You are on page 1of 8

โครงการจ้างออกแบบโครงการก่อสร้างขยายผิวจราจรถนน คสล.

รายงานการออกแบบเชิงหลักการ
สายบ้านไทรน้อย - บ้านคลองนาหมอน (นบ.2044) ตอนที่ 2
(Conceptual Design) ตาบลคลองขวาง อาเภอไทรน้อย จังหวัดนนทบุรี

บทที่ 1 บทนา

ความเป็นมาและเหตุผลความจาเป็น
โครงข่ายถนนภายในพื้นที่จังหวัดนนทบุรี นับเป็นโครงข่ายถนนที่ต้องปรับปรุงกายภาพในการรองรับการเติบโต
ของชุมชนเมืองด้วยเป็นปริมณทล ของกรุงเทพมหานคร รวมถึงการเติบโตทางด้านพานิ ชยกรรมและอุตสาหกรรม
เมื่อพิจารณาถึงศักยภาพของโครงข่ายของถนนโครงการฯ ชึ่งสามารถเชื่อมโยงกับถนนในแนวตะวันออก-แนวตะวันตก
รองรับการเดินทางในพื้นที่กรุงเทพฯ โชนตะวันออก รวมถึง จังหวัดฉะเชิงเทรา ไปยังพื้นที่ด้านตะวันตกของ จังหวัดนนทบุรี
และรอยต่อของ จังหวัดนครปฐม ผ่านทางหลวงสายหลักคือ ทางหลวงหมายเลข 304 เชื่อมต่อถนนชัยพฤกณ์ (ปากเกร็ด)
ข้ามแม่น้าเจ้าพระยา ผ่าน ถนนราชพฤกณ์ ตัดข้ามถนนกาญจณาภิเษก มาบรรจบกับ ทล.3215 (บางกรวย-ไทรน้อย)
ถึงแยกทางเข้า อาเภอไทรน้อย เข้าสู่พื้นที่โครงการ ไปสิ้นสุดที่ทางหลวงหมายเลข.346 ซึ่งรองรับและกระจายปริมาณ
การจราจรเข้าสู่โครงข่ายถนนสายสาคัญตามที่กล่าวข้างต้น
ปัจจุบันถนนสายบ้านไทรน้อย - บ้านคลองนาหมอน (นบ.2044) หรือ สายทาง นบ.ถ1-0001 : แยก ทล.346 –
บ้านไทรน้อย ระยะทาง 4.57 กิโลเมตร มีปริมาณการจราจร และปริมาณรถบรรทุก (Volume of truck) ค่อนข้างสูง และ
มี ก ารเดิ น ทางของผู้ ใ ช้ ท างเกื อ บตลอดเวลา ที่ ผ่ า นมาองค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นจั ง หวั ด นนทบุ รี ได้ ด าเนิ น การ
ซ่อมบารุงรักษาอย่างต่อเนื่อง แต่ยังคงมีความเสียหายเกิดขึ้น ตลอดจนเกิดปัญหาการทรุดตัว ซึ่งมีความเสี่ยงต่อการ
เกิดอุบัติเหตุ ก่อให้เกิดความไม่สะดวกสบายแก่ผู้ใช้ทาง และก่อให้เกิดมลภาวะต่อประชาชนบริเวณโดยรอบของสายทาง
ดังนั้น องค์การบริหารส่วนจังหวัดนนทบุรี จึงมีความจาเป็นต้องดาเนินการสารวจและออกแบบ สายทาง นบ.ถ1-0001 :
แยก ทล.346 – บ้านไทรน้อย เพื่อเตรียมความพร้อมในการดาเนินการประกวดราคาก่อสร้างต่อไป

วัตถุประสงค์ของโครงการ
1.2.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ
องค์การบริหารส่วนจังหวัดนนทบุรี มีความประสงค์ว่าจ้าง “ที่ปรึกษา” เพื่อให้บริการในการสารวจและ
ออกแบบรายละเอียด ตลอดจนจัดเตรียมเอกสารข้อมูลประกอบการประกวดราคาและประเมินราคา สาหรับโครงการ
จ้างออกแบบ โครงการก่อสร้างขยายผิวจราจรถนน คสล. สายบ้านไทรน้อย - บ้านคลองนาหมอน (นบ.2044) ตอนที่ 2
ตาบลคลองขวาง อาเภอไทรน้อย จังหวัดนนทบุรี ระยะทางประมาณ 4.57 กิโลเมตร ดังแสดงในรูปที่ 1.2-1 เพื่อให้
การพัฒนาโครงการมีความสมบูรณ์ทางด้านวิศวกรรม สอดคล้องกับสภาพสิ่งแวดล้อมและสังคม

