏิบัติ 1. ปฏิบัติ1. ปฏิบัติ 1. ปฏิบัติ 1. ปฏิบัติ 1. ปฏิบัติ
ตาม ตาม ตาม ตามคำสั่ง ตามคำสั่ง ตามคำสั่ง
คำสั่ง คำสั่ง คำสั่ง คำขอร้อง คำขอร้อง คำขอร้อง
ง่ายๆ ที่ และ และ และคำ และคำ และคำ
ฟั ง คำขอร้อง คำขอร้อง แนะนำ แนะนำ แนะนำ ที่
2. ระบุ ง่ายๆ ที่ ที่ฟั งหรือ (instructioง่ายๆ ที่ ฟั งและ
ตัวอักษร ฟั ง อ่าน ns) ฟั งและ อ่าน
และเสียง 2.ระบุตัว 2. อ่าน ง่ายๆ ที่ฟั ง
อ่าน 2. อ่าน
อ่านออก อักษร ออกเสียง หรืออ่าน 2. อ่าน ออกเสียง
เสียงและ และเสียง คำ 2. อ่านออก ออกเสียง ข้อความ
สะกดคำ สะกดคำ เสียงคำ ประโยค นิทานและ
ง่ายๆ ถูก อ่านออก อ่านกลุ่ม สะกดคำ ข้อความ บทกลอน
ต้องตาม เสียงคำ คำ อ่านกลุ่มคำและ สั้นๆ ถูก
หลักการ สะกดคำ ประโยค ประโยค บทกลอน ต้องตาม
อ่าน และอ่าน และบท ข้อความ สั้นๆ ถูก หลักการ
3. เลือก ประโยค พูดเข้า ง่ายๆ และ ต้องตาม อ่าน
ภาพ ง่ายๆ ถูก จังหวะ บทพูด หลักการ 3.
ตรงตาม ต้องตาม (chant) เข้าจังหวะ อ่าน เลือก/ระ
ความ หลักการ ง่ายๆ ถูก ถูกต้องตาม 3.ระบุ/ บุประโยค
หมาย อ่าน ต้องตาม หลักการ วาดภาพ หรือข้อ
ของคำ 3. เลือก หลักการ อ่าน สัญลักษ ความสั้นๆ
และกลุ่ม ภาพ อ่าน 3. ณ์หรือ ตรงตาม
คำ ตรงตาม 3. เลือก/ระบุ เครื่องหม ภาพ
ที่ฟั ง ความ เลือก/ระ ภาพ หรือ าย สัญลักษณ์
4. ตอบ หมาย บุภาพ ตรงตาม หรือ
คำถาม ของคำ หรือ สัญลักษณ์ ความ เครื่องหมา
จากการ กลุ่มคำ สัญลักษ หรือ หมาย ย
ฟั งเรื่อง และ ณ์ ของ ที่อ่าน
ใกล้ตัว ประโยค ตรงตาม เครื่องหมา ประโยค 4. บอก
ที่ฟั ง ความ และข้อ ใจความ
4. ตอบ หมาย ย ตรงตาม ความ สำคัญ
คำถาม ของ ความหมาย สั้นๆ และตอบ
จากการ กลุ่มคำ ที่ฟั งหรือ คำถาม
ฟั ง และ ของ อ่าน จากการ
ประโยค ประโยค 4. บอก ฟั งและ
บท ที่ฟั ง ประโยค ใจความ อ่าน บท
สนทนา 4. ตอบ สำคัญ สนทนา
และ ข้อ
18
หรือ คำถาม และตอบ นิทาน
นิทาน จากการ ความสั้นๆ คำถาม ง่ายๆ
ง่ายๆ ที่มี ฟั งหรือ ที่ฟั งหรือ จากการ และเรื่อง
ภาพ อ่าน ฟั งและ เล่า
ประกอบ ประโยค อ่าน อ่านบท
บท สนทนา
สนทนา 4. ตอบ และ
หรือ คำถาม นิทาน
นิทาน ง่ายๆ
ง่ายๆ จากการฟั ง หรือเรื่อง
สั้นๆ
และอ่าน
ประโยค
บทสนทนา
และนิทาน
ง่ายๆ

สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร
มาตรฐาน ต 1.2 มีทักษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยน
ข้อมูลข่าวสาร แสดงความรู้สึกและความคิดเห็นอย่างมีประสิทธิภาพ

ตัวชี้วัดชั้นปี
ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6
1. พูด 1. พูด 1. พูด 1. 1. 1.
โต้ตอบ โต้ตอบ โต้ตอบ พูด/เขียน พูด/เขียน พูด/เขียน
ด้วยคำ ด้วยคำ ด้วยคำ โต้ตอบใน โต้ตอบใน โต้ตอบใน
สั้นๆ สั้นๆ สั้นๆ การ การสื่อสาร การ
ง่ายๆ ใน ง่ายๆ ใน ง่ายๆ ใน สื่อสาร ระหว่าง สื่อสาร
การ การ การ ระหว่าง บุคคล ระหว่าง
สื่อสาร สื่อสาร สื่อสาร บุคคล 2. ใช้คำสั่ง บุคคล
ระหว่าง ระหว่าง ระหว่าง 2. ใช้คำ คำขอร้อง 2. ใช้คำ
บุคคล บุคคล บุคคล สั่ง คำขอ สั่ง
ตามแบบ ตามแบบ ตามแบบ คำขอร้อง อนุญาต คำขอร้อง
ที่ฟั ง ที่ฟั ง ที่ฟั ง และ และให้คำ และให้คำ
2. ใช้คำ 2.ใช้คำ 2. ใช้คำ คำขอ แนะนำ แนะนำ
สั่งง่ายๆ สั่งและ สั่งและ อนุญาต ง่ายๆ 3.
ตามแบบ คำขอร้อง คำขอร้อง ง่ายๆ 3. พูด/เขียน
ที่ฟั ง ง่ายๆตาม ง่ายๆตาม 3. พูด/เขียน แสดง
3. บอก แบบที่ฟั ง แบบที่ฟั ง พูด/เขียน แสดงความ ความ
19
ความ 3. บอก 3. บอก แสดง ต้องการ ต้องการ
ต้องการ ความ ความ ความ ขอความ ขอความ
ง่ายๆของ ต้องการ ต้องการ ต้องการ ช่วยเหลือ ช่วยเหลือ
ตนเอง ง่ายๆ ง่ายๆของ ของ ตอบรับ ตอบรับ
ตามแบบ ของ ตนเอง ตนเอง และปฏิเสธ และ
ที่ฟั ง ตนเอง ตามแบบ และขอ การให้ ปฏิเสธ
4. พูดขอ ตามแบบ ที่ฟั ง ความช่วย ความช่วย การให้
และให้ ที่ฟั ง 4. พูดขอ เหลือใน เหลือใน ความช่วย
ข้อมูล 4. พูดขอ และให้ สถานการ สถานการ เหลือ
ง่ายๆ และให้ ข้อมูล ณ์ง่ายๆ ณ์ง่ายๆ ใน
เกี่ยวกับ ข้อมูล ง่ายๆ 4. 4. สถานการ
ตนเอง ง่ายๆ เกี่ยวกับ พูด/เขียน พูด/เขียน ณ์ง่ายๆ
ตามแบบ เกี่ยวกับ ตนเอง เพื่อขอ เพื่อ ขอ 4. พูด
ที่ฟั ง ตนเอง และ และให้ และให้ และเขียน
ตามแบบ เพื่อน ข้อมูล ข้อมูลเกี่ยว เพื่อขอ
ที่ฟั ง ตามแบบ เกี่ยวกับ กับตนเอง และให้
ที่ฟั ง ตนเอง เพื่อน ข้อมูล
5. บอก เพื่อน ครอบครัว เกี่ยวกับ
ความ และ และเรื่อง ตนเอง
รู้สึกของ ครอบครั ใกล้ตัว เพื่อน
ตนเอง ว 5. ครอบครัว
เกี่ยวกับ 5. พูด พูด/เขียน และเรื่อง
สิ่งต่างๆ แสดง แสดงความ ใกล้ตัว
ใกล้ตัว ความรู้สึก รู้สึก 5.
หรือ ของ ของตนเอง พูด/เขียน
กิจกรรม ตนเอง เกี่ยวกับ แสดง
ต่างๆ เกี่ยวกับ เรื่องต่างๆ ความรู้สึก
ตามแบบ เรื่อง ใกล้ตัว ของ
ที่ฟั ง ต่างๆ และ ตนเอง
ใกล้ตัว กิจกรรม เกี่ยวกับ
และ ต่างๆ เรื่องต่างๆ
กิจกรรม พร้อมทั้งให้ ใกล้ตัว
ต่างๆ เหตุผล กิจกรรม
ตามแบบ สั้นๆ ต่างๆ
ที่ฟั ง ประกอบ พร้อมทั้ง
ให้เหตุผล
สั้นๆ
ประกอบ

สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร
20

มาตรฐาน ต 1.3 นำเสนอข้อมูลข่าวสาร ความคิดรวบยอด และ


ความคิดเห็นในเรื่องต่างๆ โดยการพูดและการเขียน

ตัวชี้วัดชั้นปี
ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6
1. พูดให้ 1. พูดให้ 1. พูดให้ 1. 1. 1.
ข้อมูล ข้อมูล ข้อมูล พูด/เขียน พูด/เขียน พูด/เขียน
เกี่ยวกับ เกี่ยวกับ เกี่ยวกับ ให้ข้อมูล ให้ข้อมูล ให้ข้อมูล
ตนเอง ตนเอง ตนเอง เกี่ยวกับ เกี่ยวกับ เกี่ยวกับ
และเรื่อง และเรื่อง และเรื่อง ตนเอง ตนเอง ตนเอง
ใกล้ตัว ใกล้ตัว ใกล้ตัว และเรื่อง และเรื่อง เพื่อน
2. จัด ใกล้ตัว ใกล้ตัว และ
หมวดหมู่ 2. 2. เขียน สิ่ง
คำ ตาม พูด/วาด ภาพ แวดล้อม
ประเภท ภาพ แผนผัง ใกล้ตัว
ของ แสดง และ 2. เขียน
บุคคล ความ แผนภูมิ ภาพ
สัตว์ และ สัมพันธ์ แสดง แผนผัง
สิ่งของ ของ ข้อมูล แผนภูมิ
ตามที่ฟั ง สิ่งต่างๆ ต่างๆ และ
หรืออ่าน ใกล้ตัว ตามที่ฟั ง ตาราง
ตามที่ฟั ง หรืออ่าน แสดง
หรืออ่าน 3. พูด ข้อมูล
3. พูด แสดง ต่างๆ
แสดง ความคิด ตามที่ฟั ง
ความคิด เห็นเกี่ยว หรืออ่าน
เห็นง่ายๆ กับ 3.
เกี่ยวกับ เรื่องต่างๆ พูด/เขียน
เรื่องต่างๆ ใกล้ตัว แสดง
ใกล้ตัว ความคิด
เห็นเกี่ยว
กับเรื่อง
ต่างๆ ใกล้
ตัว
21

สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม
มาตรฐาน ต 2.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของ
เจ้าของภาษา และนำไปใช้ได้อย่างเหมาะสมกับกาลเทศะ

ตัวชี้วัดชั้นปี
ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6
1. พูด 1. พูด 1. พูด 1. พูดและ 1. ใช้ถ้อยคำ 1. ใช้
และ และ และ ทำท่า น้ำเสียงและ ถ้อยคำ
ทำท่า ทำท่า ทำท่า ประกอบ กิริยาท่าทาง น้ำเสียง
ประกอบ ประกอบ ประกอบ อย่างสุภาพ อย่างสุภาพ และกิริยา
ตาม ตาม ตาม ตามมารยาท ตามมารยาท ท่าทาง
วัฒนธรร วัฒนธรร มารยาท สังคม สังคมและ อย่าง
มของ มของ สังคม/ และ วัฒนธรรม สุภาพ
เจ้าของ เจ้าของ วัฒนธรร วัฒนธรรม ของเจ้าของ เหมาะสม
ภาษา ภาษา มของ ของเจ้าของ ภาษา ตาม
2. บอก 2. บอก เจ้าของ ภาษา 2. ตอบ มารยาท
ชื่อและ ชื่อและ ภาษา 2. ตอบ คำถาม/บอก สังคม
คำศัพท์ คำศัพท์ 2. บอก คำถามเกี่ยว ความสำคัญ และ
เกี่ยวกับ เกี่ยวกับ ชื่อและ กับเทศกาล/ ของ วัฒนธรรม
เทศกาล เทศกาล คำศัพท์ วันสำคัญ/ เทศกาล/ ของ
สำคัญ สำคัญ ง่ายๆ งานฉลอง วันสำคัญ/ เจ้าของ
ของ ของ เกี่ยวกับ และชีวิต งานฉลอง ภาษา
เจ้าของ เจ้าของ เทศกาล/ ความเป็นอยู่ และชีวิต 2. ให้
ภาษา ภาษา วัน ง่ายๆ ของ ความเป็ น ข้อมูล
3. เข้า 3. เข้า สำคัญ/ เจ้าของ อยู่ง่ายๆ เกี่ยวกับ
22
ร่วม ร่วม งานฉลอง ภาษา ของเจ้าของ เทศกาล/
กิจกรรม กิจกรรม และชีวิต 3. เข้าร่วม ภาษา วันสำคัญ/
ทาง ทาง ความเป็น กิจกรรมทาง 3. เข้าร่วม งาน
ภาษา ภาษา อยู่ของ ภาษาและ กิจกรรมทาง ฉลอง/
และ และ เจ้าของ วัฒนธรรมที่ ภาษาและ ชีวิตความ
วัฒนธรร วัฒนธรร ภาษา เหมาะกับวัย วัฒนธรรม เป็ นอยู่
มที่ มที่ 3. เข้า ตามความ ของ
เหมาะ เหมาะ ร่วม สนใจ เจ้าของ
กับวัย กับวัย กิจกรรม ภาษา
ทาง 3. เข้าร่วม
ภาษา กิจกรรม
และ ทางภาษา
วัฒนธรร และ
มที่ วัฒนธรรม
เหมาะ ตามความ
กับวัย สนใจ

สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม
มาตรฐาน ต 2.2 เข้าใจความเหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษาและ
วัฒนธรรมของเจ้าของภาษากับภาษาและวัฒนธรรมไทย และนำมาใช้อย่าง
ถูกต้องและเหมาะสม

ตัวชี้วัดชั้นปี
23

ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6


1.ระบุตัว 1.ระบุตัว 1. บอก 1. บอก 1. บอก 1. บอก
อักษร อักษร ความแตก ความแตก ความ ความ
และเสียง และเสียง ต่างของ ต่างของของ เหมือน/ค เหมือน/ค
ตัวอักษร ตัวอักษร เสียงตัว เสียง วามแตก วามแตก
ของ ของภาษา อักษร คำ ตัวอักษร ต่าง ต่าง
ภาษาต่าง ต่าง กลุ่มคำ คำ กลุ่มคำ ระหว่าง ระหว่าง
ประเทศ ประเทศ และ ประโยค การออก การออก
และ และ ประโยค และ เสียง เสียง
ภาษา ภาษา ง่ายๆ ของ ข้อความของ ประโยค ประโยค
ไทย ไทย ภาษา ต่าง ภาษา ต่าง ชนิด ชนิดต่างๆ
ประเทศ ประเทศและ ต่างๆ การใช้
และภาษา ภาษาไทย การใช้ เครื่องหม
ไทย 2. บอก เครื่องหม ายวรรค
ความ ายวรรค ตอน
เหมือน/ควา ตอน และ และ
มแตกต่าง การลำดับ การลำดับ
ระหว่าง คำ คำ ตาม
เทศกาลและ (order) โครงสร้าง
งานฉลอง ตาม ประโยค
ตาม โครงสร้า ของ
วัฒนธรรม งประโยค ภาษาต่าง
ของ เจ้าของ ของ ประเทศ
ภาษากับ ภาษาต่าง และภาษา
ของไทย ประเทศ ไทย
และ 2. เปรียบ
ภาษาไทย เทียบ
2. บอก ความ
ความ เหมือน/ค
เหมือน/ค วามแตก
วามแตก ต่าง
ต่าง ระหว่าง
ระหว่าง เทศกาล
เทศกาล งานฉลอง
และ และ
งานฉลอง ประเพณี
ของ ของ
เจ้าของ เจ้าของ
ภาษากับ ภาษากับ
ของไทย ของไทย
24

สาระที่ 3 ภาษากับความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น
มาตรฐาน ต 3.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในการเชื่อมโยงความรู้กับกลุ่ม
สาระการเรียนรู้อื่น และเป็ นพื้นฐานในการพัฒนา แสวงหาความรู้
และเปิ ดโลกทัศน์ของตน

ตัวชี้วัดชั้นปี
ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6
1. บอก 1. บอก 1. บอก 1. 1. 1. ค้นคว้า
คำศัพท์ที่ คำศัพท์ที่ คำศัพท์ที่ ค้นคว้า ค้นคว้า รวบรวม
เกี่ยวข้อง เกี่ยวข้อง เกี่ยวข้อง รวบรวม รวบรวม คำศัพท์ที่
กับกลุ่ม กับกลุ่ม กับกลุ่ม คำศัพท์ที่ คำศัพท์ที่ เกี่ยวข้อง
สาระ สาระ สาระ เกี่ยวข้อง เกี่ยวข้อง กับกลุ่ม
การเรียน การเรียน การเรียน กับกลุ่ม กับกลุ่ม สาระ
รู้อื่น รู้อื่น รู้อื่น สาระ สาระ การเรียนรู้
การเรียน การเรียน อื่นจาก
รู้อื่นและ รู้อื่น และ แหล่ง
นำเสนอ นำเสนอ เรียนรู้
ด้วยการ ด้วยการ และนำ
พูด/ พูด/ เสนอ
การเขียน การเขียน ด้วยการ
พูด/
25

การเขียน

สาระที่ 4 ภาษากับความสัมพันธ์กับชุมชนและโลก
มาตรฐาน ต 4.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในสถานการณ์ต่างๆ ทั้งใน
สถานศึกษา ชุมชน และสังคม

ตัวชี้วัดชั้นปี
ป.1 ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖
1. 1. 1. 1. ฟั ง 1. ฟั ง 1. ใช้
ฟั ง/พูด ฟั ง/พูด ฟั ง/พูด และ พูด และ ภาษา
ใน ใน ใน พูด/อ่าน อ่าน/เขีย สื่อสาร ใน
สถานกา สถานกา สถานกา ใน น ใน สถานการ
รณ์ง่ายๆ รณ์ง่ายๆ รณ์ง่ายๆ สถานกา สถานกา ณ์ต่างๆ ที่
ที่เกิดขึ้น ที่เกิดขึ้น ที่เกิดขึ้น รณ์ รณ์ต่างๆ เกิดขึ้นใน
ใน ใน ใน ที่เกิดขึ้น ที่เกิดขึ้น ห้องเรียน
ห้องเรียน ห้องเรียน ห้องเรียน ใน ใน และสถาน
ห้องเรียน ห้องเรียน ศึกษา
และ และ
สถาน สถาน
ศึกษา ศึกษา

มาตรฐาน ต 4.2 ใช้ภาษาต่างประเทศเป็ นเครื่องมือพื้นฐานในการ


ศึกษาต่อ การประกอบอาชีพ และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสังคมโลก
26

ตัวชี้วัดชั้นปี
ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6
1. ใช้ 1. ใช้ 1. ใช้ 1. ใช้ 1. ใช้ 1. ใช้
ภาษา ภาษา ภาษา ภาษา ภาษา ภาษา
ต่าง ต่าง ต่าง ต่าง ต่าง ต่าง
ประเทศ ประเทศ ประเทศ ประเทศ ประเทศ ประเทศ
เพื่อ เพื่อ เพื่อ ในการ ในการ ในการ
รวบรวม รวบรวม รวบรวม สืบค้น สืบค้น สืบค้น
คำศัพท์ คำศัพท์ คำศัพท์ และ และ และ
ที่ ที่ ที่ รวบรวม รวบรวม รวบรวม
เกี่ยวข้อง เกี่ยวข้อง เกี่ยวข้อง ข้อมูล ข้อมูล ข้อมูล
ใกล้ตัว ใกล้ตัว ใกล้ตัว ต่างๆ ต่างๆ ต่างๆ
27

ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง

สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร

มาตรฐาน ต 1.1 เข้าใจและตีความเรื่องที่ฟั งและอ่านจากสื่อประเภท


ต่างๆ และแสดงความคิดเห็น อย่างมีเหตุผล

ชั้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียน


น รู้ท้องถิ่น
ป. 1. ปฏิบัติตาม คำสั่งที่ใช้ในห้องเรียน เช่น Stand
1 คำสั่งง่ายๆ ที่ up./Sit down./ Listen./
ฟั ง Repeat./Quiet!/ Stop! etc.
2. ระบุตัว ตัวอักษร (letter names) เสียงตัว
อักษรและ อักษรและสระ (letter sounds)
เสียง อ่าน และการสะกดคำ
ออกเสียงและ หลักการอ่านออกเสียง เช่น
สะกดคำ - การออกเสียงพยัญชนะต้นคำ
ง่ายๆ ถูกต้อง และพยัญชนะท้ายคำ
ตามหลักการ - การออกเสียงเน้นหนัก-เบา
อ่าน (stress)ในคำและ
กลุ่มคำ
- การออกเสียงตามระดับเสียง
สูง-ต่ำ (intonation)
28

ในประโยค
3. เลือกภาพ คำ กลุ่มคำ และความหมาย เกี่ยว
ตรงตามความ กับตนเอง ครอบครัว โรงเรียน สิ่ง
หมายของคำ แวดล้อมใกล้ตัว อาหาร เครื่องดื่ม
และกลุ่มคำที่ และนันทนาการ ภายในวงคำศัพท์
ฟั ง ประมาณ ๑๕๐-๒๐๐ คำ (คำศัพท์
ที่เป็ นรูปธรรรม)

4. ตอบ บทอ่านเกี่ยวกับเรื่องใกล้ตัว หรือ


คำถามจาก นิทานที่มีภาพประกอบ
การฟั งเรื่อง ประโยคคำถามและคำตอบ
ใกล้ตัว - Yes/No Question เช่น
Is it a/an..? Yes, it is./No,
it is not. etc.
- Wh-Question เช่น
What is it? It is a/an...
etc.
ป. 1. ปฏิบัติตาม คำสั่งและคำขอร้องที่ใช้ใน
2 คำสั่ง และ ห้องเรียน
คำขอร้อง - คำสั่ง เช่น Show me a/an.../
ง่าย ๆ ที่ฟั ง Open your book.
Don’t talk in class. etc.
- คำขอร้อง เช่น Please come
here./ Come here,
please. Don’t make a loud
noise, please./ Please
don’t make a loud noise.
etc.
ชั้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป. 2. ระบุตัว ตัวอักษร เสียงตัวอักษรและสระ
2 อักษรและ การสะกดคำ และประโยค หลัก
เสียง อ่าน การอ่านออกเสียง เช่น
ออกเสียงคำ - การออกเสียงพยัญชนะต้นคำ
29

สะกดคำ และพยัญชนะท้ายคำ
และอ่าน - การออกเสียงเน้นหนัก-เบา ใน
ประโยคง่ายๆ คำและกลุ่มคำ
ถูกต้องตาม - การออกเสียงตามระดับเสียง
หลักการอ่าน สูง-ต่ำ ในประโยค
3. เลือกภาพ คำ กลุ่มคำ ประโยคเดี่ยว
ตรงตามความ (simple sentence) และความ
หมายของคำ หมาย เกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว
กลุ่มคำ และ โรงเรียน สิ่งแวดล้อมใกล้ตัว
ประโยคที่ฟั ง อาหาร เครื่องดื่ม และนันทนาการ
เป็ นวงคำศัพท์สะสมประมาณ
๒๕๐-๓๐๐ คำ (คำศัพท์ที่เป็ นรูป
ธรรรม)
4. ตอบ ประโยค บทสนทนา หรือนิทานที่
คำถามจาก มีภาพประกอบ
การฟั ง ประโยคคำถามและคำตอบ
ประโยค - Yes/No Question เช่น
บทสนทนา Is this/that a/an..?
หรือนิทาน Yes, it is./No, it isn’t.
ง่ายๆ ที่มีภาพ etc.
ประกอบ - Wh-Question เช่น
What is this/that/it?
This/that/It is a/an…
How many…?
There is/are…
Where is the…? It is
in/on/under… etc.
ป. 1. ปฏิบัติตาม คำสั่งและคำขอร้องที่ใช้ใน
3 คำสั่ง และ ห้องเรียน
คำขอร้องที่ - คำสั่ง เช่น Give me
ฟั ง หรืออ่าน a/an.../Draw and color the
picture./ Put
a/an…in/on/under a/an…/
Don’t eat in class. etc.
- คำขอร้อง เช่น Please take
30

a queue./ Take a queue,


please./ Don’t make a loud
noise, please./ Please
don’t make a loud noise./
Can you help me, please?
etc.
2. อ่านออก คำ กลุ่มคำ ประโยคเดี่ยว และบท
เสียงคำ พูดเข้าจังหวะ และการสะกดคำ
สะกดคำ อ่าน การใช้พจนานุกรม
กลุ่มคำ หลักการอ่านออกเสียง เช่น
ประโยค และ - การออกเสียง
บทพูดเข้า พยัญชนะต้นคำ
จังหวะ และพยัญชนะท้าย
(chant) คำ
ง่ายๆ ถูกต้อง
ตามหลักการ
อ่าน
ชั้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป. - การออกเสียงเน้นหนัก-เบา ใน
คำและกลุ่มคำ
3
การออกเสียงตามระดับเสียง
สูง-ต่ำ ในประโยค
3. เลือก/ระบุ กลุ่มคำ ประโยคเดี่ยว สัญลักษณ์
ภาพ หรือ และความหมายเกี่ยวกับตนเอง
สัญลักษณ์ตรง ครอบครัว โรงเรียน สิ่งแวดล้อม
ตามความ ใกล้ตัว อาหาร เครื่องดื่ม และ
หมายของ นันทนาการ เป็ น วงคำศัพท์
กลุ่มคำและ สะสมประมาณ 350-450 คำ (คำ
ประโยคที่ฟัง ศัพท์ที่เป็ นรูปธรรรม)
4. ตอบ ประโยค บทสนทนา หรือนิทานที่
31

คำถามจาก มีภาพประกอบ
การฟั งหรือ ประโยคคำถามและคำตอบ
อ่านประโยค - Yes/No Question เช่น
บทสนทนา Is/Are/Can…? Yes,…
หรือนิทาน is/are/can./
ง่ายๆ
No,…isn’t/aren’t/can’t.
etc.
- Wh-Question เช่น
What is this/that/it?
This/that/It is a/an…
How many…?
There is/are…
Where is/are…? It is
in/on/under…

They are
etc.

