You are on page 1of 81

วชิราวุธวิทยาลัย ลาดับและอนุกรม 123

ลำดับและอนุกรม
ลำดับ
ั ลักษณ์ a n แทนพจน์ทวั่ ไป
คือ ค่าของ Range (y) ที่ได้จากการแทน Domain (x) ด้วยจานวนเต็มบวก และใช้สญ

EX 1. ลาดับหนึ่งมีพจน์ทวั่ ไปเป็ น a n = n 2 − n + 1 จงหา a 3 + a 7

กำรหำพจน์ ทวั่ ไป
( n − 1)( n − 2 ) d 2 ( n − 1)( n − 2 )( n − 3 ) d 3
(1) a n = a 1 + ( n − 1) d 1 + + + ...
2! 3!
(2) a n = a + b ( r ) n
(3) a n = a + bn + c ( r ) n
Should know สู ตรที่ (1) และ(2) เคยออกในข้ อสอบ PAT มำแล้วนะครับ (กรุณำจำสู ตรด้วยนะครับ)

EX 2. จงหาพจน์ทวั่ ไป ( a n ) ของ ลาดับต่อไปนี้ 0 , 8 , 28 , 66 , 128 , …

EX 3. จงหา a n ของลาดับ 1 , 3 , 6 , 10 , 15 , …

EX 4. กาหนดลาดับจากัด 100 พจน์เป็ นดังนี้ 1 , 2 , 4 , 7 , 11 , 16 , … , a50 , … , a100


แล้วพจน์ที่ 50 ( a50 ) มีค่าเท่าใด
1. 1176 2. 1226
3. 1276 4. 1300
5. 1301

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา


124 ลาดับและอนุกรม วชิราวุธวิทยาลัย

EX 5. จงหา a 10 ของลาดับ 5 , 7 , 11 , 19 , 35 , …

EX 6. จงหา a 10 − a 9 ของลาดับ 4 , 5 , 8 , 15 , 30 , …

EX 7. หนังสื อเล่มหนึ่งมี 500 หน้า หน้าแรกมีคาผิด 1 คา เว้นไป 1 หน้า หน้าสามมีคาผิด 1 คา เว้นไป 3 หน้า
หน้าที่เจ็ด มีคาผิด 1 คา เว้นไป 5 หน้า เป็ นอย่างนี้ต่อๆไป จานวนหน้าที่ไม่มีคาผิดจะเพิ่มขึ้นทีละ 2 หน้า
จานวนคาผิดในหนังสื อเล่มนี้เท่ากับเท่าใด

EX 8. กาหนดให้ a 1 = 2 และ a n = 3a n −1 + 1 สาหรับ n = 2 , 3 , 4 , … จงหา a n (ตอบในรู ปพจน์ทวั่ ไป)

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา


วชิราวุธวิทยาลัย ลาดับและอนุกรม 125

ลำดับเลขคณิต
คือ ลาดับที่มีผลต่างร่ วม (d) เท่ากัน และมีพจน์ทวั่ ไปอยูใ่ นรู ป a n = a1 + (n −1)d

Should know

EX 9. จงหาพจน์ทวั่ ไปของลาดับเลขคณิ ตต่อไปนี้


1. 1 , 4 , 7 , 10, … 2. 5 , 7 , 9 , 11, …
3. 10 , 6 , 2 , – 2 , … 4. 23 , 17 , 11 , 5 , …
5. 18 , 20 , 22 , 24 , … 6. 100 , 85 , 70 , 55 , …
7. a1 = 8 , d = 5 8. a 6 = 17 , d = 3
9. a 3 = – 1 , a n+1 − a n = – 4 10. a 5 = 72 , a n +2 − a n = 3

EX 10. a n เป็ นพจน์ทวั่ ไปของลาดับ ซึ่งมี a5 = 9 และ a n +1 = a n – 2 แล้ว a11 เท่ากับเท่าใด


1. – 5 2. – 3
3. – 1 4. 1
5. 3

EX 11. ลาดับ 7 , 11 , 15 , 19 , … , 2563 มีท้ งั หมดกี่พจน์

EX 12. กาหนดให้พจน์ที่ 10 และพจน์ที่ 15 ของลาดับเลขคณิ ตมีค่าเท่ากับ – 19 , – 34 ตามลาดับ


จงหาพจน์ที่ 50

EX 13. ถ้า k , 3k , 6k + 2 เป็ นสามพจน์ที่เรี ยงกันเป็ นลาดับเลขคณิ ต มีพจน์แรกเป็ น –7k จงหาพจน์ที่ 50

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา


126 ลาดับและอนุกรม วชิราวุธวิทยาลัย

EX 14. พจน์แรกที่เป็ นจานวนเต็มลบของลาดับเลขคณิ ต 200 , 182 , 164 , 146 , … มีคา่ ต่างจากพจน์ที่ 10


เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 54 2. 38 3. 22 4. 20

EX 15. บทนิยาม ให้  a n  เป็ นลาดับของจานวนจริ ง


เรี ยกพจน์ a n ว่าพจน์คู่ ถ้า n เป็ นจานวนคู่ และ เรี ยกพจน์ a n ว่าพจน์คี่ ถ้า n เป็ นจานวนคี่
กาหนดให้  a n  เป็ นลาดับเลขคณิ ต โดยที่ มีจานวนพจน์เป็ นจานวนคู่ และผลบวกของพจน์คี่ท้ งั หมด
เท่ากับ 36 และผลบวกของพจน์คู่ท้ งั หมดเท่ากับ 56 ถ้าพจน์สุดท้ายมากกว่าพจน์แรก เป็ นจานวนเท่ากับ 38
แล้ว ลาดับเลขคณิ ต  a n  นี้ มีท้ งั หมดกี่พจน์

EX 16. กาหนดให้ a 1 , a 2 , a 3 ,..., a n ,... เป็ นลาดับเลขคณิ ตของจานวนเต็มบวก โดยที่ a1 = 1 และ a8 = 36


ถ้า 1 + 1 + 1 +…+ 1 =3
a1 + a 2 a 2 + a3 a3 + a 4 a n−1 + a n
แล้ว n เท่ากับเท่าใด

EX 17. กาหนดให้ k เป็ นจานวนจริ ง ถ้ารากสมการ x 3 + 3 x 2 − 6 x + k = 0 เรี ยงเป็ นลาดับเลขคณิ ต


แล้ว k 2 มีค่าเท่ากับเท่าใด

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา


วชิราวุธวิทยาลัย ลาดับและอนุกรม 127
EX 18. จานวนเต็มบวกตั้งแต่ 100 – 600 จงหาว่า
1. มีท้ งั หมดกี่จานวน 2. มีกี่จานวนที่ 6 หารลงตัว

3. มีกี่จานวนที่ 4 หารลงตัว 4. มีกี่จานวนที่ 8 หารไม่ลง

5. มีกี่จานวนที่ 6 และ 8 หารลงตัว 6. มีกี่จานวนที่ 6 หรื อ 8 หารลงตัว

7. มีกี่จานวนที่ 4 หารลงแต่ 6 หารไม่ลงตัว 8. มีกี่จานวนที่ 6 หารลงแต่ 4 หารไม่ลงตัว

EX 19. จานวนเต็มระหว่าง 75 – 700 มีกี่จานวนที่ (Hint : a และ b เป็ นจานวนเฉพาะสัมพัทธ์กนั แสดงว่า (a , b) = 1)


1. ไม่เป็ นเฉพาะสัมพัทธ์กบั 6
2. เป็ นเฉพาะสัมพัทธ์กบั 6

EX 20. จานวนเต็มตั้งแต่ 0 ถึง 100 ที่ไม่เป็ นจานวนเฉพาะสัมพัทธ์กบั 15 มีท้ งั หมดกี่จานวน

ลำดับฮำร์ โมนิค
EX 21. Find the 9 th term of the harmonic progression 3 , 2 , 23 , …

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา


128 ลาดับและอนุกรม วชิราวุธวิทยาลัย

ลำดับเรขำคณิต
คือ ลาดับที่มีอตั ราส่วนร่ วม (r) เท่ากัน และมีพจน์ทวั่ ไปอยูใ่ นรู ป a n = a1 r n−1

Should know

EX 22. จงหาพจน์ทวั่ ไปของลาดับเรขาคณิ ตต่อไปนี้


1. 1 , 2 , 4 , 8 , … 2. 3 , – 6 , 12 , – 24 , …
3. 1 , 12 , 14 , 18 , … 4. 4 , − 43 , 49 , − 27 4 ,…

5. 23 , 1 , 23 , 49 , … 6. 15 , 6 , 125 , 24
25 , …
7. 1 , 1 , 1 ,…
3 , 6 , 2 3 ,… 8. 625
125 5 125
a a
9. a1 = 3 , an +1 = 2 10. a 4 = 54 , na+3 = – 27
n n

EX 23. ลาดับ 2 ,– 6 , 18 , … 1458 มีท้ งั หมดกี่พจน์

EX 24. ให้ a1 ,a 2 ,a 3 ,...,a 51 เป็ นลาดับเรขาคณิ ต โดยที่ a1 = 1 และอัตราส่วนร่ วมของลาดับเท่ากับ − 45


แล้ว มัธยฐานเท่ากับข้อใดต่อไปนี้

( ) ( )
25 23
1. − 45 2. − 45

3. − 45 4. 1

()
26
5. 45

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา


วชิราวุธวิทยาลัย ลาดับและอนุกรม 129
EX 25. กาหนด 2 , a , b , 9 เมื่อ a , b เป็ นจานวนเต็ม โดยที่ 3 พจน์แรกเป็ นลาดับเลขคณิ ต
และใน 3 พจน์หลังเป็ นลาดับเรขาคณิ ต จงหา a + b

EX 26. กาหนดให้ a , b , c เป็ นจานวนจริ งที่เรี ยงเป็ นลาดับเรขาคณิ ต โดยที่ a + b + c = 14


และ a , b + 3 , c + 4 เรี ยงเป็ นลาดับเลขคณิ ต แล้ว a 2 + b 2 + c 2 มีค่าเท่าใด

EX 27. กาหนด k เป็ นจานวนจริ ง ถ้ารากสมการ x 3 − 6 x 2 + kx + 64 = 0 เรี ยงเป็ นลาดับเรขาคณิ ต


แล้ว k 2 มีค่าเท่ากับเท่าใด

Should know
ลำดับเลขคณิต ลำดับเรขำคณิต
คีพ่ จน์ คู่พจน์ คีพ่ จน์ คู่พจน์
… a – 2d, a – d, a, a + d, a + 2d … … , a – 3d, a – d, a + d, a + 3d , … ..., a , ar ,a,ar,ar 2 ,... ..., a3 , ar ,ar,ar 3 ,...
r2 r

EX 28. เลขสามจานวนเรี ยงกันเป็ นลาดับเลขคณิ ต


ถ้าผลบวกของเลขสามจานวนนี้เป็ น 12 และผลบวกของกาลังสองของแต่ละจานวนเป็ น 66
แล้ว ค่าสัมบูรณ์ของผลต่างของจานวนแรกและจานวนที่สามตรงกับข้อใด
1. 4 2. 5 3. 6 4. 8

EX 29. ลาดับเรขาคณิ ตลาดับหนึ่ง มีผลบวกและผลคูณของ 3 พจน์แรกเป็ น 13 และ 27 ตามลาดับ


ถ้า r เป็ นอัตราส่วนร่ วมของลาดับนี้ แล้ว r + 1r มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 103 2. 73 3. 43 4. 13

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา


130 ลาดับและอนุกรม วชิราวุธวิทยาลัย

สั ญลักษณแทนกำรบวก 
n
n ( n + 1)
i = 1+2+3+4+…+n = 2
i=1
n 2 2 2 2 n ( n + 1)( 2 n + 1)
2
i = 1 + 2 + 3 + ... + n = 6
i=1
n
i
i=1
3
=
3 3 3
1 + 2 + 3 + ... + n
3
= (n(n2+1) )2
n
c = c+c+c+c+…+c = nc
i =1

Shouldknow  กระจายได้เฉพาะบวกและลบเท่านั้น (กระจายในการคูณ และหาร ไม่ได้นะครับ)

10 10 10 10
EX 30. ถ้า  x i = – 8 ,  y i = 4 และ  ( 5 − x i )( y i + 2 ) = 76 แล้ว  x i y i มีค่าเท่าใด
i =1 i =1 i =1 i =1
1. – 60 2. – 30 3. 30 4. 60

EX 31. จงหาค่าของ
a = 1 + 2 + 3 + 4 + … . + 100 b = 1 2 + 2 2 + 3 2 + ... + 20 2
10
c = 1 3 + 2 3 + 3 3 + ... + 10 3 d = 8
i =1

100
EX 32.  (1 + ( −1 ) k ) k มีค่าเท่ากับเท่าใด
k =1

14
EX 33. ถ้า  ( a + n2 ) = 30
n =0
100
และ b =  ( −1 ) n +1 (log 101 ) n แล้ว a + b มีค่าเท่าใด
n =1

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา


วชิราวุธวิทยาลัย ลาดับและอนุกรม 131
30
EX 34. กาหนดให้ f(x) = x – 1 แล้ว  ( fof )( n 2 ) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
n =10
1. 9028 2. 9030 3. 9128 4. 9170
EX 35. จงหาค่าของ
a = 2 2 + 4 2 + 6 2 + ... + 20 2 b = 1 3 + 3 3 + 5 3 + ... + 19 3

EX 36. ให้  a n  เป็ นลาดับเลขคณิ ต โดยที่ a 1 = 2 และ a 1  a 2  a 3


สมมติวา่ a 2 , a 4 , a 8 เรี ยงเป็ นลาดับเรขาคณิ ต
(a1 − 1)3 + (a 2 − 1)3 + (a 3 − 1) 2 + ... + (a n −1) 3 391
จงหาค่าของ n ที่ทาให้ = 450
a13 + a 32 + ... + a 3n

EX 37. ให้ f(x) = 1 − 1 , โดยที่ x  0


1− 1
1 − 1 +1 x
ถ้า a เป็ นจานวนจริ งบวกที่สอดคล้องกับ f(1 + a) + f(2 + a) + f(3 + a) + … + f(60 + a) = 2250
แล้ว a มีค่าเท่ากับเท่าใด

EX 38. กาหนดให้ a  1 และ นิยาม L(n) = log n ( n a ) สาหรับ n = 1 , 2 , 3 , …


2
ถ้า 1 + 1 + 1 + ... + 1 = 77 แล้ว ค่าของ a เท่ากับเท่าใด
L (1 ) L ( 2 ) L ( 3 ) L (10 )

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา


132 ลาดับและอนุกรม วชิราวุธวิทยาลัย

อนุกรม
2 , 5 , 8 , 11 , … เรี ยกว่า ลำดับ ( a n ) a1 = ….. , a 2 = ….. , a 3 = ….. , a n = ……………
2 + 5 + 8 + 11 + … เรี ยกว่า อนุกรม ( S n ) S1 = ….. , S 2 = ….. , S 3 = ….. , S n = …………...
Should know S1 = a1
ดังนั้น Sn =  an

และ a n = S n – Sn−1

EX 39. จงหาผลบวก n พจน์แรก เมื่อกาหนด a n = 3 n 2 − 2

EX 40. จงหาผลบวก 10 พจน์แรก ของอนุกรม 13 + 25 + 37 + 49 + ….

EX 41. จงหาผลบวกของ 18 พจน์แรกของอนุกรม 1 + 9 + 25 + 49 + 81 + ...


1. 7734 2. 7751 3. 7753 4. 7770

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา


วชิราวุธวิทยาลัย ลาดับและอนุกรม 133
2 2 2 2
EX 42. จงหาจานวนเต็มบวก n ที่ทาให้ 1 + 2 + 3 + ... + n = 228 231
1  2 + 2  3 + ... + ( n − 1 )  n

EX 43. ถ้าผลบวก n พจน์แรกของอนุกรมชุดหนึ่ง คือ 3n 2 + 2n


จงหา 1. พจน์ที่ 5
2. ผลบวกของ พจน์ที่ 9 กับพจน์ที่ 10
3. พจน์ที่ n

EX 44. กาหนด S เป็ นผลบวก n พจน์แรกของอนุกรมเรขาคณิ ต ซึ่งมีอตั ราส่วนร่ วมเท่ากับ 2


ถ้า S10 − S 8 = 32 แล้ว พจน์ที่ 9 ของอนุกรมนี้เท่ากับเท่าใด
1. 163 2. 203 3. 263 4. 323

EX 45. ถ้า S n = n 2 − 4n เป็ นผลบวกของ n พจน์แรกของอนุกรมเลขคณิ ตที่มี a n เป็ นพจน์ที่ n


และ d เป็ นผลต่างร่ วมแล้ว d + a1 a 2 เท่ากับเท่าใด
1. 5 2. 9 3. – 7 4. – 9
5. – 58

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา


134 ลาดับและอนุกรม วชิราวุธวิทยาลัย

อนุกรมเลขคณิต
S n = n2 (a1 + a n )
S n = n2 (2a1 + (n − 1)d)

EX 46. จงหาผลบวก 15 พจน์แรกของอนุกรมเลขคณิ ต 10 + 7 + 4 + …

EX 47. ถ้า a n = 4n + 3 แล้วผลบวก 20 พจน์แรกของลาดับนี้เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 900 2. 930
3. 950 4. 980
5. 1000

EX 48. กาหนดให้ a1 , a 2 , a 3 ,..., a 201 เป็ นลาดับเลขคณิ ตของจานวนจริ ง


ถ้า a1 + a 3 + a 5 + ... + a 201 = 303 แล้ว a 2 + a 4 + a 6 + ... + a 200 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 287 2. 290
3. 297 4. 300

EX 49. กาหนดให้ a1 , a 2 , a 3 ,..., a n ,... เป็ นลาดับเลขคณิ ตของจานวนจริ ง


โดยที่ a1 + a 3 = 7 และ a 2 + a 4 + a6 + a8 = 74
ค่าของ a1 + a 2 + a3 + ... + a50 มีค่าเท่าใด

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา


วชิราวุธวิทยาลัย ลาดับและอนุกรม 135
EX 50. จานวนเต็มบวกตั้งแต่ 200 ถึง 400 จงหา
1. ผลบวกของจานวนทั้งหมดที่ 8 หารลงตัว

2. ผลบวกของจานวนทั้งหมดที่ 12 หารไม่ลงตัว

3. ผลบวกของจานวนทั้งหมดที่ 8 หรื อ 12 หารลงตัว

4. ผลบวกของจานวนทั้งหมดที่ 8 หารลงตัว แต่ 12 หารไม่ลงตัว

EX 51. ให้เอกภพสัมพัทธ์คือ คือ 100 , 101 , 102 , … ,999


S = n  n หารด้วย 5 เหลือเศษ 4
แล้ว ผลบวกสมาชิกในเซต S มีค่าเท่าใด
1. 99250
2. 99255
3. 99260
4. 99265
5. 99270