1-1
โครงการจ้างออกแบบโครงการก่อสร้างขยายผิวจราจรถนน คสล.
รายงานการออกแบบเชิงหลักการ
สายบ้านไทรน้อย - บ้านคลองนาหมอน (นบ.2044) ตอนที่ 2
(Conceptual Design) ตาบลคลองขวาง อาเภอไทรน้อย จังหวัดนนทบุรี

รูปที่ 1.2-1 แผนที่แสดงที่ตั้งของโครงการ

โครงสร้างรายงาน
ที่ปรึกษาได้จัดทารายงานความก้าวหน้า ซึง่ ประกอบด้วยเนื้อหาสาระ 4 บท ดังนี้
บทที่ 1 บทนา กล่า วถึง ความเป็น มาและเหตุผ ล วัต ถุป ระสงค์ และลัก ษณะของโครงการ โครงสร้า ง
ของรายงาน และแนวทางขั้นตอนการดาเนินการคัดเลือก
บทที่ 2 งานการออกแบบเชิงหลักการของโครงการ กล่าวถึง การออกแบบถนนสายทางให้การขับขี่มีความ
ปลอดภัย รวมถึงการออกแบบในด้านองค์ประกอบต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง

1-2
โครงการจ้างออกแบบโครงการก่อสร้างขยายผิวจราจรถนน คสล.
รายงานการออกแบบเชิงหลักการ
สายบ้านไทรน้อย - บ้านคลองนาหมอน (นบ.2044) ตอนที่ 2
(Conceptual Design) ตาบลคลองขวาง อาเภอไทรน้อย จังหวัดนนทบุรี

บทที่ 2 งานการออกแบบเชิงหลักการของโครงการ
การออกแบบถนนสายทางให้การขับขี่มีความปลอดภัยและความต่อเนื่องที่ดี และการใช้ความเร็วในแต่ละ
ช่วงเป็นไปในลักษณะ Uniform เหมาะสมกับระดับการให้บริการบนสายทาง รวมถึงการออกแบบในด้านองค์ประกอบ
ต่ า งๆ ที่ เกี่ย วข้อง เช่ น ทางบริการ ทางแยก การเชื่ อมต่ อถนนท้ องถิ่น เครื่องหมายและป้ า ยจราจร ตลอดจน
ส่วนประกอบอื่นๆ ที่จาเป็นต่อการจราจรและความปลอดภัย ที่ปรึกษาได้กาหนดขั้นตอนและหลักการในการออกแบบ
ดังนี้

2.1 แนวคิดในการออกแบบถนนของโครงการ
ที่ปรึกษากาหนดแนวคิดในการกาหนดแนวสายทาง และรูปแบบของถนนโครงการที่เหมาะสม คือ การ
กาหนดลาดับชั้นของแนวเส้นทางของโครงการที่ชัดเจนและเข้าถึงพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งในภาพรวมการ

2-1
โครงการจ้างออกแบบโครงการก่อสร้างขยายผิวจราจรถนน คสล.
รายงานการออกแบบเชิงหลักการ
สายบ้านไทรน้อย - บ้านคลองนาหมอน (นบ.2044) ตอนที่ 2
(Conceptual Design) ตาบลคลองขวาง อาเภอไทรน้อย จังหวัดนนทบุรี

พัฒนาโครงการได้กาหนดจากหลักเกณฑ์ และข้อกาหนดต่างๆ ตามมาตรฐานและหลักวิชาการ รวมถึงงานอื่นๆ ที่เห็น


ว่าเป็นประโยชน์ต่อการพิจารณาปรับปรุงแนวสายทาง
ในปัจจุบันโครงข่ายของถนนโครงการ ซึ่งผ่านเขตชุมชนเป็นส่วนใหญ่ และมีการตัดกับทางหลวงชนบท 2
เส้นทาง ได้แก่ นบ.5027 และ นบ.3032 อีกทั้งยังมีการตัดผ่านกับถนนท้องถิ่นเพื่อให้ผู้ใช้ทางสามารถเข้าถึงสถานที่
สาคัญได้อย่างสะดวก เช่น หน่วยงานราชการ โรงเรียน และชุมชน เป็นต้น นอกจากนี้ ตามแนวถนนยังมีการติดตั้ง
สัญญาณไฟจราจรบริเวณจุดตัดทางแยก และมีการเปิดจุดกลับรถเพื่อการเชื่อมต่อระหว่างชุมชนหลายแห่ง ซึ่งจาก
การศึกษาเบื้องต้นที่ปรึกษาจึงมีแนวคิดในการกาหนดชั้นทางของแนวถนนโครงการ เพื่อให้ผู้ เดินทางทั้งผู้ใช้ทางใน
พื้นที่และผู้ใช้ทางที่ต้องการผ่านพื้นที่ (Through Traffic) ให้สามารถเข้าถึงพื้นที่ชุมชนได้สะดวก ปลอดภัย และไม่ ทา
ให้เกิดการจราจรติดขัดตามแนวถนน โดยอ้างอิงตามมาตรฐานการกาหนดชั้นทางหลวงของกรมทางหลวง ที่ความเร็ว
ในการออกแบบที่ความเร็ว 60 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ในเขตเมือง ดังแสดงในตารางที่ 2.3-1 ดังนั้นลาดับชั้นทางในการ
พัฒนาโครงการเป็นลักษณะ “ถนนสายรองเพื่อเน้นการเข้าถึง (Minor Collector” ดังแสดงในรูปที่ 2.3-3