ป. 1. ปฏิบัติตาม คำสั่งและคำขอร้องที่ใช้ใน
4 คำสั่ง คำขอ ห้องเรียน และคำแนะนำในการ
ร้อง และคำ เล่นเกม การวาดภาพ หรือการทำ
แนะนำ อาหารและเครื่องดื่ม
(instructions - คำสั่ง เช่น Look at
) ง่ายๆ ที่ฟั ง the…/here/over there./ Say
หรืออ่าน it again./ Read and draw./
32

Put a/an…in/on/under
a/an…/ Don’t go over
there. etc.
- คำขอร้อง เช่น Please take
a queue./ Take a queue,
please./ Can you help me,
please? etc.
- คำแนะนำ เช่น You should
read everyday./Think
before you speak./ คำศัพท์
ที่

ป. ใช้ในการเล่นเกม Start./ My
4
turn./ Your turn./ Roll the
dice./ Count the
number./ Finish./ คำ
บอกลำดับขั้นตอน First,...
Second,… Then,…
Finally,... etc.
2. อ่านออก คำ กลุ่มคำ ประโยค ข้อความ
เสียงคำ สะกด บทพูดเข้าจังหวะ และการ
คำ อ่านกลุ่มคำ สะกดคำ
ประโยค การใช้พจนานุกรม
ข้อความง่ายๆ หลักการอ่านออกเสียง เช่น
และบทพูดเข้า - การออกเสียงพยัญชนะต้น
จังหวะถูกต้อง คำและพยัญชนะท้ายคำ
ตาม - การออกเสียงเน้นหนัก-เบา
33

หลักการอ่าน ในคำและกลุ่มคำ
- การออกเสียงตามระดับ
เสียงสูง-ต่ำ ในประโยค
3. เลือก/ระบุ กลุ่มคำ ประโยคเดี่ยว
ภาพ หรือ สัญลักษณ์ เครื่องหมาย และ
สัญลักษณ์ หรือ ความหมาย เกี่ยวกับตนเอง
เครื่องหมายตรง ครอบครัว โรงเรียน สิ่ง
ตามความหมาย แวดล้อม อาหาร เครื่องดื่ม
ของประโยค เวลาว่างและนันทนาการ
และข้อความ สุขภาพและสวัสดิการ การซื้อ-
สั้นๆ ที่ฟั ง หรือ ขาย และลมฟ้ าอากาศ และ
อ่าน เป็ นวงคำศัพท์สะสมประมาณ
๕๕๐-๗๐๐ คำ (คำศัพท์ที่เป็ น
รูปธรรมและนามธรรม)
4. ตอบคำถาม ประโยค บทสนทนา นิทานที่มี
จากการฟั งและ ภาพประกอบ
อ่านประโยค คำถามเกี่ยวกับใจความสำคัญ
บทสนทนา ของเรื่อง เช่น ใคร
และนิทานง่ายๆ ทำอะไร ที่ไหน
- Yes/No Question เช่น
Is/Are/Can…? Yes,
…is/are/can./

No,…isn’t/aren’t/can’t.
Do/Does/Can/Is/Are...?
Yes/No… etc.
- Wh-Question เช่น
Who is/are…?
He/She is…/They are…
What…?/Where…? It is
…/They are…
What...doing?
…is/am/are… etc.
- Or-Question เช่น
Is this/it a/an...or
a/an…? It is a/an…
34

etc.

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป. 1. ปฏิบัติตาม คำสั่งและคำขอร้องที่ใช้ใน
5 คำสั่ง คำขอร้อง ห้องเรียน ภาษาท่าทาง และ
และ คำแนะนำ คำแนะนำในการเล่นเกม การ
ง่ายๆ ที่ฟั งและ วาดภาพ หรือการทำอาหาร
อ่าน และเครื่องดื่ม
- คำสั่ง เช่น Look at
the…/here/over there./
Say it
again./ Read and draw./
Put a/an…in/on/under
a/an…/ Don’t go over
there. etc.
- คำขอร้อง เช่น Please
take a queue./ Take a
queue, please./
Can/Could you help
me, please? etc.
- คำแนะนำ เช่น You
should read everyday./
Think before you speak./
คำศัพท์ที่ใช้ในการเล่นเกม
Start./ My turn./ Your
turn./ Roll the dice./
35

Count the number./


Finish./ คำบอกลำดับขั้นตอน
First,… Second,… Next,…
Then,… Finally,…
etc.
2. อ่านออก ประโยค ข้อความ และ
เสียงประโยค บทกลอน
ข้อความ และ การใช้พจนานุกรม
บทกลอนสั้นๆ หลักการอ่านออกเสียง เช่น
ถูกต้องตามหลัก - การออกเสียงพยัญชนะต้น
การอ่าน คำและพยัญชนะท้ายคำ
- การออกเสียงเน้นหนัก-เบา
ในคำและกลุ่มคำ
- การออกเสียงตามระดับ
เสียงสูง-ต่ำ ในประโยค
- การออกเสียงเชื่อมโยง
(linking sound) ใน
ข้อความ
- การออกเสียงบทกลอนตาม
จังหวะ
3. ระบุ/วาด เครื่องหมาย และความหมาย
ภาพ สัญลักษณ์ เกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว
หรือ โรงเรียน สิ่งแวดล้อม อาหาร
เครื่องหมายตรง เครื่องดื่ม เวลาว่างและ
ตามความหมาย นันทนาการ สุขภาพและ
ของประโยค สวัสดิการ การซื้อ-ขาย และ
และข้อความ ลมฟ้ าอากาศ และเป็ นวงคำ
สั้นๆ ที่ฟั ง หรือ ศัพท์สะสมประมาณ
อ่าน ๗๕๐-๙๕๐ คำ (คำศัพท์ที่เป็ น
รูปธรรมและนามธรรม)
36

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง


ป. 4. บอกใจความ - Wh-Question เช่น
สำคัญ และ
5 Who is/are…?
ตอบคำถามจาก
การฟั งและอ่าน He/She is…/They are…
บทสนทนา What…?/Where…? It is
และนิทานง่ายๆ
…/They are…
หรือ เรื่อง
สั้นๆ What...doing? …
is/am/are… etc.
- Or-Question เช่น
Is this/it a/an...or
a/an…? It is a/an…
etc.
ป. 1. ปฏิบัติตาม คำสั่ง คำขอร้อง ภาษาท่าทาง
6 คำสั่ง คำขอร้อง และคำแนะนำในการเล่นเกม
และ คำแนะนำ การวาดภาพ การทำอาหาร
ที่ฟั งและอ่าน และเครื่องดื่ม และการ
ประดิษฐ์
- คำสั่ง เช่น Look at
the…/here/over there./
Say it
again./ Read and draw./
Put a/an…in/on/under
a/an…/ Don’t go over
37

there. etc.
- คำขอร้อง เช่น Please
look up the meaning in
a
dictionary./ Look up the
meaning in a dictionary,
please./ Can/Could you
help me, please? etc.
- คำแนะนำ เช่น You
should read everyday./
Think before you
speak./ คำศัพท์ที่ใช้ในการ
เล่นเกม Start./ My turn./
Your turn./ Roll the
dice./ Count the
number./ Finish./คำบอก
ลำดับขั้นตอน First,…
Second,… Next,… Then,
… Finally,… etc.
2. อ่านออก ข้อความ นิทาน และ
เสียงข้อความ บทกลอน
นิทาน การใช้พจนานุกรม
และบทกลอน หลักการอ่านออกเสียง เช่น
สั้นๆ ถูกต้อง - การออกเสียงพยัญชนะต้น
ตาม หลักการ คำและพยัญชนะท้ายคำ
อ่าน - การออกเสียงเน้นหนัก-เบา
38

ในคำและกลุ่มคำ
- การออกเสียงตามระดับ
เสียงสูง-ต่ำ ในประโยค

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียน


รู้ท้องถิ่น
ป. - การออกเสียงเชื่อมโยง
6 (linking sound) ในข้อความ
- การออกเสียงบทกลอนตาม
จังหวะ
3. เลือก/ระบุ ประโยค หรือข้อความ
ประโยค หรือ สัญลักษณ์ เครื่องหมาย และ
ข้อความสั้นๆ ความหมายเกี่ยวกับตนเอง
ตรงตามภาพ ครอบครัว โรงเรียน สิ่ง
สัญลักษณ์ หรือ แวดล้อม อาหาร เครื่องดื่ม
เครื่องหมายที่ เวลาว่างและนันทนาการ
อ่าน สุขภาพและสวัสดิการ การซื้อ-
ขาย และลมฟ้ าอากาศ และ
เป็ นวงคำศัพท์สะสมประมาณ
1,050-1,200 คำ (คำศัพท์ที่
เป็ นรูปธรรมและนามธรรม)
4. บอก ประโยค บทสนทนา นิทาน
ใจความสำคัญ หรือเรื่องเล่า
39

และตอบ คำถามเกี่ยวกับใจความสำคัญ
คำถามจากการ ของเรื่อง เช่น ใคร
ฟั งและอ่านบท ทำอะไร ที่ไหน เมื่อไร
สนทนา นิทาน อย่างไร ทำไม
ง่ายๆ และเรื่อง - Yes/No Question เช่น
เล่า Is/Are/Can…? Yes,
…is/are/can./
No,…isn’t/aren’t/can’t.
Do/Does/Can/Is/Are...?
Yes/No… etc.
- Wh-Question เช่น
Who is/are…?
He/She is…/They are…
What…?/Where…? It is
…/They are…
What...doing? …
is/am/are… etc.
- Or-Question เช่น
Is this/it a/an...or a/an…?
It is a/an…
Is/Are/Was/Were/Did…
or…? etc.

สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร
40

มาตรฐาน ต 1.2 มีทักษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนข้อมูล


ข่าวสาร แสดงความรู้สึก
และความคิดเห็นอย่างมีประสิทธิภาพ

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียน


รู้ท้องถิ่น
ป. 1. พูดโต้ตอบ บทสนทนาที่ใช้ในการทักทาย
1 ด้วยคำสั้นๆ กล่าวลา ขอบคุณ
ง่ายๆ ในการ ขอโทษ และประโยค/ข้อความ
สื่อสารระหว่าง ที่ใช้แนะนำตนเอง เช่น
บุคคลตามแบบ Hi /Hello/ Good morning/
ที่ฟั ง Good afternoon/ Good
evening/ I am…/
Goodbye./ Bye./ Thank
you./ I am sorry.
etc.
2. ใช้คำสั่งง่ายๆ คำสั่งที่ใช้ในห้องเรียน
ตามแบบที่ฟั ง
3. บอกความ คำศัพท์ สำนวน และประโยค
ต้องการง่ายๆ ที่ใช้บอกความต้องการ เช่น I
ของตนเองตาม want…/Please,… etc.
แบบที่ฟั ง
41

4. พูดขอและให้ คำศัพท์ สำนวน และประโยค


ข้อมูลง่ายๆ ที่ใช้ขอและให้ข้อมูลเกี่ยวกับ
เกี่ยวกับตนเอง ตนเอง เช่น What’s your
ตามแบบที่ฟั ง name?/ My name is…/ I
am…/ How are you?/ I am
fine. etc.
ป. 1. พูดโต้ตอบ บทสนทนาที่ใช้ในการทักทาย
2 ด้วยคำสั้นๆ กล่าวลา ขอบคุณ ขอโทษ และ
ง่ายๆ ในการ ประโยค/ข้อความที่ใช้แนะนำ
สื่อสารระหว่าง ตนเอง เช่น Hi/ Hello/
บุคคลตามแบบ Good morning/ Good
ที่ฟั ง afternoon/ Good evening/
How are you?/ I’m fine./ I
am…/ Goodbye./ Bye./
Thank you./ I am sorry.
etc.
2. ใช้คำสั่งและ คำสั่งและคำขอร้องที่ใช้ใน
คำขอร้องง่ายๆ ห้องเรียน
ตามแบบที่ฟั ง
3. บอกความ คำศัพท์ สำนวน และประโยค
ต้องการง่ายๆ ที่ใช้บอกความต้องการ เช่น I
ของตนเองตาม want…/ Please,… etc.
แบบที่ฟั ง
42

4. พูดขอและให้ คำศัพท์ สำนวน และประโยค


ข้อมูลง่ายๆ ที่ใช้ขอและให้ข้อมูลเกี่ยวกับ
เกี่ยวกับตนเอง ตนเอง เช่น What’s your
ตามแบบที่ฟั ง name?/ My name is…/ I
am…/ How are you?/ I am
fine. etc.

ชั้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียน


น รู้ท้องถิ่น
43

ป. 1. พูดโต้ตอบ บทสนทนาที่ใช้ในการทักทาย
3 ด้วยคำสั้นๆ กล่าวลา ขอบคุณ
ง่ายๆ ในการ ขอโทษ และประโยค/ข้อความที่
สื่อสารระหว่าง ใช้แนะนำตนเอง เช่น
บุคคลตามแบบ Hi /Hello/ Good morning/
ที่ฟั ง Good afternoon/ Good
evening/ I am sorry./ How
are you? I’m fine.Thank
you. And you?/ Nice to see
you./ Nice to see you too./
Goodbye./Bye./ See you
soon/ later./ Thanks./ Thank
you./ Thank you very
much./ You’re welcome.
etc.
2. ใช้คำสั่งและ คำสั่งและคำขอร้องที่ใช้ใน
คำขอร้องง่ายๆ ห้องเรียน
ตามแบบที่ฟั ง
3. บอกความ คำศัพท์ สำนวน และประโยคที่ใช้
ต้องการง่ายๆ บอกความต้องการ เช่น Please,
ของตนเองตาม …/ May I go out?/ May I
แบบที่ฟั ง come in? etc.
44

4. พูดขอและให้ คำศัพท์ สำนวน และประโยคที่


ข้อมูลง่ายๆ ใช้ขอและให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง
เกี่ยวกับตนเอง และเพื่อน เช่น
และเพื่อนตาม What’s your name? My
แบบที่ฟั ง name is…
How are you? I
am fine.
What time is it? It
is one o’clock.
What is this? It
is a/an…
How many…are there?
There is a/an…/There are…
Who is…?
He/She is… etc.
5. บอกความ คำและประโยคที่ใช้แสดงความ
รู้สึกของตนเอง รู้สึก เช่น ดีใจ เสียใจ ชอบไม่ชอบ
เกี่ยวกับสิ่ง เช่น Yeah!/ Great!/ Cool!/
ต่างๆ ใกล้ตัว I’m happy./ I like cats./ I
หรือกิจกรรม don’t like snakes. etc.
ต่างๆ ตามแบบ
ที่ฟั ง

ป. 1. พูด/เขียน บทสนทนาที่ใช้ในการทักทาย
โต้ตอบในการ
4 สื่อสารระหว่าง กล่าวลา ขอบคุณ
บุคคล ขอโทษ การพูดแทรกอย่างสุภาพ
ประโยค/ข้อความที่ใช้แนะนำ
ตนเอง เพื่อน และบุคคลใกล้ตัว
และสำนวนการตอบรับ เช่น
Hi/Hello/Good
morning/Good
afternoon/Good evening/I
45

am sorry./How are you?/I’m


fine. Thank you. And you?/
Hello.I am… Hello,…I am…
This is my sister.Her name
is… Hello,…/Nice to see you.
Nice to see you
too./Goodbye./ Bye./See
you soon/later./
Thanks./Thank you./Thank
you very much./You’re
welcome./It’s O.K.
etc.
2. ใช้คำสั่ง คำสั่ง คำขอร้อง และคำขอ
คำขอร้อง และ อนุญาตที่ใช้ในห้องเรียน
คำขออนุญาต
ง่ายๆ

ชั้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียน


น รู้ท้องถิ่น
3. พูด/เขียน คำศัพท์ สำนวน และประโยคที่
แสดงความ ใช้แสดงความต้องการและขอ
ต้องการ ความช่วยเหลือในสถานการณ์
ของตนเอง และ ต่างๆ เช่น I want …/
ขอความช่วย Please…/ May…?/ I need
เหลือ your help./ Please help
ในสถานการณ์ me./ Help me! etc.
ง่ายๆ
46

4. พูด/เขียน คำศัพท์ สำนวน และประโยคที่


เพื่อขอและให้ ใช้ขอและให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง
ข้อมูลเกี่ยวกับ สิ่งใกล้ตัว เพื่อน และครอบครัว
ตนเอง เพื่อน เช่น
และครอบครัว What’s your name? My
name is…
What time is it? It
is one o’clock.
What is this? It
is a/an…
How many…are there?
There is a/an…/There are…
Where is the…? It
is in/on/under… etc.
5. พูดแสดง คำและประโยคที่ใช้แสดงความ
ความรู้สึกของ รู้สึก เช่น ดีใจ เสียใจ ชอบ ไม่
ตนเองเกี่ยวกับ ชอบ รัก ไม่รัก เช่น
เรื่องต่างๆ ใกล้ I/You/We/They
ตัว และ like…/He/She likes…
กิจกรรมต่างๆ I/You/We/They
ตามแบบที่ฟั ง love…/He/She loves…
I/You/We/They don’t
like/love/feel…
He/She doesn’t
like/love/feel…
I/You/We/They feel…
etc.
47

ชั้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียน


น รู้ท้องถิ่น
ป. 1. บทสนทนาที่ใช้ในการทักทาย
5 พูด/เขียน
โต้ตอบใน กล่าวลา ขอบคุณ
การสื่อสาร ขอโทษ ชมเชย การพูดแทรกอย่าง
ระหว่าง สุภาพ ประโยค/ข้อความที่ใช้
บุคคล
แนะนำตนเอง เพื่อน และบุคคล
ใกล้ตัว และสำนวนการตอบรับ
เช่น Hi /Hello/ Good
morning /Good afternoon/
Good evening/ I am sorry./
How are you?/ I’m fine. Thank
you. And you?/ Hello. I am…/
Hello,…I am… This is my sister.
Her name is… /Hello,…/ Nice
to see you. Nice to see you
too./ Goodbye./ Bye./ See
you soon/later./ Good/Very
good./ Thanks./ Thank you./
Thank you very much./ You’re
welcome./ It’s O.K.
etc.
48

2. ใช้คำสั่ง คำสั่ง คำขอร้อง คำแนะนำที่มี 1 -


คำขอร้อง 2 ขั้นตอน
คำขอ
อนุญาต
และให้คำ
แนะนำ
ง่ายๆ
3. คำศัพท์ สำนวน และประโยคที่ใช้
พูด/เขียน บอกความต้องการ ขอความช่วย
แสดงความ เหลือ ตอบรับและปฏิเสธการให้
ต้องการ ความช่วยเหลือ เช่น Please…/
ขอความ May…?/ I need…/ Help
ช่วยเหลือ me!/ Can/ Could…?/
ตอบรับและ Yes,.../No,… etc.
ปฏิเสธการ
ให้ความ
ช่วยเหลือ
ใน
สถานการณ์
ง่ายๆ
49

4. คำศัพท์ สำนวน และประโยคที่ใช้


พูด/เขียน ขอและให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง
เพื่อขอและ เพื่อน ครอบครัว และเรื่องใกล้ตัว
ให้ข้อมูล เช่น
เกี่ยวกับ What do you do?
ตนเอง I’m a/an…
เพื่อน What is she/he? …is
ครอบครัว a/an (อาชีพ)
และเรื่อง How old/tall…? I
ใกล้ตัว am…
Is/Are/Can…or…? …
is/are/can…
Is/Are…going to…or…?
…is/are going to… etc.
50

ชั้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการ


น เรียนท้องถิ่น
5. คำและประโยคที่ใช้แสดงความรู้สึก
พูด/เขียน เช่น ชอบ ไม่ชอบ ดีใจ เสียใจ มี
แสดงความ ความสุข เศร้า หิว รสชาติ เช่น
รู้สึกของ I’m…/He/She/It
ตนเองเกี่ยว is…/You/We/They are…
กับเรื่อง I/You/We/They like…/He/She
ต่างๆ ใกล้ likes…because…
ตัว และ I/You/We/They love…/He/She
กิจกรรม loves…because…
ต่างๆ I/You/We/They don’t
พร้อมทั้งให้ like/love/feel…because…
เหตุผลสั้นๆ He/She doesn’t
ประกอบ like/love/feel…because…
I/You/We/They feel…
because… etc.
51

ป. 1. บทสนทนาที่ใช้ในการทักทาย
6 พูด/เขียน กล่าวลา ขอบคุณ
โต้ตอบใน ขอโทษ ชมเชย การพูดแทรกอย่าง
การสื่อสาร สุภาพ ประโยค/ข้อความที่ใช้
ระหว่าง แนะนำตนเอง เพื่อน และบุคคล
บุคคล ใกล้ตัว และสำนวนการตอบรับ
เช่น Hi/ Hello/ Good morning/
Good afternoon/ Good
evening/ I am sorry. /How are
you?/ I’m fine./ Very well./
Thank you. And you?/ Hello. I
am… Hello,…I am… This is my
sister. Her name is… Hello,…/
Nice to see you. Nice to see
you, too./ Goodbye./ Bye./
See you soon/later./ Great!/
Good./ Very good. Thank
you./ Thank you very much./
You’re welcome./ It’s O.K./
That’s O.K./ That’s all right./
Not at all./ Don’t worry./ Never
mind./ Excuse me./ Excuse
me, Sir./Miss./Madam.
etc.
52

2. ใช้คำสั่ง คำสั่ง คำขอร้อง และคำแนะนำที่มี


คำขอร้อง 2-3 ขั้นตอน
และให้คำ
แนะนำ
3. คำศัพท์ สำนวน และประโยคที่ใช้
พูด/เขียน บอกความต้องการ ขอความช่วย
แสดงความ เหลือ ตอบรับและปฏิเสธการให้
ต้องการ ความช่วยเหลือ เช่น Please…/
ขอความ May…?/ I need…/ Help me!/
ช่วยเหลือ Can/Could…?/ Yes,.../No,…
ตอบรับและ etc.
ปฏิเสธการ
ให้ความ
ช่วยเหลือ
ใน
สถานการณ์
ง่ายๆ
53

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการ


เรียนรู้ท้อง
ถิ่น
ป. 4. พูดและเขียน คำศัพท์ สำนวน และประโยค
6 เพื่อขอและให้ ที่ใช้ขอและให้ข้อมูลเกี่ยวกับ
ข้อมูลเกี่ยวกับ ตนเอง เพื่อน ครอบครัว และ
ตนเอง เพื่อน เรื่องใกล้ตัว เช่น
ครอบครัว และ What do you do?
เรื่องใกล้ตัว I’m a/an…
What is she/he?
…is a/an (อาชีพ)
How old/tall…?
I am…
Is/Are/Can…or…?
…is/are/can…
Is/Are…going to…or…? …
is/are going to… etc.
54

5. พูด/เขียน คำและประโยคที่ใช้แสดงความ
แสดงความรู้สึก รู้สึก และการให้เหตุผล
ของตนเองเกี่ยว ประกอบ เช่น ชอบ/ไม่ชอบ
กับเรื่องต่างๆ ดีใจ เสียใจ มีความสุข
ใกล้ตัว กิจกรรม เศร้า หิว รสชาติ สวย น่า
ต่างๆ พร้อมทั้ง เกลียด เสียงดัง ดี ไม่ดี เช่น
ให้เหตุผลสั้นๆ I’m…/He/She/It
ประกอบ is…/You/We/They are…
I/You/We/They
like…/He/She likes…
because…
I/You/We/They
love…/He/She loves…
because…
I/You/We/They don’t
like/love/feel…because…
He/She doesn’t
like/love/feel…because…
I/You/We/They feel…
because… etc.
55

สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร

มาตรฐาน ต 1.3 นำเสนอข้อมูลข่าวสาร ความคิดรวบยอด และ


ความคิดเห็นในเรื่องต่างๆ โดยการพูด และการเขียน
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้
ท้องถิ่น
ป.1 1. พูดให้ คำและประโยคที่ใช้ในการ
ข้อมูลเกี่ยวกับ พูดให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง
ตนเองและ บุคคลใกล้ตัว และเรื่องใกล้
เรื่องใกล้ตัว ตัว เช่น บอกชื่อ อายุ รูป
ร่าง ส่วนสูง เรียกสิ่ง
ต่างๆ จำนวน 1-20 สี
ขนาด สถานที่อยู่ของ
สิ่งของ

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้


ท้องถิ่น
ป.2 1. พูดให้ คำและประโยคที่ใช้ในการ
ข้อมูลเกี่ยวกับ พูดให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง
ตนเองและ บุคคลใกล้ตัว และเรื่องใกล้
เรื่องใกล้ตัว ตัว เช่น บอกชื่อ อายุ รูป
ร่าง ส่วนสูง เรียกสิ่ง
ต่างๆ จำนวน 1-30 สี
ขนาด สถานที่อยู่ของ
สิ่งของ
ป.3 1. พูดให้ คำและประโยคที่ใช้ในการ
56

ข้อมูลเกี่ยวกับ พูดให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง
ตนเองและ บุคคลใกล้ตัว และเรื่องใกล้
เรื่องใกล้ตัว ตัว เช่น บอกชื่อ อายุ รูป
ร่าง ส่วนสูง เรียกสิ่ง
ต่างๆ จำนวน 1-50 สี
ขนาด สถานที่อยู่ของ
สิ่งของ
2. จัดหมวด คำ กลุ่มคำที่มีความหมาย
หมู่คำตาม เกี่ยวกับบุคคล สัตว์ และ
ประเภทของ สิ่งของ เช่น การ
บุคคล สัตว์ ระบุ/เชื่อมโยงความ
และสิ่งของ สัมพันธ์ของภาพกับคำ
ตามที่ฟั ง หรือ หรือกลุ่มคำ โดยใช้ภาพ
อ่าน แผนภูมิ แผนภาพ แผนผัง
ป.4 1. พูด/เขียน ประโยคและข้อความที่ใช้
ให้ข้อมูลเกี่ยว ในการพูดให้ข้อมูลเกี่ยวกับ
กับตนเองและ ตนเอง บุคคล สัตว์ และ
เรื่องใกล้ตัว เรื่องใกล้ตัว เช่น ชื่อ อายุ
รูปร่าง สี ขนาด รูปทรง
สิ่งต่างๆ
จำนวน 1-100 วัน เดือน
ปี ฤดูกาล ที่อยู่ของสิ่ง
ต่างๆ เครื่องหมายวรรค
ตอน
2. พูด/วาด คำ กลุ่มคำที่มีความหมาย
ภาพแสดง สัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ ใกล้
57