EX 52. กาหนดให้ a n เป็ นลาดับเลขคณิ ต ซึ่งมี a1 = 2 และผลต่างร่ วมเท่ากับ − 29


ถ้า b n = 2 a n แล้วจานวนเต็มบวก m ที่นอ้ ยที่สุดที่ทาให้ b1  b 2  b3 ...  b m  1024
เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 7 2. 8
3. 9 4. 10
5. 11

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา


136 ลาดับและอนุกรม วชิราวุธวิทยาลัย

EX 53. ถ้าผลบวก n พจน์แรกของอนุกรมเลขคณิ ต 2 ชุดเป็ นอัตราส่วนต่อกัน = 7n + 1 : 4n + 27


แล้ว อัตราส่วนของพจน์ที่ 11 ของอนุกรมทั้งสองชุดจะมีค่าเป็ นเท่าใด
1. 7 : 4 2. 5 : 4 3. 4 : 3 4. 3 : 2

EX 54. ให้  a n  และ  b n  เป็ นลาดับเลขคณิ ตของจานวนจริ ง


a + a + a + ... + a n
โดยที่ 1 2 3 = 2nn+−11 สาหรับ n = 1 , 2 , 3 , …
b1 + b 2 + b 3 + ... + b n
2b
ค่าของ 100 เท่ากับเท่าใด
a 100

EX 55. ให้ a1 ,a 2 ,a 3 ,...,a 50 เป็ นลาดับเลขคณิ ต ถ้า a1 = 5 และ a50 = 103


และ a12 − a 22 + a 32 − a 24 + ... + a 249 − a 50
2 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้

1. – 5,400 2. – 5,000
3. 108 4. 5,000
5. 5,400

EX 56. กาหนดให้ a 1 , a 2 , a 3 ,..., a n ,... เป็ นลาดับเลขคณิ ตของจานวนจริ ง


2k
ให้ u k =  a n สาหรับ k = 1 , 2 , 3 , …
n=k
60
ถ้า u 5 = 147 และ u 8 = 342 แล้ว ค่าของ  a n เท่ากับเท่าใด
n =1

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา


วชิราวุธวิทยาลัย ลาดับและอนุกรม 137

อนุกรมเรขำคณิต
a (1 − r n )
Sn = 1 1 − r

EX 57. จงหาผลบวกของอนุกรมเรขาคณิ ต 1 – 2 + 4 – 8 + 16 – 32 + …+ 1024

1 ; n = 1,2
EX 58. กาหนดให้ a n = a n −2 + 2 ; n = 3,5,7,…
2 a n −2 ; n = 4,6,8,…
101
แล้ว  a i มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
i =1
1. (50)(51) + 2 50 – 1
2. 51 2 + 2 50 – 1
3. (50)(51) + 2 49 – 1
4. 51 2 + 2 49 – 1

EX 59. พิจารณาข้อความ
ก. 3 + 3  4 + 3  4 2 + 3  4 3 + ... + 3  4 19 = 4 20 − 1
ข. 1 2 + 2  3 + 3  4 + ... + 19  20 = 2660
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. ก. ถูก และ ข. ถูก 2. ก. ถูก และ ข. ผิด 3. ก. ผิด และ ข. ถูก 4. ก. ผิด และ ข. ผิด

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา


138 ลาดับและอนุกรม วชิราวุธวิทยาลัย

EX 60. กาหนดให้ 2 , 6 , 18 , … เป็ นลาดับเรขาคณิ ต


ถ้าผลบวก n พจน์แรกของลาดับนี้เท่ากับ 6,560
แล้ว พจน์ที่ 2n มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 2(315 ) 2. 2(316 )
3. 2(317 ) 4. 2(318 )
5. 2(319 )

EX61. ลาดับเรขาคณิ ตชุดหนึ่ง มีอตั ราส่วนร่ วมเป็ นจานวนจริ งบวก ถ้าผลบวกของสองพจน์แรกเท่ากับ 20


และผลบวกของสี่ พจน์แรกเท่ากับ 65 แล้วผลบวกของ 6 พจน์แรกเท่ากับเท่าใด

a
EX 62. กาหนดให้ a n เป็ นลาดับที่สอดคล้องกับ n + 2 = 2 สาหรับทุกจานวนนับ n
an
10 2552
ถ้า  a n = 31 แล้ว  a n เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
n =1 n =1
1. 1275
2 −1 2. 21276 − 1 3. 2 2551 − 1 4. 2 2552 −1

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา


วชิราวุธวิทยาลัย ลาดับและอนุกรม 139
EX 63. กาหนดให้ a n เป็ นลาดับเรขาคณิ ตของจานวนเต็ม ซึ่งมีผลบวกของพจน์ที่ 2 และพจน์ที่ 4 เท่ากับ 60
S S
พจน์ที่ 3 เท่ากับ 18 และ S n แทนผลบวก a1 + a 2 + a3 + ... + a n แล้ว S 8 + S4 มีค่าเท่าใด
4 2

2100 เป็ นจานวนเต็มบวก


EX 64. ถ้า S เป็ นเซตของจานวนเต็มบวก m ที่ทาให้ 100
2 −m
แล้ว ผลบวกของสมาชิกของ S เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 99 (2 99 ) 2. 100 (2 99 ) + 1
3. 99 (2100 ) + 1 4. 100 (2100 )
5. 101 (2101 )

EX 65. กาหนดให้ a 1 , a 2 , a 3 ,..., a n ,... เป็ นลาดับเลขคณิ ตของจานวนจริ งบวก


ซึ่งมีผลบวก n พจน์แรกเท่ากับ 3n 2 + 2n เมื่อ n = 1, 2, 3, …
ถ้า 12 a 2 + 12 a 22 + 13 a 23 + ... + 10 1 a = m เมื่อ m เป็ นจานวนจริ ง
10
2 2 2 2
แล้ว จานวนเต็มบวกที่มากที่สุดที่นอ้ ยกว่าเท่ากับ m มีค่าเท่าใด

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา


140 ลาดับและอนุกรม วชิราวุธวิทยาลัย

ลิมิตอนันต์

Should know (1) ถ้าเป็ น Polynomial ให้ดูที่เลขชี้กาลัง แต่ถา้ เป็ น Expo ให้ดูที่ฐานนะครับ
(2) lim ( r ) n = 0 , – 1  r  1
n →
(3) ถ้าลิมิตหาค่าได้ เรี ยกว่า Convergent แต่ถา้ ลิมิตหาค่าไม่ได้หรื อมีหลายค่า เรี ยกว่า Divergent

EX 66. จงหาลิมิตของลาดับต่อไปนี้
5n 2 + 4 n − 2 5n 2 + 4 n − 3
1. a n = 2. a n =
2 n 3 − n 2 + 2 n −1 7n + 4
n + 3 n +1 n 2 +1 + n
3. a n = 4. a n =
5−4 n +3 2n 4 n3 + n − n
13 2
5. a n = (3 + 2 n) (515+ n) 6. a n = n3 − n2
(1 − 2 n) n2 + 2 n + 3
 2  cos 2 nπ
7. a n = sin  3 πn2 + 1  + 10 n +1
( ) 2 2 2
8. a n = 1 + 2 + 3 +3... + n
2

 2 n −1  ( 3 n + 1)
n +1 2 n −1 n n 7 3− 2 n
9. a n = 4 n +1− 5 2 − n 10. a n = 5 −13− 2 −
25 + 6 8 n +6
 n +1 3 n −1 
2 1 1 −n
11. a n =  1253 n + 2+ 2 n  12. a n = + (log 2 3 ) n
 35 − 7  27  −1 2


EX 67. ถ้า A = lim  2n k 
 มีค่าเป็ นจานวนจริ งบวก แล้ว ค่าของ A เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
n →  1 + 8 + 27 + ... + n 3 
1. 0 2. 2 3. 4 4. 8

EX 68. ถ้า a n เป็ นลาดับของจานวนจริ งบวก


ซึ่ง lim a n หาค่าได้ และ a n = 1 + 2n + a แล้ว lim a เท่ากับเท่าใด
n→ n n n→ n

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา


วชิราวุธวิทยาลัย ลาดับและอนุกรม 141
Should know ทาข้อสอบบทนี้ตอ้ งกล้าๆแทน กล้าๆคิดเลขออกมาครับ Patern แต่ละปี ไม่ค่อยจะเหมือนกันครับ
EX 69. กาหนดให้ a 1 , a 2 , a 3 ,..., a n ,... เป็ นลาดับเลขคณิ ตของจานวนจริ ง
โดยที่มีผลบวกสี่ พจน์แรกเท่ากับ 14 และ a 20 = a10 + 30
และ b1 ,b 2 ,b3 ,...,b n ,... เป็ นลาดับของจานวนจริ ง โดยที่ b1 = a 3 และ b n +1 = b n + 1
a
แล้ว lim b n เท่ากับเท่าใด
n → n

EX 70. กาหนดให้ a 1 , a 2 , a 3 ,..., a n ,... เป็ นลาดับของจานวนจริ ง โดยที่ a 1 = 1 และ a n = 2 a n −1 + 3


an
สาหรับ n = 2 , 3 , 4 , … ค่าของ lim เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
n → a n + 2 − a n +1

EX 71. ถ้า  a n  เป็ นลาดับของจานวนจริ ง โดยที่ a1 + a 2 + a 3 + ... + a n = n 2 a n สาหรับ n = 1 , 2 , 3 , …


ถ้า a1 = 100 แล้ว lim n 2 a n มีค่าเท่ากับเท่าใด
n→

EX 72. กาหนดให้ t n = 2 n เมื่อ n = 1, 2, 3, …และ a n = 5 t n + 5 − t n เมื่อ n = 1, 2, 3, …


a n+1
ค่าของ lim เท่ากับเท่าใด
n→ a 1 a 2 a 3 ... a n

EX 73. กาหนดให้  a n  เป็ นลาดับของจานวนจริ ง โดยที่ a 1 = 1 และ


a n = (1 − 1 )(1 − 1 )(1 − 1 )...(1 − 12 ) สาหรับ n = 2 , 3 , 4 , …
4 9 16 n
ค่าของ lim a n เท่ากับเท่าใด
n →

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา


142 ลาดับและอนุกรม วชิราวุธวิทยาลัย

EX 74. ถ้า a n เป็ นค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของข้อมูล 1 , 2 , 2 , 3 , 3 , 3 , … , n , n , n , … , n


a
แล้ว lim nn เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ มี n พจน์
n →
1. 0 2. 12 3. 13 4. 2
3

n พจน์

EX 75. กาหนดให้ a n = 1k 1 + ( 2 + 2 ) + ( 3 + 3 + 3 ) + ... + ( n + n + ... + n ) 


n
โดยที่ k เป็ นค่าคงตัวที่ทาให้ lim a n =  ,   0 แล้ว 6 (  + k ) มีค่าเท่าใด
n→

EX 76. จงหา lim a n เมื่อ a n = n2 +2n +5 − n2 −4n +7


n →

EX 77. กาหนดให้ a n = n 2 + 16 n + 3 − n 2 + 2 เมื่อ n = 1 , 2 , 3 , …


ค่าของ lim 3 a n เท่ากับเท่าใด
n →
1. 0 2. 1 3. 2 4. 8

EX 78. ค่าของ lim ( x ( x − 1 ) − x + 2 ) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


x →
1. 0 2. 1 3. 1 4. 3
2 2

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา


วชิราวุธวิทยาลัย ลาดับและอนุกรม 143

อนุกรมอนันต์
a
S = 1 −1 r , –1r1

27 3 n −1
EX 79. กาหนดให้ a = 15 + 9 + + … + 15   + …
5 5

b =  43
n =1
()
n

  n −1 n +1 
และ c =   3 − 2n − 1 
n =1  6 
จงหาค่าของ a , b , c

n n
EX 80. ผลบวกของอนุกรม 3 + 11 + 33 + ... + 3 +n2−1 − 2 + ... เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
4 16 4
1. 3 20 2. 3 29 3. 313 4. 403


EX 81. ถ้า x = 31 แล้ว  ( −1)n x 3n มีค่าเท่ากับเท่าใด
3 n =0

EX 82. ถ้า a1 ,a 2 ,a 3 ,...,a n เป็ นลาดับเรขาคณิ ต โดยที่ a1 = 96 และ a 4 = 12



แล้ว  a n เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
n =1
1. 120 2. 128
3. 144 4. 192
5. 288

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา


144 ลาดับและอนุกรม วชิราวุธวิทยาลัย

3 2
EX 83. จงหาค่าของ k ที่ทาให้ lim 4 kn + 2 n 3− kn = 13 + 19 + 27
1 + ...
n → ( 2 n − 1)

x 2x 3x
EX 84. ถ้าอนุกรม 1 + 2 x + 2 x 2 + 2 x 3 + ... มีผลบวกเท่ากับ 9
1+ 2 (1 + 2 ) (1 + 2 )
แล้วอนุกรม log 2 x − (log 2 x ) 2 + (log 2 x ) 3 − (log 2 x ) 4 + ... เป็ นจริ งตามข้อใดต่อไปนี้
1 log 2 3
1. มีผลบวกเท่ากับ 2. มีผลบวกเท่ากับ
1 + log 2 3 1 − log 2 3
log 2 3
3. มีผลบวกเท่ากับ 4. เป็ นอนุกรมไดเวอร์เจนต์
1 + log 2 3


EX 85. กาหนดให้ x  0 และอนุกรม  ( −1 ) n +1 (log x ) n พิจารณาข้อความต่อไปนี้
n =1
(ก) ถ้า x  10 แล้ว อนุกรมนี้ลู่เข้า
(ข) ถ้า x = 100 แล้ว อนุกรมนี้ลู่ออก
(ค) ถ้า x = 101 แล้ว ผลบวก 100 พจน์แรกมีค่าเท่ากับ – 100
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. ข้อ (ก) และ (ข) ถูก แต่ขอ้ (ค) ผิด 2. ข้อ (ก) และ (ค) ถูก แต่ขอ้ (ข) ผิด
3. ข้อ (ข) และ (ค) ถูก แต่ขอ้ (ก) ผิด 4. ข้อ (ก) , (ข) และ (ค) ถูกทั้งสามข้อ
5. ข้อ (ก) , (ข) และ (ค) ผิดทั้งสามข้อ

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา


วชิราวุธวิทยาลัย ลาดับและอนุกรม 145
EX 86. ลูกบอลลูกหนึ่งตกลงจากที่สูง 16 เมตร ในแนวดิ่ง ถ้าทุกครั้งที่ลูกบอลกระทบพื้นจะกระดอนขึ้นไปได้เป็ น
ระยะ 43 ของระยะทางที่มนั ตกลงมา เช่นนี้เรื่ อย ๆ ไป
จงหาระยะทางทั้งหมดที่ลูกบอลเคลื่อนที่ได้ในแนวดิ่งก่อนลูกบอลจะหยุดนิ่ง

EX 87.
จากรู ป สี่ เหลี่ยมจัตุรัสยาวด้านละ 3 หน่ วย ถ้าแบ่ งครึ่ งด้านทั้งสี่ ด้านต่อไป
เป็ นรู ปสี่ เหลี่ยมจัตุรัสใหม่ และแบ่ งครึ่ งด้านทั้งสี่ ของรู ปสี่ เหลี่ยมใหม่ต่อไป
เป็ นรู ปสี่ เหลี่ยมจัตุรัสใหม่อีก และทาอย่างนี้ไปเรื่ อยๆโดยไม่มีที่สิ้นสุด
จะได้ผลบวกของพื้นที่สี่เหลี่ยมจัตุรัสทั้งหมดที่เป็ นอนันต์รูป มีค่าเท่าใด

EX 88. กาหนดให้  a n  เป็ นลาดับของจานวนจริ ง


โดยที่ a 1 = 16 และ a n = a n−1 − 1n สาหรับ n = 2 , 3 , 4 , …
3
พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. lim a n = 0
n →
ข. อนุกรม a 1 + a 2 + a 3 + ... เป็ นอนุกรมลู่เข้า มีผลบวกเท่ากับ 0.75
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. ก. ถูก และ ข. ถูก 2. ก. ถูก และ ข. ผิด
3. ก. ผิด และ ข. ถูก 4. ก. ผิด และ ข. ผิด

2 3 n
EX 89. กาหนดให้ a n = 1 + 2 + 2 +22n + .... + 2 เมื่อ n = 1 , 2 , 3 , …
3
ค่าของ lim ( a 1 + a 2 + a 3 + ... + a n ) เท่ากับเท่าใด
n →
1. 2 2. 1
9 8
3. 9 4. 2
56 7
5. 25
56

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา


146 ลาดับและอนุกรม วชิราวุธวิทยาลัย

EX 90. กาหนดให้ a และ b เป็ นจานวนจริ งบวกที่สอดคล้องกับ


log a 2 + log a 4 2 + log a 8 2 + ... = 13 และ 4 log b − 2 b log 2 = 8
พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. a + b = 102
ข. a log b = 16
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. ก. ถูก และ ข. ถูก 2. ก. ถูก และ ข. ผิด
3. ก. ผิด และ ข. ถูก 4. ก. ผิด และ ข. ผิด

EX 91. กาหนดให้ a1 ,a 2 ,a 3 ,...,a n เป็ นลาดับเรขาคณิ ต ซึ่งมีผลรวม 5 พจน์แรกเท่ากับ 275


 
และ  a n = 243 แล้ว  n1−1 a n มีค่าเท่าใด
n =1 n =1 2
1. 0 2. 60.75
3. 121.5 4. 303.75
5. 607.5

EX 92. ให้ L เป็ นจานวนจริ งบวก และ a 1 , a 2 , a 3 ,..., a n ,... เป็ นลาดับเรขาคณิ ตของจานวนจริ ง
 3
โดยที่  a n = L และ  a n = L3 ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง
n =1 n =1
1. a 4 = 23 a1 2. a14 = 16
81 a 2
12
3. 3(a7 + a8 + a9 ) = 2(a 4 + a5 + a6 ) 4.  a n = 16
81 L
n =7
 8
5.  a n = 27 L
n =10

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา


วชิราวุธวิทยาลัย ลาดับและอนุกรม 147

อนุกรมเทเลสโคปิ ค (Telescopic)
เลข โดยบางครังแถวบนจะบวกทีละเท่ากันหรื อไม่เท่ากันก็ได้
โดยส่วนมากมักจะอยูใ่ นรู ป เรขา ้
วิธีการแก้ (1) ให้นา 1r คูณตลอดแล้วไปลบกับสมการโจทย์
(2) เอาสองสมการมาลบแบบเยื้อง แล้วดูวา่ เป็ นเรขาอนันต์หรื อไม่
(3) ถ้ายังไม่เป็ นเรขาอนันต์ให้นา 1r คูณอีกครั้ง

EX 93. จงหาผลบวกของอนุกรม 3 + 45 + 169 + 17


64 + ...