รูปที่ 2.3-3 แนวคิดการพัฒนาถนนโครงการ

ตารางที่ 2.1-1 มาตรฐานชั้นทางสาหรับทางหลวงทั่วประเทศ

2-2
โครงการจ้างออกแบบโครงการก่อสร้างขยายผิวจราจรถนน คสล.
รายงานการออกแบบเชิงหลักการ
สายบ้านไทรน้อย - บ้านคลองนาหมอน (นบ.2044) ตอนที่ 2
(Conceptual Design) ตาบลคลองขวาง อาเภอไทรน้อย จังหวัดนนทบุรี

หมายเหตุ: 1. ความกว้างไหล่ทางที่ปรากฏเป็นไหล่ทางโดยทั่วไป สาหรับบางช่วงหากมีความจาเป็นอาจขยายความกว้างได้ตามความจาเป็นของทางในช่วงนั้นๆ


2. การแบ่งผิวจราจรและไหล่ทางแบ่งด้วยเส้นขอบทาง
3. สะพานที่มีทางเท้าความกว้างทางเท้าอย่างน้อยข้างละ 1.50 เมตร
4. ความกว้างสะพานในทางชั้น 4, 5 ในสายทางที่คาดว่าจะไม่เพิ่มมาตรฐานชั้นทางในระยะเวลาอันสั้น ความกว้างสะพานอาจลดลงได้แต่ต้องไม่น้อยกว่า 9.00 เมตร
5. ลาดคันทางโดยทั่วไปให้ใช้ความลาดเอียง 4 เมตร ถึง 6 เมตร ยกเว้นบางช่วงที่มีความจาเป็นความลาดเอียงอาจใช้ 2 เมตร ถึง 3 เมตร ตามแต่กรณี
6. มาตรฐานทางชั้น 4, 5 ไม่แนะนาสาหรับทางหลวงแผ่นดิน

จากการตรวจสอบสภาพพื้นที่ปัจจุบันของโครงการ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของโครงข่ายให้มีความสมบูรณ์ ที่


ปรึกษาดาเนินการตรวจสอบสภาพพื้นที่โดยรอบของโครงการ เพื่อประกอบการออกแบบในรายละเอียดต่างๆ โดยมี
แนวคิดเบื้องต้นในประเด็นสาคัญ ดังนี้

2-3
โครงการจ้างออกแบบโครงการก่อสร้างขยายผิวจราจรถนน คสล.
รายงานการออกแบบเชิงหลักการ
สายบ้านไทรน้อย - บ้านคลองนาหมอน (นบ.2044) ตอนที่ 2
(Conceptual Design) ตาบลคลองขวาง อาเภอไทรน้อย จังหวัดนนทบุรี

1) งานปรับปรุงกายภาพถนน ระยะทางประมาณ 880 เมตร จากจุดเริ่มต้นโครงการ โดยทาการศึกษา


คาดการณ์ปริมาณจราจร เพื่อกาหนดช่องจราจร พร้อมทั้งตรวจสอบระดับการให้บริการ กาหนดรูป
หน้าตัดและลักษณะทางเรขาคณิตให้สอดคล้องกับถนนเดิม ดังแสดงในรูปที่ 2.1-1
2) งานปรับ ปรุง จุด กลั บรถเดิ ม ตามแนวถนนโครงการ เพื่ อให้ มี ความปลอดภัย มากยิ่ ง ขึ้น จ านวน 4
ตาแหน่ง ได้แก่ กม.1+100 กม.1+575 กม.2+250 และ กม.3+475 ดังแสดงในรูปที่ 2.1-2
3) งานปรับปรุงกาพภาพของทางแยก ที่ปรึกษาดาเนินการสารวจปริมาณจราจร สภาพแถวคอยและรอบ
สัญญาณไฟ เพื่อทาการวิเคราะห์คาดการณ์ และนาไปปรับปรุงกายภาพของทางแยก โดยเฉพาะการ
เพิ่มช่องจราจร เพื่อลดระยะความยาวแถวคอยโดยพร้อมทั้งวิเคราะห์เปรียบเทียบรูปแบบทางแยก ดัง
แสดงในรูปที่ 2.1-3 โดยสามารถดูรายละเอียดได้ใน “รายงานผลการคัดเลือกรูปแบบของถนน
โครงการ”