ความสัมพันธ์ ตัว เช่น การระบุ/เชื่อมโยง


ของสิ่งต่างๆ ความสัมพันธ์ของภาพกับ
ใกล้ตัวตามที่ คำ หรือกลุ่มคำ โดยใช้
ฟั งหรืออ่าน ภาพ แผนภูมิ แผนภาพ
แผนผัง
3. พูดแสดง ประโยคที่ใช้ในการแสดง
ความคิดเห็น ความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่อง
ง่ายๆ เกี่ยวกับ ต่างๆ ใกล้ตัว
เรื่องต่างๆ
ใกล้ตัว
ป.5 1. พูด/เขียน ประโยคและข้อความที่ใช้
ให้ข้อมูลเกี่ยว ในการให้ข้อมูลเกี่ยวกับ
กับตนเองและ บุคคล สัตว์ สถานที่ และ
เรื่องใกล้ตัว กิจกรรมต่างๆ เช่น ข้อมูล
ส่วนบุคคล เรื่องต่างๆ
ใกล้ตัว จำนวน 1-500
ลำดับที่ วัน เดือน ปี
ฤดูกาล เวลา สภาพดิน
ฟ้ าอากาศ อารมณ์ ความ
รู้สึก สี ขนาด รูปทรง ที่
อยู่ของสิ่งต่างๆ
เครื่องหมายวรรคตอน
58

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้


ท้องถิ่น
ป.5 2. เขียนภาพ คำ กลุ่มคำ ประโยคที่
แผนผัง และ แสดงข้อมูลและความ
แผนภูมิ หมายของเรื่องต่างๆ ภาพ
แสดงข้อมูล แผนผัง แผนภูมิ ตาราง
ต่างๆ ตามที่
ฟั งหรืออ่าน
3. พูดแสดง ประโยคที่ใช้ในการพูด
ความคิดเห็น แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ
เกี่ยวกับ กิจกรรมหรือเรื่องต่างๆ
เรื่องต่างๆ ใกล้ตัว
ใกล้ตัว
ป.6 1. พูด/เขียน ประโยคและข้อความที่ใช้
ให้ข้อมูลเกี่ยว ในการให้ข้อมูลเกี่ยวกับ
กับตนเอง ตนเอง กิจวัตรประจำวัน
เพื่อน และสิ่ง เพื่อน สิ่งแวดล้อมใกล้ตัว
แวดล้อมใกล้ เช่น ข้อมูลส่วนบุคคล
ตัว เรียกสิ่งต่างๆ จำนวน 1-
1,000 ลำดับที่ วัน เดือน
ปี ฤดูกาล เวลา กิจกรรม
ที่ทำ สี ขนาด รูปทรง ที่
อยู่ของสิ่งต่างๆ ทิศทาง
59

ง่ายๆ สภาพดินฟ้ าอากาศ


อารมณ์ ความรู้สึก
เครื่องหมายวรรคตอน
2. เขียนภาพ คำ กลุ่มคำ และประโยคที่
แผนผัง มีความหมายสัมพันธ์กับ
แผนภูมิ และ ภาพ แผนผัง แผนภูมิ
ตารางแสดง และตาราง
ข้อมูลต่างๆ ที่
ฟั งหรืออ่าน
3. พูด/เขียน ประโยคที่ใช้ในการแสดง
แสดงความคิด ความคิดเห็น
เห็น
เกี่ยวกับเรื่อง
ต่างๆ ใกล้ตัว

สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม

มาตรฐาน ต 2.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรม


ของเจ้าของภาษา และนำไปใช้ได้อย่างเหมาะสมกับ
กาลเทศะ
60

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียน


รู้ท้องถิ่น
61

ป. 1. พูดและทำท่า วัฒนธรรมของเจ้าของภาษา
1 ประกอบ ตาม เช่น การใช้สีหน้าท่าทาง
วัฒนธรรมของ ประกอบการพูดขณะแนะนำ
เจ้าของภาษา ตนเอง การสัมผัสมือ การ
โบกมือ การแสดงอาการตอบ
รับหรือปฏิเสธ
2. บอกชื่อและ คำศัพท์เกี่ยวกับเทศกาล
คำศัพท์เกี่ยวกับ สำคัญของเจ้าของภาษา เช่น
เทศกาลสำคัญ วันคริสต์มาส วันขึ้นปี ใหม่
ของเจ้าของ วันวาเลนไทน์
ภาษา
3. เข้าร่วม กิจกรรมทางภาษาและ
กิจกรรมทาง วัฒนธรรม เช่น การเล่นเกม
ภาษาและ การร้องเพลง การเล่านิทาน
วัฒนธรรมที่ ประกอบท่าทาง
เหมาะกับวัย วันคริสต์มาส วันขึ้นปี ใหม่
วันวาเลนไทน์

ป. 1. พูดและทำท่า วัฒนธรรมของเจ้าของภาษา
2 ประกอบ ตาม เช่น การใช้สีหน้าท่าทาง
วัฒนธรรมของ ประกอบการพูดขณะแนะนำ
เจ้าของภาษา ตนเอง การสัมผัสมือ การ
โบกมือ การแสดงอาการตอบ
รับหรือปฏิเสธ
62

2. บอกชื่อและ คำศัพท์เกี่ยวกับเทศกาล
คำศัพท์เกี่ยวกับ สำคัญของเจ้าของภาษา เช่น
เทศกาลสำคัญ วันคริสต์มาส วันขึ้นปี ใหม่
ของเจ้าของ วันวาเลนไทน์
ภาษา
3. เข้าร่วม กิจกรรมทางภาษาและ
กิจกรรมทาง วัฒนธรรม เช่น การเล่นเกม
ภาษาและ การร้องเพลง การเล่านิทาน
วัฒนธรรมที่ ประกอบท่าทาง
เหมาะกับวัย วันคริสต์มาส วันขึ้นปี ใหม่
วันวาเลนไทน์

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียน


รู้ท้องถิ่น
ป. 1. พูดและทำท่า มารยาทสังคม/วัฒนธรรม
3 ประกอบ ตาม ของเจ้าของภาษา เช่น
มารยาทสังคม/วั การขอบคุณ ขอโทษ การใช้
ฒนธรรมของ สีหน้าท่าทางประกอบ การ
เจ้าของภาษา พูดขณะแนะนำตนเอง การ
สัมผัสมือ การโบกมือ การ
แสดงอาการตอบรับหรือ
ปฏิเสธ
63

2. บอกชื่อและ คำศัพท์เกี่ยวกับเทศกาล/วัน
คำศัพท์ง่ายๆ สำคัญ/งานฉลอง และชีวิต
เกี่ยวกับ ความเป็ นอยู่ของเจ้าของ
เทศกาล/วัน ภาษา เช่น วันคริสต์มาส วัน
สำคัญ/งาน ขึ้นปี ใหม่ วันวาเลนไทน์
ฉลอง และชีวิต เครื่องแต่งกาย อาหาร
ความเป็ นอยู่ เครื่องดื่ม
ของเจ้าของ
ภาษา
3. เข้าร่วม กิจกรรมทางภาษาและ
กิจกรรมทาง วัฒนธรรม เช่น การเล่นเกม
ภาษาและ การร้องเพลง การเล่านิทาน
วัฒนธรรมที่ ประกอบท่าทาง
เหมาะกับวัย วันคริสต์มาส วันขึ้นปี ใหม่
วันวาเลนไทน์
ป. 1. พูดและทำท่า มารยาทสังคมและวัฒนธรรม
4 ประกอบอย่าง ของเจ้าของภาษา เช่น การ
สุภาพ ตาม ขอบคุณ ขอโทษ การใช้
มารยาทสังคม สีหน้าท่าทางประกอบ การ
และวัฒนธรรม พูดขณะแนะนำตนเอง การ
ของเจ้าของ สัมผัสมือ การโบกมือ การ
ภาษา แสดงความรู้สึกชอบ/ไม่ชอบ
การแสดงอาการตอบรับหรือ
ปฏิเสธ
64

2. ตอบคำถาม คำศัพท์และข้อมูลเกี่ยวกับ
เกี่ยวกับ เทศกาล/วันสำคัญ/งาน
เทศกาล/ ฉลอง และชีวิตความเป็ นอยู่
วันสำคัญ/ งาน ของเจ้าของภาษา เช่น
ฉลองและชีวิต วันคริสต์มาส วันขึ้นปี ใหม่
ความเป็ นอยู่ วันวาเลนไทน์
ง่ายๆ ของ เครื่องแต่งกาย ฤดูกาล
เจ้าของภาษา อาหาร เครื่องดื่ม
3. เข้าร่วม กิจกรรมทางภาษาและ
กิจกรรมทาง วัฒนธรรม เช่น การเล่นเกม
ภาษาและ การร้องเพลง การเล่านิทาน
วัฒนธรรมที่ ประกอบท่าทาง บทบาท
เหมาะกับวัย สมมุติ วันคริสต์มาส วันขึ้นปี
ใหม่
วันวาเลนไทน์
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียน
รู้ท้องถิ่น
65

ป. 1. ใช้ถ้อยคำ น้ำ การใช้ถ้อยคำ น้ำเสียง และ


5 เสียง และกิริยา กิริยาท่าทาง ตามมารยาท
ท่าทางอย่าง สังคมและวัฒนธรรมของ
สุภาพ ตาม เจ้าของภาษา เช่น การ
มารยาทสังคม ขอบคุณ ขอโทษ การใช้
และวัฒนธรรม สีหน้าท่าทางประกอบการ
ของเจ้าของ พูดขณะแนะนำตนเอง การ
ภาษา สัมผัสมือ การโบกมือ การ
แสดงความรู้สึกชอบ/ไม่ชอบ
การกล่าวอวยพร การแสดง
อาการตอบรับหรือปฏิเสธ

2. ตอบ ข้อมูลและความสำคัญของ
คำถาม/บอก เทศกาล/วันสำคัญ/งาน
ความสำคัญของ ฉลองและชีวิตความเป็ นอยู่
เทศกาล/วัน ของเจ้าของภาษา เช่น
สำคัญ/งาน วันคริสต์มาส วันขึ้นปี ใหม่
ฉลองและชีวิต วันวาเลนไทน์
ความเป็ นอยู่ เครื่องแต่งกาย ฤดูกาล
ง่ายๆ ของ อาหาร เครื่องดื่ม
เจ้าของภาษา
66

3. เข้าร่วม กิจกรรมทางภาษาและ
กิจกรรมทาง วัฒนธรรม เช่น การเล่นเกม
ภาษาและ การร้องเพลง การเล่านิทาน
วัฒนธรรมตาม บทบาทสมมุติ
ความสนใจ วันขอบคุณพระเจ้า วัน
คริสต์มาส วันขึ้นปี ใหม่
วันวาเลนไทน์
ป. 1. ใช้ถ้อยคำ น้ำ การใช้ถ้อยคำ น้ำเสียง และ
6 เสียง และกิริยา กิริยาท่าทาง ตามมารยาท
ท่าทางอย่าง สังคมและวัฒนธรรมของ
สุภาพเหมาะสม เจ้าของภาษา เช่น การ
ตามมารยาท ขอบคุณ ขอโทษ การใช้
สังคมและ สีหน้าท่าทางประกอบการ
วัฒนธรรมของ พูดขณะแนะนำตนเอง การ
เจ้าของภาษา สัมผัสมือ การโบกมือ การ
แสดงความรู้สึกชอบ/ไม่ชอบ
การกล่าวอวยพร การแสดง
อาการตอบรับหรือปฏิเสธ
67

2. ให้ข้อมูลเกี่ยว ข้อมูลและความสำคัญของ
กับเทศกาล/วัน เทศกาล/วันสำคัญ/
สำคัญ/งาน งานฉลองและชีวิตความเป็ น
ฉลอง/ชีวิตความ อยู่ของเจ้าของภาษา เช่น
เป็ นอยู่ของ วันคริสต์มาส วันขึ้นปี ใหม่
เจ้าของภาษา วันวาเลนไทน์
เครื่องแต่งกายตามฤดูกาล
อาหาร เครื่องดื่ม
3. เข้าร่วม กิจกรรมทางภาษาและ
กิจกรรมทาง วัฒนธรรม เช่น การเล่นเกม
ภาษาและ การร้องเพลง การเล่านิทาน
วัฒนธรรมตาม บทบาทสมมุติ
ความสนใจ วันขอบคุณพระเจ้า วัน
คริสต์มาส วันขึ้นปี ใหม่
วันวาเลนไทน์

สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม

มาตรฐาน ต 2.2 เข้าใจความเหมือนและความแตกต่างระหว่าง


ภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษากับภาษาและ
วัฒนธรรมไทย และนำมาใช้อย่างถูกต้องและเหมาะสม

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียน


รู้ท้องถิ่น
68

ป. 1.ระบุตัวอักษร ตัวอักษรและเสียงตัวอักษร
1 และเสียงตัว ของภาษาต่างประเทศและ
อักษรของภาษา ภาษาไทย
ต่างประเทศ
และภาษาไทย
ป. 1.ระบุตัวอักษร ตัวอักษรและเสียงตัวอักษร
2 และเสียงตัว ของภาษาต่างประเทศและ
อักษรของภาษา ภาษาไทย
ต่างประเทศ
และภาษาไทย
ป. 1. บอกความ ความแตกต่างของเสียงตัว
3 แตกต่างของ อักษร คำ กลุ่มคำ และ
เสียงตัวอักษร ประโยคของภาษาต่าง
คำ กลุ่มคำ และ ประเทศและภาษาไทย
ประโยคง่ายๆ
ของภาษาต่าง
ประเทศและ
ภาษาไทย
69

ป. 1. บอกความ ความแตกต่างของเสียงตัว
4 แตกต่างของ อักษร คำ กลุ่มคำ และ
เสียงตัวอักษร ประโยคของภาษาต่าง
คำ กลุ่มคำ ประเทศและภาษาไทย
ประโยค และ
ข้อความของ
ภาษาต่าง
ประเทศและ
ภาษาไทย
๒. บอกความ ความเหมือน/ความแตกต่าง
เหมือน/ความ ระหว่างเทศกาล และ
แตกต่าง งานฉลองตามวัฒนธรรมของ
ระหว่างเทศกาล เจ้าของภาษากับ ของไทย
และงานฉลอง
ตามวัฒนธรรม
ของเจ้าของ
ภาษากับ
ของไทย
70

ป. 1. บอกความ ความเหมือน/ความแตกต่าง
5 เหมือน/ความ ระหว่างการออกเสียงประโยค
แตกต่าง ชนิดต่างๆ ของเจ้าของภาษา
ระหว่างการ กับของไทย
ออกเสียง การใช้เครื่องหมายวรรคตอน
ประโยค และการลำดับคำตาม
ชนิดต่างๆ การ โครงสร้างประโยคของภาษา
ใช้เครื่องหมาย ต่างประเทศและภาษาไทย
วรรคตอน และ
การลำดับคำ
(order) ตาม
โครงสร้าง
ประโยค ของ
ภาษาต่าง
ประเทศและ
ภาษาไทย

2. บอกความ ความเหมือน/ความแตกต่าง
เหมือน/ความ ระหว่างเทศกาลและ
แตกต่าง งานฉลองของเจ้าของภาษา
ระหว่างเทศกาล กับของไทย
และงานฉลอง
ของเจ้าของ
ภาษากับของ
ไทย
71

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียน


รู้ท้องถิ่น
ป. 1. บอกความ ความเหมือน/ความแตกต่าง
6 เหมือน/ความ ระหว่างการออกเสียง
แตกต่าง ประโยคชนิดต่างๆ ของ
ระหว่างการ เจ้าของภาษากับของไทย
ออกเสียง การใช้เครื่องหมายวรรคตอน
ประโยค และการลำดับคำตาม
ชนิดต่างๆ การ โครงสร้างประโยคของภาษา
ใช้เครื่องหมาย ต่างประเทศและภาษาไทย
วรรคตอน และ
การลำดับคำ
ตามโครงสร้าง
ประโยค ของ
ภาษาต่าง
ประเทศและ
ภาษาไทย
72

2. เปรียบเทียบ การเปรียบเทียบความ
ความเหมือน/ค เหมือน/ความแตกต่าง
วามแตกต่าง ระหว่างเทศกาล งานฉลอง
ระหว่าง และประเพณีของเจ้าของ
เทศกาล งาน ภาษากับของไทย
ฉลองและ
ประเพณีของ
เจ้าของภาษา
กับของไทย

สาระที่ 3 ภาษากับความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น

มาตรฐาน ต 3.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในการเชื่อมโยงความรู้กับกลุ่ม


สาระการเรียนรู้อื่น และเป็ นพื้นฐานในการพัฒนา แสวงหา
ความรู้ และเปิ ดโลกทัศน์ของตน

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียน


รู้ท้องถิ่น
ป. 1. บอกคำศัพท์ คำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่ม
1 ที่เกี่ยวข้องกับ สาระการเรียนรู้อื่น
กลุ่มสาระการ
เรียนรู้อื่น
ป. 1. บอกคำศัพท์ คำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่ม
2 ที่เกี่ยวข้องกับ สาระการเรียนรู้อื่น
กลุ่มสาระการ
เรียนรู้อื่น
ป. 1. บอกคำศัพท์ คำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่ม
73

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียน


รู้ท้องถิ่น
3 ที่เกี่ยวข้องกับ สาระการเรียนรู้อื่น
กลุ่มสาระการ
เรียนรู้อื่น
ป. 1. ค้นคว้า การค้นคว้า การรวบรวม
4 รวบรวมคำศัพท์ และการนำเสนอ คำศัพท์ที่
ที่เกี่ยวข้องกับ เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการ
กลุ่มสาระการ เรียนรู้อื่น
เรียนรู้อื่นและ
นำเสนอด้วย
การพูด / การ
เขียน
ป. 1. ค้นคว้า การค้นคว้า การรวบรวม
5 รวบรวมคำศัพท์ และการนำเสนอคำศัพท์ที่
ที่เกี่ยวข้องกับ เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการ
กลุ่มสาระการ เรียนรู้อื่น
เรียนรู้อื่น และ
นำเสนอด้วย
การพูด / การ
เขียน
74

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียน


รู้ท้องถิ่น
ป. 1. ค้นคว้า การค้นคว้า การรวบรวม
6 รวบรวมคำศัพท์ และการนำเสนอคำศัพท์ที่
ที่เกี่ยวข้องกับ เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการ
กลุ่มสาระการ เรียนรู้อื่น
เรียนรู้อื่นจาก
แหล่งเรียนรู้
และนำเสนอ
ด้วยการพูด /
การเขียน

สาระที่ 4 ภาษากับความสัมพันธ์กับชุมชนและโลก

มาตรฐาน ต 4.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในสถานการณ์ต่างๆ ทั้งใน


สถานศึกษา ชุมชน และสังคม

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียน


รู้ท้องถิ่น
ป. 1. ฟั ง/พูดใน การใช้ภาษาในการฟั ง/พูดใน
1 สถานการณ์ สถานการณ์ง่ายๆ ที่เกิดขึ้นใน
ง่ายๆ ที่เกิดขึ้น ห้องเรียน
ในห้องเรียน
ป. 1. ฟั ง/พูดใน การใช้ภาษาในการฟั ง/พูดใน
2 สถานการณ์ สถานการณ์ง่ายๆ ที่เกิดขึ้นใน
ง่ายๆ ที่เกิดขึ้น ห้องเรียน
ในห้องเรียน
75

ป. 1. ฟั ง/พูดใน การใช้ภาษาในการฟั ง/พูดใน


3 สถานการณ์ สถานการณ์ง่ายๆ ที่เกิดขึ้นใน
ง่ายๆ ที่เกิดขึ้น ห้องเรียน
ในห้องเรียน
ป. 1. ฟั งและ การใช้ภาษาในการฟั งและ
4 พูด/อ่านใน พูด/อ่านในสถานการณ์ที่เกิด
สถานการณ์ที่ ขึ้นในห้องเรียน
เกิดขึ้นใน
ห้องเรียนและ
สถานศึกษา
ป. 1. ฟั ง พูด และ การใช้ภาษาในการฟั ง พูด
5 อ่าน/เขียนใน และอ่าน/เขียนใน
สถานการณ์ สถานการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นใน
ต่างๆ ที่เกิดขึ้น ห้องเรียน
ในห้องเรียน
และสถาน
ศึกษา
ป. 1. ใช้ภาษา การใช้ภาษาสื่อสารใน
6 สื่อสารใน สถานการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นใน
สถานการณ์ ห้องเรียนและสถานศึกษา
ต่างๆ ที่เกิดขึ้น
ในห้องเรียน
และสถาน
ศึกษา
76
77

โครงสร้างหลักสูตร
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ

ระดับประถมศึกษา
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1
รายวิชาพื้นฐาน
วิชาภาษาอังกฤษ 1 รหัส อ 11101 5 ชั่วโมง/สัปดาห์
200 ชั่วโมง/ปี

ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2
รายวิชาพื้นฐาน
วิชาภาษาอังกฤษ 2 รหัส อ 12101 5
ชั่วโมง/สัปดาห์ 200 ชั่วโมง/ปี

ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓
รายวิชาพื้นฐาน
วิชาภาษาอังกฤษ 3 รหัส อ 13101 5
ชั่วโมง/สัปดาห์ 200 ชั่วโมง/ปี

ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔
รายวิชาพื้นฐาน
วิชาภาษาอังกฤษ 4 รหัส อ 14101 3
ชั่วโมง/สัปดาห์ 120 ชั่วโมง/ปี
78

ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๕
รายวิชาพื้นฐาน
วิชาภาษาอังกฤษ 5 รหัส อ 15101 3
ชั่วโมง/สัปดาห์ 120 ชั่วโมง/ปี

ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖
รายวิชาพื้นฐาน
วิชาภาษาอังกฤษ 6 รหัส อ 16101 3 ชั่วโมง/สัปดาห์
120 ชั่วโมง/ปี

คำอธิบายรายวิชา

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
รายวิชา ภาษาอังกฤษ 1 รหัสวิชา
อ 11101
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1 จำนวน
200 ชั่วโมง/ปี

ระบุตัวอักษรและเสียงตัวอักษรของภาษาอังกฤษ และภาษาไทย
อ่านออกเสียง สะกดคำง่ายๆ สามารถเลือกภาพตรงตามความหมายของ
79

คำและกลุ่มคำที่ฟั ง ปฏิบัติตามและใช้คำศัพท์ง่ายๆ บอกความต้องการ


ง่ายๆที่เกิดขึ้นในห้องเรียน พร้อมทำท่าทางประกอบตามวัฒนธรรมของ
เจ้าของภาษา บอกชื่อคำศัพท์ง่ายๆเกี่ยวกับเทศกาลและวันสำคัญของ
เจ้าของภาษาง่ายๆ รวบรวมคำศัพท์ และคำถามเกี่ยวกับเรื่องใกล้ตัวและ
คำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นและเข้าร่วมกิจกรรมทาง
ภาษาและวัฒนธรรมที่เหมาะสมกับวัย

รหัสตัวชี้วัดต.1.1 ป.1/1 ต.1.1 ป.1/2 ต.1.1 ป.1/3


ต.1.1 ป.1/4
ต.1.2 ป.1/1 ต.1.2 ป.1/2 ต.1.2 ป.1/3
ต.1.2 ป.1/4
ต.1.3 ป.1/1
ต.2.1 ป.1/1 ต.2.1 ป.1/2 ต.2.1 ป.1/3
ต.2.2 ป.1/1
ต.3.1 ป.1/1
ต.4.1 ป.1/1
ต.4.2 ป.1/1
รวม 16 ตัวชี้วัด
80
81

คำอธิบายรายวิชา

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
รายวิชา ภาษาอังกฤษ 2 รหัสวิชา
อ 12101
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2 จำนวน
200 ชั่วโมง/ปี

เข้าใจและปฏิบัติตามคำสั่ง คำขอร้องง่ายๆที่ใช้ในห้องเรียน การ


ระบุตัวอักษร เสียงตัวอักษรของภาษาอังกฤษและภาษาไทย เสียงสระ
การสะกดคำ การอ่านประโยคง่ายๆตามหลักการอ่านออกเสียง เลือก
ภาพให้ตรงความหมายของคำ กลุ่มคำและประโยคเดี่ยวเกี่ยวกับตัวเอง
ครอบครัว โรงเรียน สิ่งแวดล้อมใกล้ตัว การตอบคำถามจากการฟั ง
ประโยคสนทนาหรือนิทานง่ายๆที่มีภาพประกอบ พูดโต้ตอบประโยค
สั้นๆง่ายๆในการสื่อสารระหว่างบุคคล พูดและทำท่าทางประกอบตาม
วัฒนธรรมของเจ้าของภาษา บอกชื่อและคำศัพท์เกี่ยวกับเทศกาลและวัน
สำคัญของเจ้าของภาษา ตลอดจนการเข้าร่วมกิจกรรมทางภาษาและ
วัฒนธรรมที่เหมาะสมกับวัย บอกคำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการ
เรียนรู้อื่น และสามารถใช้ภาษาต่างประเทศ เพื่อรวบรวมคำศัพท์ที่
เกี่ยวข้อง และใช้เทคนิคการจำ และกิจกรรมต่างๆ เพื่อให้ผู้เรียนมีความ
สุข และเป็ นพื้นฐานในการเรียนภาษาอังกฤษในระดับสูงขึ้น

รหัสตัวชี้วัดต.1.1 ป.2/1 ต.1.1 ป.2/2 ต.1.1 ป.2/3


ต.1.1 ป.2/4
82

ต.1.2 ป.2/1 ต.1.2 ป.2/2 ต.1.2 ป.2/3


ต.1.2 ป.2/4
ต.1.3 ป.2/1
ต.2.1 ป.2/1 ต.1.2 ป.2/2 ต.1.2 ป.2/3
ต.2.2 ป.2/1
ต.3.1 ป.2/1
ต.4.1 ป.2/1
ต.4.2 ป.2/1
รวม 16 ตัวชี้วัด