EX 94. จงหาผลบวกอนุกรมอนันต์ 14 log 2 + 18 log 4 + 161 log 8 + 32


1 log 16 + ...

EX 95. จงหาผลบวกอนุกรมอนันต์ 1 + 5 + 122 + 223 + 354 + ...


3 3 3 3

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา


148 ลาดับและอนุกรม วชิราวุธวิทยาลัย

EX 96. กาหนดให้ a 1 , a 2 , a 3 ,..., a n ,... เป็ นลาดับเรขาคณิ ตของจานวนจริ งบวก โดยมี r เป็ นอัตราส่วนร่ วม
a +a a +a a +a a +a
และ 1 3 + 3 5 + 5 7 + … + 2011 2013 = 2012
a2 +a4 a 4 +a6 a 6 +a8 a 2012 + a 2014
ค่าของ 1 + 5 r + 12 r 2 + 22 r 3 + ... เท่ากับเท่าใด

3n 
EX 97. กาหนดให้ a n = n 2 2n +1 เมื่อ n = 1 , 2 , 3 , … แล้ว อนุกรม  a n ตรงกับข้อใดต่อไปนี้
3 n =1
8
1. อนุกรมลู่เข้า มีผลบวกเท่ากับ 3 2. อนุกรมลู่เข้า มีผลบวกเท่ากับ 4
3. อนุกรมลู่เข้า มีผลบวกเท่ากับ 24 4. อนุกรมลู่เข้า มีผลบวกเท่ากับ 643
5. อนุกรมลู่ออก

25
EX 98. กาหนดให้ a 1 , a 2 , a 3 ,..., a n ,... เป็ นลาดับเลขคณิ ตของจานวนจริ ง โดยที่  a n = 1900
n =1
a 
และ  n n−1 = 8 ค่าของ a100 ตรงกับข้อใดต่อไปนี้
n =1 4
1. 298 2. 302
3. 400 4. 499
5. 598

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา


วชิราวุธวิทยาลัย ลาดับและอนุกรม 149
 2
EX 99. ถ้า a เป็ นจานวนจริ งที่สอดคล้องกับสมการ  n n −+1a = 21
2
n =1 3
แล้วค่าของ a เท่ากับเท่าใด

100
EX 100. ถ้า f(x) =  k  x 2 k −1 แล้ว 1 f ( 2 ) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
k =1 2
1. 1 + 99 299 2. 1 + 100 299
3. 2 + 99 299 4. 1 + 99 2100

5. 1 + 100 2100

n k 2 n ( 6 − 3a n )
EX 101. กาหนดให้ a n =  k เมื่อ n = 1, 2, 3, …ค่าของ lim เท่ากับเท่าใด
k =1 2 n → n 2 + 5 n + 1

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา


150 ลาดับและอนุกรม วชิราวุธวิทยาลัย

อนุกรมแยกเศษส่ วนย่ อย

EX 102. กาหนดอนุกรม 11 3 + 31 5 + 51 7 + 71 9 + ... จงหา


1. ผลบวก n พจน์แรก 2. ผลบวกอนุกรมอนันต์

EX 103. จงหาผลบวกของอนุกรมอนันต์ 1  2 1 3  4 + 2  31 4  5 + 3  4 1 5  6 + ...

EX 104. ผลบวกของอนุกรมอนันต์ 11 3 + 21 4 + 31 5 + 41 6 + ... มีค่าเท่ากับเท่าใด

EX 105. อนุกรมอนันต์ 2  13  4 + 3  42  5 + 4  35  6 + 5  46  7 + ... มีผลบวกเท่ากับเท่าใด

EX 106. ผลบวกของอนุกรมอนันต์ 1 +3 2 + 32 + 33 + 3 3 +3 4 3 + ... มีค่าเท่ากับเท่าใด


1 1 +2 1 +2 +3

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา


วชิราวุธวิทยาลัย ลาดับและอนุกรม 151

EX 107. อนุกรมอนันต์ 1 + 1 +1 2 + 1 + 21 + 3 + 1 + 2 +1 3 + 4 + ... มีผลบวกเท่ากับเท่าใด

EX 108. กาหนดให้ S k = 13 + 2 3 + 3 3 + ... + k 3 สาหรับ k = 1 , 2 , 3 , …


 
ค่าของ lim  1 + 1 + 1 + ... + 1  เท่ากับเท่าใด
n→ s1 s2 s3 sn 

2 1
EX 109. กาหนดให้ a n = 2 − ( − ) n สาหรับ n = 1 , 2 , 3 , …
4 n −1 3

แล้ว อนุกรม  a n ตรงกับข้อใดต่อไปนี้
n =1
1. อนุกรมลู่เข้า มีผลบวกเท่ากับ 45 2. อนุกรมลู่เข้า มีผลบวกเท่ากับ 43
3. อนุกรมลู่เข้า มีผลบวกเท่ากับ 65 4. อนุกรมลู่เข้า มีผลบวกเท่ากับ 16
5. อนุกรมลู่ออก

EX 110. กาหนดให้ a n = 1 + 3 + 5 + ...n + (2 n −1) และ b = 2 + 4 + 6n+ ... + 2 n



จะได้วา่ อนุกรม  ( a n − b n ) เป็ นอนุกรมดังข้อใดต่อไปนี้
n =1
1. มีผลบวกเท่ากับ − 12 2. มีผลบวกเท่ากับ 0
3. มีผลบวกเท่ากับ 1 4. มีผลบวกเท่ากับ 12
5. ลู่ออก

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา


152 ลาดับและอนุกรม วชิราวุธวิทยาลัย

คณิตศำสตร์ 1 (เทียบได้ กบั PAT)


1. ค่าขอบเขตบนน้อยสุดของเซต  − (1 + 2 +2... + n )  n เป็ นจานวนเต็มบวก  ใน R เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
n
(2537)
1. – 1
2. − 12
3. − 14
4. 0

2. ค่าของ x ทั้งหมดที่สอดคล้องกับสมการ  log 3 x − log x + log x − log x + ...   1


32 34 38
คือข้อใดต่อไปนี้ (2537)
1. 0  x  3
2. x  3
3. 0  x  3 3
4. x  3 3

3. สัมประสิ ทธิ์ของ x 54 ในอนุกรม 1 + (1 + x 2 ) + (1 + x 2 ) 2 + … + (1 + x 2 ) 50  คือข้อใดต่อไปนี้ (2537)


 50 
1.  
 27 
 50 
2.  
 28 
 51 
3.  
 27 
 51 
4.  
 28 

 1 n 
4. สาหรับจานวนเต็มบวก n ใดๆ ให้ M =  n1  และ a n = det ( M n )
− n + 1
 n 
แล้ว lim a n เป็ นจริ งตามข้อใดต่อไปนี้ (2538)
n →
1. มีค่าเป็ น 0
2. มีค่าเป็ น 1
3. มีค่าเป็ น 2
4. หาค่าไม่ได้
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา
วชิราวุธวิทยาลัย ลาดับและอนุกรม 153
5. ให้ a n เป็ นพจน์ที่ n ของลาดับเรขาคณิ ต โดยมี r เป็ นอัตราส่วนร่ วม
a1 a2 a3 an
ถ้า + +
a1 + a 2 a 2 + a 3 a 3 + a 4 + ... + a n + a n +1
= 2n แล้ว r คือข้อใดต่อไปนี้ (2538)

1. − 12
2. 12
3. – 2
4. 2

6. ให้ m เป็ นจานวนเต็มบวกที่นอ้ ยที่สุดที่ทาให้พจน์ที่ m ของลาดับเลขคณิ ต 2, 5, 8,… มีค่ามากกว่า 1,000


จานวนในข้อใดต่อไปนี้เป็ นตัวหารของ m (2539)
1. 67
2. 111
3. 166
4. 167

2 x 2 2x 2 3x
7. ถ้าอนุกรม 1 + + + + ... มีผลบวกเท่ากับ 9
1 + 2 x (1 + 2 x ) 2 (1 + 2 x ) 3
แล้วอนุกรม log 2 x − (log 2 x ) 2 + (log 2 x ) 3 − (log 2 x ) 4 + ... เป็ นจริ งตามข้อใดต่อไปนี้ (2539)
1. มีผลบวกเท่ากับ 1
1 + log 2 3
log 2 3
2. มีผลบวกเท่ากับ
1 − log 2 3
log 2 3
3. มีผลบวกเท่ากับ
1 + log 2 3
4. เป็ นอนุกรมไดเวอร์เจนต์

4 1
8. สาหรับแต่ละจานวนเต็ม n  4 กาหนดให้ a n = 3 3 n +
1 + 2 + 3 3 + ... + n 3
ลาดับ a n เป็ นจริ งตามข้อใดต่อไปนี้ (2539)
1. มีลิมิตเป็ น 1
2. มีลิมิตเป็ น 2
3. มีลิมิตเป็ น 4
4. เป็ นลาดับไดเวอร์เจนต์

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา


154 ลาดับและอนุกรม วชิราวุธวิทยาลัย

1 ; n = 1,2
9. กาหนดให้ a n = a n −2 + 2 ; n = 3,5,7,…
2 a n−2 ; n = 4,6,8,…
101
แล้ว  a i มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (2539)
i =1
1. (50)(51) + 2 50 – 1
2. ( 51) 2 + 2 50 – 1
3. (50)(51) + 2 49 – 1
4. ( 51) 2 + 2 49 – 1

10
10. สาหรับแต่ละจานวนเต็มบวก n ให้ f n ( x ) = nx 2 − n 2 x และ g(x) =  f n ( x )
n =1
ดังนั้น g มีค่าต่าสุดที่ x มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (2539)
1. 2.5
2. 2.7
3. 3.2
4. 3.5

11. พจน์แรกที่เป็ นจานวนเต็มลบของลาดับเลขคณิ ต 200 , 182 , 164 , 146 , … มีค่าต่างจากพจน์ที่ 10 เท่ากับข้อใด


ต่อไปนี้ (2540)
1. 54
2. 38
3. 22
4. 20

12. ให้ a + 3 , a , a – 2 เป็ น 3 พจน์เรี ยงกันของลาดับเรขาคณิ ตที่มีอตั ราส่วนเป็ น r



แล้ว  ar n −1 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (2540)
n =1
1. 8
2. 9
3. 16
4. 18

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา


วชิราวุธวิทยาลัย ลาดับและอนุกรม 155
13. จานวนเต็มตั้งแต่ 1 ถึง 500 และหารด้วย 3 หรื อ 5 ลงตัว มีจานวนเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (2540)
1. 167
2. 200
3. 233
4. 266

2 n n
14. ถ้า a n = n +2 n + 1 และ b n = 2 n − 5
3n +1 5 +9
แล้ว ลิมิตของลาดับที่มีพจน์ที่ n เป็ น a n − b n + a n b n มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (2541)
1. – 1
2. − 13
3. 0
4. 1

15. ถ้า a1 , a 2 , … เป็ นลาดับคอนเวอร์เจนต์และมีลิมิตเป็ น 1



แล้วอนุกรม a 1 +  ( a n +1 − a n ) เป็ นจริ งตามข้อใดต่อไปนี้ (2541)
n =1
1. มีผลบวกเป็ น a 1
2. มีผลบวกเป็ น 0
3. มีผลบวกเป็ น 1
4. เป็ นอนุกรมไดเวอร์เจนต์

16. ให้ x , y , z , w เป็ นพจน์ 4 พจน์เรี ยงกันในลาดับเรขาคณิ ต โดยที่ x เป็ นพจน์แรก


ถ้า y + z = 6 และ z + w = – 12 จงหาค่าสัมบูรณ์ของพจน์ที่ 5 ของลาดับนี้ (2541)

17. สาหรับ x  (– 1 , 1) ให้ S(x) เป็ นผลบวกของอนุกรม 1 − x + x 2 − x 3 + ...


จงหาค่าขอบเขตบนของเซต A เมื่อ A =  1  x  ( – 1 , 1) (2541)
s(x )

18. จานวนสมาชิกในเซต 100 , 101 , 102 , ……, 600 ซึ่งหารด้วย 8 หรื อ 12 ลงตัวเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
(ต.ค. 2541)
1. 84
2. 92
3. 100
4. 125

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา


156 ลาดับและอนุกรม วชิราวุธวิทยาลัย

19. ให้ S = ( − π2 , π2 ) และ F(x) = sin 2 x + sin 4 x + sin 6 x + ... , x  S


ถ้า a เป็ นสมาชิกของเซต S ที่นอ้ ยที่สุด ที่ทาให้ F(a)  1
แล้ว F(a) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (ต.ค. 2541)
1. 0
2. 14
3. 12
4. 1

30
20. กาหนดให้ f(x) = x – 1 แล้ว  ( fof )( n 2 ) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (มี.ค. 2542)
n =10
1. 9028
2. 9030
3. 9128
4. 9170

21. ถ้า 1 + cos 2 θ + cos 4 θ + ... = a โดยที่ a เป็ นจานวนจริ ง


แล้ว cos ( – 2) sin ( 2 − 2  ) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (มี.ค. 2542)
 a − 2 2
1. −  
 a 
 a − 2 2
2.  
 a 
 a 2
3. −  
a+2
a 2
4.  
a+2

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา


วชิราวุธวิทยาลัย ลาดับและอนุกรม 157
1 + (n − 2) a
22. ให้ a เป็ นจานวนจริ ง กาหนดพจน์ที่ n ของอนุกรม คือ
1−a
1 + 38 a
ถ้าพจน์ที่ m คือ แล้วผลบวก m พจน์แรกของอนุกรมนี้มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (ต.ค. 2542)
1−a
40 + 740 a
1.
1−a
40 + 790 a
2.
1−a
20 + 720 a
3.
1−a
20 + 760 a
4.
1−a

23. ถ้าลาดับเลขคณิ ต a1 , a 2 , a 3 , … มีพจน์ที่ 10 และพจน์ที่ 15 เป็ น – 19 และ – 34 ตามลาดับ


20
แล้ว  ( a i + 2 i ) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (มี.ค. 2543)
i=1
1. – 30
2. – 15
3. 10
4. 20

24. ให้ 5 , x , 20 , … เป็ นลาดับเลขคณิ ตที่มีผลบวกของ 12 พจน์แรกเป็ น a


และ 5 , y , 20 , … เป็ นลาดับเรขาคณิ ตที่มีพจน์ที่ 6 เป็ น b โดยที่ y  0
แล้ว a + b มีค่าเป็ นเท่าใด (ต.ค. 2543)
1. 205
2. 395
3. 435
4. 845

25. กาหนดให้ a , b , c เป็ น 3 พจน์เรี ยงติดกันในลาดับเรขาคณิ ต และมีผลคูณเป็ น 27


ถ้า a , b + 3 , c + 2 เป็ น 3 พจน์เรี ยงกันในลาดับเลขคณิ ตแล้ว a + b + c มีค่าเป็ นเท่าใด (มี.ค. 2544)

26. กาหนดให้ n เป็ นจานวนเต็มบวกที่ทาให้ผลบวก n พจน์แรกของอนุกรมเลขคณิ ต


7 + 15 + 23 + … มีค่าเท่ากับ 217
n n +1 2n
แล้ว 2 + 2 8+ ... + 2 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (มี.ค. 2544)
2
1. 127
2. 128
3. 127.5
4. 128.5

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา


158 ลาดับและอนุกรม วชิราวุธวิทยาลัย

3 cn 3 − n 2 + cn  ( −2 ) n −1
27. ถ้า c เป็ นจานวนจริ ง ซึ่ง lim =  n − 2 แล้ว c มีค่าเท่าใด (ต.ค. 2544)
n → ( 2 n + 1 ) 3 n =1 3

n 1 k −1  1 k −1
28. กาหนดให้ S n =  10  และ S =  10 
k =1 k =1
จานวนเต็มบวก n ที่ทาให้ S− S n = 19 (10 − 5 ) เท่ากับเท่าใด (มี.ค. 2545)

29. กาหนดให้ log x , log (x + 2) , log (x + 16) เป็ นสามพจน์แรกที่เรี ยงกันของลาดับเลขคณิ ต


ถ้า a 10 และ S10 เป็ นผลบวก 10 พจน์แรกของลาดับนี้แล้ว ข้อใดต่อไปนี้ถูก (ต.ค. 2545)
1. a 10 = 9log 5 – 8log 3 , S10 = 5(9log 5 – 7log 3)
2. a 10 = 9log 5 – 8log 3 , S10 = 5(9log 7 – 2log 3)
3. a 10 = 9log 7 – log 3 , S10 = 5(9log 5 – 7log 3)
4. a 10 = 9log 7 – log 3 , S10 = 5(9log 7 – 2log 3)

30. ถ้า log 9 3 , log 9 ( 3 x − 2 ) , log 9 (3x + 16) เป็ นสามพจน์แรกที่เรี ยงกันในลาดับเลขคณิ ต
และ S เป็ นผลบวกของสี่ พจน์แรกของอนุกรมนี้ แล้ว 3 S มีค่าเท่ากับเท่าใด (มี.ค. 2546)

31. ให้ x เป็ นจานวนจริ ง ซึ่ง x   1


ถ้าอนุกรม 1 + (1 + x ) 12 + (1 + x + x 2 )( 12 ) 2 + (1 + x + x 2 + x 3 )( 12 ) 3 + ... มีผลบวกเท่ากับ 167
แล้ว x มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (ต.ค. 2546)
1. − 13
2. − 14
3. 13
4. 14

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา


วชิราวุธวิทยาลัย ลาดับและอนุกรม 159
32. กาหนด พจน์ที่ n ของลาดับสองลาดับ ดังนี้
n (1 + 2 + 3 + ... + n ) 3n + 2 − 3n + 1
an = 2 2 2 2
และ b n =
3 (1 + 2 + 3 + ... + n ) n + 2 − n +1
lim ( a n + b n ) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (มี.ค. 2547)
n→
1. 1+ 1
3
2. 1+ 3
3. 12 + 1
3
1
4. 2 + 3

1
33. กาหนดให้ r = 1 + sin π8 ผลบวกของอนุกรมในข้อใดต่อไปนี้เท่ากับ 1 + r (ต.ค. 2547)

n
1. r
n =0

2.  ( −1 ) n r n
n =0
 1
3.  n +1
n =0 r
 ( −1 ) n
4.  n+1
n =0 r

34. นายแดงนาเงินไปฝากธนาคารออมสิ นโดยฝากเดือนแรก 100 บาท เดือนต่อไปฝากเพิ่มเดือนละ 5 บาททุกเดือน