รูปที่ 2.1-1 รูปหน้าตัดถนนของโครงการ

2-4
โครงการจ้างออกแบบโครงการก่อสร้างขยายผิวจราจรถนน คสล.
รายงานการออกแบบเชิงหลักการ
สายบ้านไทรน้อย - บ้านคลองนาหมอน (นบ.2044) ตอนที่ 2
(Conceptual Design) ตาบลคลองขวาง อาเภอไทรน้อย จังหวัดนนทบุรี

รูปที่ 2.1-2 ตาแหน่งและรูปแบบจุดกลับรถตามแนวถนนโครงการ

รูปที่ 2.1-3 รูปแบบทางเลือกทางแยกของโครงการ

2-5
โครงการจ้างออกแบบโครงการก่อสร้างขยายผิวจราจรถนน คสล.
รายงานการออกแบบเชิงหลักการ
สายบ้านไทรน้อย - บ้านคลองนาหมอน (นบ.2044) ตอนที่ 2
(Conceptual Design) ตาบลคลองขวาง อาเภอไทรน้อย จังหวัดนนทบุรี

2.2 วิธีการดาเนินงานศึกษาและออกแบบ
2.3.1 มาตรฐานที่ใช้ในการออกแบบ
การออกแบบทางเรขาคณิตทางแยกระดับพื้น จะเป็นไปตามข้อกาหนดและมาตรฐานของกรมทางหลวง และ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเป็นหลัก ประกอบกับมาตรฐานสากลอื่นๆ ที่เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไป เช่น
- AASHTO “A Policy on Geometric Design of Higways and Streets”, 2018
- AASHTO “Roadside Design Guide”, 2015
- AASHTO “A Guide for Transportation Landscape and Environment Design 2nd Edition, 1991
- TRANSPORTATION RESEARCH “Highway Capacity Manual” 2016
1) การออกแบบแนวทางราบ (Horizontal Alignment)
แนวทางราบพิจารณาออกแบบให้การขับรถมีความปลอดภัย มีความต่อเนื่องที่ดี และความเร็วในแต่ละช่วงให้
เป็นไปในลักษณะ Uniform Speed ทุกจุดวิกฤตบนถนน เช่น ทางแยก ทางเชื่อม ทางโค้ง สะพาน ฯลฯ จะต้องมี
Stopping Sight Distance ที่เพียงพอ
2) การออกแบบทางแยกระดับพื้น (Intersection)
การออกแบบทางด้านรูปทรงเรขาคณิตของทางแยก พิจารณาออกแบบเพื่อลดความสับสนของการจราจร
และลดอุบัติเหตุบริเวณทางแยก โดยให้ผู้ขับขีส่ ามารถใช้ทางแยกได้ถูกต้องและสะดวกปลอดภัย องค์ประกอบที่สาคัญ
ในการพิจารณาในการออกแบบ คือ พฤติกรรมของผู้ใช้รถใช้ถนน ปริมาณการจราจรโดยรวม เป็นต้น
โดยทั่วไปแล้ว รูปแบบทางแยกนั้น มักเปลี่ยนแปลงไปตามปริมาณการจราจร ทิศทางการเลี้ยวและ
ความสลับซับซ้อนของกระแสจราจร อาทิเช่น ทางแยกที่ปริมาณการจราจรในถนนสายรองมีน้อยจะพิจารณาใช้
รูปแบบของทางแยกแบบธรรมดา ซึ่งมักจะใช้กับทางเชื่อมทั่ว ไป ถ้าเป็นทางแยกที่มีปริมาณจราจรมากในแต่ละ
เส้นทางก็จะต้องพิจารณาจัดช่องบังคับจราจร (Channelization) บริเวณทางแยก เป็นต้น นอกจากนี้แล้วจะศึกษา
และพิจารณาการใช้สัญญาณไฟจราจรที่ทางแยกในกรณีที่ปริมาณจราจรที่ขวางกันที่ทางแยกมีมาก หรือในกรณีที่
จาเป็นและเหมาะสม อาทิเช่น สถิติการเกิดอุบัติเหตุ เป็นต้น ดังนั้นในการออกแบบทางแยกระดับเดียวกันชนิดมี
และไม่มีสัญญาณไฟจราจร ได้ศึกษาและพิจารณาองค์ประกอบต่างๆ ดังที่กล่าวมาข้างต้น

2-6

You might also like