คำอธิบายรายวิชา

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
รายวิชา ภาษาอังกฤษ 3 รหัสวิชา
อ 13101
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 จำนวน
200 ชั่วโมง/ปี
83

ฝึ กฟั ง พูด อ่านและเขียน คำศัพท์ กลุ่มคำ ปฏิบัติตามคำสั่ง คำขอ


ร้องของประโยค และบทพูดในสถานการณ์ง่ายๆที่เกิดขึ้นในโรงเรียน
เลือกระบุภาพหรือสัญลักษณ์ตรงตามความหมาย ตอบคำถามจากการฟั ง
อ่าน บทสนทนา นิทาน พูดบอกความต้องการ ความรู้สึก และการให้
ข้อมูลง่ายๆเกี่ยวกับตนเองและเพื่อนตามกิจกรรมๆตามแบบที่ฟั ง สมารถ
จัดหมวดหมู่ตามประเภทของบุคคล สัตว์ สิ่งของ พูดและทำท่าทาง
ประกอบตามมารยามทางสังคม วัฒนธรรม บอกชื่อคำศัพท์ง่ายๆเกี่ยวกับ
เทศกาล วันสำคัญ งานฉลอง และชีวิตความเป็ นอยู่ของเจ้าของภาษา
การเข้าร่วมกิจกรรมทางภาษา วัฒนธรรมที่เหมาะสมกับวัย บอกชื่อคำ
ศัพท์ที่เกี่ยวข้องและความแตกต่างของเสียงอักษร คำ กลุ่มคำ ประโยค
ง่ายๆของภาษาต่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น และ
สามารถใช้ภาษาต่างประเทศ เพื่อรวบรวมคำศัพท์ที่เกี่ยวข้อง และใช้
เทคนิคการจำ และกิจกรรมต่างๆ เพื่อให้ผู้เรียนมีความสุข และเป็ นพื้น
ฐานในการเรียนภาษาอังกฤษในระดับสูงขึ้น

รหัสตัวชี้วัดต.1.1 ป.3/1 ต.1.1 ป.3/2 ต.1.1 ป.3/3


ต.1.1 ป.3/4
ต.1.2 ป.3/1 ต.1.2 ป.3/2 ต.1.2 ป.3/3
ต.1.2 ป.3/4 ต.1.2 ป.3/5
ต.1.3 ป.3/1 ต.1.3 ป.3/2
ต.2.1 ป.3/1 ต.2.1 ป.3/2 ต.2.1 ป.3/3
ต.2.2 ป.3/1
ต.3.1 ป.3/1
ต.4.1 ป.3/1
ต.4.2 ป.3/1
รวม 18 ตัวชี้วัด
84

คำอธิบายรายวิชา

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
รายวิชา ภาษาอังกฤษ 4 รหัสวิชา
อ 14101
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4 จำนวน
120 ชั่วโมง/ปี

ปฏิบัติและใช้คำสั่ง คำขอร้อง คำแนะนำ คำขออนุญาต เลือกภาพ


หรือสัญลักษณ์ตรงตามความหมายที่ฟั งและอ่านออกเสียงคำ สะกดคำ
ค้นคว้าคำศัพท์และข้อมูลต่างๆ พูด เขียน โต้ตอบในการสื่อสารระหว่าง
บุคคล แสดงความต้องการของตนเอง ขอความช่วยเหลือในสถานการณ์
ต่างๆ และทำท่าทางประกอบอย่าสุภาพตามมารยาทสังคม และ
วัฒนธรรมของเจ้าของภาษา วาดภาพแสดงความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆใกล้
ตัวตามที่ฟั งหรืออ่าน ตอบคำถามจากการฟั งและอ่านประโยค บท
สนทนา นิทานสั้นๆเกี่ยวกับวันสำคัญ เทศกาลงานฉลองของเจ้าของ
ภาษา บอกความเหมือนความแตกต่างของเสียง ตัวอักษร คำ กลุ่มคำ
85

ประโยค ข้อความ เทศกาลไทยและภาษาต่างประเทศ แสวงหาความรู้


เปิ ดโลกทัศน์ของตนแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสังคมและโลก

รหัสตัวชี้วัดต.1.1 ป.4/1 ต.1.1 ป.4/2 ต.1.1 ป.4/3


ต.1.1 ป.4/4
ต.1.2 ป.4/1 ต.1.2 ป.4/2 ต.1.2 ป.4/3
ต.1.2 ป.4/4
ต.1.3 ป.4/1 ต.1.3 ป.4/2 ต.1.3 ป.4/3
ต.2.1 ป.4/1 ต.2.1 ป.4/2 ต.2.1 ป.4/3
ต.2.2 ป.4/1 ต.2.2 ป.4/2
ต.3.1 ป.4/1
ต.4.1 ป.4/1
ต.4.2 ป.4/1
รวม 19 ตัวชี้วัด

คำอธิบายรายวิชา
86

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
รายวิชา ภาษาอังกฤษ 5 รหัสวิชา
อ 15101
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 จำนวน 120
ชั่วโมง/ปี

ปฏิบัติและใช้คำสั่ง คำขอร้อง คำขออนุญาต คำแนะนำ อ่านออก


เสียง สะกดคำ กลุ่มคำ ประโยค ข้อความง่ายๆและบทพูดเข้าจังหวะถูก
ต้องตามหลักการอ่าน จับใจความสำคัญและตอบคำถามจากการฟั ง
เลือก ระบุประโยค ข้อความตรงตามความหมายของสัญลักษณ์ สนทนา
โต้ตอบ สื่อสารระหว่างบุคคล แสดงความต้องการ ขอความช่วยเหลือ
การตอบรับปฏิเสธในสถานการณ์ง่ายๆ เพื่อขอและให้ข้อมูลเกี่ยวกับ
ตนเอง เพื่อน ครอบครัว เรื่องใกล้ตัว หรือแสดงความรู้สึกเกี่ยวกับเรื่อง
ต่างๆ ฟั งและอ่าน ใช้ถ้อยคำ น้ำเสียง กิริยาท่าทาง มารยาทอย่างสุภาพ
ตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา ใช้ข้อมูลเกี่ยวกับ
เทศกาล วันสำคัญ งานฉลอง การเข้าร่วมกิจกรรมทางภาษาและ
วัฒนธรรมตามความสนใจ บอกความเหมือนความแตกต่างการออกเสียง
เครื่องหมาย วรรคตอน โครงสร้างประโยค รวมทั้งประเพณี เทศกาลของ
ไทยและต่างประเทศ ค้นคว้ารวบรวมคำศัพท์ที่เกี่ยวข้องจากแหล่งเรียนรู้
อื่นๆ มีการนำเสนอการใช้ภาษาในสถานการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นในห้องเรียน
สถานศึกษา รวมถึงการสืบค้นข้อมูลต่างๆ

รหัสตัวชี้วัดต.1.1 ป.5/1 ต.1.1 ป.5/2 ต.1.1 ป.5/3


ต.1.1 ป.5/4
87

ต.1.2 ป.5/1 ต.1.2 ป.5/2 ต.1.2 ป.5/3


ต.1.2 ป.5/4 ต.1.2 ป.5/5
ต.1.3 ป.5/1 ต.1.3 ป.5/2 ต.1.3 ป.5/3

ต.2.1 ป.5/1 ต.2.1 ป.5/2 ต.2.1 ป.5/3


ต.2.2 ป.5/1 ต.2.2 ป.5/2
ต.3.1 ป.5/1
ต.4.1 ป.5/1
ต.4.2 ป.5/2
รวม 20 ตัวชี้วัด

คำอธิบายรายวิชา

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
รายวิชา ภาษาอังกฤษ 6 รหัสวิชา
อ 16101
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 จำนวน 120
ชั่วโมง/ปี
88

เข้าใจคำสั่ง คำขอร้อง คำแนะนำที่ฟั งและอ่าน อ่านออกเสียง


ข้อความ นิทาน บทกลอนสั้นๆถูกต้องตามหลักการอ่าน เลือกระบุ
ประโยคข้อความสั้นๆตรงตามภาพสัญลักษณ์หรือเครื่องหมายที่อ่าน
บอกใจความสำคัญ และตอบคำถามจากเรื่องที่ฟั งและอ่านบทสนทนา
นิทานง่ายๆและเรื่องเล่า พูดโต้ตอบในการสื่อสารระหว่างบุคคล ใช้คำขอ
ร้องให้คำแนะนำ พูดบอกความต้องการขอความช่วยเหลือ ตอบรับและ
ปฏิเสธการให้ความช่วยเหลือในสถานการณ์ง่ายๆ ให้ข้อมูลเกี่ยวกับ
ตนเอง เพื่อน ครอบครัว และเรื่องต่างๆใกล้ตัว พร้อมทั้งให้เหตุผลสั้นๆ
ประกอบ เขียนแผนภาพ แผนผัง แผนภูมิและตารางแสดงข้อมูลต่างๆที่
ได้ฟั งและอ่าน โดยใช้ถ้อยคำ น้ำเสียง กิริยาท่าทางประกอบตามมารยาท
ทางสังคม บอกความแตกต่างการออกเสียง เครื่องหมาย วรรคตอน
โครงสร้างประโยค รวมทั้งประเพณี เทศกาล งานฉลอง และประเพณี
ของเจ้าของภาษากับของไทย ค้นคว้ารวบรวมคำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่ม
สาระการเรียนรู้อื่น นำเสนอด้วยการพูดการเขียน ใช้สื่อสารใน
สถานการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นในห้องเรียนสถานศึกษาและสืบค้นรวบรวม
ข้อมูลต่างๆ

รหัสตัวชี้วัดต.1.1 ป.6/1 ต.1.1 ป.6/2 ต.1.1 ป.6/3


ต.1.1 ป.6/4
ต.1.2 ป.6/1 ต.1.2 ป.6/2 ต.1.2 ป.6/3
ต.1.2 ป.6/4 ต.1.2 ป.6/5
ต.1.3 ป.6/1 ต.1.3 ป.6/2 ต.1.3 ป.6/3

ต.2.1 ป.6/1 ต.2.1 ป.6/2 ต.2.1 ป.6/3


ต.2.2 ป.6/1 ต.2.2 ป.6/2
ต.3.1 ป.6/1
89

ต.4.1 ป.6/1
ต.4.2 ป.6/1
รวม 20 ตัวชี้วัด

โครงสร้างรายวิชา
วิชา ภาษาอังกฤษ 1 รหัสวิชา อ 11101
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
ระดับชั้นประถมศึกษา ชั้ น
ประถมศึกษาปี ที่ 1
น้ำ
เวลา(
หน่ว ชื่อหน่วย หนัก
มาตรฐาน/ตัวชี้วัด สาระแกนกลาง ชั่วโม
ยที่ การเรียนรู้ คะแน
ง)

1 Hello ! ต 1.1 ป 1/1 ต -ตัวอักษร (letter 14 5
names) เสียงตัว
1.1 ป 1/2 ต 1.1
อักษรและสระ
ป 1/3 ต 1.1 ป (letter sounds)
1/4 ต 1.2 ป และการสะกดคำ
หลักการอ่านออก
1/1 ต 1.2 ป
เสียง เช่นการออก
1/2 ต 1.2.ป 1/4 เสียงพยัญชนะต้นคำ
ต 1.3 ป 1/1 และพยัญชนะท้ายคำ
90

ต 2.1 ป 1/1 การออกเสียงเน้น


หนัก-เบา
ต 2.1 ป 1/2
(stress)ในคำ
ต 2.2 ป 1/1 ต และกลุ่มคำ
3.1 ป 1/1 ต 4.1 การออกเสียงตาม
ป 1/1 ต.2 ป 1/1 ระดับเสียงสูง-ต่ำ
(intonation) ใน
ประโยค
-ตัวอักษรและเสียง
ตัวอักษรของภาษา
ต่างประเทศและ
ภาษาไทย
2 What’ s ต 1.1 ป 1/1 ต 1.1 -คำสั่งที่ใช้ใน 16 5
this ? ป 1/2 ต 1.1 ป 1/3 ห้องเรียน เช่น
ต 1.1 ป 1/4 ต 1.2 Stand up./Sit
ป 1/1 ต 1.2 ป 1/2 down./ Listen./
ต 1.2 ป 1/4 ต 2.1 Repeat./Quiet!/
ป 1/1 ต 2.1 Stop! etc.
ป 1/3 ต 2.2 -คำสั่งที่ใช้ใน
ป 1/1 ต 3.1 ห้องเรียน
ป 1/1 ต 4.1 ป 1/1
ต 4.2 ป 1/1
91

หน่ว น้ำ
เวลา(
ยที่ ชื่อหน่วย หนัก
มาตรฐาน/ตัวชี้วัด สาระแกนกลาง ชั่วโม
การเรียนรู้ คะแน
ง)

3 Can you ต 1.1 ป 1/1 -บทสนทนาที่ใช้ใน 18 6
sing ? ต 1.1 ป 1/2 การทักทาย กล่าว
ต 1.1 ป 1/3 ต 1.1 ลา ขอบคุณ ขอโทษ
ป 1/4 ต 1.2 และประโยค/ข้อควา
ป 1/1 ต 1.2 ป 1/2 มที่ใช้แนะนำตนเอง
ต 1.2 ป 1/4 เช่น Hi /Hello/
ต 1.3 ป 1/1 ต 2.1 Good morning/
ป 1/1 ต 2.1 Good afternoon/
ป 1/3 ต 2.2 Good evening/ I
ป 1/1 ต 3.1 am…/ Goodbye./
ป 1/1 ต 4.1 Bye./ Thank you./
ป 1/1 ต 4.2 I am sorry ..etc.
ป 1/1 -คำศัพท์ สำนวน
และประโยคที่ใช้ขอ
และให้ข้อมูลเกี่ยว
กับตนเอง เช่น
What’s your
name?/ My name
is…/ I am…
4 Review 1 ต 1.1 ป 1/1 How are you?/ I 18 6
92

ต 1.1 ป 1/2 am fine.


ต 1.1 ป 1/3 etc.
ต 1.1 ป 1/4 -คำและประโยคที่ใช้
ต 1.2 ป 1/1 ในการพูดให้ข้อมูล
ต 1.2 ป 1/2 เกี่ยวกับตนเอง
ต 1.2 ป 1/4 ต 1.3 บุคคลใกล้ตัว และ
ป 1/1 ต 2.1 เรื่องใกล้ตัว เช่น
ป 1/1 ต 2.1 บอกชื่อ อายุ รูปร่าง
ป 1/3 ต 2.2 ส่วนสูง เรียกสิ่ง
ป 1/1 ต 3.1 ต่างๆ จำนวน ๑-๒๐
ป 1/1 ต 4.1 สี ขนาด สถานที่อยู่
ป 1/1 ต 4.2 1/1 ของสิ่งของ
-วัฒนธรรมของ
เจ้าของภาษา เช่น
การใช้สีหน้าท่าทาง
ประกอบการพูด
ขณะแนะนำตนเอง
การสัมผัสมือ การ
โบกมือ การแสดง
อาการตอบรับหรือ
ปฏิเสธ
-การใช้ภาษาในการ
ฟั ง/พูดใน
สถานการณ์ง่ายๆ ที่
เกิดขึ้นในห้องเรียน
93

น้ำ
เวลา(
หน่ว ชื่อหน่วย หนัก
มาตรฐาน/ตัวชี้วัด สาระแกนกลาง ชั่วโม
ยที่ การเรียนรู้ คะแน
ง)

5 Who ’s ต 1.1 ป 1/1 -บทอ่านเกี่ยวกับ 18 6
เรื่องใกล้ตัว หรือ
she? ต 1.1 ป 1/2 ต 1.1
นิทานที่มีภาพ
ป 1/ ต 3 1.1 ป ประกอบ
1/4 ต 1.2 ประโยคคำถามและ
คำตอบ
ป 1/1 ต 1.2
Yes/No Question
ป 1/2 ต 1.2 เช่น
ป 1/4 ต 1.3 Is it a/an..? Yes,
ป 1/1 ต 2.1 it is./No, it is not.
etc.
ป 1/1 ต 2.1 Wh-Question เช่น
ป 1/3 ต 2.2 What is it? It is
ป 1/1 ต 3.1 a/an... etc.
ป 1/1 ต 4.1 -คำศัพท์ สำนวน
ป 1/1 ต 4.2 1/1 และประโยคที่ใช้
บอกความต้องการ
เช่น I
want…/Please,
etc.
-คำศัพท์เกี่ยวกับ
เทศกาลสำคัญของ
เจ้าของภาษา เช่น
วันคริสต์มาส วันขึ้น
94

ปี ใหม่ วันวาเลนไทน์
-คำศัพท์ที่เกี่ยวข้อง
กับกลุ่มสาระการ
เรียนรู้อื่น
-การใช้ภาษาต่าง
ประเทศในการ
รวบรวมคำศัพท์ที่
เกี่ยวข้องใกล้ตัว จาก
สื่อต่างๆ
น้ำ
เวลา
หน่ว ชื่อหน่วย สาระการเรียนรู้แกน หนัก
มาตรฐาน/ตัวชี้วัด (ชั่วโ
ยที่ การเรียนรู้ กลาง คะแน
มง)

6 What ’s ต 1.1 ป 1/1 -ตัวอักษร (letter 16 5
names)
his ต 1.1 ป 1/2
เสียงตัวอักษรและ
name? ต 1.1 ป 1/3 สระ
ต 1.1 ป ¼ ต 1.2 (letter sounds)
และ
ป 1/1 ต 1.2 ป ½
การสะกดคำ
ต 1.2 ป ¼ ต 1.3 หลักการอ่านออกเสียง
ป 1/1 ต 2.1 เช่นการออกเสียง
ป 1/1 ต 2.1 พยัญชนะต้นคำและ
พยัญชนะท้ายคำ
ป 1/3 ต 2.2 การออกเสียงเน้น
ป 1/1 ต 3.1 หนัก-เบา
ป 1/1 ต 4.1 (stress)ในคำ
และกลุ่มคำ
ป 1/1 ต 4.2
การออกเสียงตาม
ป 1/1
95

ระดับเสียงสูง-ต่ำ
(intonation) ใน
ประโยค
-ตัวอักษรและเสียง
ตัวอักษรของภาษา
ต่างประเทศและ
ภาษาไทย
7 Is this a ต 1.1 ป 1/1 -คำสั่งที่ใช้ใน 14 5
dog? ต 1.1 ป 1/2 ห้องเรียน เช่น
ต 1.1 ป 1/3 Stand up./Sit
ต 1.1 ป 1/4 down./ Listen./
ต 1.2 ป 1/1 Repeat./Quiet!/
ต 1.2 ป 1/2 Stop! etc.
ต 1.2 ป 1/4 -คำสั่งที่ใช้ใน
ต 1.3 ป 1/1 ห้องเรียน
ต 2.1 ป 1/1
ต 2.1 ป 1/3
ต 2.2 ป 1/1
ต 3.1 ป 1/1
ต 4.1 ป 1/1 ต
4.2 ป
8 Review 2 ต 1.1 ป 1/1 -บทอ่านเกี่ยวกับเรื่อง 5
ใกล้ตัว หรือนิทานที่มี
ต 1.1 ป 1/2 15
ภาพประกอบ
ต 1.1 ป 1/3 ประโยคคำถามและ
ต 1.1 ป 1/4 คำตอบ
Yes/No Question
ต 1.2 ป 1/1
96

ต 1.2 ป 1/2 เช่น


Is it a/an..? Yes,
ต 1.2 ป 1/4
it is./No, it is not.
ต 1.3 ป 1/1 etc.
ต 2.1 ป 1/1 Wh-Question เช่น
ต 2.1 ป 1/3 What is it? It is

ต 2.2 ป 1/1 a/an... etc.

ต 3.1 ป 1/1 -คำศัพท์ สำนวน

ต 4.1 ป 1/1 ต และประโยคที่ใช้บอก

4.2 ป ความต้องการ เช่น I


want…/Please,
etc.
-คำศัพท์เกี่ยวกับ
เทศกาลสำคัญของ
เจ้าของภาษา เช่น
วันคริสต์มาส วันขึ้นปี
ใหม่ วันวาเลนไทน์
-คำศัพท์ที่เกี่ยวข้อง
กับกลุ่มสาระการ
เรียนรู้อื่น
-การใช้ภาษาต่าง
ประเทศในการ
รวบรวมคำศัพท์ที่
เกี่ยวข้องใกล้ตัว จาก
สื่อต่างๆ
9 What ต 1.1 ป 1/1 -บทอ่านเกี่ยวกับเรื่อง 6
ใกล้ตัว หรือนิทานที่มี
color is ต 1.1 ป 1/2 18
ภาพประกอบ
97

this? ต 1.1 ป 1/3 ประโยคคำถามและ


คำตอบ
ต 1.1 ป 1/4
Yes/No Question
ต 1.2 ป 1/1 เช่น
ต 1.2 ป 1/2 Is it a/an..? Yes,
it is./No, it is not.
ต 1.2 ป 1/4
etc.
ต 1.3 ป 1/1 Wh-Question เช่น
ต 2.1 ป 1/1 What is it? It is
ต 2.1 ป 1/3 a/an... etc.
ต 2.2 ป 1/1 -คำศัพท์ สำนวน
ต 3.1 ป 1/1 และประโยคที่ใช้บอก
ต 4.1 ป 1/1 ต ความต้องการ เช่น I
4.2 ป want…/Please,
etc.
-คำศัพท์เกี่ยวกับ
เทศกาลสำคัญของ
เจ้าของภาษา เช่น
วันคริสต์มาส วันขึ้นปี
ใหม่ วันวาเลนไทน์
-คำศัพท์ที่เกี่ยวข้อง
กับกลุ่มสาระการ
เรียนรู้อื่น
-การใช้ภาษาต่าง
ประเทศในการ
รวบรวมคำศัพท์ที่
เกี่ยวข้องใกล้ตัว จาก
สื่อต่างๆ
98

10 How old ต 1.1 ป 1/1 -บทอ่านเกี่ยวกับเรื่อง 20 8


ใกล้ตัว หรือนิทานที่มี
are you? ต 1.1 ป 1/2
ภาพประกอบ
ต 1.1 ป 1/3 ประโยคคำถามและ
ต 1.1 ป 1/4 คำตอบ
Yes/No Question
ต 1.2 ป 1/1
เช่น
ต 1.2 ป 1/2 Is it a/an..? Yes,
ต 1.2 ป 1/4 it is./No, it is not.
ต 1.3 ป 1/1 etc.
Wh-Question เช่น
ต 2.1 ป 1/1
What is it? It is
ต 2.1 ป 1/3
a/an... etc.
ต 2.2 ป 1/1
-คำศัพท์ สำนวน
ต 3.1 ป 1/1
และประโยคที่ใช้บอก
ต 4.1 ป 1/1 ต
ความต้องการ เช่น I
4.2 ป
want…/Please,
etc.
-คำศัพท์เกี่ยวกับ
เทศกาลสำคัญของ
เจ้าของภาษา เช่น
วันคริสต์มาส วันขึ้นปี
ใหม่ วันวาเลนไทน์
-คำศัพท์ที่เกี่ยวข้อง
กับกลุ่มสาระการ
เรียนรู้อื่น
-การใช้ภาษาต่าง
ประเทศในการ
99

รวบรวมคำศัพท์ที่
เกี่ยวข้องใกล้ตัว จาก
สื่อต่างๆ
11 What do ต 1.1 ป 1/1 -บทอ่านเกี่ยวกับเรื่อง 8
ใกล้ตัว หรือนิทานที่มี
you like? ต 1.1 ป 1/2 19
ภาพประกอบ
ต 1.1 ป 1/3 ประโยคคำถามและ
ต 1.1 ป 1/4 คำตอบ
Yes/No Question
ต 1.2 ป 1/1
เช่น
ต 1.2 ป 1/2 Is it a/an..? Yes,
ต 1.2 ป 1/4 it is./No, it is not.
ต 1.3 ป 1/1 etc.
Wh-Question เช่น
ต 2.1 ป 1/1
What is it? It is
ต 2.1 ป 1/3
a/an... etc.
ต 2.2 ป 1/1
-คำศัพท์ สำนวน
ต 3.1 ป 1/1
และประโยคที่ใช้บอก
ต 4.1 ป 1/1 ต
ความต้องการ เช่น I
4.2 ป
want…/Please,
etc.
-คำศัพท์เกี่ยวกับ
เทศกาลสำคัญของ
เจ้าของภาษา เช่น
วันคริสต์มาส วันขึ้นปี
ใหม่ วันวาเลนไทน์
-คำศัพท์ที่เกี่ยวข้อง
กับกลุ่มสาระการ
100

เรียนรู้อื่น
-การใช้ภาษาต่าง
ประเทศในการ
รวบรวมคำศัพท์ที่
เกี่ยวข้องใกล้ตัว จาก
สื่อต่างๆ
12 Review 3 ต 1.1 ป 1/1 -บทสนทนาที่ใช้ใน 5
ต 1.1 ป 1/2 การทักทาย กล่าวลา 14
ต 1.1 ป 1/3 ขอบคุณ ขอโทษ
ต 1.1 ป 1/4 และประโยค/ข้อควา
ต 1.2 ป 1/1 มที่ใช้แนะนำตนเอง
ต 1.2 ป 1/2 เช่น Hi /Hello/
ต 1.2 ป 1/4 Good morning/
ต 1.3 ป 1/1 Good afternoon/
ต 2.1 ป 1/1 Good evening/ I
ต 2.1 ป 1/3 am…/ Goodbye./
ต 2.2 ป 1/1 Bye./ Thank you./
ต 3.1 ป 1/1 I am sorry ..etc.
ต 4.1 ป 1/1 ต -คำศัพท์ สำนวน
4.2 ป และประโยคที่ใช้ขอ
และให้ข้อมูลเกี่ยวกับ
ตนเอง เช่น What’s
your name?/ My
name is…/ I am…

รวมตลอดปี 200 70
101

สอบปลายปี 30
รวมคะแนนตลอดปี 100
102

โครงสร้างรายวิชา

วิชา ภาษาอังกฤษ 2 รหัส


วิชา อ 12101
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
ระดับชั้นประถมศึกษา ชั้น
ประถมศึกษาปี ที่ 2
ชื่อ น้ำ
หน่ว
หน่วย มาตรฐาน/ตัวชี้ หนัก
ย สาระแกนกลาง ชั่วโมง
การ วัด คะแน
ที่
เรียนรู้ น
1 Hello ต 1.1 ป 2/1 -ตัวอักษร เสียงตัวอักษรและ 12 5
สระ การสะกดคำ และ
Gogo! ต 1.1 ป 2/2 ประโยค หลักการอ่านออก
ต 1.1 ป 2/3 เสียง เช่น การออกเสียง
ต 1.1 ป 2/4 พยัญชนะต้นคำและพยัญชนะ
ท้ายคำ การออกเสียงเน้น
ต 1.2 ป 2/1 หนัก-เบา ในคำและกลุ่มคำ
ต 1.2 ป 2/3 การออกเสียงตามระดับเสียง
สูง-ต่ำ ในประโยค
ต 1.2 ป 2/4
-ตัวอักษรและเสียงตัวอักษร
ต 1.3 ป 2/1 ของภาษาต่างประเทศและ
ต 2.1 ป 2/1 ภาษาไทย