เมื่อครบ 2 ปี นายแดงนาเงินไปฝากทั้งหมดเท่าใด (มี.ค. 2548)

35. ถ้า a n เป็ นค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของข้อมูล 1 , 2 , 2 , 3 , 3 , 3 , … , n , n , n , … , n


a
แล้ว lim nn เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (มี.ค. 2548) มี n พจน์
n →
1. 0
2. 12
3. 13
4. 23

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา


160 ลาดับและอนุกรม วชิราวุธวิทยาลัย

O NET
36. ลาดับเรขาคณิ ตในข้อใดต่อไปนี้ มีอตั ราส่วนร่ วมอยูใ่ นช่วง (0.3 , 0.5) (O–NET 2549)
1. 3 , 45 , 4825 ,… 2. 2 , 43 , 89 , …
3. 4 , 3 , 49 , … 4. 5 , 4 , 165 ,…

37. ถ้าผลบวก n พจน์แรกของอนุกรมหนึ่ง คือ S n = 3 n 2 + 2


แล้ว พจน์ที่ 10 ของอนุกรมนี้ มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (O–NET 2549)
1. 57 2. 82
3. 111 4. 302

38. ป้ าจุ๊เริ่ มขายขนมครกในวันที่ 3 มกราคม ในวันแรกขายได้กาไร 100 บาท


และในวันต่อๆไปจะขายได้กาไรเพิ่มขึ้นจากวันก่อนหน้าวันละ 10 บาท ทุกวัน
ข้อใดต่อไปนี้เป็ นวันที่ของเดือนมกราคมที่ป้าจุ๊ขายได้กาไรเฉพาะในวันนั้น 340 บาท (O–NET 49)
1. วันที่ 24 2. วันที่ 25
3. วันที่ 26 4. วันที่ 27

50
39.  (1 + ( −1 ) k ) k มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (O–NET 2549)
k =1
1. 1300 2. 1350
3. 1400 4. 1450

40. ถ้าผลบวกและผลคูณของสามพจน์แรกของลาดับเลขคณิ ตที่มี d เป็ นผลต่างร่ วมเท่ากับ 15 และ 80 ตามลาดับ


แล้ว d 2 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (O–NET 2549)
1. 1 2. 4
3. 9 4. 16

41. ถ้า a เป็ นจานวนจริ งลบ และ a 20 + 2 a − 3 = 0 และ 1 + a + a 2 + ... + a 19 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


(O–NET 2549)
1. – 2 2. – 3
3. – 4 4. – 4

42. ถ้า a 1 , a 2 , a 3 ,… เป็ นลาดับเลขคณิ ต ซึ่ง a 30 – a 10 = 30 แล้ว ผลต่างร่ วมของลาดับเลขคณิ ตนี้


มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (O–NET 2550)
1. 1.25 2. 1.5
3. 1.75 4. 2.0
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา
วชิราวุธวิทยาลัย ลาดับและอนุกรม 161
43. ลาดับในข้อใดต่อไปนี้เป็ นลาดับเรขาคณิ ต (O–NET 2550)
1. a n = 2 n  3 2 n 2. a n = 2 n + 4 n
2
3. a n = 3 n 4. a n = ( 2 n ) n

1 , 1 , 1 , … เท่ากับข้อใดต่อไปนี (O–NET 2550)


44. พจน์ที่ 16 ของลาดับเรขาคณิ ต 625 ้
125 5 125
1. 25 5 2. 125
3. 125 5 4. 625

45. กาหนดให้ S = 101 , 102 , 103 ,…, 999


ถ้า a เท่ากับผลบวกของจานวนคี่ท้ งั หมดในเซต S
และ b เท่ากับผลบวกของจานวนคู่ท้ งั หมดในเซต S
แล้ว b – a มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (O–NET 2550)
1. – 550 2. – 500
3. – 450 4. 450

1 , − 1 , − 1 , … เท่ากับข้อใดต่อไปนี (O–NET 2551)


46. พจน์ที่ 31 ของลาดับเลขคณิ ต − 20 30 60 ้
1. 125 2. 1330
3. 20 9 4. 157

47. ผลบวกของอนุกรมเรขาคณิ ต 1 – 2 + 4 – 8 + ... + 256 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (O–NET 2551)


1. – 171 2. – 85
3. 85 4. 171

48. กาหนด S เป็ นผลบวก n พจน์แรกของอนุกรมเรขาคณิ ต ซึ่งมีอตั ราส่วนร่ วมเท่ากับ 2


ถ้า S10 − S 8 = 32 แล้ว พจน์ที่ 9 ของอนุกรมนี้เท่ากับเท่าใด (O–NET 2551)
1. 163 2. 203
3. 263 4. 323

49. ลาดับเลขคณิ ตในข้อใดต่อไปนี้มีบางพจน์เท่ากับ 40 (O–NET 2552)


1. a n = 1 – 2n 2. a n = 1 + 2n
3. a n = 2 – 2n 4. a n = 2 + 2n

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา


162 ลาดับและอนุกรม วชิราวุธวิทยาลัย

50. กาหนดให้ a 1 , a 2 , a 3 , … เป็ นลาดับเรขาคณิ ต ถ้า a 1 = 2 และ a 3 = 200


ถ้า a 2 คือค่าในข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้ แล้ว ข้อดังกล่าวคือข้อใด (O–NET 2552)
1. – 20 2. – 50
3. 60 4. 100

51. กาหนดให้ 23 , 1 , 12 , . . . เป็ นลาดับเลขคณิ ต ผลบวกของพจน์ที่ 40 และพจน์ที่ 42 เท่ากับข้อใด (O–NET 2553)


1. – 18 2. – 19
3. – 37 4. – 38

52. ใน 40 พจน์แรกของลาดับ a n = 3 + (−1 ) n มีกี่พจน์ ที่มีค่าเท่ากับพจน์ที่ 40 (O–NET 2553)


1. 10 2. 20
3. 30 4. 40

53. กาหนดให้ a1 , a 2 , a 3 , … เป็ นลาดับเรขาคณิ ต ถ้า a 2 = 8 และ a 5 = – 64


แล้ว ผลบวกของ 10 พจน์แรกของลาดับนี้เท่ากับข้อใด (O–NET 2553)
1. 2048 2. 1512
3. 1364 4. 1024

54. ในสวนป่ าแห่งหนึ่ง เจ้าของปลูกต้นยูคาลิปตัสเป็ นแถวดังนี้


แถวแรก 12 ต้น แถวที่สอง 14 ต้น แถวที่สาม 16 ต้น โดยปลูกเพิ่มเช่นนี้ตามลาดับเลขคณิ ต
ถ้าเจ้าของปลูกต้นยูคาลิปตัสไว้ท้ งั หมด 15 แถว จะมีตน้ ยูคาลิปตัสในสวนป่ านี้ท้ งั หมดกี่ตน้ (O–NET 2553)

55. ลาดับเรขาคณิ ตลาดับหนึ่ง มีผลบวกและผลคูณของ 3 พจน์แรกเป็ น 13 และ 27 ตามลาดับ


ถ้า r เป็ นอัตราส่วนร่ วมของลาดับนี้ แล้ว r + 1r มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (O–NET 2554)
1. 103 2. 73
3. 43 4. 13

56. กาหนดให้ s n เป็ นผลบวก n พจน์แรกของลาดับเลขคณิ ต a 1 , a 2 , a 3 , …


ถ้า s 5 = 90 และ s10 = 5 แล้ว a 11 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (O–NET 2554)
1. – 39 2. – 38
3. – 37 4. – 36

57. ลาดับเลขคณิ ต – 43 , – 34 , – 25 , … มีพจน์ที่มีค่าน้อยกว่า 300 อยูก่ ี่พจน์ (O–NET 2554)

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา


วชิราวุธวิทยาลัย ลาดับและอนุกรม 163
58. ผลบวกของอนุกรมเรขาคณิ ต 1 + (– 2) + 4 + (– 8) + ... + 256 เท่ากับเท่าใด (O–NET 2554)

59. ถ้าพจน์ที่ 5 และพจน์ที่ 10 ของลาดับเลขคณิ ตเป็ น 14 และ 29 ตามลาดับ แล้วพจน์ที่ 99 เท่ากับข้อใด


(O–NET 2556)
1. 276 2. 287
3. 296 4. 297
5. 299

60. ลาดับ – 24 , – 15 , – 6 , 3 , 12 , 21 , … , 1776 มีกี่พจน์ (O–NET 2556)


1. 199 2. 200
3. 201 4. 202
5. 203

61. ถ้า a 1 = 2 , a 2 = 1 และ a n + 2 = a n +1 + a n เมื่อ n = 1 , 2 , 3 , … แล้ว a 11 เท่ากับข้อใด (O–NET 2556)


1. 76 2. 113
3. 123 4. 199
5. 384

62. ถ้าพจน์ที่ n ของอนุกรมคือ 3n – 10 แล้ว ผลบวก 23 พจน์แรกของอนุกรมนี้เท่ากับข้อใด (O–NET 2556)


1. 589 2. 598
3. 624 4. 698
5. 759

63. ถ้าอนุกรมเรขาคณิ ตมีผลบวก 10 พจน์แรกเป็ น 3069 และมีอตั ราส่วนร่ วมเป็ น 2


แล้ว พจน์ที่ 3 ของอนุกรมนี้เท่ากับข้อใด (O–NET 2556)
1. 2 2. 6
3. 8 4. 12
5. 24

a ( −1) n+1 n
64. ผลบวก 3 พจน์แรกของลาดับ n = เท่ากับข้อใด (O–NET 2556)
n +1
1. − 127 2. − 125
3. 7 4. 11
12 12
5. 13
12

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา


164 ลาดับและอนุกรม วชิราวุธวิทยาลัย

65. เกษตรกรคนหนึ่งซื้อรถกระบะโดยผ่อนชาระเป็ นเวลา 4 ปี ทางผูข้ ายกาหนดให้ผอ่ นชาระเดือนแรก 5,500 บาท


และเดือนถัดๆไป ให้ชาระเพิ่มขึ้นทุกเดือนๆละ 400 บาท จนครบกาหนด
ถ้า x คือจานวนเงินที่เขาต้องชาระในเดือนสุดท้าย
และ y คือจานวนเงินที่เขาชาระไปได้ 2 ปี แรก (หน่วย : บาท) แล้ว ข้อใดถูกต้อง (O–NET 2556)
1. x = 24,300 และ y = 242,300 2. x = 24,300 และ y = 242,400
3. x = 24,400 และ y = 242,400 4. x = 24,400 และ y = 243,900
5. x = 24,900 และ y = 243,900

66. ถ้าพจน์ที่ 4 และพจน์ที่ 7 ของลาดับเรขาคณิ ตเป็ น 54 และ 1458 ตามลาดับ แล้ว พจน์แรกเท่ากับเท่าใด
(O–NET 2556)

n
67. ถ้า a n = 2 − ( −1) n แล้ว ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (O-NET 2557)
2n +3
1. a 1 = 1 2. a 2 = 47
5
3. a 3 = − 19 4. a 4 = 112
5. a 5 = 137

68. ถ้า a1 , a 2 , a 3 , … เป็ นลาดับเลขคณิ ต และผลต่างร่ วมไม่เป็ นศูนย์ แล้ว ข้อใดผิด (O-NET 2557)
1. a 10 − a 11 = a 21 − a 20
2. a 9 + a 14 = a 11 + a 12
a −a
3. 15 12 = 1
a7 −a4
4. ถ้า b n = a n – 5 ทุกๆ n แล้ว b 1 , b 2 , b 3 , … เป็ นลาดับเลขคณิ ต
5. ถ้า c n = 5 n a n ทุกๆ n แล้ว c 1 , c 2 , c 3 , … เป็ นลาดับเรขาคณิ ต

69. กาหนดให้ x เป็ นจานวนจริ ง ถ้า 5 – 7x , 3x + 28 , 5x + 27 , … , 2 x 3 − 3 x + 1 เป็ นลาดับเลขคณิ ต


แล้ว ลาดับนี้มีท้ งั หมดกี่พจน์ (O-NET 2557)
1. 10 2. 11
3. 12 4. 13
5. 14

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา


วชิราวุธวิทยาลัย ลาดับและอนุกรม 165
70. ซุงกองหนึ่งวางเรี ยงซ้อนกันเป็ นชั้นๆ โดยชั้นบนมีจานวนน้อยกว่าชั้นล่างที่อยูต่ ิดกัน 3 ต้นเสมอ
ถ้าชั้นบนสุดมี 49 ต้น และชั้นล่างสุดมี 211 ต้น แล้ว พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. ซุงกองนี้มีท้ งั หมด 56 ชั้น
ข. ชั้นที่ 8 (นับจากบนลงล่าง) มีซุง 70 ต้น
ค. ซุงกองนี้มีท้ งั หมด 7150 ต้น
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (O-NET 2557)
1. ก , ข , ค ถูกทั้ง 3 ข้อ 2. ข ถูก แต่ ก และ ค ผิด
3. ค ถูก แต่ ก และ ข ผิด 4. ก และ ค ถูก แต่ ข ผิด
5. ข และ ค ถูก แต่ ก ผิด

71. ถ้าพจน์ที่ 5 และพจน์ที่ 8 ของลาดับเรขาคณิ ตเป็ น 12 และ − 161 ตามลาดับ แล้วพจน์ที่ 4 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
(O-NET 2557)
1. – 1 2. − 12
3. − 14 4. 1
5. 2

72. พจน์ที่ 10 ของลาดับเรขาคณิต 3 , 6 , 2 3 , … ตรงกับข้อใด (O-NET 2557)


1. 8 6 2. 16 3
3. 16 6 4. 32 3
5. 32 6

73. ถ้าอนุกรมเรขาคณิ ตมี a 1 = 12 และ a 10 = 256 แล้ว ผลบวก 10 พจน์แรกของอนุกรมนี้เท่ากับข้อใด


(O–NET 2557)
1. 511.0 2. 511.5
3. 512.0 4. 512.5
5. 513.0

74. ถ้าอนุกรมเลขคณิ ตมีพจน์แรกเป็ น – 8 และมีผลบวก 50 พจน์แรก เป็ น 3275 แล้ว ผลต่างร่ วมมีค่าเท่ากับเท่าใด
(O–NET 2557)

2n −1
75. ถ้า a n = 3 n − 2 แล้ว ข้อใดต่อไปนี้ผิด (O-NET 2558)
3
1. a 1 = 1 2. a 2 = 4
7
3. a 3 = 1 4. a 4 = 10
31
5. a 5 = 13

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา


166 ลาดับและอนุกรม วชิราวุธวิทยาลัย

76. ถ้า a1 , a 2 , a 3 , … เป็ นลาดับเรขาคณิ ต แล้ว ข้อใดผิด (O-NET 2558)


1. 5 a1 , 5 a 2 , 5 a 3 , … เป็ นลาดับเรขาคณิต
2. a12 , a 22 , a 32 , … เป็ นลาดับเรขาคณิ ต
3. a1 , a 22 , a 33 , … เป็ นลาดับเรขาคณิ ต
4. a1a 2 , a 2a 3 , a 3a 4 , … เป็ นลาดับเรขาคณิ ต
a a a
5. a 1 , a2 , a 3 , … เป็ นลาดับเรขาคณิ ต
2 3 4

77. ถ้า a n เป็ นพจน์ทวั่ ไปของลาดับ ซึ่งมี a5 = 9 และ a n +1 = a n – 2 แล้ว a11 เท่ากับเท่าใด (O-NET 2558)
1. – 5 2. – 3
3. – 1 4. 1
5. 3

78. ถ้าอนุกรมเลขคณิ ตมีผลบวก 9 พจน์แรกเป็ น 261 และพจน์ที่ 9 ของอนุกรมนี้เท่ากับ 61


แล้ว ผลบวก 4 พจน์แรกของอนุกรมนี้มีค่าเท่าใด (O-NET 2558)
1. 21 2. 27
3. 32 4. 36
5. 39

79. เด็กชายคนหนึ่ งต้องการออมเงินเพื่อซื้ อรถจักรยาน 1,700 บาท โดยเก็บเงินเดือนละ 100 บาท และพ่อสัญญาว่าจะ
สมทบให้ทุกเดือน เริ่ มเดือนแรกให้ 10 บาท เดือนที่สองให้ 20 บาท เดือนที่สามให้ 30 บาท และสมทบเงินให้มากขึ้น
ทุกเดือนๆละ 10 บาท เขาต้องออมเงินอย่างน้อยกี่เดือนจึงจะมีเงินมากพอซื้อจักรยาน (O-NET 2558)
1. 10 2. 11
3. 12 4. 13
5. 14

1
80. ถ้า a1 , a 2 , a 3 , … เป็ นลาดับเรขาคณิ ต ซึ่งมี a 1 = 2 และ a 4 = 4
1 1 1 1
แล้ว a + a + a + ... + a เท่ากับเท่าใด (O-NET 2558)
1 2 3 10

4 8 16 32
81. พจน์ที่ 8 ของลาดับ 5 , 9 , 13 , 17 , 64
21 , … เท่ากับเท่าใด (O-NET 2559)
128 134
1. 29 2. 31
234 416
3. 31 4. 33
512
5. 33

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา


วชิราวุธวิทยาลัย ลาดับและอนุกรม 167
82. ให้ a1 , a 2 , a 3 , … เป็ นลาดับเลขคณิ ต ถ้า a 4 = 5 a 1 และ a 10 = 39 แล้ว a1 เท่ากับเท่าใด (O-NET 2559)
1. 1 2. 2
3. 3 4. 4
5. 5

83. กาหนดให้ a , ar , ar 2 , … , ar n −1 เป็ นลาดับเรขาคณิ ตที่มี n พจน์


ซึ่งผลรวมของ 3 พจน์สุดท้ายเป็ น 4 เท่าผลรวมของ 3 พจน์แรก ถ้าพจน์ที่ 3 คือ 22 แล้วพจน์สุดท้ายมีค่าเท่าใด
(O-NET 2559)
1. 56 2. 72
3. 88 4. 96
5. 102

84. บริ ษทั แห่ งหนึ่ งผลิตเครื่ องจักรในราคา A บาท คิดค่าเสื่ อมราคาคงที่ 15% ต่อปี กล่าวคือราคาเครื่ องจักรจะลดลง
15% ของมูลค่าคงเหลือในแต่ละปี ทุกปี ถ้าใช้เครื่ องจักรผ่านไป t ปี แล้ว มูลค่าคงเหลือของเครื่ องจักรนี้เท่ากับเท่าใด
(O-NET 2559)
1. ( 0.15 ) t−1 A บาท 2. ( 0.15 ) t A บาท
3. ( 0.85 ) t−1 A บาท 4. ( 0.85 ) t A บาท
5. ( 0.85 ) t+1 A บาท

85. กาหนดให้ •
• • •
• • • • • •
• • • • • • • • • •
รู ปที่ 1 รู ปที่ 2 รู ปที่ 3 รู ปที่ 4

แล้วในรู ปที่ 10 มีจานวนจุดทั้งหมดกี่จุด (O-NET 2559)


1. 55 2. 60
3. 66 4. 78
5. 88

1
86. สาหรับ n = 2 , 3 , 4 , … กาหนดให้ a n = ( 2 ) n − 2 ( 3 ) n
ถ้า A n = a 2 + a 3 + … + a n แล้ว 729 A 6 เท่ากับเท่าใด (O-NET 2559)
1. 190 2. 195
3. 200 4. 211
5. 243

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา


168 ลาดับและอนุกรม วชิราวุธวิทยาลัย

87. กมลศักดิ์ขยายพันธ์กหุ ลาบโดยการตอนกิ่งเพื่อจาหน่าย ในวันแรกเขาตอนกิ่งได้ 20 กิ่ง


ในวันถัดๆไปเขาทาได้เร็ วขึ้น โดยเขาสามารถตอนกิ่งได้มากกว่าวันก่อนหน้านั้น 5 กิ่ง
เมื่อครบ 7 วันแล้วเขาตอนกิ่งกุหลาบได้ท้ งั หมดกี่กิ่ง (O-NET 2559)
1. 235 2. 240
3. 245 4. 250
5. 255

88. กาหนดให้ a n เป็ นพจน์ที่ n ของลาดับ ซึ่งมี a n +1 = a n + n เมื่อ n = 1 , 2 , 3 , …


ถ้า a 4 = 26 แล้ว a 1 + a 2 + a 3 เท่ากับเท่าใด (O-NET 2559)

89. กาหนดลาดับจากัด 100 พจน์เป็ นดังนี้ 1 , 2 , 4 , 7 , 11 , 16 , … , a50 , … , a100


แล้วพจน์ที่ 50 ( a50 ) มีค่าเท่าใด (O-NET 2560)
1. 1176 2. 1226
3. 1276 4. 1300
5. 1301

90. นายยอดตั้งใจปั่ นจักรยานทุกวัน เป็ นเวลา 49 วัน โดยให้ระยะทางรวมต่อสัปดาห์เพิ่มเป็ นสองเท่าของสัปดาห์ก่อน


หน้าเสมอ ถ้าสัปดาห์แรกเขาปั่ นได้ระยะทาง 20 กิโลเมตร แล้วเขาจะปั่ นได้ระยะทางกี่กิโลเมตรในสัปดาห์สุดท้าย
(O-NET 2560)
1. 280 กิโลเมตร 2. 640 กิโลเมตร
3. 980 กิโลเมตร 4. 1280 กิโลเมตร
5. 2560 กิโลเมตร

91. ถ้า S n = n 2 − 4n เป็ นผลบวกของ n พจน์แรกของอนุกรมเลขคณิ ตที่มี a n เป็ นพจน์ที่ n และ d เป็ นผลต่างร่ วม
แล้ว d + a1 a 2 เท่ากับเท่าใด (O-NET 2560)
1. 5 2. 9
3. – 7 4. – 9
5. – 58

92. เสา A สู ง 100 เซนติ เมตร เสา B สู ง 300 เซนติ เมตร และตั้งอยู่ห่ างกัน 200 เซนติ เมตร ถ้าต้อ งการปั ก เสาเพิ่ ม
ระหว่างเสา A และ เสา B ในแนวเส้นตรง โดยที่แกนของเสาแต่ละต้นที่อยูต่ ิดกัน อยูห่ ่ างกัน 25 เซนติเมตร และลาดับ
ความสูงของเสาทุกต้น (รวมเสา A และเสา B) เป็ นลาดับเลขคณิ ต แล้วเสาต้นที่อยูต่ ิดกับเสา B สูงกี่เซนติเมตร
(O-NET 2560)

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา


วชิราวุธวิทยาลัย ลาดับและอนุกรม 169
93. ถ้าการจัดเรี ยงจานวนเต็มแถวที่ 1 , 2 , 3 , … (จากบนลงล่าง) เป็ นดังภาพ
1
2 3
4 5 6
7 8 9 10
11 12 13 14 15

ผลบวกของจานวนเต็มในแถวที่ 50 เท่ากับข้อใด (O-NET 2560)
1. 60,025 2. 62,525
3. 65,025 4. 66,225
5. 66,275

94. กาหนดให้ a1 , a 2 , a 3 , … เป็ นลาดับเรขาคณิ ต ซึ่งมีพจน์แต่ละพจน์เป็ นจานวนจริ งบวก


ถ้า a 5 = 4 a1 แล้ว อัตราส่วนของลาดับนี้เท่ากับเท่าใด (O-NET 2561)
1. 14 2. 1
2
3. 12 4. 2
5. 2

95. พี่มีนยืมเงินน้องมิว 630 บาท และตกลงกันว่าจะจ่ายเงินคืนให้นอ้ งทุกวัน


โดยวันแรกจะคืนให้ 10 บาท วันที่สองจะคืนให้ 12 บาท
และวันในต่อๆไป จะคืนเพิ่มขึ้นจากวันก่อนหน้าวันละ 2 บาท ทุกวัน
จานวนวันที่พี่มีนจะจ่ายคืนให้นอ้ งมิวได้ครบพอดีเท่ากับข้อใด (O-NET 2561)
1. 21 วัน 2. 22 วัน
3. 23 วัน 4. 24 วัน
5. 25 วัน

96. ถ้า a1 , a 2 , a 3 , … , a12 เป็ นลาดับเรขาคณิ ต ซึ่งมีอตั ราส่วนร่ วมเท่ากับ 2


และ a1 + a 2 + a 3 + … + a12 = 63
แล้ว a1 + a 2 + a 3 + … + a10 มีค่าเท่ากับข้อใด (O-NET 2561)
1. 29 2. 30
3. 31 4. 32
5. 33

97. ถ้า 2 , 9 , 16 , เป็ นลาดับเลขคณิ ต แล้วพจน์ที่เท่าใดของลาดับนี้มีค่าอยูใ่ นช่วง [180 , 185] (O-NET 2561)

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา


170 ลาดับและอนุกรม วชิราวุธวิทยาลัย

98.กาหนดลาดับจากัด ดังนี้ 100  3 , 99  5 , 98  7 , 97  9 , … , 68  67


พจน์ที่ 20 ของลาดับนี้เท่ากับเท่าใด (O-NET 2562)
1. 79  41 2. 80  41
3. 80  43 4. 81  41
5. 81  43

99. กาหนดลาดับจากัด ดังนี้ − 33 , 46 , − 95 , 126 , − 157 30


, … , 12
จานวนในข้อใดอยูใ่ นลาดับนี้ (O-NET 2562)
1. − 24 11 2. 24
− 10
3. 10 24 4. 24
11
5. 11 27

100. กาหนดให้ a และ b เป็ นจานวนจริ ง


ถ้า 3 , a , b เป็ นลาดับเรขาคณิ ต และ 3ab = 216
แล้ว ลาดับในข้อใดเป็ นลาดับเลขคณิ ต (O-NET 2562)
1. 3 , a , b – 1 2. 3 , a , b – 2
3. 3 , a , b – 3 4. 3 , a , b – 4
5. 3 , a , b – 5

101. ผลบวกของพจน์ทุกพจน์ของลาดับเรขาคณิ ต 6 , 12 , 24 , 48 , … , 1,536 เท่ากับเท่าใด (O-NET 2562)

1. 3(28 − 1) 2. 3(29 − 1)
2 −1 2 −1
3. 6(28 − 1) 4. 6(29 − 1)
2 −1 2 −1
5. 6(210 − 1)
2 −1

102. เด็กหญิงปูเก็บเงินทุกเดือนเป็ นเวลา 40 เดือน โดยเก็บเงินเดือนแรก 500 บาท เดือนที่สอง 550 บาท
เดือนที่สาม 600 บาท และเดือนต่อๆไปเก็บเงินเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้านี้อีก 50 บาท
เด็กหญิงปูเก็บเงินได้ท้ งั หมดกี่บาท (O-NET 2562)
1. 50,000 บาท 2. 58,500 บาท
3. 59,000 บาท 4. 60,000 บาท
5. 61,000 บาท

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา


วชิราวุธวิทยาลัย ลาดับและอนุกรม 171
103. ถังใบหนึ่งมีน้ า 100 ลิตร ต้องการตักน้ าออกจากถัง
โดย ครั้งที่หนึ่ง ตักออก 10 % ของปริ มาตรน้ าที่มีอยู่
ครั้งที่สอง ตักออก 10 % ของปริ มาตรน้ าที่เหลืออยูใ่ นถังหลังจากตักน้ าออกครั้งที่หนึ่ง
ครั้งที่สาม ตักออก 10 % ของปริ มาตรน้ าที่เหลืออยูใ่ นถังหลังจากตักน้ าออกครั้งที่สอง
และตักน้ าออกในทานองนี้ไปเรื่ อยๆ
ถ้าให้ f(t) แทนปริ มาตรของน้ าที่เหลืออยูใ่ นถังเมื่อตักน้ าออกไป t ครั้ง
แล้วข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (O-NET 2562)
1. f(t) = 100 (0.10) t 2. f(t) = 100 (0.30) t
3. f(t) = 100 (0.70) t 4. f(t) = 100 (0.90) t
5. f(t) = 100 (1.10) t

104. ผูจ้ ดั งานแสดงดนตรี แจกเสื้ อให้ผเู ้ ข้าร่ วมงานคนที่ 99 , 144 , 189 , 234 , 279 , …
ถ้ามีผเู ้ ข้าร่ วมงาน 1,500 คน แล้วมีผทู ้ ี่เข้าร่ วมงานที่ได้รับเสื้ ออยูก่ ี่คน (O-NET 2562)

1 2
( )
105. ถ้าพจน์ทวั่ ไปของลาดับ a n คือ 2 n + 3 n เมื่อ n  1 , 2 , 3 , … , 19 , 20
แล้วจานวนในข้อใดอยูใ่ นลาดับนี้ (O-NET 2563)
1. 10 2. 15
3. 21 4. 25
5. 27

106. กาหนดให้ a1 , a 2 , a 3 , … , a 44 , a 45 เป็ นลาดับเลขคณิ ต


ถ้า a1 = 60 และ a 45 = 720
แล้ว a 36 – a 34 มีค่าเท่ากับเท่าใด (O-NET 2563)
1. 30 2. 32
3. 34 4. 36
5. 45

107. กาหนดให้ a และ b เป็ นจานวนจริ งบวก


ถ้า a , 2 , b , 6 , … เป็ นลาดับเรขาคณิ ต
แล้วพจน์ที่ 10 ของลาดับนี้เท่ากับเท่าใด (O-NET 2563)
1. 18 2. 36
3. 54 4. 81
5. 162

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา


172 ลาดับและอนุกรม วชิราวุธวิทยาลัย

108. ถ้า k เป็ นจานวนจริ งที่มากกว่า 1


แล้ว k + k 2 + k 3 + k 4 + k 5 + k 6 + k 7 + k 8 เท่ากับเท่าใด (O-NET 2563)
k ( k 7 − 1) k ( k 8 − 1)
1. k −1 2. k −1
k8
3. k − 1 4. 4( k + k 7 )
5. 4( k + k 8 )

109. กาหนดให้ a และ b เป็ นจานวนจริ ง


ถ้าผลบวกของพจน์ทุกพจน์ของลาดับเลขคณิ ต 2 , a , 10 , … , b เท่ากับ 288
แล้ว a + b มีค่าเท่ากับเท่าใด (O-NET 2563)
1. 48 2. 50
3. 52 4. 54
5. 56

110. หุ่นยนต์ตวั หนึ่งเคลื่อนที่ตามแนวเส้นตรง


โดย เวลาตั้งแต่ 0 วินาที ถึง 1 วินาที หุ่นยนต์น้ ีเคลื่อนที่ ได้ระยะทาง 50 นิ้ว
เวลาตั้งแต่ 1 วินาที ถึง 2 วินาที หุ่นยนต์น้ ีเคลื่อนที่ต่อไป ได้ระยะทางอีก 48 นิ้ว
เวลาตั้งแต่ 2 วินาที ถึง 3 วินาที หุ่นยนต์น้ ีเคลื่อนที่ต่อไป ได้ระยะทางอีก 46 นิ้ว
และ หุ่นยนต์น้ ีเคลื่อนที่ในทานองนี้ไปเรื่ อยๆ จนหยุดนิ่ง
ระยะทางทั้งหมดที่หุ่นยนต์น้ ีเคลื่อนที่ได้เท่ากับกี่นิ้ว (O-NET 2563)
1. 575 นิ้ว 2. 598 นิ้ว
3. 625 นิ้ว 4. 650 นิ้ว
5. 676 นิ้ว

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา


วชิราวุธวิทยาลัย ลาดับและอนุกรม 173

A NET n2 เมื่อ n  100


2 n +1
111. พิจารณาลาดับ a n และ b n ซึ่ง a n =
2 เมื่อ n  100

2 เมื่อ n  100
bn =
n2 เมื่อ n  100
2 n +1
ข้อใดต่อไปนี้ถูก (A–NET 2549)
1. a n และ b n เป็ นลาดับลู่เข้า
2. a n และ b n เป็ นลาดับลู่ออก
3. a n เป็ นลาดับลู่เข้า และ b n เป็ นลาดับลู่ออก
4. a n เป็ นลาดับลู่ออก และ b n เป็ นลาดับลู่เข้า

2
112. ถ้า a + 3 + 2 + 3 +… เป็ นอนุกรมเรขาคณิ ต ซึ่งมีผลบวกเท่ากับ 43 แล้ว a มีค่าเท่าใด (A–NET 2549)
1 1 a a
3 3

n +1 n −1
113. กาหนดให้ a n = 2 +n 3 และ b n = 1 + 2 + 31+ ... + n
4
 
ถ้า A และ B เป็ นผลบวกของอนุกรม  a n และ  b n ตามลาดับ แล้ว A + B เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
n =1 n =1
(A–NET 2550)
1. 4.5
2. 5
3. 5.5
4. 6

มี n พจน์

114. กาหนดให้ a n = 1k 1 + ( 2 + 2 ) + ( 3 + 3 + 3 ) + ... + ( n + n + ... + n ) 


n
โดยที่ k เป็ นค่าคงตัวที่ทาให้ lim a n =  ,   0 แล้ว 6 (  + k ) มีค่าเท่าใด (A–NET 2550)
n→

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา


174 ลาดับและอนุกรม วชิราวุธวิทยาลัย

PAT
2  n

115. ถ้า lim n 2b + 1 = 1 แล้ว ผลบวกของอนุกรม   2 ab 2  เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
n → 2 n a − 1 n =1  a + b 
(PAT มี.ค. 2552)
1. 13
2. 23
3. 1
4. หาค่าไม่ได้

a
116. กาหนดให้ a n เป็ นลาดับที่สอดคล้องกับ n + 2 = 2 สาหรับทุกจานวนนับ n
an
10 2552
ถ้า  a n = 31 แล้ว  a n เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT มี.ค. 2552)
n =1 n =1
1. 21275 −1
2. 21276 − 1
3. 2 2551 − 1
4. 2 2552 −1


117. ถ้า a 1 , a 2 , a 3 , … เป็ นลาดับเรขาคณิ ต ซึ่ง  a n = 4
n =1
แล้ว ค่ามากสุดที่เป็ นไปได้ของ a 2 เท่ากับข้อใด ต่อไปนี้ (PAT มี.ค. 2552)
1. 4
2. 2
3. 1
4. หาค่าไม่ได้เพราะ a 2 มีค่ามากอย่างไม่มีขีดจากัด

a −a
118. กาหนดให้ a n เป็ นลาดับเลขคณิ ตที่สอดคล้องกับเงื่อนไข lim  n 1  = 5
n →  n 
ถ้า a 9 + a 5 = 100 แล้ว a100 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT ก.ค. 2552)
1. 500
2. 515
3. 520
4. หาค่าไม่ได้เพราะข้อมูลไม่เพียงพอ

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา


วชิราวุธวิทยาลัย ลาดับและอนุกรม 175


119. ถ้า A = lim  2n k 
 มีค่าเป็ นจานวนจริ งบวก แล้ว ค่าของ A เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
n →  1 + 8 + 27 + ... + n 3 
(PAT ก.ค. 2552)
1. 0
2. 2
3. 4
4. 8

 
120. ถ้า  4 1 2 = A แล้ว  12 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT ก.ค. 2552)
n =2 n − n n =2 n
3
1. 4 + A
2. 45 + A
3. 43 − A
4. 45 − A

121. พิจารณาข้อความต่อไปนี้

ก. ถ้าลาดับ a n ลู่เข้า แล้ว อนุกรม  a n ลู่เข้า
n =1
  a 
ข. ถ้าอนุกรม  a n ลู่เข้า แล้ว อนุกรม   1 + nn  ลู่เข้า
n =1 n =1  2 
ข้อใดต่อไปนี้ถูก (PAT ต.ค. 2552)
1. ก. ถูก และ ข. ถูก
2. ก. ถูก และ ข. ผิด
3. ก. ผิด และ ข. ถูก
4. ก. ผิด และ ข. ผิด

a 2n +1 − a 2n a 17 − a 9
122. ถ้า a n เป็ นลาดับเลขคณิ ต ซึ่ง lim n = 4 แล้ว มีค่าเท่าใด
n → 2
(PAT ต.ค. 2552)

 3 
123. lim  3 n + 12 n + 27 n + ... +33 n  มีค่าเท่าใด (PAT ต.ค. 2552)
n →  1 + 8 + 27 + ... + n 

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา


176 ลาดับและอนุกรม วชิราวุธวิทยาลัย

n n
124. ผลบวกของอนุกรม 3 + 11 + 33 + ... + 3 +n2−1 − 2 + ... เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT มี.ค. 2553)
4 16 4
1. 203
2. 293
3. 313
4. 403

125. ถ้า  a n  เป็ นลาดับของจานวนจริ ง โดยที่ a1 + a 2 + a 3 + ... + a n = n 2 a n สาหรับ n = 1 , 2 , 3 , …


ถ้า a1 = 100 แล้ว lim n 2 a n มีค่าเท่ากับเท่าใด (PAT ก.ค. 2553)
n→

βn − 7
126. กาหนดให้  เป็ นจานวนจริ ง และให้  a n  เป็ นลาดับของจานวนจริ งที่นิยามโดย a n = n + 2
สาหรับ n = 1, 2, 3, … ถ้าผลบวก 9 พจน์แรกมีค่ามากกว่าผลบวก 7 พจน์แรกของลาดับ a n เป็ นจานวนเท่ากับ a 108
แล้ว lim a n มีค่าเท่ากับเท่าใด (PAT ก.ค. 2553)
n →

1 2 1 2
127. กาหนดให้ a n = 1 +  1 +  + 1 +  1 −  สาหรับ n = 1 , 2 , 3 , …
 n  n
ค่าของ 1 + 1 + 1 + ... + 1 เท่ากับเท่าใด (PAT ก.ค. 2553)
a1 a 2 a 3 a 20

 k( n 5 + n ) + 3n 4 + 2  12  2  n−1
128. ให้ k เป็ นค่าคงที่ และถ้า lim   = 15 + 6 + + ... + 15  + ...
n →  ( n + 2)5  5 5
แล้ว k มีค่าเท่ากับเท่าใด (PAT ก.ค. 2553)

129. ให้ T(x) = sin x − cos 2 x + sin 3 x − cos 4 x + sin 5 x − cos 6 x + ...