ต 2.1 ป 2/2
ต 2.1 ป 2/3
ต 2.2 ป 2/1
ต 3.1 ป 2/1
ต 4.1 ป 2/1
103

ต 4.2 ป 2/1
2 They ต 1.1 ป 2/1 -คำสั่งและคำขอร้องที่ใช้ใน 17 5
’re ต 1.1 ป 2/2 ห้องเรียน
big. ต 1.1 ป 2/3 -คำศัพท์ สำนวน และ
ต 1.1 ป 2/4 ประโยคที่ใช้ขอและให้ข้อมูล
ต 1.2 ป 2/1 เกี่ยวกับตนเอง เช่น What’s
ต 1.2 ป 2/2 your name?/ My name
ต 1.2 ป 2/4 is…/ I am…/ How are
ต 1.3 ป 2/1 you?/ I am fine.
ต 2.1 ป 2/1 etc.
ต 2.1 ป 2/2 -คำและประโยคที่ใช้ในการ
ต 2.1 ป 2/3 พูดให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง
ต 2.2 ป 2/1 บุคคลใกล้ตัว และเรื่องใกล้
ต 3.1 ป 2/1 ตัว เช่น บอกชื่อ อายุ รูป
ต 4.1 ป 2/1 ร่าง ส่วนสูง เรียกสิ่งต่างๆ
ต 4.2 ป 2/1 จำนวน ๑-๓๐ สี ขนาด
สถานที่อยู่ของสิ่งของ
-วัฒนธรรมของเจ้าของภาษา
เช่น การใช้สีหน้าท่าทาง
ประกอบการพูดขณะแนะนำ
ตนเอง การสัมผัสมือ การ
โบกมือ การแสดงอาการตอบ
รับหรือปฏิเสธ
-การใช้ภาษาในการฟั ง/พูด
ในสถานการณ์ง่ายๆ ที่เกิด
ขึ้นในห้องเรียน
104

ชื่อ น้ำ
หน่ว เวลา(
หน่วย มาตรฐาน/ตัวชี้ หนัก
ย สาระแกนกลาง ชั่วโมง
การ วัด คะแน
ที่ )
เรียนรู้ น
3. Do ต 1.1 ป 2/2 18 6
you ต 1.1 ป 2/3 -คำสั่งและคำขอร้องที่ใช้ใน
like ต 1.1 ป 2/4 ห้องเรียน คำสั่ง เช่น Show
me a/an.../ Open your
baseb ต 1.2 ป 2/1
book. Don’t talk in
all? ต 1.2 ป 2/4 class. etc.
ต 1.3 ป 2/1 คำขอร้อง เช่น Please
ต 2.1 ป 2/1 come here./ Come here,
please. Don’t make a
ต 2.1 ป 2/2 loud noise, please./
ต 2.1 ป 2/3 Please don’t make a
ต 2.2 ป 2/1 loud noise. etc.
-คำสั่งและคำขอร้องที่ใช้ใน
ต 3.1 ป 2/1
ห้องเรียน
ต 4.1 ป 2/1
ต 4.2 ป 2/1
4 Revie ต 1.1 ป 2/1 -คำและประโยคที่ใช้ในการ 18 6
พูดให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง
w1 ต 1.1 ป 2/2
บุคคลใกล้ตัว และเรื่องใกล้
ต 1.1 ป 2/3 ตัว เช่น บอกชื่อ อายุ รูป
ต 1.1 ป 2/4 ร่าง ส่วนสูง เรียกสิ่งต่างๆ
จำนวน 1-30 สี ขนาด
ต 1.2 ป 2/1 ต
สถานที่อยู่ของสิ่งของ
1.2 ป 2/2 ต -คำศัพท์เกี่ยวกับเทศกาล
1.2 ป 2/3 สำคัญของเจ้าของภาษา เช่น
105

ต 1.2 ป 2/4 วันคริสต์มาส วันขึ้นปี ใหม่


วันวาเลนไทน์
ต 1.3 ป 2/1
-กิจกรรมทางภาษาและ
ต 2.1 ป 2/1 วัฒนธรรม เช่น การเล่นเกม
ต 2.1 ป 2/2 การร้องเพลง การเล่านิทาน
ประกอบท่าทาง วัน
ต 2.1 ป 2/3
คริสต์มาส
ต 2.2 ป 2/1 วันขึ้นปี ใหม่ วันวาเลนไทน์
ต 3.1 ป 2/1 -คำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่ม
ต 4.1 ป 2/1 สาระการเรียนรู้อื่น
-การใช้ภาษาต่างประเทศใน
ต 4.2 ป 2/1 การรวบรวมคำศัพท์ที่
เกี่ยวข้องใกล้ตัว จากสื่อ
ต่างๆ

ชื่อ น้ำ
หน่ว เวลา(
หน่วย มาตรฐาน/ตัวชี้ หนัก
ย สาระแกนกลาง ชั่วโมง
การ วัด คะแน
ที่ )
เรียนรู้ น
5. What ต 1.1 ป 2/2 -ประโยค บทสนทนา หรือ 18 6
’s ต 1.1 ป 2/3 นิทานที่มีภาพประกอบ
ประโยคคำถามและคำตอบ
that? ต 1.1 ป 2/4 Yes/No Question เช่น Is
ต 1.2 ป 2/1 this/that a/an..?
Yes, it is./No, it isn’t.
ต 1.2 ป 2/4
etc.
ต 1.3 ป 2/1 Wh-Question เช่น What
106

ต 2.1 ป 2/1 is this/that/it?


This/that/It is a/an…How
ต 2.1 ป 2/2 many…? There
ต 2.1 ป 2/3 is/are…Where is the…?
ต 2.2 ป 2/1 It is in/on/under… etc.
-คำและประโยคที่ใช้ในการ
ต 3.1 ป 2/1 พูดให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง
ต 4.1 ป 2/1 บุคคลใกล้ตัว และเรื่องใกล้
ตัว เช่น บอกชื่อ อายุ รูป
ต 4.2 ป 2/1
ร่าง ส่วนสูง เรียกสิ่งต่างๆ
จำนวน 1-30 สี ขนาด
สถานที่อยู่ของสิ่งของ
-วัฒนธรรมของเจ้าของภาษา
เช่น การใช้สีหน้าท่าทาง
ประกอบการพูดขณะแนะนำ
ตนเอง การสัมผัสมือ การ
โบกมือ การแสดงอาการตอบ
รับหรือปฏิเสธ
-คำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่ม
สาระการเรียนรู้อื่น
6. What ต 1.1 ป 2/2 -ประโยค บทสนทนา หรือ 17 5
นิทานที่มีภาพประกอบ
are ต 1.1 ป 2/3 ประโยคคำถามและคำตอบ
these ต 1.1 ป 2/4 Yes/No Question เช่น Is
? ต 1.2 ป 2/1 this/that a/an..?
Yes, it is./No, it isn’t.
ต 1.2 ป 2/4 etc.
ต 1.3 ป 2/1 Wh-Question เช่น
What is this/that/it?
ต 2.1 ป 2/1
This/that/It is a/an…
ต 2.1 ป 2/2 How many…?
ต 2.1 ป 2/3 There is/are…
Where is the…?
ต 2.2 ป 2/1 It is in/on/under… etc.
ต 3.1 ป 2/1 -คำและประโยคที่ใช้ในการ
107

ต 4.1 ป 2/1 พูดให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง


บุคคลใกล้ตัว และเรื่องใกล้
ต 4.2 ป 2/1 ตัว เช่น บอกชื่อ อายุ รูป
ร่าง ส่วนสูง เรียกสิ่งต่างๆ
จำนวน 1-30 สี ขนาด
สถานที่อยู่ของสิ่งของ

น้ำ
เวลา
หน่วย ชื่อหน่วย มาตรฐาน/ตัวชี้ หนัก
สาระแกนกลาง (ชั่วโ
ที่ การเรียนรู้ วัด คะแน
มง)

-การใช้ภาษาในการฟั ง/
พูดในสถานการณ์ง่ายๆ ที่ -
เกิดขึ้นในห้องเรียน
7. Where’s ต 1.1 ป 2/2 -คำ กลุ่มคำ ประโยค 14 5
my ต 1.1 ป 2/3 เดี่ยว (simple
book? ต 1.1 ป 2/4 sentence) และความ
ต 1.2 ป 2/1 หมาย เกี่ยวกับตนเอง
ต 1.2 ป 2/4 ครอบครัว โรงเรียน สิ่ง
ต 1.3 ป 2/1 แวดล้อมใกล้ตัว อาหาร
ต 2.1 ป 2/1 เครื่องดื่ม และ
ต 2.1 ป 2/2 นันทนาการ เป็ นวงคำ
ต 2.1 ป 2/3 ศัพท์สะสมประมาณ
ต 2.2 ป 2/1 250-300 คำ (คำศัพท์ที่
ต 3.1 ป 2/1 เป็ นรูปธรรรม)
ต 4.1 ป 2/1 -คำศัพท์ สำนวน และ
108

ต 4.2 ป 2/1 ประโยคที่ใช้ขอและให้


ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง เช่น
What’s your name?/
My name is…/ I am…/
How are you?/ I am
fine. etc.
-คำและประโยคที่ใช้ใน
การพูดให้ข้อมูลเกี่ยวกับ
ตนเอง บุคคลใกล้ตัว และ
เรื่องใกล้ตัว เช่น บอกชื่อ
อายุ รูปร่าง ส่วนสูง
เรียกสิ่งต่างๆ จำนวน 1-
30 สี ขนาด สถานที่อยู่
ของสิ่งของ
-คำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับ
กลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น
8. Review ต 1.1 ป 2/2 -ตัวอักษร เสียงตัวอักษร 15 5
และสระ การสะกดคำ
2 ต 1.1 ป 2/3 และประโยค หลักการ
ต 1.1 ป 2/4 อ่านออกเสียง เช่น การ
ต 1.2 ป 2/1 ออกเสียงพยัญชนะต้นคำ
และพยัญชนะท้ายคำ
ต 1.2 ป 2/4 การออกเสียงเน้นหนัก-
ต 1.3 ป 2/1 เบา ในคำและกลุ่มคำ
การออกเสียงตามระดับ
ต 2.1 ป 2/1
เสียงสูง-ต่ำ ในประโยค
ต 2.1 ป 2/2 -คำ กลุ่มคำ ประโยค
ต 2.1 ป 2/3 เดี่ยว (simple
ต 2.2 ป 2/1
109

ต 3.1 ป 2/1 sentence) และความ


ต 4.1 ป 2/1 หมาย เกี่ยวกับตนเอง
ต 4.2 ป 2/1 ครอบครัว โรงเรียน สิ่ง
แวดล้อมใกล้ตัว อาหาร
เครื่องดื่ม และ
นันทนาการ

9 What ต 1.1 ป 2/2 เป็ นวงคำศัพท์สะสม 18 6


time is ต 1.1 ป 2/3 ประมาณ 250-300 คำ
it? ต 1.1 ป 2/4 (คำศัพท์ที่เป็ นรูปธรรรม)
ต 1.2 ป 2/1 -ประโยค บทสนทนา
หรือนิทานที่มีภาพ
ต 1.2 ป 2/4 ประกอบ ประโยคคำถาม
ต 1.3 ป 2/1 และคำตอบ Yes/No
ต 2.1 ป 2/1 Question เช่น
Is this/that a/an..?
ต 2.1 ป 2/2 Yes, it is./No, it isn’t.
ต 2.1 ป 2/3 etc. Wh-Question
เช่น
ต 2.2 ป 2/1
What is this/that/it?
ต 3.1 ป 2/1 This/that/It is a/an…
ต 4.1 ป 2/1 How many…?
There is/are…
ต 4.2 ป 2/1
Where is the…? It is
in/on/under… etc.
-วัฒนธรรมของเจ้าของ
ภาษา เช่น การใช้สีหน้า
ท่าทางประกอบการพูด
ขณะแนะนำตนเอง การ
110

สัมผัสมือ การโบกมือ
การแสดงอาการตอบรับ
หรือปฏิเสธ
-คำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับ
กลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น

น้ำ
เวลา
หน่วย ชื่อหน่วย มาตรฐาน/ตัวชี้ หนัก
สาระแกนกลาง (ชั่วโ
ที่ การเรียนรู้ วัด คะแน
มง)

10 How ต 1.1 ป 2/2 -ตัวอักษร เสียงตัวอักษร 20
และสระ การสะกดคำ
many ต 1.1 ป 2/3 และประโยค หลักการ
are ต 1.1 ป 2/4 อ่านออกเสียง เช่น การ
there? ต 1.2 ป 2/1 ออกเสียงพยัญชนะต้นคำ
และพยัญชนะท้ายคำ
ต 1.2 ป 2/4 การออกเสียงเน้นหนัก-
ต 1.3 ป 2/1 เบา ในคำและกลุ่มคำ
การออกเสียงตามระดับ
ต 2.1 ป 2/1
เสียงสูง-ต่ำ ในประโยค
ต 2.1 ป 2/2 -คำ กลุ่มคำ ประโยค
8
ต 2.1 ป 2/3 เดี่ยว (simple
ต 2.2 ป 2/1 sentence) และความ
ต 3.1 ป 2/1 หมาย เกี่ยวกับตนเอง
ต 4.1 ป 2/1 ครอบครัว โรงเรียน สิ่ง
ต 4.2 ป 2/1 แวดล้อมใกล้ตัว อาหาร
เครื่องดื่ม และ
นันทนาการ
111

11 Do you ต 1.1 ป 2/2 -คำ กลุ่มคำ ประโยค 19 8


have ต 1.1 ป 2/3 เดี่ยว (simple
plates? ต 1.1 ป 2/4 sentence) และความ
ต 1.2 ป 2/1 หมาย เกี่ยวกับตนเอง
ต 1.2 ป 2/4 ครอบครัว โรงเรียน สิ่ง
ต 1.3 ป 2/1 แวดล้อมใกล้ตัว อาหาร
ต 2.1 ป 2/1 เครื่องดื่ม และ
ต 2.1 ป 2/2 นันทนาการ เป็ นวงคำ
ต 2.1 ป 2/3 ศัพท์สะสมประมาณ
ต 2.2 ป 2/1 250-300 คำ (คำศัพท์ที่
ต 3.1 ป 2/1 เป็ นรูปธรรรม)
ต 4.1 ป 2/1 -คำศัพท์ สำนวน และ
ต 4.2 ป 2/1 ประโยคที่ใช้ขอและให้
ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง เช่น
What’s your name?/
My name is…/ I am…/
How are you?/ I am
fine. etc.
-คำและประโยคที่ใช้ใน
การพูดให้ข้อมูลเกี่ยวกับ
ตนเอง บุคคลใกล้ตัว และ
เรื่องใกล้ตัว เช่น บอกชื่อ
อายุ รูปร่าง ส่วนสูง
เรียกสิ่งต่างๆ จำนวน 1-
30 สี ขนาด สถานที่อยู่
ของสิ่งของ
112

-คำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับ
กลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น
น้ำ
เวลา
หน่วย ชื่อหน่วย มาตรฐาน/ตัวชี้ หนัก
สาระแกนกลาง (ชั่วโ
ที่ การเรียนรู้ วัด คะแน
มง)

12 Review ต 1.1 ป 2/2 -ตัวอักษร เสียงตัวอักษร 14
และสระ การสะกดคำ
3 ต 1.1 ป 2/3 และประโยค หลักการ
ต 1.1 ป 2/4 อ่านออกเสียง เช่น การ
ต 1.2 ป 2/1 ออกเสียงพยัญชนะต้นคำ
และพยัญชนะท้ายคำ
ต 1.2 ป 2/4 การออกเสียงเน้นหนัก-
ต 1.3 ป 2/1 เบา ในคำและกลุ่มคำ
การออกเสียงตามระดับ
ต 2.1 ป 2/1
เสียงสูง-ต่ำ ในประโยค
ต 2.1 ป 2/2 -คำ กลุ่มคำ ประโยค
5
ต 2.1 ป 2/3 เดี่ยว (simple
ต 2.2 ป 2/1 sentence) และความ
ต 3.1 ป 2/1 หมาย เกี่ยวกับตนเอง
ต 4.1 ป 2/1 ครอบครัว โรงเรียน สิ่ง
ต 4.2 ป 2/1 แวดล้อมใกล้ตัว อาหาร
เครื่องดื่ม และ
นันทนาการ

รวมตลอดปี 200 70
สอบปลายปี 30
รวมคะแนนทั้งหมด 100
113
114

โครงสร้างรายวิชา

วิชา ภาษาอังกฤษ 3 รหัสวิชา


อ 13101
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
ระดับชั้นประถมศึกษา ชั้ น
ประถมศึกษาปี ที่ 3
น้ำ
ชื่อหน่วย เวลา(
หน่วย หนัก
การเรียน มาตรฐาน/ตัวชี้วัด สาระแกนกลาง ชั่วโม
ที่ คะแน
รู้ ง)

1 Hi Gogo ต 1.1 ป 3/1 -บทสนทนาที่ใช้ในการ -
ต 1.1 ป 3/2 ทักทาย กล่าวลา
ต 1.1 ป 3/3 ขอบคุณ ขอโทษ และ
ต 1.1 ป 3/4 ต 1.2 ประโยค/ข้อความที่ใช้
ป 3/1 ต 1.2 ป 3/3 แนะนำตนเอง เช่น
ต 1.2 ป 3/4 ต 1.3 Hi /Hello/ Good
ป 3/1 ต 2.1 morning/ Good
ป 3/1 ต 2.1 afternoon/ Good
ป 3/2 ต 2.1 ป 3/2 evening/ I am
ต 2.2 ป 3/1 sorry./ How are
ต 3.1 ป 3/1 you? I’m fine.Thank
ต 4.1 ป 3/1 you. And you?/
ต 4.2 ป 3/1 Nice to see you./
115

Nice to see you


too./
Goodbye./Bye./ See
you soon/ later./
Thanks./ Thank
you./ Thank you
very much./ You’re
welcome.
etc.
-มารยาทสังคม/
วัฒนธรรมของเจ้าของ
ภาษา เช่น การ
ขอบคุณ ขอโทษ การ
ใช้สีหน้าท่าทาง
ประกอบ การพูดขณะ
แนะนำตนเอง การ
สัมผัสมือ การโบกมือ
การแสดงอาการตอบ
รับหรือปฏิเสธ
2 What ต 1.1 ป 3/1 -คำสั่งและคำขอร้องที่ -
ใช้ในห้องเรียน คำสั่ง
day is it ต 1.1 ป 3/2 เช่น Give me
today? ต 1.1 ป 3/3 a/an.../Draw and
ต 1.1 ป 3/4 ต 1.2 color the picture./
Put
ป 3/1 ต 1.2 ป 3/2 a/an…in/on/under
ต 1.2 ป 3/4 ต 1.3 a/an…/ Don’t eat in
class. etc.
ป 3/1 ต 2.1
116

ป 3/1 ต 2.1 คำขอร้อง เช่น Please


take a queue./
ป 3/2 ต 2.1 ป 3/2 Take a queue,
ต 2.2 ป 3/1 please./ Don’t
ต 3.1 ป 3/1 make a loud
noise, please./
ต 4.1 ป 3/1 Please don’t
ต 4.2 ป 3/1 make a loud
noise./ Can you
help me, please?
etc.

น้ำ
ชื่อหน่วย เวลา(
หน่วย หนัก
การเรียน มาตรฐาน/ตัวชี้วัด สาระแกนกลาง ชั่วโม
ที่ คะแน
รู้ ง)

3 Can I ต 1.1 ป 3/2 -คำสั่งและคำขอร้องที่ -
have ต 1.1 ป 3/3 ใช้ในห้องเรียน
balloon ต 1.1 ป 3/4 ต 1.2 -คำศัพท์ สำนวน และ
ประโยคที่ใช้บอกความ
? ป 3/1 ต 1.2 ป ต้องการ เช่น Please,
3/3 ต 1.2 ป 3/4 …/ May I go out?/
ต 1.3 ป 3/1 May I come in?
etc.
ต 2.1 ป 3/1
ต 2.1 ป 3/2 ต 2.1
ป 3/2 ต 2.2
ป 3/1 ต 3.1
ป 3/1 ต 4.1
ป 3/1 ต 4.2
117

ป 3/1
4 Review ต 1.1 ป 3/1 -คำ กลุ่มคำ ประโยค -
เดี่ยว และบทพูดเข้า
1 ต 1.1 ป 3/2 จังหวะ และการสะกด
ต 1.1 ป 3/3 คำ การใช้พจนานุกรม
ต 1.1 ป 3/4 ต 1.2 หลักการอ่านออกเสียง
เช่น
ป 3/1 ต 1.2 ป 3/2 การออกเสียงพยัญชนะ
ต 1.2 ป 3/3 ต 1.2 ต้นคำและพยัญชนะ
ท้ายคำ การออกเสียง
ป 3/4 ต 1.3 ป 3/1
เน้นหนัก-เบา ในคำ
ต 2.1 ป 3/1 และกลุ่มคำ การออก
ต 2.1 ป 3/2 ต 2.1 เสียงตามระดับเสียงสูง-
ต่ำ ในประโยค
ป 3/2 ต 2.2 -คำศัพท์ สำนวน และ
ป 3/1 ต 3.1 ประโยคที่ใช้ขอและให้
ป 3/1 ต 4.1 ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง
และเพื่อน เช่น
ป 3/1 ต 4.2 What’s your name?
ป 3/1 My name is…
How are you?
I am fine.
What time is it?
It is one o’clock.
What is this?
It is a/an…
How many…are
there? There is
a/an…/There are…
Who is…? He/
She is…
etc.
-คำและประโยคที่ใช้
แสดงความรู้สึก เช่น
ดีใจ เสียใจ ชอบไม่ชอบ
118

เช่น Yeah!/ Great!/


Cool!/ I’m happy./
I like cats./ I don’t
like snakes. etc.
5 Do you ต 1.1 ป 3/2 -คำ กลุ่มคำ ประโยค -
เดี่ยว และบทพูดเข้า
like ต 1.1 ป 3/3 จังหวะ และการสะกด
science ต 1.1 ป 3/4 ต 1.2 คำ การใช้พจนานุกรม
? ป 3/1 ต 1.2 หลักการอ่านออกเสียง
เช่น
ป 3/4 ต 1.3 ป 3/1 การออกเสียงพยัญชนะ
ต 2.1 ป 3/1 ต้นคำแลพยัญชนะท้าย
คำ การออกเสียงเน้น
ต 2.1 ป 3/2 ต 2.1
หนัก-เบา ในคำและ
ป 3/2 ต 2.2 กลุ่มคำ การออกเสียง
ป 3/1 ต 3.1 ตามระดับเสียงสูง-ต่ำ
ในประโยค
ป 3/1 ต 4.1
ป 3/1 ต 4.2
ป 3/1
6 What ต 1.1 ป 3/2 -คำและประโยคที่ใช้ -
แสดงความรู้สึก เช่น
do you ต 1.1 ป 3/3 ดีใจ เสียใจ ชอบไม่ชอบ
want? ต 1.1 ป 3/4 ต 1.2 เช่น Yeah!/ Great!/
ป 3/1 ต 1.2 Cool!/ I’m happy./
I like cats./ I don’t
ป 3/4 ต 1.3 ป 3/1 like snakes. etc.
ต 2.1 ป 3/1 -กิจกรรมทางภาษา
และวัฒนธรรม เช่น
ต 2.1 ป 3/2 ต 2.1
การเล่นเกม การร้อง
ป 3/2 ต 2.2 เพลง การเล่านิทาน
ป 3/1 ต 3.1 ประกอบท่าทาง วัน
คริสต์มาส วันขึ้นปี ใหม่
ป 3/1 ต 4.1 วันวาเลนไทน์
ป 3/1 ต 4.2 -ความแตกต่างของ
119

ป 3/1 เสียงตัวอักษร คำ กลุ่ม


คำ และประโยคขอ
ภาษาต่างประเทศและ
ภาษาไทย
-การใช้ภาษาในการ
ฟั ง/พูดใสถานการณ์
ง่ายๆ ที่เกิดขึ้นใน
ห้องเรียน
7 Where ต 1.1 ป 3/2 -กลุ่มคำ ประโยคเดี่ยว -
are my ต 1.1 ป 3/3 สัญลักษณ์ และความ
Glasses? ต 1.1 ป 3/4 ต 1.2 หมายเกี่ยวกับตนเอง
ป 3/1 ต 1.2 ครอบครัว โรงเรียน สิ่ง
ป 3/4 ต 1.3 ป 3/1 แวดล้อมใกล้ตัว อาหาร
ต 2.1 ป 3/1 เครื่องดื่ม และ
ต 2.1 ป 3/2 ต 2.1 นันทนาการ เป็ นวงคำ
ป 3/2 ต 2.2 ศัพท์สะสมประมาณ
ป 3/1 ต 3.1 350-450 คำ (คำศัพท์
ป 3/1 ต 4.1 ที่เป็ นรูปธรรรม)
ป 3/1 ต 4.2 -คำและประโยคที่ใช้ใน
ป 3/1 การพูดให้ข้อมูลเกี่ยว
กับตนเอง บุคคลใกล้
ตัว และเรื่องใกล้ตัว
เช่น บอกชื่อ อายุ รูป
ร่าง ส่วนสูง เรียกสิ่ง
ต่างๆ จำนวน 1-50 สี
ขนาด สถานที่อยู่ของ
สิ่งของ
120

-คำ กลุ่มคำที่มีความ
หมายเกี่ยวกับบุคคล
สัตว์ และสิ่งของ เช่น
การระบุ/เชื่อมโยง
ความสัมพันธ์ของภาพ
กับคำ หรือกลุ่มคำ โดย
ใช้ภาพ แผนภูมิ
แผนภาพ แผนผัง
-คำศัพท์เกี่ยวกับ
เทศกาล/วันสำคัญ/
งานฉลอง และชีวิต
ความเป็ นอยู่ของ
เจ้าของภาษา เช่น วัน
คริสต์มาส วันขึ้นปี ใหม่
สาระแกนกลาง