แล้วค่าของ 3 T   เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT ต.ค. 2553)
3
1. 4 3 − 1
2. 5 3 − 1
3. 6 3 − 1
4. 7 3 − 1

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา


วชิราวุธวิทยาลัย ลาดับและอนุกรม 177
n 2
130. กาหนดให้  a n  เป็ นลาดับของจานวนจริ ง โดยที่ a n =  ( 2 k − 1k)( 2 k + 1 ) สาหรับ n = 1 , 2 , 3 , …
k =1
lim 16 a n เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT ต.ค. 2553)
n → n
1. 4
16
2.
3
3. 8
4. 16

131. กาหนดให้  a n  เป็ นลาดับเลขคณิ ต โดยมีคุณสมบัติดงั นี้


(ก) a 15 − a 13 = 3
(ข) ผลบวก m พจน์แรกของลาดับนี้ เท่ากับ 325 และ
(ค) ผลบวก 4m พจน์แรกของลาดับนี้เท่ากับ 4900
แล้ว พจน์ a 2 m เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT ต.ค. 2553)
1. 61 2
2. 2 121

3. 1252
4. 119

132. กาหนดให้  a n  เป็ นลาดับของจานวนจริ ง โดยที่


a1 = 2
n +1 
และ a n =   ( a + a + ... + a n−1 ) สาหรับ n = 2 , 3 , …
 n −1  1 2
แล้วค่าของ lim n เท่ากับเท่าใด (PAT ต.ค. 2553)
n → 1a + a 2 + a 3 + ... + a n

133. บทนิยาม ให้  a n  เป็ นลาดับของจานวนจริ ง เรี ยกพจน์ a n ว่าพจน์คู่ ถ้า n เป็ นจานวนคู่
และ เรี ยกพจน์ a n ว่าพจน์คี่ ถ้า n เป็ นจานวนคี่
กาหนดให้  a n  เป็ นลาดับเลขคณิ ต โดยที่มีจานวนพจน์เป็ นจานวนคู่
และผลบวกของพจน์คี่ท้ งั หมด เท่ากับ 36 และผลบวกของพจน์คู่ท้ งั หมดเท่ากับ 56
ถ้าพจน์สุดท้ายมากกว่าพจน์แรก เป็ นจานวนเท่ากับ 38
แล้ว ลาดับเลขคณิ ต  a n  นี้ มีท้ งั หมดกี่พจน์ (PAT ต.ค. 2553)

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา


178 ลาดับและอนุกรม วชิราวุธวิทยาลัย

134. ให้  b n  เป็ นลาดับของจานวนจริ ง โดยที่


b1 = – 3 และ
1+ bn
b n +1 = สาหรับ n = 1 , 2 , 3 , …
1− bn
ค่าของ b1000 เท่ากับเท่าใด (PAT ต.ค. 2553)

9999 1
135. ค่าของ  4 4 เท่ากับเท่าใด (PAT ต.ค. 2553)
n =1 ( n + n + 1 )( n + n + 1 )

136. กาหนดให้ S k = 13 + 2 3 + 3 3 + ... + k 3 สาหรับ k = 1 , 2 , 3 , …


 
ค่าของ lim  1 + 1 + 1 + ... + 1  เท่ากับเท่าใด (PAT ต.ค. 2553)
n→ s1 s2 s3 sn 

137. กาหนดให้  a n  เป็ นลาดับของจานวนจริ ง โดยที่ a n +1 = n 2 − a n สาหรับ n = 1 , 2 , 3 , …


ค่าของ a1 ที่ทาให้ a 101 = 5100 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT มี.ค. 2554)
1. 50
2. 25
3. 1
4. 0

138. กาหนดให้ 4 พจน์แรกของลาดับเลขคณิ ต คือ 2a + 1 , 2b – 1 , 3b – a และ a + 3b เมื่อ a และ b เป็ นจานวนจริ ง


พจน์ที่ 1000 ของลาดับเลขคณิ ตเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT มี.ค. 2554)
1. 3997
2. 3999
3. 4001
4. 4003

139. ให้ a , b , c เป็ นจานวนจริ ง โดยที่ 2a , 3b ,4c เป็ นลาดับเรขาคณิ ต และ 1a , 1b , 1c เป็ นลาดับเลขคณิ ต
ค่าของ ac + ac เท่ากับเท่าใด (PAT มี.ค. 2554)

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา


วชิราวุธวิทยาลัย ลาดับและอนุกรม 179
140. กาหนดให้  a n  เป็ นลาดับของจานวนจริ ง
โดยที่ a1 = 1 และ a n + 1  a n +1 และ a n + 5  a n + 5 สาหรับ n = 1 , 2 , 3 , …
 n 
แล้วค่าของ lim 1   ( a k + 6 − k )  เท่ากับเท่าใด (PAT มี.ค. 2554)
n→ n  k =1 

141. กาหนดให้ a1 , a 2 , a 3 ,..., a 201 เป็ นลาดับเลขคณิ ตของจานวนจริ ง


ถ้า a1 + a 3 + a 5 + ... + a 201 = 303 แล้ว a 2 + a 4 + a 6 + ... + a 200 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT ต.ค. 2554)
1. 287
2. 290
3. 297
4. 300

142. จงหาค่าของ x  0 ที่ทาให้ 1 + 6 + 15 2 + 28 3 + ... = 27


4 (PAT ต.ค. 2554)
1 + x (1 + x ) (1 + x )

143. กาหนดให้  a n  เป็ นลาดับของจานวนจริ ง โดยที่ a1 = 1


() ( ) ()
และ a n = ( −1 ) n log 2 1n log 3 n −
1 ... log 1 สาหรับ n = 2, 3, 4, …
1 n 2
และกาหนดให้  b n  เป็ นลาดับของจานวนจริ ง โดยที่
n k
bn =   k 4 + k 2 + 1  สาหรับ n = 1, 2, 3, …
k =1
จงหาจานวนจริ ง c ที่ทาให้ lim ( a n + c  b n ) = 4 (PAT ต.ค. 2554)
n→

2 2 2 2
144. จงหาจานวนเต็มบวก n ที่ทาให้ 1 + 2 + 3 + ... + n = 228 231 (PAT ต.ค. 2554)
1  2 + 2  3 + ... + ( n − 1 )  n

145. ลาดับเรขาคณิ ตชุดหนึ่ง มีอตั ราส่วนร่ วมเป็ นจานวนจริ งบวก ถ้าผลบวกของสองพจน์แรกเท่ากับ 20


และผลบวกของสี่ พจน์แรกเท่ากับ 65 แล้วผลบวกของ 6 พจน์แรกเท่ากับเท่าใด (PAT มี.ค. 2555)

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา


180 ลาดับและอนุกรม วชิราวุธวิทยาลัย

146. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. สาหรับ a และ b เป็ นจานวนเต็มบวก จะได้วา่
 an + bn 2 2
 = a +b
n =1 ( a + b )
n ab
ข. ถ้า a1 , a 2 , a 3 ,... เป็ นลาดับเลขคณิ ตของจานวนจริ ง โดยที่
a 1 + a 2 + ... + a n 2
= n2
a 1 + a 2 + a 3 + ... + a m m
สาหรับจานวนเต็มบวก n และ m ที่แตกต่างกัน แล้ว
am
= 22mn −−11
an
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT มี.ค. 2555)
1. ก. ถูก และ ข. ถูก
2. ก. ถูก และ ข. ผิด
3. ก. ผิด และ ข. ถูก
4. ก. ผิด และ ข. ผิด

 
147. จงหาค่าของ lim 1  1 + 12 + 12 + 1 + 12 + 12 + ... + 1 + 12 + 1 2 
n → n  1 2 2 3 n ( n + 1) 
(PAT มี.ค. 2555)

148. กาหนดให้ t n = 2 n เมื่อ n = 1, 2, 3, …


และ a n = 5 t n + 5 − t n เมื่อ n = 1, 2, 3, …
a n+1
ค่าของ lim เท่ากับเท่าใด (PAT มี.ค. 2555)
n→ a 1 a 2 a 3 ... a n

149. กาหนดให้ a n = sin (n – π2 ) – cos n สาหรับ n = 1 , 2 , 3 , …


และ b n = 6 cos (2n – π3 ) สาหรับ n = 1 , 2 , 3 , …
2 3 n
a a   a3   an 
ผลบวกของอนุกรม 1 +  2  + b  + ... +  b  + ... เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT ต.ค. 2555)
b1  b 2   3   n 
1. 25 2. − 25
3. 2 4. – 2

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา


วชิราวุธวิทยาลัย ลาดับและอนุกรม 181

150. กาหนดให้ f(x) = x 3 − 26 x 2 + bx − 216 เมื่อ b เป็ นจานวนจริ ง


ถ้า a1 , a 2 , a 3 เป็ นจานวนจริ งสามจานวนเรี ยงกันแบบลาดับเรขาคณิ ต
และเป็ นคาตอบของสมการ f(x) = 0 แล้ว ค่าของ f(1) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT ต.ค. 2555)
1. 211 2. 107
3. 101 4. 85

151. สาหรับ n = 1 , 2 , 3 , …
กาหนดให้ a n = 2 + 4 + 6 + ... + 2 n
และ b n = a 1 + a 2 + a 3 + ... + a n
 
ค่าของ lim  2 + 3 + 4 + ... + n + 1  เท่ากับเท่าใด (PAT ต.ค. 2555)
n→  b 1 b 2 b 3 bn 

152. ถ้าลาดับเลขคณิ ตชุดหนึ่งมีผลบวก 10 พจน์แรกเท่ากับ 205


และผลบวกอีก 10 พจน์ถดั ไปเท่ากับ 505
แล้ว ผลบวก 55 พจน์แรกของลาดับเลขคณิ ตนี้เท่ากับเท่าใด (PAT ต.ค. 2555)

153. สาหรับ n = 1 , 2 , 3 , …
กาหนดให้ a n = 1 + 1 − 12 และ b n = 1 − 1 − 12
n n n n
a a ... a
จงหาจานวนเต็มบวก n ที่ทาให้ 2 3 n = 1331 (PAT ต.ค. 2555)
b 2 b 3 ... b n

154. กาหนดให้  a n  เป็ นลาดับของจานวนจริ งโดยที่


a n = 4 + 8 + 121 + .. + 4 n สาหรับ n = 1 , 2 , 3 , …
ผลบวกของอนุกรม a1 + a 2 + a 3 + ... เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT มี.ค. 2556)
1. 12
2. 43
3. 23
4. 2

155. ค่าของ lim


x →
( x ( x − 1 ) − x + 2 ) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT มี.ค. 2556)
1. 0
2. 12
3. 1
4. 23

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา


182 ลาดับและอนุกรม วชิราวุธวิทยาลัย

156. กาหนดให้ a 1 , a 2 , a 3 ,..., a n ,... เป็ นลาดับเรขาคณิ ตของจานวนจริ งบวก


โดยมี r เป็ นอัตราส่วนร่ วม
a +a a +a a +a a +a
และ 1 3 + 3 5 + 5 7 + … + 2011 2013 = 2012
a2 +a4 a 4 +a6 a 6 +a8 a 2012 + a 2014
ค่าของ 1 + 5 r + 12 r 2 + 22 r 3 + ... เท่ากับเท่าใด (PAT มี.ค. 2556)

157. กาหนดให้ a 1 , a 2 , a 3 , a 4 , a 5 และ b 1 , b 2 , b 3 , b 4 , b 5 , b 6


เป็ นลาดับเลขคณิ ตของจานวนจริ งบวก โดยที่ a 1 = b 2 , a 5 = b 5 และ a 1  a 5
( b − b ) + ( b 6 − b1 )
ถ้า 6 4 = xy เมื่อ ห.ร.ม. ของ x กับ y เท่ากับ 1
a4 −a2
แล้ว x 2 + y 2 เท่ากับเท่าใด (PAT มี.ค. 2556)

158. สาหรับ n = 2 , 3 , 4, … ให้ an = 1 + 2 + 3 + … + n


a 2 a 3 a 4 ... a n
ค่าของ lim เท่ากับเท่าใด (PAT มี.ค. 2556)
n→ ( a 2 − 1 )( a 3 − 1 )( a 4 − 1 )...( a n − 1)

159. กาหนดให้  a n  เป็ นลาดับของจานวนจริ ง


โดยที่ a 1 = 2 และ a n = 3 a n −1 + 1 สาหรับ n = 2 , 3 , 4 , …
และกาหนดให้ S n = a 1 + a 2 + a 3 + ... + a n
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT มี.ค. 2557)
1. 2 S n = 5 ( 3 n−1 ) − 2 n + 1 …
2. 2 S n = 2 ( 3 n ) + 3 n−1 − n − 1
3. 4 S n = 4 ( 3 n ) + 3 n−1 − 4 n − 1
4. 4 S n = 5( 3 n ) − 2 n − 5

160. กาหนดให้ a n = n 2 + 16 n + 3 − n 2 + 2 เมื่อ n = 1 , 2 , 3 , …


ค่าของ lim 3 a n เท่ากับเท่าใด (PAT มี.ค. 2557)
n →
1. 0
2. 1
3. 2
4. 8
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา
วชิราวุธวิทยาลัย ลาดับและอนุกรม 183
n k
161. กาหนดให้ a n =  k เมื่อ n = 1, 2, 3, …
k =1 2
n
2 ( 6 − 3a n )
ค่าของ lim เท่ากับเท่าใด (PAT มี.ค. 2557)
n → n 2 + 5 n + 1

162. หนังสื อเล่มหนึ่งมี 500 หน้า หน้าแรกมีคาผิด 1 คา เว้นไป 1 หน้า หน้าสามมีคาผิด 1 คา เว้นไป 3 หน้า
หน้าที่เจ็ด มีคาผิด 1 คา เว้นไป 5 หน้า เป็ นอย่างนี้ต่อๆไป จานวนหน้าที่ไม่มีคาผิดจะเพิม่ ขึ้นทีละ 2 หน้า
จานวนคาผิดในหนังสื อเล่มนี้เท่ากับเท่าใด (PAT มี.ค. 2557)

163. สาหรับจานวนเต็มบวก n ใดๆ ให้ S( n ) แทนจานวนคู่อนั ดับ ( a , b ) ทั้งหมดที่สอดคล้องกับเงื่อนไขต่อไปนี้


(1) a และ b เป็ นจานวนเต็มบวก
(2) na  ( 0 ,1 ]
(3) ab  (1 , 2 ]
(4) nb  ( 2 , 3 ]
ค่าของ n ที่ทาให้ S( n ) = 164 เท่ากับเท่าใด (PAT มี.ค. 2557)

2
164. กานดให้ a n = n2 เมื่อ n = 1, 2, 3, …
16 n − 4
a + a + a + ... + a n a
ถ้า lim 1 2 n3 = b โดยที่ a และ b เป็ นจานวนเต็มบวก ซึ่ ง ห.ร.ม. ของ a และ b เท่ ากับ 1
n →
แล้ว a 2 + b 2 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT เม.ย. 2557)
1. 17
2. 25
3. 145
4. 257

165. ถ้า a 1 , a 2 , a 3 ,..., a 1000 เป็ นลาดับของจานวนจริ ง


a a a a 1000
ที่สอดคล้องกับ 1 = 2 = 3 = ... =
a1 + 2 a 2 + 3 a 3 + 4 a 1000 + 1001
และ a 1 + a 2 + a 3 + ... + a 1000 = 250000 แล้ว a 1 + a 1000 เท่ากับเท่าใด (PAT เม.ย. 2557)

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา


184 ลาดับและอนุกรม วชิราวุธวิทยาลัย

166. กาหนดให้ a 1 , a 2 , a 3 ,... เป็ นลาดับของจานวนจริ ง โดยมีสมบัติดงั นี้


a k + a k+1 + a k+2 = 2576 – k เมื่อ k = 1 , 2 , 3 , …
ถ้า a 1 = 12 , a 2 = 2556 และ a 3 = 7 แล้ว ค่าของ a 2558 เท่ากับเท่าใด (PAT เม.ย. 2557)

1 1 ๅ 1
167. ถ้า A = 1  2 + 3  4 + 5  6 + ... + 2015  2016
1 1 1 1
และ B = (1009)(2016) + (1010)(2015) + (1011)(2014) + ... + ( 2016)(1009)
แล้วค่าของ 20 A เท่ากับเท่าใด (PAT เม.ย. 2557)
11 B

168. กาหนดให้  a n  เป็ นลาดับของจานวนจริ ง


โดยที่ a 1 = 16 และ a n = a n−1 − 1n สาหรับ n = 2 , 3 , 4 , …
3
พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. lim a n = 0
n →
ข. อนุกรม a 1 + a 2 + a 3 + ... เป็ นอนุกรมลู่เข้า มีผลบวกเท่ากับ 0.75
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT พ.ย. 2557)
1. ก. ถูก และ ข. ถูก
2. ก. ถูก และ ข. ผิด
3. ก. ผิด และ ข. ถูก
4. ก. ผิด และ ข. ผิด

169. ให้ a เป็ นจานวนจริ งบวก


และให้  b n  เป็ นลาดับของจานวนจริ ง โดยที่ b n = (a + n – 1)(a + n) สาหรับ n = 1 , 2 , 3 , …
 
ถ้า a สอดคล้องกับสมการ lim  ba +b 1 + ba +b2 + ... + b a b+ n  = 312 1
n →  1 2 2 3 n n +1 
แล้วค่าของ a 2 + 57 เท่ากับเท่าใด (PAT พ.ย. 2557)

170. ให้  a n  เป็ นลาดับเลขคณิ ต โดยที่ a 1 = 2 และ a 1  a 2  a 3


สมมติวา่ a 2 , a 4 , a 8 เรี ยงเป็ นลาดับเรขาคณิ ต
( a 1 − 1 ) 3 + ( a 2 − 1 ) 3 + ... + ( a n − 1 ) 3 391 (PAT พ.ย. 2557)
จงหาค่าของ n ที่ทาให้ = 450
a 13 + a 32 + ... + a 3n