น้ำ
ชื่อหน่วย เวลา(
หน่วย หนัก
การเรียน มาตรฐาน/ตัวชี้วัด สาระแกนกลาง ชั่วโม
ที่ คะแน
รู้ ง)

8 Review ต 1.1 ป 3/2 วันวาเลนไทน์ เครื่อง -
121

2 ต 1.1 ป 3/3 แต่งกาย อาหาร


ต 1.1 ป 3/4 ต 1.2 เครื่องดื่ม
ป 3/1 ต 1.2 -คำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับ
ป 3/4 ต 1.3 ป 3/1 กลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น
ต 2.1 ป 3/1 -การใช้ภาษาต่าง
ต 2.1 ป 3/2 ต 2.1 ประเทศในการรวบรวม
ป 3/2 ต 2.2 คำศัพท์ที่เกี่ยวข้องใกล้
ป 3/1 ต 3.1 ตัว จากเสื่อต่างๆ
ป 3/1 ต 4.1
ป 3/1 ต 4.2
ป 3/1
9 What ต 1.1 ป 3/2
are you ต 1.1 ป 3/3
doing? ต 1.1 ป 3/4 ต 1.2
ป 3/1 ต 1.2
ป 3/4 ต 1.3 ป 3/1
ต 2.1 ป 3/1
ต 2.1 ป 3/2 ต 2.1
ป 3/2 ต 2.2
ป 3/1 ต 3.1
ป 3/1 ต 4.1
ป 3/1 ต 4.2
ป 3/1
10 This is ต 1.1 ป 3/2
his ต 1.1 ป 3/3
body? ต 1.1 ป 3/4 ต 1.2
122

ป 3/1 ต 1.2
ป 3/4 ต 1.3 ป 3/1
ต 2.1 ป 3/1
ต 2.1 ป 3/2 ต 2.1
ป 3/2 ต 2.2
ป 3/1 ต 3.1
ป 3/1 ต 4.1
ป 3/1 ต 4.2
ป 3/1
รวมตลอดปี 200 70
สอบปลายปี 30
รวมคะแนน 100

โครงสร้างรายวิชา

วิชา ภาษาอังกฤษ 4 รหัสวิชา


อ 14101
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
123

ระดับชั้นประถมศึกษา ร ะ ดั บ ชั้น
ประถมศึกษาปี ที่ 4
หน่ว ชื่อหน่วย มาตรฐา เวลา(
น้ำหนัก
ย การเรียน น/ตัวชี้ สาระแกนกลาง ชั่วโม
คะแนน
ที่ รู้ วัด ง)
1 Hi Tony! ต 1.1 -คำสั่งและคำขอร้องที่ใช้ใน -
Hi ป 4/1 ห้องเรียน และคำแนะนำในการ
Jenny ต 1.1 เล่นเกม การวาดภาพ หรือการทำ
ป 4/2 อาหารและเครื่องดื่ม คำสั่ง เช่น
ต 1.1 Look at the…/here/over
ป 4/3 there./ Say it
ต 1.2 again./ Read and draw./ Put
ป 4/1 a/an…in/on/under a/an…/
ต 1.2 Don’t go over there. etc.
ป 4/4 คำขอร้อง เช่น Please take a
ต 1.3 queue./ Take a queue,
ป 4/1 please./ Can you help me,
ต 1.1 please? etc. คำแนะนำ เช่น
ป 4/2 You should read
ต 2.1 everyday./Think before you
ป 4/1 speak./ คำศัพท์ที่ใช้ในการเล่น
ต 1.1 เกม Start./ My turn./ Your
ป 4/3 turn./ Roll the dice./ Count
ต 2.2 the number./ Finish./ คำ
ป 4/1 บอกลำดับขั้นตอน
124

ต First,..Second,..
3.1 ป 4/ Then,… Finally,... etc.
1 -ประโยค บทสนทนา นิทานที่มี
ภาพประกอบ คำถามเกี่ยวกับ
ต ใจความสำคัญของเรื่อง เช่น ใคร
4.1 ป 4/ ทำอะไร ที่ไหน - Yes/No
1 Question
ต เช่น Is/Are/Can…? Yes,…
is/are/can./
4.2 ป 4/
1

หน่ว ชื่อหน่วย มาตรฐา สาระแกนกลาง เวลา(


น้ำหนัก
ย การเรียน น/ตัวชี้ ชั่วโม
คะแนน
ที่ รู้ วัด ง

2 Are you ต 1.1 ป No,…isn’t/aren’t/can’t. -


Do/Does/Can/Is/Are...?
dancing 4/2 Yes/No… etc.
? ต 1.1 ป Wh-Question เช่น Who
is/are…? He/She is…/They
4/3 are…
ต 1.1 ป What…?/Where…? It is
…/They are… What...doing?
4/4
…is/am/are… etc.
ต 1.2 ป Or-Question เช่น Is this/it
a/an...or a/an…? It is a/an…
4/1
etc.
ต 1.2 ป -บทสนทนาที่ใช้ในการทักทาย
4/4 กล่าวลา ขอบคุณ ขอโทษ การพูด
แทรกอย่างสุภาพ
ต 1.3 ป ประโยค/ข้อความที่ใช้แนะนำ
4/1 ตนเอง เพื่อน และบุคคลใกล้ตัว
และสำนวนการตอบรับ เช่น
125

ต 1.1 ป Hi/Hello/Good morning/Good


afternoon/Good evening/I am
4/2 sorry./How are you?/I’m fine.
ต 2.1 ป Thank you. And you?/ Hello.I
am… Hello,…I am… This is my
4/1 sister.Her name is…
ต 2.1 ป Hello,…/Nice to see you. Nice
to see you too./Goodbye./
4/3
Bye./See you soon/later./
ต 2.2 ป Thanks./Thank you./Thank
you very much./You’re
4/1
welcome./It’s O.K.
ต 3.1 ป etc.
4/1 -คำสั่ง คำขอร้อง และคำขอ
อนุญาตที่ใช้ในห้องเรียน
ต 4.1 ป -คำศัพท์ สำนวน และประโยคที่
4/1 ใช้ขอและให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง
สิ่งใกล้ตัว เพื่อน และครอบครัว
ต 4.2 ป
เช่น
4/1 What’s your name? My
name is…
What time is it? It is one
o’clock.
What is this ? It is a/an…

หน่ว ชื่อหน่วย มาตรฐา เวลา(


ย การเรียน น/ตัวชี้ สาระแกนกลาง ชั่วโม น้ำหนัก
ที่ รู้ วัด ง) คะแนน

3 I’m ต 1.1 ป How many…are there? There -


126

washing 4/2 is a/an…/There are…


Where is the…? It is
the car. ต 1.1 ป in/on/under.
4/3 -ประโยคและข้อความที่ใช้ในการ
ต 1.1 ป พูดให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง บุคคล
4/4 สัตว์ และเรื่องใกล้ตัว เช่น ชื่อ
ต 1.2 ป อายุ รูปร่าง สี ขนาด รูปทรง สิ่ง
4/1 ต่างๆ จำนวน 1-100 วัน เดือน ปี
ต 1.2 ป ฤดูกาล ที่อยู่ของสิ่งต่างๆ และ
4/4 เครื่องหมายวรรคตอน
ต 1.3 ป
4/2
ต 2.1 ป
4/1
ต 1.1 ป
4/3
ต 2.2 ป
4/1
ต 3.1 ป
4/1
ต 4.1 ป
4/1
ต 4.2 ป
4/1
4 Review ต 1.1 ป -คำศัพท์ สำนวน และประโยคที่ใช้ -
1 4/1 แสดงความต้องการและขอความ
ต 1.1 ป ช่วยเหลือในสถานการณ์ต่างๆ เช่น
127

4/2 I want …/ Please…/ May…?/ I


ต 1.1 ป need your help./ Please help
4/3 me./ Help me! etc.
ต 1.2 ป -คำศัพท์ สำนวน และประโยคที่
ใช้ขอและให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง
4/1 สิ่งใกล้ตัว เพื่อน และครอบครัว
ต 1.2 ป เช่น
4/2 What’s your name? My
name is…
ต 1.2 ป What time is it? It is one
4/4 o’clock.
What is this? It is a/an…
ต 1.3 ป
How many…are there? There
มาตรฐา is
น/ตัวชี้
วัด

หน่ว เวลา( น้ำ


ย ชื่อหน่วย ชั่วโม หนัก
ที่ การเรียน สาระแกนกลาง ง) คะแน
รู้ น
4/1 a/an…/There are…

ต 1.3 ป Where is the…? It is

4/2 in/on/under…
-คำและประโยคที่ใช้แสดงความ
ต 1.3 ป รู้สึก เช่น ดีใจ เสียใจ ชอบ ไม่ชอบ
4/3 รัก ไม่รัก เช่น
ต 2.1 ป I/You/We/They like…/He/She
128

4/3 likes… I/You/We/They


love…/ He/She loves…
ต 2.2 ป
4/1
ต 3.1 ป
4/1
ต 4.1 ป
4/1
ต 4.2 ป
4/1
5 Where ต 1.1 I/You/We/They don’t -
like/love/feel
are you ป 4/2 He/She doesn’t
going? ต 1.1 like/love/feel…
ป 4/3 I/You/We/They feel…
ต 1.1 etc.
ป 4/4 -ประโยคที่ใช้ในการแสดงความคิด
ต 1.2 เห็นเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ ใกล้ตัว
ป 4/1
ต 1.2
ป 4/4
ต 1.3
ป 4/1
ต 1.3
ป 4/2
ต 2.1
ป 4/1
ต 2.1
129

ป 4/3
ต 2.2
ป 4/1
ต 3.1
ป 4/1
ต 4.1
ป 4/1
ต 4.2
ป 4/1

หน่ว ชื่อหน่วย มาตรฐา เวลา(


ย การเรียน น/ตัวชี้ สาระแกนกลาง ชั่วโม น้ำหนัก
ที่ รู้ วัด ง) คะแนน

6 It’s ต 1.1 ป -กลุ่มคำ ประโยคเดี่ยว สัญลักษณ์ -


3:15. 4/1 เครื่องหมาย และความหมาย
ต 1.1 ป เกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว
4/2 โรงเรียน สิ่งแวดล้อม อาหาร
ต 1.1 ป เครื่องดื่ม เวลาว่างและนันทนาการ
4/3 สุขภาพและสวัสดิการ การซื้อ-ขาย
ต 1.1 ป และลมฟ้ าอากาศ และเป็ นวงคำ
4/4 ศัพท์สะสมประมาณ 450-700 คำ
ต 1.2 ป (คำศัพท์ที่เป็ นรูปธรรมและ
130

4/1 นามธรรม)
ต 1.2 ป -คำสั่ง คำขอร้อง และคำขอ
4/2 อนุญาตที่ใช้ในห้องเรียน
ต 1.2 ป -คำ กลุ่มคำที่มีความหมายสัมพันธ์
4/4 ของสิ่งต่างๆ ใกล้ตัว เช่น การ
ต 1.3 ป ระบุ/เชื่อมโยงความสัมพันธ์ของ
4/1 ภาพกับคำ หรือกลุ่มคำ โดยใช้ภาพ
ต 1.3 ป แผนภูมิ แผนภาพ แผนผัง
4/2 -ประโยคที่ใช้ในการแสดงความคิด
ต 2.1 ป เห็นเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ ใกล้ตัว
4/1 -การใช้ภาษาในการฟั งและพูด/
ต 2.1 ป อ่านในสถานการณ์ที่เกิดขึ้นใน
4/3 ห้องเรียน
ต 2.2 ป
4/1
ต 3.1 ป
4/1
ต 4.1 ป
4/1
ต 4.2 ป
4/1
7 I like ต 1.1 -คำ กลุ่มคำ ประโยค ข้อความ -
บทพูดเข้าจังหวะ และการสะกดคำ
eating. ป 4/2
การใช้พจนานุกรม หลักการอ่าน
ต 1.1 ออกเสียง เช่น การออกเสียง
ป 4/3 พยัญชนะต้นคำและพยัญชนะท้าย
คำการออกเสียงเน้นหนัก-เบา ใน
ต 1.1
131

ป 4/4 คำและกลุ่มคำ การออกเสียงตาม


ระดับเสียงสูง-ต่ำ ในประโยค
ต 1.2
-ประโยค บทสนทนา นิทานที่มี
ป 4/1 ภาพประกอบ คำถามเกี่ยวกับ
ใจความสำคัญของเรื่อง เช่น ใคร
ต 1.2
ทำอะไร ที่ไหน Yes/No
ป 4/4 Question เช่น Is/Are/Can…?
ต 1.2 Yes,…is/are/can./
No,…isn’t/aren’t/can’t.
ป 4/5 Do/Does/Can/Is/Are...?
ต 1.3 Yes/No… etc.
Wh-Question เช่น
ป 4/1 Who is/are…? He/She
ต 1.3 is…/They are…
หน่ว ป 4/2 เวลา( น้ำ
สาระแกนกลาง
ยที่ ชื่อหน่วย ต 2.1 ชั่วโม หนัก
ป 4/1 ง) คะแน
ต 2.1 น
ป 4/3
ต 2.2
ป 4/1
ต 3.1
ป 4/1
ต 4.1
ป 4/1
ต 4.2
ป 4/1

มาตรฐา
น/
132

ตัวชี้วัด
What…?/Where…? It is
…/They are… What...doing?
…is/am/are… etc. Or-
Question เช่น Is this/it
a/an...or a/an…?
It is a/an… etc.
-คำศัพท์ สำนวน และประโยคที่
ใช้ขอและให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง
สิ่งใกล้ตัว เพื่อน และครอบครัว
เช่น
What’s your name? My
name is…
What time is it? It is one
o’clock.
What is this? It is a/an…
How many…are there? There
is a/an…/There are…
Where is the…? It is
in/on/under…

8 Review ต 1.1 -คำและประโยคที่ใช้แสดงความ -


รู้สึก เช่น ดีใจ เสียใจ ชอบ ไม่ชอบ
2 ป 4/1 รัก ไม่รัก เช่น I/You/We/They
ต 1.1 like../He/She likes.
ป 4/2 I/You/We/They love../He/She
loves… I/You/We/They don’t
ต 1.1 like/love/feel… He/She
ป 4/3 doesn’t like/love/feel…
I/You/We/They feel…
ต 1.1
etc.
ป 4/4 -มารยาทสังคมและวัฒนธรรมของ
เจ้าของภาษา เช่น การขอบคุณ
ต 1.2
ขอโทษ การใช้สีหน้าท่าทาง
ป 4/1 ประกอบ การพูดขณะแนะนำ
133

ต 1.2 ตนเอง การสัมผัสมือ การโบกมือ


การแสดงความรู้สึกชอบ/ไม่ชอบ
ป 4/2 การแสดงอาการตอบรับหรือ
ต 1.2 ปฏิเสธ
-การค้นคว้า การรวบรวม และ
ป 4/4 การนำเสนอ คำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับ
ต 1.3 กลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น
ป 4/1
ต 1.3
ป 4/2
ต 2.1
ป 4/1
ต 2.1
ป 4/3
ต 3.1
ป 4/1

หน่ว ชื่อหน่วย มาตรฐา สาระแกนกลาง เวลา( น้ำ


ยที่ น/ ชั่วโม หนัก
ตัวชี้วัด ง) คะแน

9 Are ต 1.1 -มารยาทสังคมและวัฒนธรรมของ -ควา
these ป 4/2 เจ้าของภาษา เช่น การขอบคุณ ม
blue ต 1.1 ขอโทษ การใช้สีหน้าท่าทาง เหมือ
socks ป 4/3 ประกอบ การพูดขณะแนะนำ น/
yours? ต 1.1 ตนเอง การสัมผัสมือ การโบกมือ ความ
ป 4/4 การแสดงความรู้สึกชอบ/ไม่ชอบ แตก
ต 1.2 การแสดงอาการตอบรับหรือ ต่าง
134

ป 4/1 ปฏิเสธ ระหว่


ต 1.2 -คำศัพท์และข้อมูลเกี่ยวกับ าง
ป 4/4 เทศกาล/วันสำคัญ/งานฉลอง และ เทศก
ต 1.3 ชีวิตความเป็ นอยู่ของเจ้าของภาษา าล
ป 4/1 เช่น และ
ต 1.3 ป วันคริสต์มาส วันขึ้นปี ใหม่ วัน งาน
วาเลนไทน์ เครื่องแต่งกาย ฉลอง
ฤดูกาล อาหาร เครื่องดื่ม ตาม
วัฒน
ธรรม
ของ
เจ้าข
อง
ภาษา
กับ
ของ
ประช
ากร
จังหวั

สุรินท
ร์
-วัน
ขึ้นปี
ใหม่
-ประเ
135

พณี
สาระ
ท้อง
ถิ่น

หน่ว ชื่อหน่วย มาตรฐา สาระแกนกลาง เวลา( น้ำ


ยที่ น/ ชั่วโม หนัก
ตัวชี้วัด ง) คะแน

ป.4/2
ต 2.1 สงกร
ป 4/1 านต์
ต 2.1 -ป ร ะ เ
ป 4/3 พ ณี

ต 2.2 ล อ ย
กระทง
ป 4/1
ต 3.1
ป 4/1
136

ต 4.1
ป 4/1
ต 4.2
ป 4/1
10 What ต 1.1
do you ป 4/2
want to ต 1.1
do? ป 4/3
ต 1.1
ป 4/4
ต 1.2
ป 4/1
ต 1.2
ป 4/3
ต 1.2
ป 4/4
ต 1.3
ป 4/1
ต 1.3
ป 4/2
ต 2.1
ป 4/1
137

หน่ว ชื่อหน่วย มาตรฐา สาระแกนกลาง เวลา( น้ำ


ยที่ น/ ชั่วโม หนัก
ตัวชี้วัด ง) คะแน

ต 2.1 ป -กิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรม -
4/3 เช่น การเล่นเกมการร้องเพลง
ต 2.2 การเล่านิทานประกอบท่าทาง
ป 4/1 บทบาทสมมุติ วันคริสต์มาส
ต 3.1 วันขึ้นปี ใหม่ วันวาเลนไทน์
ป 4/1 -กิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรม
ต 4.1 เช่น การเล่นเกม การร้องเพลง
ป 4/1 การเล่านิทานประกอบท่าทาง
ต 4.2 บทบาทสมมุติ วันคริสต์มาส
ป 4/1 วันขึ้นปี ใหม่ วันวาเลนไทน์
-ความเหมือน/ความแตกต่าง
ระหว่างเทศกาล และงานฉลอง
138

ตามวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา
กับ ของไทย
-ความเหมือน/ความแตกต่าง
ระหว่างเทศกาล และงานฉลอง
ตามวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา
กับ ของไทย
11 I’m a ต 1.1 -กลุ่มคำ ประโยคเดี่ยว สัญลักษณ์ -
doctor. ป 4/2 เครื่องหมาย และความหมาย
ต 1.1 เกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว
ป 4/2 โรงเรียน สิ่งแวดล้อม อาหาร
ต 1.1 เครื่องดื่ม เวลาว่างและนันทนาการ
ป 4/2 สุขภาพและสวัสดิการ การซื้อ-ขาย
ต 1.1 และลมฟ้ าอากาศ และเป็ นวงคำ
ป 4/2 ศัพท์สะสมประมาณ 450-700 คำ
ต 1.1 (คำศัพท์ที่เป็ นรูปธรรมและ
ป 4/2 นามธรรม)
ต 1.1 -คำและประโยคที่ใช้แสดงความ
รู้สึก เช่น ดีใจ เสียใจ ชอบ ไม่ชอบ
ป 4/2 รัก ไม่รัก เช่น
ต 1.1
ป 4/2
ต 1.1
หน่ว ชื่อหน่วย ป 4/2 เวลา( น้ำ
ยที่ ต 1.1 ชั่วโม หนัก
ป 4/2 ง) คะแน
ต 1.1 น
ป 4/2 สาระแกนกลาง
139

ต 1.1
ป 4/2
ต 1.1
ป 4/2
ต 1.1
ป 4/2

มาตรฐา
น/ตัวชี้
วัด
12 Review ต 1.1 I/You/We/They like../He/She -
likes.
3 ป 4/2 I/You/We/They love../He/She
ต 1.1 loves. I/You/We/They don’t
ป 4/3 like/love/feel… He/She
doesn’t like/love/feel…
ต 1.1
I/You/We/They feel…
ป 4/4
etc.
ต 1.2
-กิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรม
ป 4/1
เช่น การเล่นเกม การร้องเพลง
ต 1.2
การเล่านิทานประกอบท่าทาง
ป 4/3
บทบาทสมมุติ วันคริสต์มาส วันขึ้น
ต 1.2
ปี ใหม่ วันวาเลนไทน์
ป 4/4
-การใช้ภาษาต่างประเทศในการ
ต 1.3
สืบค้นและการรวบรวมคำศัพท์ที่
ป 4/1
เกี่ยวข้องใกล้ตัว จากสื่อและแหล่ง
ต 1.3
140

ป 4/2 การเรียนรู้ต่างๆ
ต 2.2
ป 4/1
ต 2.1
ป 4/3
ต 2.2
ป 4/1
ต 4.2
ป 4/1
ต 4.1
ป 4/1
รวมตลอดปี 200
141

โครงสร้างรายวิชา

วิชา ภาษาอังกฤษ 5 รหัสวิชา


อ 15101
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
ระดับชั้นประถมศึกษา ร ะ ดั บ ชั้น
ประถมศึกษาปี ที่ 5

น้ำ
หน่ว ชื่อหน่วย เวลา(
หนัก
ย การเรียน มาตรฐาน/ตัวชี้วัด สาระแกนกลาง ชั่วโม
คะแน
ที่ รู้ ง)

1 Come ต 1.1 ป 5/1 บทสนทนาที่ใช้ในการ -
ทักทาย กล่าวลา
with ต 1.1 ป 5/2
ขอบคุณ ขอโทษ
me? ต 1.1 ป 5/3 ชมเชย การพูดแทรก
ต 1.1 ป 5/4 อย่างสุภาพ
ประโยค/ข้อความที่ใช้
ต 1.2 ป 5/1
แนะนำตนเอง เพื่อน
ต 1.2 ป 5/2 และบุคคลใกล้ตัว และ
ต 1.2 ป 5/4 สำนวนการตอบรับ
ต 1.2 ป 5/5 เช่น Hi /Hello/
Good
ต 1.3 ป 5/1 morning /Good
afternoon/ Good
142

ต 1.3 ป 5/2 evening/ I am


sorry./ How are
ต 2.1 ป 5/1
you?/ I’m fine.
ต 2.1 ป 5/2 Thank you. And
ต 2.1 ป 5/3 you?/ Hello. I am…/
Hello,…I am… This
ต 2.2 ป 5/1
is my sister. Her
ต 3.1 ป 5/1 name is… /Hello,…/
ต 4.1 ป 5/1 Nice to see you.
ต 4.2 ป 5/1 Nice to see you
too./ Goodbye./
Bye./ See you
soon/later./

หน่ว ชื่อหน่วย มาตรฐาน/ตัวชี้วัด สาระแกนกลาง เวลา( น้ำ


ย การเรียน ชั่วโม หนัก
143

คะแน
ที่ รู้ ง)

Good/Very good./
Thanks./ Thank
you./ Thank you
very much./ You’re
welcome./ It’s O.K.
etc.
2 Do you ต 1.1 ป 5/1 คำสั่งและคำขอร้องที่ใช้
have ต 1.1 ป 5/2 ในห้องเรียน ภาษา
any ต 1.1 ป 5/3 ท่าทาง และคำแนะนำ
glue? ต 1.1 ป 5/4 ในการเล่นเกม การวาด
ต 1.2 ป 5/1 ภาพ หรือการทำ
ต 1.2 ป 5/2 อาหารและเครื่องดื่ม
ต 1.2 ป 5/4 - คำสั่ง เช่น Look
at the…/here/over
ต 1.2 ป 5/5 there./ Say it
ต 1.3 ป 5/1 again./ Read and
draw./ Put
ต 1.3 ป 5/2
a/an…in/on/under
ต 2.1 ป 5/1
a/an…/ Don’t go
ต 2.1 ป 5/2
over there. etc.
ต 2.1 ป 5/3
- คำขอร้อง เช่น
ต 2.2 ป 5/1
Please take a
ต 3.1 ป 5/1
queue./ Take a
ต 4.1 ป 5/1
queue, please./
ต 4.2 ป 5/1
Can/Could you
help me, please?
etc.
144

- คำแนะนำ เช่น
You should read
everyday./ Think
before you speak./
คำศัพท์ที่ใช้ในการเล่น
เกม
Start./ My turn./
Your turn./ Roll the
dice./ Count the
number./ Finish./
คำบอกลำดับขั้นตอน
First,… Second,…
Next,… Then,…
Finally,… etc.
คำสั่ง คำขอร้อง คำ
แนะนำที่มี 1-2 ขั้น
ตอน
น้ำ
ชื่อหน่วย เวลา(
หน่ว หนัก
การเรียน มาตรฐาน/ตัวชี้วัด สาระแกนกลาง ชั่วโม
ยที่ คะแน
รู้ ง)

3 It cold ต 1.1 ป 5/1 ประโยค ข้อความ -
in ต 1.1 ป 5/2 และบทกลอน การใช้
winter. ต 1.1 ป 5/3 พจนานุกรม
ต 1.1 ป 5/4 หลักการอ่านออกเสียง
ต 1.2 ป 5/1 เช่น
145

ต 1.2 ป 5/2 - การออกเสียง


ต 1.2 ป 5/4 พยัญชนะต้นคำและ
ต 1.3 ป 5/1 พยัญชนะท้ายคำ
ต 1.3 ป 5/2 - การออกเสียงเน้น
ต 2.1 ป 5/1 หนัก-เบา ในคำและ
ต 2.1 ป 5/2 กลุ่มคำ
ต 2.1 ป 5/3 - การออกเสียงตาม
ต 2.2 ป 5/1 ระดับเสียงสูง-ต่ำ ใน
ต 3.1 ป 5/1 ประโยค
ต 4.1 ป 5/1 - การออกเสียงเชื่อม
ต 4.2 ป 5/1 โยง (linking sound)
ในข้อความ
- การออกเสียง
บทกลอนตามจังหวะ
4 Review ต 1.1 ป 5/1 กลุ่มคำ ประโยคผสม -
1 ต 1.1 ป 5/2 ข้อความ สัญลักษณ์
ต 1.1 ป 5/3 เครื่องหมาย และความ
ต 1.1 ป 5/4 หมายเกี่ยวกับตนเอง
ต 1.2 ป 5/1 ครอบครัว โรงเรียน สิ่ง
ต 1.2 ป 5/2 แวดล้อม อาหาร
ต 1.2 ป 5/4 เครื่องดื่ม เวลาว่างและ
ต 1.2 ป 5/5 นันทนาการ สุขภาพ
ต 1.3 ป 5/1 และสวัสดิการ การซื้อ-
ต 1.3 ป 5/2 ขาย และลมฟ้ าอากาศ
ต 2.1 ป 5/1 และเป็ นวงคำศัพท์
ต 2.1 ป 5/2 สะสมประมาณ
146

ต 2.1 ป 5/3 ๗๕๐-๙๕๐ คำ (คำ


ต 2.2 ป 5/1 ศัพท์ที่เป็ นรูปธรรมและ
ต 3.1 ป 5/1 นามธรรม)
ต 4.1 ป 5/1
ต 4.2 ป 5/1

น้ำ
ชื่อหน่วย เวลา(
หน่ว หนัก
การเรียน มาตรฐาน/ตัวชี้วัด สาระแกนกลาง ชั่วโม
ยที่ คะแน
รู้ ง)

5 What ต 1.1 ป 5/1 ประโยค บทสนทนา -
did you ต 1.1 ป 5/2 นิทาน หรือเรื่องสั้นๆ
do, ต 1.1 ป 5/3 คำถามเกี่ยวกับใจความ
Gogo? ต 1.1 ป 5/4 สำคัญของเรื่อง เช่น
ต 1.2 ป 5/1 ใคร ทำอะไร ที่ไหน
ต 1.2 ป 5/2 เมื่อไร
ต 1.2 ป 5/4 Yes/No Question
ต 1.3 ป 5/1 เช่น Is/Are/Can…?
ต 1.3 ป 5/2 Yes,…is/are/can./
ต 1.3 5/3 No,…isn’t/aren’t/ca
ต 2.1 ป 5/1 n’t.
147

ต 2.1 ป 5/2 Do/Does/Can/Is/Are


ต 2.1 ป 5/3 …? Yes/No…
ต 2.2 ป 5/1 etc.
ต 3.1 ป 5/1 Wh-Question เช่น
ต 4.1 ป 5/1 Who is/are…?
ต 4.2 ป 5/1 He/She is…/They
are…What…?/Where
…? It is …/They
are…What…doing?
…is/am/are…
etc.
Or-Question เช่น Is
this/it a/an…or
a/an…? It is a/an…
etc.
6 What ต 1.1 ป 5/1 -คำศัพท์ สำนวน และ -
did you ต 1.1 ป 5/2 ประโยคที่ใช้บอกความ
eat this ต 1.1 ป 5/3 ต้องการ ขอความช่วย
morning ต 1.1 ป 5/4 เหลือ ตอบรับและ
?
ต 1.2 ป 5/1 ปฏิเสธการให้ความช่วย
ต 1.2 ป 5/2 เหลือ เช่น Please…/
ต 1.2 ป 5/4 May…?/ I
ต 1.3 ป 5/1 need…/ Help me!/
ต 1.3 ป 5/2 Can/ Could…?/
ต 2.1 ป 5/1 Yes,.../No,… etc.
ต 2.1 ป 5/2 -คำศัพท์ สำนวน และ
148

ต 2.1 ป 5/3 ประโยคที่ใช้ขอและให้


ต 2.2 ป 5/1 ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง
ต 3.1 ป 5/1 เพื่อน ครอบครัว และ
ต 4.1 ป 5/1 เรื่องใกล้ตัว เช่น What
ต 4.2 ป 5/1 do you do? I’m
a/an…
What is she/he? ..is
a/an
น้ำ
ชื่อหน่วย เวลา(
หน่ว หนัก
การเรียน มาตรฐาน/ตัวชี้วัด สาระแกนกลาง ชั่วโม
ยที่ คะแน
รู้ ง)

(อาชีพ)
How old/tall…? I
am…
7 Where ต 1.1 ป 5/1 Is/Are/Can…or…? -
are you? ต 1.1 ป 5/2 …is/are/can…
ต 1.1 ป 5/3 Is/Are…going to…
ต 1.1 ป 5/4 or…? …is/are
ต 1.2 ป 5/1 going to… etc.
ต 1.2 ป 5/2
ต 1.2 ป 5/4
ต 1.3 ป 5/1
ต 1.3 ป 5/2
ต 2.1 ป 5/1
ต 2.1 ป 5/2
149

ต 2.1 ป 5/3
ต 2.2 ป 5/1
ต 3.1 ป 5/1
ต 4.1 ป 5/1
ต 4.2 ป 5/1
8 Review ต 1.1 ป 5/1 คำและประโยคที่ใช้ -
2 ต 1.1 ป 5/2 แสดงความรู้สึก เช่น
ต 1.1 ป 5/3 ชอบ ไม่ชอบ ดีใจ
ต 1.1 ป 5/4 เสียใจ มีความสุข
ต 1.2 ป 5/1 เศร้า หิว รสชาติ เช่น
ต 1.2 ป 5/2 I’m…/He/She/It
ต 1.2 ป 5/4 is…/You/We/They
ต 1.3 ป 5/1 are…
ต 1.3 ป 5/2 I/You/We/They
ต 2.1 ป 5/1 like…/He/She likes…
ต 2.1 ป 5/2 because…I/You/We
ต 2.1 ป 5/3 /They
ต 2.2 ป 5/1 love…/He/She
ต 3.1 ป 5/1 loves…because…
ต 4.1 ป 5/1 I/You/We/They
ต 4.2 ป 5/1 don’t
like/love/feel…
because…He/She
doesn’t
like/love/feel…
because…
150

I/You/We/They
feel…because…
etc.
ประโยคและข้อความที่ ประโ
ใช้ในการให้ข้อมูลเกี่ยว ยค
กับบุคคล สัตว์ สถานที่ และ
และกิจกรรมต่างๆ เช่น ข้อคว
ข้อมูลส่วนบุคคล เรื่อง ามที่
ต่างๆ ใกล้ตัว จำนวน ใช้ใน
1-500 ลำดับที่ วัน การ
เดือน ปี ฤดูกาล เวลา ให้
สภาพดินฟ้ าอากาศ ข้อมูล
อารมณ์ ความรู้สึก สี เกี่ยว
ขนาด รูปทรง ที่อยู่ กับ
ของสิ่งต่างๆ บุคคล
เครื่องหมายวรรคตอน สัตว์
สถาน
ที่
และ
กิจกร
รม
ต่างๆ
เช่น
-
สภาพ
ดินฟ้ า
151

อากา
ศของ
จังหวั

นครศ
รีธรร
มราช
- การ
ขอ
ข้อมูล
เกี่ยว
กับ
บุคคล
สำคัญ
ใน
ท้อง
ถิ่น
-
บอก
ข้อมูล
เกี่ยว
กับที่
อยู่
152

น้ำ
ชื่อหน่วย เวลา(
หน่ว หนัก
การเรียน มาตรฐาน/ตัวชี้วัด สาระแกนกลาง ชั่วโม
ยที่ คะแน
รู้ ง)

9 When’s ต 1.1 ป 5/1 ประโยคที่ใช้ในการพูด -
your ต 1.1 ป 5/2 แสดงความคิดเห็นเกี่ยว
birthday ต 1.1 ป 5/3 กับกิจกรรมหรือเรื่อง
? ต 1.1 ป 5/4 ต่างๆ ใกล้ตัวการใช้
ต 1.2 ป 5/1 ถ้อยคำ น้ำเสียง และ
ต 1.2 ป 5/2 กิริยาท่าทาง ตาม
ต 1.2 ป 5/4 มารยาทสังคมและ
ต 1.3 ป 5/1 วัฒนธรรมของเจ้าของ
ต 1.3 ป 5/2 ภาษา เช่น การ
ต 2.1 ป 5/1 ขอบคุณ ขอโทษ การ
ต 2.1 ป 5/2 ใช้สีหน้าท่าทาง
ต 2.1 ป 5/3 ประกอบการพูดขณะ
ต 2.2 ป 5/1 แนะนำตนเอง การ
ต 3.1 ป 5/1 สัมผัสมือ การโบกมือ
ต 4.1 ป 5/1 การแสดงความรู้สึก
153

ชอบ/ไม่ชอบ การกล่า
วอวยพร การแสดง
อาการตอบรับหรือ
ปฏิเสธ

10 What ต 1.1 ป 5/1 - ข้อมูลและความ -


are you ต 1.1 ป 5/2 สำคัญของเทศกาล/วัน
going to ต 1.1 ป 5/3 สำคัญ/งานฉลองและ
do ต 1.1 ป 5/4 ชีวิตความเป็ นอยู่ของ
today?
ต 1.2 ป 5/1 เจ้าของภาษา เช่น วัน
ต 1.2 ป 5/2 คริสต์มาส วันขึ้นปี ใหม่
ต 1.2 ป 5/3 วันวาเลนไทน์ เครื่อง
ต 1.2 ป 5/4 แต่งกาย ฤดูกาล
ต 1.3 ป 5/1 อาหาร เครื่องดื่ม
ต 1.3 ป 5/2 - กิจกรรมทางภาษา
ต 2.1 ป 5/1 และวัฒนธรรม เช่น
ต 2.1 ป 5/2 การเล่นเกม
ต 2.1 ป 5/3 การร้องเพลง การเล่า
ต 2.2 ป 5/1 นิทาน บทบาทสมมุติ
ต 3.1 ป 5/1 วันขอบคุณพระเจ้า วัน
ต 4.1 ป 5/1 คริสต์มาส วันขึ้นปี
ต 4.2 ป ใหม่ วันวาเลนไทน์
154

น้ำ
ชื่อหน่วย เวลา(
หน่ว หนัก
การเรียน มาตรฐาน/ตัวชี้วัด สาระแกนกลาง ชั่วโม
ยที่ คะแน
รู้ ง)

11 Will you ต 1.1 ป 5/1 -ความเหมือน/ความ ความ
put ต 1.1 ป 5/2 แตกต่างระหว่างการ เหมือ
away ต 1.1 ป 5/3 ออกเสียงประโยคชนิด น/
your ต 1.1 ป 5/4 ต่างๆ ของเจ้าของ ความ
toys?
ต 1.2 ป 5/1 ภาษากับของไทย แตก
ต 1.2 ป 5/2 การใช้เครื่องหมาย ต่าง
วรรคตอนและการ
ต 1.2 ป 5/4 ระหว่
ลำดับคำตามโครงสร้าง
ต 1.3 ป 5/1 ประโยคของภาษาต่าง าง
ต 1.3 ป 5/2 ประเทศและภาษาไทย เทศก
-ความเหมือน/ความ
ต 2.1 ป 5/1 าล
แตกต่างระหว่าง
ต 2.1 ป 5/2 เทศกาลและงานฉลอง และ
ต 2.1 ป 5/3 ของเจ้าของภาษากับ งาน
ต 2.2 ป 5/1 ของไทย ฉลอง
ต 3.1 ป 5/1 ของ
ต 4.1 ป 5/1 เจ้าข
ต 4.2 ป อง
ภาษา
กับ
ของ
155

ประช
ากร
จังหวั

นครศ
รีธรร
มราช
-
วันขึ้น
ปี ใหม่
-
ประเ
พณี
สงกร
านต์
-
ประเ
พณี
ลอย
กระท

-
ชักพร

156

น้ำ
ชื่อหน่วย เวลา(
หน่ว หนัก
การเรียน มาตรฐาน/ตัวชี้วัด สาระแกนกลาง ชั่วโม
ยที่ คะแน
รู้ ง)

12 Review ต 1.1 ป 5/1 การค้นคว้า การ -บอก
รวบรวม และการนำ
3 ต 1.1 ป 5/2 คำ
เสนอคำศัพท์ที่
ต 1.1 ป 5/3 เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระ ศัพท์
ต 1.1 ป 5/4 การเรียนรู้อื่น ที่
ต 1.2 ป 5/1 การใช้ภาษาในการฟั ง เกี่ยว
ต 1.2 ป 5/2 พูด และอ่าน/เขียนใน กับ
ต 1.2 ป 5/3 สถานการณ์ต่างๆ ที่ สถาน
ต 1.2 ป 5/4 เกิดขึ้นในห้องเรียน ที่ท่อง
ต 1.3 ป 5/1 การใช้ภาษาต่าง เที่ยว
ต 1.3 ป 5/2 ประเทศในการสืบค้น

ต 2.1 ป 5/1 และการรวบรวมคำ

ต 2.1 ป 5/2 ศัพท์ที่เกี่ยวข้องใกล้ตัว

ต 2.1 ป 5/3 จากสื่อและแหล่งการ

ต 2.2 ป 5/1 เรียนรู้ต่างๆ

ต 3.1 ป 5/1
ต 4.1 ป 5/1
ต 4.2 ป 5/1
รวมตลอดปี 120
157
158

โครงสร้างรายวิชา

วิชา ภาษาอังกฤษ 6 รหัสวิชา


อ 16101
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
ระดับชั้นประถมศึกษา ร ะ ดั บ
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6

ชื่อ น้ำ
เวลา(
หน่ว หน่วย หนัก
มาตรฐาน/ตัวชี้วัด สาระแกนกลาง ชั่วโม
ยที่ การ คะแน
ง)
เรียนรู้ น
1 What’s ต 1.1 ป 6/1 -คำสั่ง คำขอร้อง -
that,Go ต 1.1 ป 6/2 ภาษาท่าทาง และคำ
go? ต 1.1 ป 6/3 แนะนำในการเล่นเกม
ต 1.1 ป 6/4 การวาดภาพ การทำ
ต 1.2 ป 6/1 อาหารและเครื่องดื่ม
ต 1.2 ป 6/2 และการประดิษฐ์ คำ
ต 1.2 ป 6/4 สั่ง เช่น Look at
ต 1.2 ป 6/5 the…/here/over
ต 1.3 ป 6/1 there./ Say it again./
ต 1.3 ป 6/2 Read and draw./
ต 2.1 ป 6/1 Put
ต 2.1 ป 6/2 a/an…in/on/under
159

ต 2.1 ป 6/3 a/an…/ Don’t go


ต 2.2 ป 6/1 over there. etc.
ต 3.1 ป 6/1 คำขอร้อง เช่น Please
ต 4.1 ป 6/1 look up the
ต 4.2 ป 6/1 meaning in a
dictionary./ Look
up the meaning
in a dictionary,
please./
Can/Could you
help me, please?
etc.
คำแนะนำ เช่น You
should read
everyday./ Think
before you speak./
คำศัพท์ที่ใช้ในการเล่น
เกม Start./ My turn./
Your turn./ Roll the
dice./ Count the
number./ Finish./คำ
บอกลำดับขั้นตอน
First,… Second,…
Next,… Then,…
Finally,… etc.
หน่ว เวลา( น้ำ
160

ชื่อ
หนัก
หน่วย ชั่วโม
ยที่ มาตรฐาน/ตัวชี้วัด สาระแกนกลาง คะแน
การ ง)

เรียนรู้
-บทสนทนาที่ใช้ในการ
ทักทาย กล่าวลา
ขอบคุณ ขอโทษ
ชมเชย การพูดแทรก
อย่างสุภาพ
ประโยค/ข้อความ
2 My ต 1.1 ป 6/1 ที่ใช้แนะนำตนเอง -
room ต 1.1 ป 6/2 เพื่อน และบุคคลใกล้
clean ต 1.1 ป 6/3 ตัว และสำนวนการ
than ต 1.1 ป 6/4 ตอบรับ เช่น Hi/
Jenny’ ต 1.2 ป 6/1 Hello/ Good
s! ต 1.2 ป 6/2 morning/ Good
ต 1.2 ป 6/4 afternoon/ Good
ต 1.2 ป 6/5 evening/ I am sorry.
ต 1.3 ป 6/1 /How are you?/ I’m
ต 1.3 ป 6/2 fine./ Very well./
ต 2.1 ป 6/1 Thank you. And
ต 2.1 ป 6/2 you?/ Hello. I am…
ต 2.1 ป 6/3 Hello,…I am… This
ต 2.2 ป 6/1 is my sister. Her
ต 3.1 ป 6/1 name is… Hello,…/
ต 4.1 ป 6/1
161

ต 4.2 ป 6/1 Nice to see you.


Nice to see you,
too./ Goodbye./
Bye./ See you
soon/later./ Great!/
Good./ Very good.
Thank you./ Thank
you very much./
You’re welcome./
It’s O.K./ That’s
O.K./ That’s all
right./ Not at all./
Don’t worry./ Never
mind./ Excuse me./
Excuse me,
Sir./Miss./Madam.
etc.
-คำศัพท์ สำนวน และ
ประโยคที่ใช้บอกความ
ต้องการ ขอความช่วย
เหลือ ตอบรับและ
ปฏิเสธการให้ความช่วย
เหลือ เช่น Please…/
May…?/ I need…/
Help me!/
Can/Could…?/
162

Yes,.../No,… etc.
-คำศัพท์ สำนวน และ
ประโยคที่ใช้
และให้ข้อมูลเกี่ยวกับ
ตนเอง เพื่อน
ครอบครัว และเรื่อง
ใกล้ตัว เช่น
What do you do?
I’m a/an… What is
she/he? …is a/an
(อาชีพ) How
old/tall…? I am…
Is/Are/Can…or…?
…is/are/can…Is/Are
…going to…or…?
…is/are going to…
etc.
3 We are ต 1.1 ป 6/1 -การใช้ถ้อยคำ น้ำเสียง -
going ต 1.1 ป 6/2 และกิริยาท่าทาง ตาม
to find ต 1.1 ป 6/3 มารยาทสังคมและ
the ต 1.1 ป 6/4 วัฒนธรรมของเจ้าของ
treasur ต 1.2 ป 6/1 ภาษา เช่น การ
e! ต 1.2 ป 6/2 ขอบคุณ
ต 1.2 ป 6/4 ขอโทษ การใช้สีหน้า
ต 1.3 ป 6/1 ท่าทางประกอบการพูด
ต 1.3 ป 6/2 ขณะแนะนำตนเอง
163

ต 2.1 ป 6/1 การสัมผัสมือ การ


ต 2.1 ป 6/2 โบกมือ การแสดงความ
ต 2.1 ป 6/3 รู้สึกชอบ/ไม่ชอบ
ต 2.2 ป 6/1 การกล่าวอวยพร การ
ต 3.1 ป 6/1 แสดงอาการตอบรับ
ต 4.1 ป 6/1 หรือปฏิเสธ
ต 4.2 ป 6/1
4 Review ต 1.1 ป 6/1 คำศัพท์ สำนวน และ -
1 ต 1.1 ป 6/2 ประโยคที่ใช้บอกความ
ต 1.1 ป 6/3 ต้องการ ขอความช่วย
ต 1.1 ป 6/4 เหลือ ตอบรับและ
ต 1.2 ป 6/1 ปฏิเสธการให้ความช่วย
ต 1.2 ป 6/2 เหลือ เช่น Please…/
ต 1.2 ป 6/4 May…?/ I need…/
ต 1.2 ป 6/5 Help me!/
ต 1.3 ป 6/1 Can/Could…?/
ต 1.3 ป 6/2 Yes,.../No,….etc.
ต 2.1 ป 6/1 -คำศัพท์ สำนวน และ
ต 2.1 ป 6/2 ประโยคที่ใช้ขอและให้
ต 2.1 ป 6/3 ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง
ต 2.2 ป 6/1 เพื่อน ครอบครัว และ
ต 3.1 ป 6/1 เรื่องใกล้ตัว เช่น
ต 4.1 ป 6/1 What do you do?
ต 4.2 ป 6/1 I’m a/an…
What is she/he?
…is a/an (อาชีพ)
164

How old/tall…?
I am…
Is/Are/Can…or…?
…is/are/can…
Is/Are…going to…
or…? …is/are
going to… etc.
-คำและประโยคที่ใช้
แสดงความรู้สึก และ
การให้เหตุผลประกอบ
เช่น ชอบ/ไม่ชอบ ดีใจ
เสียใจ มีความสุข
เศร้า หิว รสชาติ
สวย น่าเกลียด เสียง
ดัง ดี ไม่ดี เช่น
I’m…/He/She/It
is…/You/We/They
are…
I/You/We/They
like…/He/She likes…
because…
I/You/We/They
หน่ว ชื่อ มาตรฐาน/ตัวชี้วัด สาระแกนกลาง สาระ น้ำ
ยที่ หน่วย ท้อง หนัก

การ ถิ่น คะแน



165

เรียนรู้
5 I ต 1.1 ป 6/1 love…/He/She -

usually ต 1.1 ป 6/2 loves…because…


look ต 1.1 ป 6/3 I/You/We/They
for ต 1.1 ป 6/4 don’t
cookie ต 1.2 ป 6/1 like/love/feel…
s. ต 1.2 ป 6/2 because…
ต 1.2 ป 6/4 He/She/doesn’t
ต 1.3 ป 6/1 like/love/feel..beca
ต 1.3 ป 6/2 use.
ต 1.3 ป 6/3 ต 2.1 I/You/We/They
ป 6/1 ต 2.1 feel…because…etc.
ป 6/2 ต 2.1 -ประโยคที่ใช้ในการ
แสดงความคิดเห็น
ป 6/3 ต 2.2
ป 6/1 ต 3.1
ป 6/1 ต 4.1
ป 6/1 ต 4.2
ป 6/1
6 What’s ต 1.1 ป 6/1 -ประโยคและข้อความ -ประโ 15
the ที่ใช้ในการให้ข้อมูล ยค
ต 1.1 ป 6/2
เกี่ยวกับตนเอง กิจวัตร และ
matter?
ต 1.1 ป 6/3 ประจำวัน เพื่อน สิ่ง ข้อคว
ต 1.1 ป 6/4 แวดล้อมใกล้ตัว เช่น ามที่
ข้อมูลส่วนบุคคล เรียก ใช้ใน
ต 1.2 ป 6/1
สิ่งต่างๆ จำนวน การ
ต 1.2 ป 6/2 1-1,000 ลำดับที่ วัน ให้
ต 1.2 ป 6/4 เดือน ปี ฤดูกาล เวลา ข้อมูล
ต 1.3 ป 6/1 กิจกรรมที่ทำ สี เกี่ยว
166

ต 1.3 ป 6/2 ขนาด รูปทรง ที่อยู่ กับ


ของสิ่งต่างๆ ทิศทาง บุคคล
ต 2.1 ป 6/1
ง่ายๆ สภาพดินฟ้ า สัตว์
ต 2.1 ป 6/2 อากาศ อารมณ์ ความ สถาน
ต 2.1 ป 6/3 รู้สึก ที่
ต 2.2 ป 6/1 เครื่องหมายวรรคตอน และ
กิจกร
ต 3.1 ป 6/1 -คำ กลุ่มคำ และ
รม
ต 4.1 ป 6/1 ประโยคที่มีความหมาย ต่างๆ

ต 4.2 ป 6/1 สัมพันธ์กับภาพ เช่น


-สภา
แผนผัง แผนภูมิ
พดิน
และตาราง ฟ้ า
-ประโยคที่ใช้ในการ อากา
แสดงความคิดเห็น ศ
-การ
-การใช้ภาษาสื่อสารใน ขอ
สถานการณ์ต่างๆที่เกิด ข้อมูล
ขึ้นในห้องเรียนและ เกี่ยว
กับ
สถานศึกษา
บุคคล
สำคัญ
ใน
ท้อง
ถิ่น
-กิจก
รรมที่
ทำใน
ท้อง
ถิ่น
7 It’s magic ต 1.1 ป 6/1 -กิจกรรมทางภาษา -พูด/
hat.
ต 1.1 ป 6/2 และวัฒนธรรม เช่น เขียน
ต 1.1 ป 6/3 การเล่นเกม การร้อง แนะ
167

ต 1.1 ป 6/4 เพลง การเล่านิทาน นำ


ต 1.2 ป 6/1 บทบาทสมมุติ วัน สถาน
ต 1.2 ป 6/2 ขอบคุณพระเจ้า ที่ท่อง
ต 1.2 ป 6/4 วันคริสต์มาส วันขึ้นปี เที่ยว
ต 1.3 ป 6/1 ใหม่ ใน
ต 1.3 ป 6/2 วันวาเลนไทน์ จังหวั
ต 2.1 ป 6/1 -ความเหมือน/ความ ด
ต 2.1 ป 6/2 แตกต่างระหว่างการ นครศ
ต 2.1 ป 6/3 ออกเสียงประโยคชนิด รีธรร
ต 2.2 ป 6/1 ต่างๆ ของเจ้าของ มราช
ต 3.1 ป 6/1 ภาษากับของไทย อย่าง
ต 4.1 ป 6/1 สั้น ๆ
ต 4.2 ป 6/1

ชื่อ น้ำ
เวลา(
หน่ว หน่วย หนัก
มาตรฐาน/ตัวชี้วัด สาระแกนกลาง ชั่วโม
ยที่ การ คะแน
ง)
เรียนรู้ น
การใช้เครื่องหมาย -
วรรคตอนและการ
ลำดับคำตามโครงสร้าง
ประโยคของภาษาต่าง
ประเทศและภาษาไทย
-การค้นคว้า การ
รวบรวม และการนำ
168

เสนอคำศัพท์ที่
เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระ
การเรียนรู้อื่น
-การใช้ภาษาต่าง
ประเทศในการสืบค้น
และการรวบรวมคำ
ศัพท์ที่เกี่ยวข้องใกล้ตัว
จากสื่อและแหล่งการ
เรียนรู้ต่างๆ
8 I had a ต 1.1 ป 6/1 -การใช้ถ้อยคำ น้ำเสียง
bad ต 1.1 ป 6/2 และกิริยาท่าทาง ตาม
day. ต 1.1 ป 6/3 มารยาทสังคมและ
ต 1.1 ป 6/4 วัฒนธรรมของเจ้าของ
ต 1.2 ป 6/1 ภาษา เช่น การ
ต 1.2 ป 6/2 ขอบคุณ
ต 1.2 ป 6/4 ขอโทษ การใช้สีหน้า
ต 1.3 ป 6/1 ท่าทางประกอบการพูด
ต 1.3 ป 6/2 ขณะแนะนำตนเอง
ต 2.1 ป 6/1 การสัมผัสมือ การ
ต 2.1 ป 6/2 โบกมือ การแสดงความ
ต 2.1 ป 6/3 รู้สึกชอบ/ไม่ชอบ การก
ต 2.2 ป 6/1 ล่าวอวยพร การแสดง
ต 3.1 ป 6/1 อาการตอบรับหรือ
ต 4.1 ป 6/1 ปฏิเสธ
ต 4.2 ป 6/1 -ข้อมูลและความสำคัญ
ของเทศกาล/วัน
169