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา


วชิราวุธวิทยาลัย ลาดับและอนุกรม 185

171. กาหนดให้ a และ b เป็ นจานวนจริ งบวกที่สอดคล้องกับ


log a 2 + log a 4 2 + log a 8 2 + ... = 13 และ 4 log b − 2 b log 2 = 8
พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. a + b = 102
ข. a log b = 16
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT มี.ค. 2558)
1. ก. ถูก และ ข. ถูก
2. ก. ถูก และ ข. ผิด
3. ก. ผิด และ ข. ถูก
4. ก. ผิด และ ข. ผิด

172. ให้  a n  และ  b n  เป็ นลาดับเลขคณิ ตของจานวนจริ ง โดยที่


a 1 + a 2 + a 3 + ... + a n
= 2nn+−11 สาหรับ n = 1 , 2 , 3 , …
b1 + b 2 + b 3 + ... + b n
2b
ค่าของ 100 เท่ากับเท่าใด (PAT มี.ค. 2558)
a 100

173. ถ้า  a n  และ  b n  เป็ นลาดับของจานวนจริ ง โดยที่


n n
a n = n ( n2 + 2 ) และ b n = 3 สาหรับ n = 1 , 2 , 3 , …
5 n + 18
a a a
แล้วอนุกรม b1 + b 2 + 3 + .... มีผลบวกเท่ากับเท่าใด (PAT มี.ค. 2558)
1 2 b3

174. กาหนดให้  a n  เป็ นลาดับของจานวนจริ ง โดยที่ a 1 = 1 และ


a n = (1 − 1 )(1 − 1 )(1 − 1 )...(1 − 12 ) สาหรับ n = 2 , 3 , 4 , …
4 9 16 n
ค่าของ lim a n เท่ากับเท่าใด (PAT มี.ค. 2558)
n →

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา


186 ลาดับและอนุกรม วชิราวุธวิทยาลัย

3n 
175. กาหนดให้ a n = n 2 n2+1 เมื่อ n = 1 , 2 , 3 , … แล้ว อนุกรม  a n ตรงกับข้อใดต่อไปนี้ (PAT ต.ค. 2558)
3 n =1
1. อนุกรมลู่เข้า มีผลบวกเท่ากับ 38

2. อนุกรมลู่เข้า มีผลบวกเท่ากับ 4
3. อนุกรมลู่เข้า มีผลบวกเท่ากับ 24
4. อนุกรมลู่เข้า มีผลบวกเท่ากับ 643
5. อนุกรมลู่ออก

2 3 n
176. กาหนดให้ a n = 1 + 2 + 2 +22n + .... + 2 เมื่อ n = 1 , 2 , 3 , …
3
ค่าของ lim ( a 1 + a 2 + a 3 + ... + a n ) เท่ากับเท่าใด (PAT ต.ค. 2558)
n →
1. 2
9
2. 1
8
3. 9
56
4. 2
7
5. 25
56

177. กาหนดให้ a  1 และ นิยาม L(n) = log n ( n a ) สาหรับ n = 1 , 2 , 3 , …


2
1 1 1 1
L (1) + L ( 2 ) + L ( 3 ) + ... + L (10 )
ถ้า = 77 แล้ว ค่าของ a เท่ากับเท่าใด (PAT ต.ค. 2558)

178. ให้  a n  เป็ นลาดับเลขคณิ ตของจานวนจริ ง


โดยที่ a 1 + a 3 + a 5 + ... + a 49 = a 2 + a 4 + a 6 + ... + a 50 = 1275 และ a100 = 200
ค่าของ a 51 + a 52 + a 53 + ... + a 100 เท่ากับเท่าใด (PAT ต.ค. 2558)

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา


วชิราวุธวิทยาลัย ลาดับและอนุกรม 187
179. กาหนดให้ a 1 , a 2 , a 3 ,..., a n ,... เป็ นลาดับเลขคณิ ตของจานวนจริ ง โดยที่
25  a
 na = 1900 และ  n n−1 = 8 ค่าของ a100 ตรงกับข้อใดต่อไปนี้ (PAT มี.ค. 2559)
n =1 n =1 4
1. 298
2. 302
3. 400
4. 499
5. 598

180. กาหนดให้ a n = 2 −(− 3 )1 n สาหรับ n = 1 , 2 , 3 , …


4 n 2 −1

แล้ว อนุกรม  a n ตรงกับข้อใดต่อไปนี้ (PAT มี.ค. 2559)
n =1
1. อนุกรมลู่เข้า มีผลบวกเท่ากับ 45
2. อนุกรมลู่เข้า มีผลบวกเท่ากับ 43
3. อนุกรมลู่เข้า มีผลบวกเท่ากับ 65
4. อนุกรมลู่เข้า มีผลบวกเท่ากับ 16
5. อนุกรมลู่ออก

181. กาหนดให้  a n  และ  b n  เป็ นลาดับของจานวนจริ ง


โดยที่ 3 a n +1 = a n และ 2 n b n = a n สาหรับ n = 1 , 2 , 3 , …
ถ้า a 5 = 2 แล้ว อนุกรม b 1 + b 2 + b 3 + ... มีผลบวกเท่ากับเท่าใด (PAT มี.ค. 2559)

182. กาหนดให้ a 1 , a 2 , a 3 ,..., a n ,... เป็ นลาดับของจานวนจริ ง โดยที่ a 1 = 1 และ a n = 2 a n −1 + 3


an
สาหรับ n = 2 , 3 , 4 , … ค่าของ lim เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT ต.ค. 2559)
n → a n + 2 − a n +1
1. 0
2. 0.5
3. 1
4. 2.5
5. 4

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา


188 ลาดับและอนุกรม วชิราวุธวิทยาลัย

183. กาหนดให้ a 1 , a 2 , a 3 ,..., a 59 เป็ นลาดับของจานวนจริ ง โดยที่


a 2 − a 1 = a 3 − a 2 = a 4 − a 3 = … = a i +1 − a i = … = a 59 − a 58
ให้ b 1 = a 1 และ b n = b n −1 + a n −1 สาหรับ n = 2 , 3 , 4 , …, 60
พิจารณาข้อความต่อไปนี้
(ก) b 4 = 3 a 1 + a 4 (ข) b1 + b 2 + b 3 = 5 a 1 + a 2
(ค) b 60 = a1 + 59 a 30
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT ต.ค. 2559)
1. ข้อ (ก) และ (ข) ถูก แต่ขอ้ (ค) ผิด
2. ข้อ (ก) และ (ค) ถูก แต่ขอ้ (ข) ผิด
3. ข้อ (ข) และ (ค) ถูก แต่ขอ้ (ก) ผิด
4. ข้อ (ก) , (ข) และ (ค) ถูกทั้งสามข้อ
5. ข้อ (ก) , (ข) และ (ค) ผิดทั้งสามข้อ

 2
184. ถ้า a เป็ นจานวนจริ งที่สอดคล้องกับสมการ  n n −+1a = 21
2 แล้วค่าของ a เท่ากับเท่าใด
n =1 3
(PAT ต.ค. 2559)

185. กาหนดให้ a 1 , a 2 , a 3 ,..., a n ,... เป็ นลาดับเลขคณิ ตของจานวนจริ ง


2k
ให้ u k =  a n สาหรับ k = 1 , 2 , 3 , …
n=k
60
ถ้า u 5 = 147 และ u 8 = 342 แล้ว ค่าของ  a n เท่ากับเท่าใด (PAT ต.ค. 2559)
n =1


186. กาหนดให้ x  0 และอนุกรม  ( −1 ) n +1 (log x ) n
n =1
พิจารณาข้อความต่อไปนี้
(ก) ถ้า x  10 แล้ว อนุกรมนี้ลู่เข้า
(ข) ถ้า x = 100 แล้ว อนุกรมนี้ลู่ออก
(ค) ถ้า x = 101 แล้ว ผลบวก 100 พจน์แรกมีค่าเท่ากับ – 100
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT มี.ค. 2560)
1. ข้อ (ก) และ (ข) ถูก แต่ขอ้ (ค) ผิด
2. ข้อ (ก) และ (ค) ถูก แต่ขอ้ (ข) ผิด
3. ข้อ (ข) และ (ค) ถูก แต่ขอ้ (ก) ผิด
4. ข้อ (ก) , (ข) และ (ค) ถูกทั้งสามข้อ
5. ข้อ (ก) , (ข) และ (ค) ผิดทั้งสามข้อ
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา
วชิราวุธวิทยาลัย ลาดับและอนุกรม 189
187. ให้ L เป็ นจานวนจริ งบวก และ a 1 , a 2 , a 3 ,..., a n ,... เป็ นลาดับเรขาคณิ ตของจานวนจริ ง
 3
โดยที่  a n = L และ  a n = L3 ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง (PAT มี.ค. 2560)
n =1 n =1
1. a 4 = 23 a1
2. a14 = 1681 a 2
3. 3(a7 + a8 + a9 ) = 2(a 4 + a5 + a6 )
12
4.  a n = 1681 L
n =7
 8
5.  a n = 27 L
n =10

188. กาหนดให้ a 1 , a 2 , a 3 ,..., a n ,... เป็ นลาดับเลขคณิ ตของจานวนเต็มบวก โดยที่ a1 = 1 และ a8 = 36


ถ้า 1 + 1 + 1 +…+ 1 =3
a1 + a 2 a 2 + a3 a3 + a 4 a n−1 + a n
แล้ว n เท่ากับเท่าใด (PAT มี.ค. 2560)

189. ให้ a 1 , a 2 , a 3 ,..., a n ,... เป็ นลาดับเรขาคณิ ตของจานวนเต็มบวก


โดยที่มีผลบวกพจน์ที่สองและพจน์ที่สี่ เท่ากับ 60 และพจน์ที่สามเท่ากับ 18
และให้ S n เป็ นผลบวก n พจน์แรกของลาดับ a1 + a 2 + a3 + ... + a n
S S
แล้วค่าของ S 8 + S4 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT ก.พ. 2561)
4 2
1. 81 172

2. 1637

3. 22
4. 88
5. 92

190. ให้ f(x) = 1 − 1 , โดยที่ x  0


1− 1
1 − 1 +1 x
ถ้า a เป็ นจานวนจริ งบวกที่สอดคล้องกับ f(1 + a) + f(2 + a) + f(3 + a) + … + f(60 + a) = 2250
แล้ว a มีค่าเท่ากับเท่าใด (PAT ก.พ. 2561)

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา


190 ลาดับและอนุกรม วชิราวุธวิทยาลัย

191. กาหนดให้ a 1 , a 2 , a 3 ,..., a n ,... เป็ นลาดับเลขคณิ ตของจานวนจริ ง


โดยที่มีผลบวกสี่ พจน์แรกเท่ากับ 14 และ a 20 = a10 + 30
และ b1 ,b 2 ,b3 ,...,b n ,... เป็ นลาดับของจานวนจริ ง โดยที่ b1 = a 3 และ b n +1 = b n + 1
a
แล้ว lim b n เท่ากับเท่าใด (PAT ก.พ. 2561)
n → n

192. กาหนดให้ a และ b เป็ นจานวนจริ งบวก และ a 1 , a 2 , a 3 ,..., a n ,... เป็ นลาดับของจานวนจริ ง
a + a + ... + a
โดยที่ a1 = a , a 2 = b และ a n = 1 2 n − 1 n −1 สาหรับ n = 3 , 4 , 5 , …
10
ถ้า a1 + 2a 2 + 3a3 + 4a 4 = 31 8 และ  a i = 308
i=1

( )
2
แล้ว ค่าของ 1a + 1b เท่ากับเท่าใด (PAT ก.พ. 2561)

193. กาหนดให้ a1 ,a 2 ,a 3 ,...,a n เป็ นลาดับเรขาคณิ ต



ซึ่งมีผลรวม 5 พจน์แรกเท่ากับ 275 และ  a n = 243
n =1

แล้ว  n1−1 a n มีค่าเท่าใด (PAT ก.พ. 2562)
n =1 2
1. 0
2. 60.75
3. 121.5
4. 303.75
5. 607.5

194. กาหนดให้ a 1 , a 2 , a 3 ,..., a n ,... เป็ นลาดับเลขคณิ ตของจานวนจริ งบวก


ซึ่งมีผลบวก n พจน์แรกเท่ากับ 3n 2 + 2n เมื่อ n = 1, 2, 3, …
ถ้า 1 a 2 + 12 a 22 + 13 a 23 + ... + 10 1 a = m เมื่อ m เป็ นจานวนจริ ง
10
2 2 2 2 2
แล้ว จานวนเต็มบวกที่มากที่สุดที่นอ้ ยกว่าเท่ากับ m มีค่าเท่าใด (PAT ก.พ. 2562)

195. กาหนดให้ a , b , c เป็ นจานวนจริ งที่เรี ยงเป็ นลาดับเรขาคณิ ต โดยที่ a + b + c = 14


และ a , b + 3 , c + 4 เรี ยงเป็ นลาดับเลขคณิ ต แล้ว a 2 + b 2 + c 2 มีค่าเท่าใด (PAT ก.พ. 2562)

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา


วชิราวุธวิทยาลัย ลาดับและอนุกรม 191
S
196. ให้ S n คือผลบวก n พจน์แรกของลาดับ 1 , 3 , 7 , 15 ,... แล้ว lim 2 n มีค่าเท่าใด (PAT ก.พ. 2563)
2 4 8 16 n→ S n
1. 4
2. 2
3. 1
1
4.
2
1
5.
4

197. กาหนดให้ x , y , z เรี ยงกันเป็ นลาดับเลขคณิ ต และ


2x = k + 1
2y = 2x + 2
2z = 2y + 4
แล้ว x + y + z มีค่าเท่าใด (PAT ก.พ. 2563)

198. กาหนดให้ a1 , a 2 , a 3 ,..., a n ,... เป็ นลาดับเลขคณิ ตของจานวนจริ ง


โดยที่ a1 + a 3 = 7 และ a 2 + a 4 + a6 + a8 = 74
ค่าของ a1 + a 2 + a3 + ... + a50 มีค่าเท่าใด (PAT ก.พ. 2563)

 3
199. กาหนดให้ a n เป็ นลาดับเรขาคณิ ต โดยที่ an = 2
n =1

และ b n เป็ นลาดับเรขาคณิ ต โดยที่  bn = 5
n =1
a
ถ้า a1 = 1 และ b1 = 7 แล้ว  n มีค่าเท่าใด (PAT ก.พ. 2563)
b
n =1 n
1. 1
1
2.
9
2
3.
19
3
4.
11
6
5.
77

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา


192 ลาดับและอนุกรม วชิราวุธวิทยาลัย

ข้ อสอบวิชำสำมัญ
201. ถ้า a n = n เมื่อ n เป็ นจานวนคี่
2n เมื่อ n เป็ นจานวนคู่
40
แล้ว  a k มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (สามัญ ม.ค. 2555)
k =1
1. 860 2. 1060
3. 1080 4. 1240
5. 1440

2 y2
202. กาหนดให้ E n เป็ นวงรี ที่มีสมการเป็ น x2 + 2 = 1 โดยที่ a n = 2 b n  0
an bn
ถ้า a1 = 2 และจุดยอดของวงรี E n เป็ นจุดโฟกัสของวงรี E n −1 ทุก n  2

แล้ว  a n มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (สามัญ ม.ค. 2555)
n =1
1. 6 + 4 3 2. 8 + 4 3
3. 10 + 4 3 4. 15
5. 17

203. ถ้า a n = n 3 − n 2 เมื่อ n = 1 , 2 , 3 , … แล้ว lim a มีค่าเท่ากับเท่าใด (สามัญ ม.ค. 2556)


n2 + 2 n + 3 n→ n

204. กาหนดให้ a n = 1 + 3 + 5 + ...n + (2 n −1) และ b = 2 + 4 + 6n+ ... + 2 n



จะได้วา่ อนุกรม  ( a n − b n ) เป็ นอนุกรมดังข้อใดต่อไปนี้ (สามัญ ม.ค. 2556)
n =1
1. มีผลบวกเท่ากับ − 12 2. มีผลบวกเท่ากับ 0
3. มีผลบวกเท่ากับ 1 4. มีผลบวกเท่ากับ 12
5. ลู่ออก

205. กาหนดลาดับประกอบด้วยจานวนเต็มบวกทุกจานวนที่หารด้วย 5 ไม่ลงตัว เรี ยงจากน้อยไปมาก


ถ้าผลบวก n พจน์แรกของลาดับนี้มีค่าเท่ากับ 9000 แล้ว n มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (สามัญ ม.ค. 2556)
1. 100 2. 110
3. 120 4. 130
5. 140

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา


วชิราวุธวิทยาลัย ลาดับและอนุกรม 193

206. ถ้า x = 31 แล้ว  ( −1)n x 3n มีค่าเท่ากับเท่าใด (สามัญ ม.ค. 2557)
3 n =0

207. กาหนดให้ a เป็ นจานวนจริ ง ซึ่ง a  1


ถ้า S n = (a + 1)2 + (a 2 + 1)2 + (a 3 + 1)2 + ... + (a n + 1) 2
แล้ว lim ( S n − n ) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (สามัญ ม.ค. 2557)
n→

1. a2 + a 2. a 2 + 3a
1 − a2 1 − a2
3. 2a 2 + a 4. 2a 2 + a
1 − a2 1 − a2
5. 3a 2 + 2a
1 − a2

208. กาหนดให้ a1 ,a 2 ,a 3 ,...,a 9 เป็ นข้อมูลชุดหนึ่ง


ถ้า a1 ,a 2 ,a 3 ,...,a 9 เป็ นลาดับเลขคณิ ต และมีมธั ยฐานเท่ากับ 15
แล้วผลบวกของ a1 ,a 2 ,a 3 ,...,a 9 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (สามัญ ม.ค. 2557)
1. 117 2. 125
3. 135 4. 145
5. 153

209. ถ้า a n เป็ นลาดับของจานวนจริ งบวก


ซึ่ง lim a n หาค่าได้ และ a n = 1 + 2n + a n แล้ว lim a n เท่ากับเท่าใด (สามัญ ม.ค. 2558)
n→ n n→

2
210. ถ้า a1 ,a 2 ,a3 ,...,a 20 เป็ นลาดับเลขคณิ ต ซึ่งมีผลต่างร่ วมเท่ากับ 21
แล้วผลรวม 21(a 1 − a ) + 19(a 1− a ) + 17(a 1− a ) + ... + 5(a 1− a ) + 3(a 1− a )
20 1 19 2 18 3 12 9 11 10
มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (สามัญ ม.ค. 2558)
1. 15
2. 12
3. 1
4. 2
5. 5