สำคัญ/งานฉลองและ
ชีวิตความเป็ นอยู่ของ
เจ้าของภาษา เช่น วัน
คริสต์มาส วันขึ้นปี ใหม่
วันวาเลนไทน์
เครื่องแต่งกายตาม
ฤดูกาล อาหาร
เครื่องดื่ม
-กิจกรรมทางภาษา
และวัฒนธรรม เช่น
การเล่นเกม การร้อง
เพลง การเล่านิทาน
บทบาทสมมุติ วัน
ขอบคุณพระเจ้า

ชื่อ น้ำ
เวลา(
หน่ว หน่วย หนัก
มาตรฐาน/ตัวชี้วัด สาระแกนกลาง ชั่วโม
ยที่ การ คะแน
ง)
เรียนรู้ น
วันคริสต์มาส วันขึ้นปี
ใหม่
วันวาเลนไทน์
-การเปรียบเทียบความ
เหมือน/ความแตกต่าง
ระหว่างเทศกาล งาน
ฉลอง
170

9 Turn ต 1.1 ป 6/1 และประเพณีของ -


left at ต 1.1 ป 6/2 เจ้าของภาษากับของ
the ต 1.1 ป 6/3 ไทย
coner. ต 1.1 ป 6/4
ต 1.2 ป 6/1
ต 1.2 ป 6/2
ต 1.2 ป 6/4
ต 1.3 ป 6/1
ต 1.3 ป 6/2
ต 2.1 ป 6/1
ต 2.1 ป 6/2
ต 2.1 ป 6/3
ต 2.2 ป 6/1
ต 3.1 ป 6/1
ต 4.1 ป 6/1
10 He’s ต 1.1 ป 6/1 -ข้อความ นิทาน และ -
going ต 1.1 ป 6/2 บทกลอน
to the ต 1.1 ป 6/3 การใช้พจนานุกรม
mount ต 1.1 ป 6/4 หลักการอ่านออกเสียง
ain. ต 1.2 ป 6/1 เช่น การออกเสียง
ต 1.2 ป 6/2 พยัญชนะต้นคำและ
ต 1.2 ป 6/3 พยัญชนะท้ายคำ การ
ต 1.2 ป 6/4 ออกเสียงเน้นหนัก-เบา
ต 1.3 ป 6/1 ในคำและกลุ่มคำ
ต 1.3 ป 6/2 การออกเสียงตาม
171

ต 2.1 ป 6/1 ระดับเสียงสูง-ต่ำ ใน


ต 2.1 ป 6/2 ประโยค การออกเสียง
ต 2.1 ป 6/3 เชื่อมโยง (linking
ต 2.2 ป 6/1 sound) ในข้อความ
ต 3.1 ป 6/1 การออกเสียงบทกลอน
ต 4.1 ป 6/1 ตามจังหวะ
-ประโยค หรือข้อความ
สัญลักษณ์
เครื่องหมาย และความ
หมายเกี่ยวกับตนเอง
ครอบครัว โรงเรียน สิ่ง
แวดล้อม อาหาร
เครื่องดื่ม เวลาว่างและ
นันทนาการ สุขภาพ
และสวัสดิการ การซื้อ-
ขาย และลมฟ้ าอากาศ
และเป็ นวงคำศัพท์
สะสมประมาณ 1,050-
1,200 คำ

ชื่อ น้ำ
หน่ว เวลา(
หน่วย หนัก
ย มาตรฐาน/ตัวชี้วัด สาระแกนกลาง ชั่วโม
การ คะแน
ที่ ง)
เรียนรู้ น
(คำศัพท์ที่เป็ นรูปธรรม
และนามธรรม)
172

-ประโยค บทสนทนา
นิทาน หรือเรื่องเล่า
คำถามเกี่ยวกับใจความ
สำคัญของเรื่อง เช่น
ใคร ทำอะไร ที่ไหน
เมื่อไร อย่างไร ทำไม
Yes/No Question
เช่น
Is/Are/Can…? Yes,…
is/are/can./
No,…isn’t/aren’t/ca
n’t.
Do/Does/Can/Is/
Are...? Yes/No…
etc. Wh-Question
เช่น Who is/are…?
He/She is…/They
are…
What…?/Where…?
It is …/They
11 Review ต 1.1 ป 6/1 are… -
3 ต 1.1 ป 6/2 What...doing? …
ต 1.1 ป 6/3 is/am/are… etc.
ต 1.1 ป 6/4 Or-Question เช่น Is
ต 1.2 ป 6/1 this/it a/an...or
ต 1.2 ป 6/2 a/an…? It is a/an…
173

ต 1.2 ป 6/4 Is/Are/Was/Were/Di


ต 1.3 ป 6/1 d…or…? etc.
ต 1.3 ป 6/2 -คำและประโยคที่ใช้
ต 2.1 ป 6/1 แสดงความรู้สึก และ
ต 2.1 ป 6/2 การให้เหตุผลประกอบ
ต 2.1 ป 6/3 เช่น ชอบ/ไม่ชอบ ดีใจ
ต 2.2 ป 6/1 เสียใจ มีความสุข
ต 3.1 ป 6/1 เศร้า หิว รสชาติ
ต 4.1 ป 6/1 สวย น่าเกลียด เสียง
ดัง ดี ไม่ดี เช่น
I’m…/He/She/It
is…/You/We/They
are…
I/You/We/They
like…/He/She likes…
because…
I/You/We/They
love…/He/She
loves…because…
I/You/We/They
don’t
like/love/feel…
because…
He/She doesn’t
like/love/feel…..
because….
174

I/You/We/They
feel…because…
etc.
รวมตลอดปี 120
175

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนต้องอยู่บนหลักการพื้น
ฐานสองประการคือ
การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียนและเพื่อตัดสินผลการเรียน ในการพัฒนา
คุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน ให้ประสบผลสำเร็จนั้น ผู้เรียนจะ
ต้องได้รับการพัฒนาและประเมินตามตัวชี้วัดเพื่อให้บรรลุตามมาตรฐาน
การเรียนรู้ สะท้อนสมรรถนะสำคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้
เรียนซึ่งเป็ นเป้ าหมายหลักในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ในทุก
ระดับไม่ว่าจะเป็ นระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นที่การ
ศึกษา และระดับชาติ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เป็ นกระบวนการ
พัฒนาคุณภาพผู้เรียนโดยใช้ผลการประเมินเป็ นข้อมูลและสารสนเทศที่
แสดงพัฒนาการ ความก้าวหน้า และความสำเร็จทางการเรียนของผู้เรียน
ตลอดจนข้อมูลที่เป็ นประโยชน์ต่อการส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิด
การพัฒนาและเรียนรู้อย่างเต็มตามศักยภาพ
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้โรงเรียนบ้านเมืองแก แบ่ง
ออกเป็ น ๒ ระดับ ได้แก่ ระดับชั้นเรียน และระดับสถานศึกษา มี
รายละเอียด ดังนี้
๑. การประเมินระดับชั้นเรียน เป็ นการวัดและประเมินผลที่อยู่ใน
กระบวนการจัดการเรียนรู้ ผู้สอนดำเนินการเป็ นปกติและสม่ำเสมอ ใน
การจัดการเรียนการสอน ใช้เทคนิคการประเมินอย่างหลากหลาย เช่น
การซักถาม การสังเกต การตรวจการบ้าน การประเมินโครงงาน การ
ประเมินชิ้นงาน/ ภาระงาน แฟ้ มสะสมงาน การใช้แบบทดสอบ ฯลฯ
โดยผู้สอนเป็ นผู้ประเมินเองหรือเปิ ดโอกาส ให้ผู้เรียนประเมินตนเอง
เพื่อนประเมินเพื่อน ผู้ปกครองร่วมประเมิน ในกรณีที่ไม่ผ่านตัวชี้วัดให้มี
การสอนซ่อมเสริม
176

การประเมินระดับชั้นเรียนเป็ นการตรวจสอบว่า ผู้เรียนมี


พัฒนาการความก้าวหน้าใน
การเรียนรู้ อันเป็ นผลมาจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหรือไม่
และมากน้อยเพียงใด มีสิ่งที่จะต้องได้รับการพัฒนาปรับปรุงและส่งเสริม
ในด้านใด นอกจากนี้ยังเป็ นข้อมูลให้ผู้สอนใช้ปรับปรุงการเรียนการสอน
ของตนด้วย ทั้งนี้โดยสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
๒. การประเมินระดับสถานศึกษา เป็ นการประเมินที่สถานศึกษา
ดำเนินการเพื่อตัดสินผล การเรียนของผู้เรียนเป็ นรายปี /รายภาค ผล
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน นอกจากนี้เพื่อให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับ
การจัดการศึกษา ของสถานศึกษา ว่าส่งผลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน
ตามเป้ าหมายหรือไม่ ผู้เรียนมีจุดพัฒนาในด้านใด รวมทั้งสามารถนำผล
การเรียนของผู้เรียนในสถานศึกษาเปรียบเทียบกับเกณฑ์ระดับชาติ ผล
การประเมินระดับสถานศึกษาจะเป็ นข้อมูลและสารสนเทศเพื่อการ
ปรับปรุงนโยบาย หลักสูตร โครงการ หรือวิธีการจัดการเรียนการสอน
ตลอดจนเพื่อการจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
ตามแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษาและการรายงานผลการ
จัดการศึกษาต่อคณะกรรมการสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้ปกครองและชุมชน

ข้อมูลการประเมินในระดับต่าง ๆ ข้างต้น เป็ นประโยชน์ต่อสถาน


ศึกษาในการตรวจสอบทบทวนพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ถือเป็ นภาระความ
รับผิดชอบของสถานศึกษาที่จะต้องจัดระบบดูแลช่วยเหลือ ปรับปรุง
แก้ไข ส่งเสริมสนับสนุนเพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพบนพื้น
ฐาน ความแตกต่างระหว่างบุคคลที่จำแนกตามสภาพ
177

ปั ญหาและความต้องการ ได้แก่ กลุ่มผู้เรียนทั่วไป กลุ่มผู้เรียนที่มีความ


สามารถพิเศษ กลุ่มผู้เรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ กลุ่มผู้เรียนที่
มีปั ญหาด้านวินัยและพฤติกรรม กลุ่มผู้เรียนที่ปฏิเสธโรงเรียน กลุ่มผู้
เรียนที่มีปั ญหาทางเศรษฐกิจและสังคม กลุ่มพิการทางร่างกายและสติ
ปั ญญา เป็ นต้น ข้อมูลจากการประเมินจึงเป็ นหัวใจของสถานศึกษาใน
การดำเนินการช่วยเหลือผู้เรียนได้ทันท่วงที ปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้รับการ
พัฒนาและประสบความสำเร็จในการเรียน
สถานศึกษาในฐานะผู้รับผิดชอบจัดการศึกษา จะต้องจัดทำ
ระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมินผลการเรียนของสถานศึกษาให้
สอดคล้องและเป็ นไปตามหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติที่เป็ นข้อกำหนดของ
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อให้บุคลากรที่เกี่ยวข้องทุก
ฝ่ ายถือปฏิบัติร่วมกัน

เกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรียน
๑. การตัดสิน การให้ระดับและการรายงานผลการเรียน
๑.๑ การตัดสินผลการเรียน
ในการตัดสินผลการเรียนของกลุ่มสาระการเรียนรู้ การอ่าน
คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้
เรียนนั้น ผู้สอนต้องคำนึงถึงการพัฒนาผู้เรียนแต่ละคนเป็ นหลัก และต้อง
เก็บข้อมูลของผู้เรียนทุกด้านอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่องในแต่ละภาคเรียน
รวมทั้งสอนซ่อมเสริมผู้เรียนให้พัฒนาจนเต็มตามศักยภาพ
(๑) ผู้เรียนต้องมีเวลาเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของเวลา
เรียนทั้งหมด
(๒) ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินทุกตัวชี้วัด และผ่าน
ตามเกณฑ์ที่สถานศึกษา
กำหนด
178

(๓) ผู้เรียนต้องได้รับการตัดสินผลการเรียนทุกรายวิชา
(๔) ผู้เรียนต้องได้รับการประเมิน และมีผลการ
ประเมินผ่านตามเกณฑ์ที่
สถานศึกษากำหนด ในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอัน
พึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
การพิจารณาเลื่อนชั้นทั้งระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ถ้า
ผู้เรียนมีข้อบกพร่องเพียงเล็กน้อย และสถานศึกษาพิจารณาเห็นว่า
สามารถพัฒนาและสอนซ่อมเสริมได้ ให้อยู่ในดุลพินิจของสถานศึกษาที่
จะผ่อนผันให้เลื่อนชั้นได้ แต่หากผู้เรียนไม่ผ่านรายวิชาจำนวนมาก และมี
แนวโน้มว่าจะเป็ นปั ญหาต่อการเรียนในระดับชั้นที่สูงขึ้น สถานศึกษาอาจ
ตั้งคณะกรรมการพิจารณาให้เรียนซ้ำชั้นได้ ทั้งนี้ให้คำนึงถึงวุฒิภาวะและ
ความรู้ความสามารถของผู้เรียนเป็ นสำคัญ

๑.๒ การให้ระดับผลการเรียน

ระดับประถมศึกษา ในการตัดสินเพื่อให้ระดับผล
การเรียนรายวิชา สถานศึกษาสามารถให้ระดับผลการเรียนหรือระดับ
คุณภาพการปฏิบัติของผู้เรียน เป็ นระบบตัวเลข ระบบตัวอักษร
ระบบร้อยละ และระบบที่ใช้คำสำคัญสะท้อนมาตรฐาน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน และคุณลักษณะอัน
พึงประสงค์นั้น ให้ระดับผลการประเมินเป็ น ดีเยี่ยม ดี และผ่าน
การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จะต้องพิจารณาทั้งเวลาการ
เข้าร่วมกิจกรรม การปฏิบัติกิจกรรมและผลงานของผู้เรียน ตามเกณฑ์ที่
สถานศึกษากำหนด และให้ผลการเข้าร่วมกิจกรรมเป็ นผ่าน และไม่ผ่าน

๑.๓ การรายงานผลการเรียน
การรายงานผลการเรียนเป็ นการสื่อสารให้ผู้ปกครองและผู้เรียน
ทราบความก้าวหน้า ในการเรียนรู้ของผู้เรียน ซึ่งสถานศึกษา
179

ต้องสรุปผลการประเมินและจัดทำเอกสารรายงานให้ผู้ปกครองทราบเป็ น
ระยะ ๆ หรืออย่างน้อยภาคเรียนละ ๑ ครั้ง
การรายงานผลการเรียนสามารถรายงานเป็ นระดับคุณภาพการ
ปฏิบัติของผู้เรียนที่สะท้อนมาตรฐานการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้

๒. เกณฑ์การจบการศึกษา

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน กำหนดเกณฑ์กลาง
สำหรับการจบการศึกษาเป็ น ๓ระดับ คือ ระดับประถมศึกษา ระดับ
มัธยมศึกษาตอนต้น และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
๒.๑ เกณฑ์การจบระดับประถมศึกษา
(๑) ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐาน และรายวิชา/กิจกรรม
เพิ่มเติมตามโครงสร้างเวลาเรียน ที่หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พื้นฐานกำหนด
(๒) ผู้เรียนต้องมีผลการประเมินรายวิชาพื้นฐาน ผ่าน
เกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษากำหนด
(๓) ผู้เรียนมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์
และเขียนในระดับผ่านเกณฑ์ การประเมินตามที่สถาน
ศึกษากำหนด
(๔) ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ใน
ระดับผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษากำหนด
(๕) ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการ
ประเมินผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษากำหนด

สำหรับการจบการศึกษาสำหรับกลุ่มเป้ าหมายเฉพาะ เช่น การ


ศึกษาเฉพาะทาง การศึกษาสำหรับผู้มีความสามารถพิเศษ การศึกษาทาง
เลือก การศึกษาสำหรับผู้ด้อยโอกาส การศึกษาตามอัธยาศัย ให้คณะ
กรรมการของสถานศึกษา เขตพื้นที่การศึกษา และผู้ที่เกี่ยวข้อง ดำเนิน
180

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักเกณฑ์ในแนวปฏิบัติการวัด
และประเมินผลการเรียนรู้ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สำหรับกลุ่มเป้ าหมายเฉพาะ
181

การวัดและประเมินผลรายวิชา อ 1..101 ภาษาอังกฤษ

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ในรายวิชา อ 1..101 ภาษา


อังกฤษ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศชั้นประถมศึกษาปี
ที่.......โรงเรียนบ้านเมืองแกได้กำหนดแนวทางการวัดและการประเมินผล
ดังนี้

1. การประเมินผลการเรียนรู้ กำหนดคะแนนการประเมินเป็ น 2
ส่วน ดังนี้

1.1 คะแนนการประเมินระหว่างเรียน 70 %

1.2 คะแนนการประเมินปลายปี 30 %

โดยที่คะแนนการประเมินระหว่างเรียน ได้มาจากคะแนนเก็บราย
หน่วยการเรียนรู้ที่ระบุไว้ในโครงสร้างรายวิชา และคะแนนการประเมิน
ปลายปี ได้มาจากการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ปลายปี และจากแฟ้ มสะสมผล
งาน(Portfolio) ตามระเบียบการวัดและประเมินผลที่โรงเรียนกำหนด
ไว้ รายละเอียดดังนี้

การประเมิน วิธีการประเมิน (เก็บจาก) คะแน รวม


1.การประเมิน 1. ชิ้นงาน/ภาระงานในแต่ละ 70
ระหว่างเรียน หน่วยการเรียนรู้
100
(70%) จำนวน........หน่วยการเรียนรู้

2.การประเมิน 1.แฟ้ มสะสมผลงาน(Portfolio) 5


182

ปลายปี 2.สอบวัดผลสัมฤทธิ์ปลายปี 25
(30%)

2. การตัดสินผลการเรียน

2.1 นักเรียนต้องมีเวลาเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของ


เวลาเรียน

2.2 นักเรียนต้องผ่านการประเมินตัวชี้วัดทุกตัว (......ตัว)


ตามที่หลักสูตรกำหนด

2.3 นักเรียนต้องได้รับการตัดสินผลการเรียนผ่านระดับ 1
ขึ้นไป

ระดับผลการเรียน
ระดับ 4 คะแนนระหว่าง 80 - 100
ระดับ 3.5 คะแนนระหว่าง 75 - 79
ระดับ 3 คะแนนระหว่าง 70 - 74
ระดับ 2.5 คะแนนระหว่าง 65 - 69
ระดับ 2 คะแนนระหว่าง 60 - 64
ระดับ 1.5 คะแนนระหว่าง 55 - 59
ระดับ 1 คะแนนระหว่าง 50 - 54
ระดับ 0 คะแนนระหว่าง 0 - 49

อภิธานศัพท์

การเดาความหมายจากบริบท (context clue)


183

การเดาความหมายของคำศัพท์หรือข้อความที่ไม่ทราบความหมาย
โดยไม่ต้องเปิ ดพจนานุกรม เป็ นการเดาความหมายนั้นโดยอาศัยการ
ชี้แนะจากคำศัพท์หรือข้อความที่แวดล้อมคำศัพท์หรือข้อความที่อ่าน
เพื่อช่วยในการทำความเข้าใจหรือตีความหมายของคำศัพท์หรือข้อความ
ที่ไม่เข้าใจความหมาย

การถ่ายโอนข้อมูล

การแปลงข้อมูลที่ผู้ส่งสารต้องการจะสื่อสารให้ผู้รับสารเข้าใจความ
หมายในรูปแบบที่ต้องการ เช่น การถ่ายโอนข้อมูลที่เป็ นคำ ประโยค
หรือข้อความไปเป็ นข้อมูลที่เป็ นกราฟ สัญลักษณ์ รูปภาพ แผนผัง
แผนภูมิ ตาราง ฯลฯ หรือการถ่ายโอนข้อมูลที่เป็ นกราฟ สัญลักษณ์
รูปภาพ แผนผัง แผนภูมิ ตาราง ฯลฯ ไปเป็ นข้อมูลที่เป็ นคำ ประโยค
หรือข้อความ

ทักษะการสื่อสาร

ทักษะการฟั ง การพูด การอ่าน และการเขียน ซึ่งเป็ นเครื่องมือใน


การรับสารและส่งสารด้วยภาษานั้นๆ ได้อย่างสื่อความหมาย คล่องแคล่ว
ถูกต้อง เข้าถึงสารได้อย่างชัดเจน

บทกลอน (nursery rhyme)

บทร้อยกรองสำหรับเด็ก ที่มีคำคล้องจองและมีความไพเราะ เพื่อ


ช่วยให้จดจำได้ง่าย

บทละครสั้น (skit)

งานเขียนหรือบทละครสั้นที่มีการแสดงออกด้วยท่าทางและคำพูด
ทำให้เกิดความสนุกสนาน อาจเป็ นเรื่องที่มาจากนิทาน นิยาย ชีวิตของ
คน สัตว์ สิ่งของ หรือตัดตอนมาจากงานเขียน
184

ภาษาท่าทาง

การสื่อสารโดยการแสดงท่าทางแทนคำพูดหรือการแสดงท่าทาง
ประกอบคำพูด เพื่อให้ความหมายมีความชัดเจนยิ่งขึ้น การแสดงท่าทาง
ต่างๆ อาจแสดงได้ลักษณะ เช่น การแสดงออกทางสีหน้า การสบตา
การเคลื่อนไหวศีรษะ มือ การยกมือ การพยักหน้า การเลิกคิ้ว เป็ นต้น

วัฒนธรรมของเจ้าของภาษา

วิถีการดำเนินชีวิตของคนในสังคมที่ใช้ภาษานั้น นับตั้งแต่วิธีการกิน
อยู่ การแต่งกาย การทำงาน การพักผ่อน การแสดงอารมณ์ การสื่อ
ความ ค่านิยม ความคิด ความเชื่อ ทัศนคติ ขนบธรรมเนียมประเพณี
เทศกาล งานฉลอง และมารยาท เป็ นต้น

สื่อที่ไม่ใช่ความเรียง (non-text information)

สิ่งที่ใช้สื่อสารแทนคำ วลี ประโยค และข้อความ เช่น กราฟ


สัญลักษณ์ รูปภาพ สิ่งของ แผนผัง แผนภูมิ ตาราง เป็ นต้น
185

เอกสารอ้างอิง

ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร . (2551). ห ลั ก สู ต ร ก า ร ศึ ก ษ า ขั้น พื้ น ฐ า น


พุทธศักราช 2551 .
กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
สภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2549). แผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ฉบับที่ 10.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2547). ข้อเสนอยุทธศาสตร์การ
ปฏิรูปการศึกษา.
กรุงเทพฯ: เซ็นจูรี่.
สำ นักนายกรัฐมนตรี, สำ นักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ.
(2542).พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ก า ร ศึ ก ษ า
แห่งชาติ พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้า
และพัสดุภัณฑ์ (ร.ส.พ.).
สำนักผู้ตรวจราชการและติดตามประเมินผล. (2548). การติดตามปั ญหา
อุปสรรคการใช้หลักสูตร
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544. บันทึก ที่ ศธ 0207/ 2692
ลงวันที่ 19 กันยายน
2548.
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2546 ก.). สรุปผลการประชุม
วิเคราะห์หลักสูตรการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน. 27-28 ตุลาคม 2546 โรงแรมตรัง กรุ งเทพฯ.
(เอกสารอัดสำเนา).
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2546 ข.). สรุปความเห็นจาก
การประชุมเสวนาหลักสูตร
186

การศึกษาขั้นพื้นฐาน 5 จุด. พฤศจิกายน 2546 (เอกสารอัด


สำเนา).
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2548 ก). รายงานการวิจัย
การใช้หลักสูตรการศึกษา
ขั้นพื้นฐานตามทัศนะของผู้สอน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องค์การรับ
ส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์
(ร.ส.พ.).
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2548 ข.). รายงานการวิจัย
โครงการวิจัยเชิงทดลอง กระบวนการสร้างหลักสูตรสถาน
ศึกษาแบบอิงมาตรฐาน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้า
และพัสดุภัณฑ์ (ร.ส.พ.).
สุวิมล ว่องวาณิช และ นงลักษณ์ วิรัชชัย. (2547). การประเมินผล
การปฏิรูปการเรียนรู้ ตาม
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 พหุกรณีศึกษา.
เอกสารการประชุมทาง
วิชาการการวิจัยเกี่ยวกับการปฏิรูปการเรียนรู้ โดยสำนักงาน
เลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวง
ศึกษาธิการ วันที่ 19- 20 กรกฎาคม 2547.
Kittisunthorn, C., (2003). Standards-based curriculum: The first experience of
Thai teachers. Doctoral Dissertation, Jamia Islamia University, Delhi, India.

Nutravong, R., (๒๐๐๒). School-based curriculum decision-making: A study of


the Thailand reform experiment. Doctoral Dissertation, Indiana
University, Bloomington. U.S.A.

คณะผู้จัดทำ
187

คณะที่ปรึกษา

1. นายสมหมาย ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้าน ประธานที่ปรึกษา


สาแก้ว เมืองแก
2. นายชูชาติ ประธานคณะกรรมการสถาน รองประธานที่ปรึกษา
ประเมินชัย ศึกษาขั้นพื้นฐาน
คณะจัดทำ
1. นายวิจิตร คง ครู รองประธานกรรมการ
ทรัพย์
2. นางชิดกมล ครู กรรมการ
ชมพันธ์
3. นางสาคร คง ครู กรรมการ
ทรัพย์
4. นายศุภฤกษ์ ครู กรรมการ
ทองหล่อ
5. นายประสพ ครู กรรมการ
แสนสุข
6. นายนิคม ครู กรรมการ
บุญล้อม
7. นางสาวเกื้อกูล ครูธุรการ กรรมการและ
พิศเพ็ง เลขานุการ
8. นายประสิทธิ์ ครูอัตราจ้าง กรรมการและผู้ช่วย
อุดหนุน เลขานุการ
188

You might also like