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา


194 ลาดับและอนุกรม วชิราวุธวิทยาลัย

211. กาหนด a1 ,a 2 ,a 3 ,...,a n ,... เป็ นลาดับเรขาคณิ ต ซึ่งมี r เป็ นอัตราส่วนร่ วม เมื่อ 0  r  1
1 
ถ้า G n = (a1 a 2 a 3 ...a n ) n แล้ว  G n มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (สามัญ ม.ค. 2558)
n =1
a1 a1
1. 1 2.
1− r
1− r 2
a1 a1
3. 4.
1− r2 1
1− r 2
a1
5.
1− r2

212. ถ้า a1 ,a 2 ,a 3 ,...,a11 เป็ นลาดับเรขาคณิ ต ซึ่ง a 6 = – 8 แล้ว a1  a11 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (สามัญ2 ธ.ค. 2558)
1. – 64 2. – 24
3. 8 4. 24
5. 64

213. กาหนดให้ a1 ,a 2 ,a 3 ,...,a n ,... เป็ นลาดับเลขคณิ ต ถ้า a1 = 5 และ a 4 = 11


แล้ว ผลบวก 20 พจน์แรกของลาดับนี้เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (สามัญ2 ธ.ค. 2558)
1. 480 2. 490
3. 500 4. 520
5. 540

214. กาหนดให้ 2 , 6 , 18 , … เป็ นลาดับเรขาคณิ ต


ถ้าผลบวก n พจน์แรกของลาดับนี้เท่ากับ 6,560
แล้ว พจน์ที่ 2n มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (สามัญ2 ธ.ค. 2558)
1. 2(315 ) 2. 2(316 )
3. 2(317 ) 4. 2(318 )
5. 2(319 )

215. กาหนดให้ a1 ,a 2 ,a 3 ,...,a n ,... เป็ นลาดับ


ถ้า a1 + a 2 = 10 และ a n +2 − a n = 3 เมื่อ n   1 , 2 , 3 , …
แล้วผลบวก a1 + a 2 + a3 + ... + a 40 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (สามัญ2 ธ.ค. 2558)
1. 1,180 2. 1,220
3. 1,340 4. 1,440
5. 1,540

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา


วชิราวุธวิทยาลัย ลาดับและอนุกรม 195
216. กาหนดให้ a1 ,a 2 ,a 3 ,...,a n ,... เป็ นลาดับเลขคณิ ต
และ b n = a 3n −2 เมื่อ n = 1 , 2 , 3 , … , 11
พิจารณาข้อความต่อไปนี้
b + b + b + ... + b11
ก. b1 ,b 2 ,b3 ,...,b11 เป็ นลาดับเลขคณิ ต ข. 1 2 113 = a16
a +a b +b
ค. 1 2 31 = a16 ง. 2 2 10 = a16
จานวนข้อความที่ถูกเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (สามัญ2 ธ.ค. 2558)
1. 0 (ไม่มีขอ้ ความใดถูก) 2. 1
3. 2 4. 3
5. 4

217. ถ้า a1 ,a 2 ,a 3 ,...,a n เป็ นลาดับเรขาคณิ ต โดยที่ a1 = 96 และ a 4 = 12



แล้ว  a n เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (สามัญ1 ธ.ค. 2558)
n =1
1. 120 2. 128
3. 144 4. 192
5. 288

100
218. ถ้า f(x) =  k  x 2 k −1 แล้ว 1 f ( 2 ) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (สามัญ1 ธ.ค. 2558)
k =1 2
1. 1 + 99 299 2. 1 + 100 299
3. 2 + 99 299 4. 1 + 99 2100
5. 1 + 100 2100

219. ถ้า a n = 4n + 3 แล้วผลบวก 20 พจน์แรกของลาดับนี้เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (สามัญ2 ธ.ค. 2559)


1. 900 2. 930
3. 950 4. 980
5. 1000

220. กาหนดให้ a1 ,a 2 ,a 3 ,...,a n เป็ นลาดับเรขาคณิ ต ถ้า a 7 − a 5 = 50 และ a 6 + a 5 = 25


แล้ว อัตราส่วนร่ วมของลาดับนี้เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (สามัญ2 ธ.ค. 2559)
1. – 3 2. – 2
3. – 1 4. 2
5. 3

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา


196 ลาดับและอนุกรม วชิราวุธวิทยาลัย

221. ด.ญ.ปาหนัน ได้รางวัลจากการแข่งขันตอบปั ญหาทางคณิ ตศาสตร์ เป็ นเงิน 1,800 บาท เธอตั้งใจจะออมเงินและ
นามารวมกับเงินรางวัลที่ได้ เพื่อซื้อหนังสื อนวนิยายชุดหนี่งราคา 3,700 บาท ถ้าในวันแรก ด.ญ.ปาหนัน ออมเงินไว้ 10
บาท และในวันต่อๆมาจะออมเพิ่มจากวันก่อนหน้าวันละ 10 บาท ทุกๆวัน แล้วจานวนวันที่นอ้ ยที่สุดที่ ด.ญ.ปาหนัน
ต้องออมเงินเพื่อให้พอซื้อหนังสื อชุดดังกล่าว เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (สามัญ2 ธ.ค. 2559)
1. 17 วัน 2. 18 วัน
3. 19 วัน 4. 20 วัน
5. 21 วัน

222. กาหนดให้ a1 ,a 2 ,a 3 ,...,a10 เป็ นลาดับเลขคณิ ต ซึ่งมีผลต่างร่ วมเท่ากับ 13


และ b n = 8a n เมื่อ n = 1 , 2 , 3 , … , 10
ถ้า b1  b2  b3 ...  b10 = 215 แล้ว b1 + b 2 + b3 + ... + b10 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (สามัญ2 ธ.ค. 2559)
1. 511164 2. 7227
4
3. 1023 4. 648661
8
5. 2027 8

13 2
223. ถ้าลาดับ a n = (3 + 2 n) (515+ n) แล้ว lim a n เท่ากับเท่าใด (สามัญ1 ธ.ค. 2559)
(1 − 2 n) n→
1. – 1 2. − 12
3. − 14 4. 0
5. 12

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา


วชิราวุธวิทยาลัย ลาดับและอนุกรม 197
224. กาหนด a1 ,a 2 ,a 3 ,...,a 9 เป็ นลาดับเลขคณิ ต ซึ่งมีผลต่างร่ วม d  0
และ b1 ,b 2 ,b3 ,...,b9 เป็ นลาดับเรขาคณิ ต ซึ่งมีอตั ราส่วนร่ วม r  0
พิจารณาข้อความต่อไปนี้ (สามัญ1 ธ.ค. 2559)
 a1 a 2 a 3   b1 b 2 b3 
   
ก. det a 4 a 5 a 6  = d ข. det  b 4 b 5 b6  = r
a a a  b b b9 
 7 8 9  7 8

 2 a1 2 a 2 2 a 3   b12 b 22 b32 
   
a a a
ค. det  2 4 2 5 2  = 2d
6 ง. det  b 24 b 52 b 62  = r 2
   2 
 2 a 7 2 a8 2 a 9   b7 b82 b92 
 
จานวนข้อความที่ถูกเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (สามัญ1 ธ.ค. 2559)
1. 0 (ไม่มีขอ้ ความใดถูก) 2. 1
3. 2 4. 3
5. 4

225. กาหนดให้ a n เป็ นลาดับเลขคณิ ต ซึ่งมี a1 = 2 และผลต่างร่ วมเท่ากับ − 29


ถ้า b n = 2 a n แล้วจานวนเต็มบวก m ที่นอ้ ยที่สุดที่ทาให้ b1  b 2  b3 ...  b m  1024 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
(สามัญ1 ธ.ค. 2559)
1. 7 2. 8
3. 9 4. 10
5. 11

2100 เป็ นจานวนเต็มบวก


226. ถ้า S เป็ นเซตของจานวนเต็มบวก m ที่ทาให้ 100
2 −m
แล้ว ผลบวกของสมาชิกของ S เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (สามัญ1 ธ.ค. 2559)
1. 99 (2 99 ) 2. 100 (2 99 ) + 1
3. 99 (2100 ) + 1 4. 100 (2100 )
5. 101 (2101 )

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา


198 ลาดับและอนุกรม วชิราวุธวิทยาลัย

227. ถ้า a1 ,a 2 ,a 3 ,...,a n เป็ นลาดับเรขาคณิ ต ซึ่งมี a1 = 8 และอัตราส่วนร่ วมเท่ากับ − 1


2
แล้ว a15 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (สามัญ2 ธ.ค. 2561)
2 2
1. − 32 2. − 16
3. 161 4. 18
5. 14

228. ถ้า a1 ,a 2 ,a3 ,...,a100 เป็ นลาดับเลขคณิ ต ซึ่งมี a1 − a 2 + a3 − a 4 + ... + a99 − a100 = 40
แล้วผลต่างร่ วมของลาดับเลขคณิ ตนี้ เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (สามัญ2 ธ.ค. 2561)
1. − 169 2. − 45
3. − 25 4. 25
5. 45

229. จากแบบรู ปที่กาหนดให้


1
2 3 4
5 6 7 8 9
10 11 12 13 14 15 16
17 18 19 20 21 22 23 24 25
26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36

9,999 เป็ นจานวนที่อยูใ่ นแถวที่เท่าใดต่อไปนี้ (สามัญ2 ธ.ค. 2561)


1. 50 2. 51
3. 52 4. 99
5. 100

230. กาหนดให้ 1,b1 ,b 2 ,b3 ,...,b n ,16 เป็ นลาดับเลขคณิ ต ซึ่งมีผลต่างร่ วมเท่ากับ 13
ค่าของ b1 + b2 + b3 + ... + b n เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (สามัญ2 ธ.ค. 2561)
1. 250 2. 274
3. 350 4. 364
5. 374

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา


วชิราวุธวิทยาลัย ลาดับและอนุกรม 199
231. จากแบบรู ปของเซตที่กาหนดให้ต่อไปนี้ เซตที่ 1 คือ 1
เซตที่ 2 คือ 2 , 3
เซตที่ 3 คือ 4 , 5 , 6
เซตที่ 4 คือ 7 , 8 , 9 , 10
 

จานวนเต็มที่เล็กที่สุดของเซตที่ 50 คือจานวนใดต่อไปนี้ (สามัญ2 ธ.ค. 2561)


1. 1225 2. 1226
3. 1250 4. 1274
5. 1275

232. ในปี ที่ 1 สมาคมแห่งหนึ่งมีสมาชิก 5 คน


ในปี ที่ 2 สมาชิกแต่ละคนจากปี ที่ 1 ต่างหาสมาชิกใหม่ได้คนละ 3 คน
ในปี ที่ 3 สมาชิกแต่ละคนที่เข้าใหม่ในปี ที่ 2 ต่างหาสมาชิกใหม่ได้คนละ 3 คน
ในปี ที่ 4 สมาชิกแต่ละคนที่เข้าใหม่ในปี ที่ 3 ต่างหาสมาชิกใหม่ได้คนละ 3 คน
ในทุกๆปี สมาชิกแต่ละคนที่เข้าใหม่ในปี ที่แล้ว ต่างหาสมาชิกใหม่ได้คนละ 3 คน
ถ้าต้องการเพิ่มสมาชิกของสมาคมทาโดยวิธีน้ ีเท่านั้น ในปี ที่ 8 สมาคมจะมีสมาชิกรวมกันทั้งหมด เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
(สามัญ2 มี.ค. 2561)
1. 3,280 คน 2. 5,465 คน
3. 6,561 คน 4. 16,400 คน
5. 49,205 คน

233. ให้ a1 ,a 2 ,a 3 ,...,a 50 เป็ นลาดับเลขคณิ ต ถ้า a1 = 5 และ a50 = 103


และ a12 − a 22 + a 32 − a 24 + ... + a 249 − a 50
2 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (สามัญ1 มี.ค. 2561)

1. – 5,400 2. – 5,000
3. 108 4. 5,000
5. 5,400

234. ให้ a1 ,a 2 ,a 3 ,...,a 51 เป็ นลาดับเรขาคณิ ต โดยที่ a1 = 1 และอัตราส่วนร่ วมของลาดับเท่ากับ − 45


แล้ว มัธยฐานเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (สามัญ1 มี.ค. 2561)

( ) ( )
25 23
1. − 45 2. − 45

3. − 45 4. 1

()
26
5. 45

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา


200 ลาดับและอนุกรม วชิราวุธวิทยาลัย

235. ให้ a1 ,a 2 ,a 3 ,...,a n เป็ นลาดับเลขคณิ ต ซึ่งมี a1 = π12 และ d = π3


65
แล้ว  sin(a n ) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (สามัญ1 มี.ค. 2561)
n =1
1. − 2 2. − 1
2
3. 0 4. 1
2
5. 2

236. กาหนดให้ a1 ,a 2 ,a 3 ,...,a n , … เป็ นลาดับเรขาคณิ ต


  
ถ้า  a n = 1 และ  ( −1) n a n = − 23 แล้ว  a 2n เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (สามัญ1 มี.ค. 2562)
n =1 n =1 n =1
1. 3 1 2. 23
3. 43 4. − 23
5. − 43

237. กาหนดให้ a1 ,a 2 ,a 3 ,...,a n , … เป็ นลาดับของจานวนจริ งบวก และ a1 = 2


ถ้า log 1 a1 , log 1 a 2 , log 1 a 3 , ... , log 1 a n , … เป็ นลาดับเลขคณิ ตที่มีผลต่างร่ วมเท่ากับ 12
3 3 3 3

แล้ว  a n มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (สามัญ1 มี.ค. 2562)
n =1
1. 3+ 3
2. 3− 3
3. 2+ 2
4. 2− 2
5. 2+2 2

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา


วชิราวุธวิทยาลัย ลาดับและอนุกรม 201
 
238. ค่าของ  ( 2 sin 12 ) 2 n ตรงกับข้อใด (สามัญ1 มี.ค. 2563)
n =0
1. 3
2 3
2. 3
3. 2
4. 2 3
5. 3

239. ให้เอกภพสัมพัทธ์คือ คือ 100 , 101 , 102 , … ,999


S = n  n หารด้วย 5 เหลือเศษ 4
แล้ว ผลบวกสมาชิกในเซต S มีค่าเท่าใด (สามัญ1 มี.ค. 2563)
1. 99250
2. 99255
3. 99260
4. 99265
5. 99270

240. กาหนดให้ a1 , a 2 , a 3 ,..., a m เป็ นลาดับของจานวนจริ ง


1
กาหนดโดย a n = n ( n + 1) ; n = 1 , 2 , 3 , … , m
1
ถ้ามัธยฐานเท่ากับ 120 แล้วค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตมีค่าเท่าใด (สามัญ1 มี.ค. 2563)
1 1
1. 20 2. 21
1 1
3. 22 4. 23
1
5. 24

241. ให้ a n เป็ นลาดับเรขาคณิ ต มีอตั ราส่วนร่ วมเท่ากับ r ; r  1


ถ้า a1 + a 2 + a 3 + a 4 + a 5 = 4
และ a 6 + a 7 + a 8 + ... + a15 = 3

แล้ว  a n มีค่าเท่ากับเท่าใด (สามัญ1 มี.ค. 2563)
n =1
1. 8
2. 9
3. 10
4. 11
5. 12

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา


202 ลาดับและอนุกรม วชิราวุธวิทยาลัย

เฉลย ลำดับและอนุกรม
1. 2 2. 3 3. 4 4. 3 5. 1 6. 4 7. 4 8. 3 9. 2 10. 4
11. 1 12. 4 13. 3 14. 4 15. 3 16.48.00 17. 2.00 18. 1 19. 4 20. 3
21. 1 22. 1 23. 3 24. 2 25. 13.00 26. 3 27. 4.80 28. 6.00 29. 4 30.243.00
31. 4 32. 3 33. 4 34.3780.00 35. 4 36. 1 37. 1 38. 4 39. 1 40. 3
41. 1 42. 2 43. 1 44. 3 45. 1 46. 3 47. 4 48. 4 49. 4 50. 1
51. 3 52. 2 53. 3 54. 390.00 55. 1 56. 2 57. 39.00 58.171.00 59. 3 60. 3
61. 3 62. 2 63. 4 64. 3 65. 2 66. 2.00 67. 5 68. 5 69. 2 70. 5
71. 1 72. 3 73. 2 74. 3.00 75. 4 76. 3 77. 2 78. 4 79. 2 80.511.50
81 5 82. 3 83. 3 84. 4 85. 1 86. 4 87. 3 88. 64.00 89. 2 90. 4
91. 1 92. 275 93. 2 94. 4 95. 1 96. 3 97. 27.00 98. 4 99. 3 100. 3
101. 4 102. 3 103. 4 104. 32.00 105. 5 106. 1 107. 5 108. 2 109. 3 110. 4
111. 3 112. 1.50 113. 2 114. 20.00 115. 2 116. 2 117. 3 118. 2 119. 4 120. 3
121. 4 122. 2.38 123. 4.00 124. 4 125.200.00 126. 2.00 127. 7.00 128.25.00 129. 3 130. 1
131. 2 132. 0.00 133.20.00 134. 2.00 135. 9.00 136. 2.00 137. 1 138. 3 139. 2.50 140. 6.00
141. 4 142. 2.00 143.10.00 144.115.00 145.166.25 146. 1 147. 1.00 148.24.96 149. 3 150. 2
151.2.25 152. 4840 153.36.00 154. 1 155. 4 156.16.00 157.205.00 158. 3.00 159. 4 160. 3
161.3.00 162.22.00 163.8.00 164. 4 165.500.00 166.1704.00 167.2750.00 168. 2 169.201.00 170.14.00
171. 3 172. 3.97 173.8.00 174. 0.50 175. 3 176. 5 177. 32.00 178.โจทย์ผิด 179. 5 180. 1
181.97.20 182. 2 183. 4 184. 4.00 185.5610.00 186. 3 187. 4 188.52.00 189. 5 190. 6.00
191. 3.00 192.36.00 193. 4 194. 59.00 195. 84.00 196. 4 197. 6 198. 6050.00 199. 5

201. 4 202. 2 203. 3 204. 3 205. 3 206. 0.75 207. 5 208. 3 209. 2 210. 5
211. 1 212. 5 213. 1 214. 1 215. 3 216. 5 217. 4 218. 4 219. 1 220. 5
221. 3 222. 3 223. 3 224. 1 225. 3 226. 3 227. 3 228. 2 229. 5 230. 5
231. 2 232. 4 233. 1 234. 1 235. 4 236. 2 237. 1 238. 2 239. 5 240. 2
241. 1

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หมวดคณิ ตศาสตร์ ครู พชั ริ นทร์ สุวรรณา

You might also like