You are on page 1of 298

คู่มือครูรายวิชาพื้นฐาน

คณิ ต ศาสตร์


เล่ม ๑ ชั้นประถมศึกษาปีที่
ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงศึกษาธิการ
คู่มือครู

รายวิชาพื้นฐาน

คณิตศาสตร์
ชั้น

ประถมศึกษาปีที่ ๖ เล่ม ๑
ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

จัดทำ�โดย
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คำ�นำ�
สถาบั น ส่ ง เสริ ม การสอนวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี (สสวท.) มี ห น้ า ที่ ใ นการพั ฒ นาหลั ก สู ต ร
วิ ธี ก ารเรี ย นรู้ การประเมิ น ผล การจั ด ทำ � หนั ง สื อ เรี ย น คู่ มื อ ครู แบบฝึ ก หั ด กิ จ กรรม และสื่ อ การเรี ย นรู้
เพื่อใช้ประกอบการเรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ของการศึกษาขั้นพื้นฐาน

คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ เล่ม ๑ นี้ จัดทำ�ตามมาตรฐานการเรียนรู้


และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โดยมีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับการวิเคราะห์ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้รายชั้นปี
จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระสำ�คัญ แนวการจัดการเรียนรู้ แนวการจัดกิจกรรมในหนังสือเรียน ตัวอย่างข้อสอบ
ประจำ � บทพร้ อ มเฉลย รวมทั้ ง เฉลยแบบฝึ ก หั ด ซึ่ ง สอดคล้ อ งกั บ หนั ง สื อ เรี ย นรายวิ ช าพื้ น ฐานคณิ ต ศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ เล่ม ๑ ที่ต้องใช้ควบคู่กัน

สสวท. หวั ง เป็ น อย่ า งยิ่ ง ว่ า คู่ มื อ ครู เ ล่ ม นี้ จ ะเป็ น ประโยชน์ ต่ อ การจั ด การเรี ย นรู้ และเป็ น ส่ ว นสำ � คั ญ
ในการพั ฒ นาคุ ณ ภาพและมาตรฐานการศึ ก ษากลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ ค ณิ ต ศาสตร์ ขอขอบคุ ณ ผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ
บุคลากรทางการศึกษาและหน่วยงานต่าง ๆ ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดทำ�ไว้ ณ โอกาสนี้

(ศาสตราจารย์ชูกิจ ลิมปิจำ�นงค์)
ผู้อำ�นวยการสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงศึกษาธิการ
คำ�ชี้แจง
สถาบั น ส่ ง เสริ ม การสอนวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี (สสวท.) ได้ จั ด ทำ � ตั ว ชี้ วั ด และสาระการเรี ย นรู้
แกนกลางกลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ ค ณิ ต ศาสตร์ (ฉบั บ ปรั บ ปรุ ง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลั ก สู ต รแกนกลางการศึ ก ษา
ขั้น พื้น ฐานพุ ท ธศั ก ราช ๒๕๕๑ โดยมี จุด เน้ น เพื่อ พั ฒ นาผู้เ รี ย นให้ มีค วามรู้ค วามสามารถทั ด เที ย มกั บ นานาชาติ
ได้เรียนรู้คณิตศาสตร์ท่เี ชื่อมโยงความรู้กับกระบวนการ ใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้และแก้ปัญหาที่หลากหลาย
มี ก ารทำ � กิ จ กรรมด้ ว ยการลงมื อ ปฏิ บั ติ เพื่ อ ให้ ผู้ เ รี ย นได้ ใ ช้ ทั ก ษะและกระบวนการทางคณิ ต ศาสตร์ แ ละทั ก ษะ
แห่งศตวรรษที่ ๒๑ สสวท. จึงจัดทำ�คูม
่ อื ครูประกอบการใช้หนังสือเรียนรายวิชาพืน
้ ฐานคณิตศาสตร์ ชัน
้ ประถมศึกษาปีท่ี ๖
เล่ม ๑ ทีเ่ ป็นไปตามมาตรฐานหลักสูตร เพือ่ เป็นแนวทางให้โรงเรียนนำ�ไปจัดการเรียนการสอนในชัน
้ เรียน

คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๖ เล่ม ๑ นี้ ประกอบด้วยเนื้อหาสาระเกี่ยวกับ


การวิเคราะห์ตวั ชีว้ ดั สาระการเรียนรูร้ ายชัน
้ ปี จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระสำ�คัญ แนวการจัดการเรียนรู้ แนวการจัดกิจกรรม
ในหนังสือเรียน ตัวอย่างข้อสอบประจำ�บทพร้อมเฉลย รวมทัง้ เฉลยแบบฝึกหัด ซึง่ ครูสามารถนำ�ไปใช้เป็นแนวทางในการ
วางแผนการจัดการเรียนรูใ้ ห้บรรลุจดุ ประสงค์ทต
่ี ง้ั ไว้ โดยสามารถนำ�ไปจัดกิจกรรมการเรียนรูไ้ ด้ตามความเหมาะสมและ
ความพร้อมของโรงเรียน ในการจัดทำ�คู่มือครูเล่มนี้ ได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดีย่ิงจากผู้ทรงคุณวุฒิ นักวิชาการ
ครูและคณาจารย์จากสถาบันและสถานศึกษาทั้งภาครัฐและเอกชน จึงขอขอบคุณมา ณ ที่นี้

สสวท. หวังเป็นอย่างยิง่ ว่าคูม


่ อื ครูรายวิชาพืน
้ ฐานคณิตศาสตร์เล่มนี้ จะเป็นประโยชน์แก่ครู และผูท
้ เี่ กีย่ วข้อง
ทุกฝ่าย ที่จะช่วยให้จัดการศึกษาด้านคณิตศาสตร์เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ หากมีข้อเสนอแนะใดที่จะทำ�ให้
คู่มือครูเล่มนี้มีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น โปรดแจ้ง สสวท. ทราบด้วย จะขอบคุณยิ่ง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงศึกษาธิการ
สารบัญ หน้า

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ (1)
ตัวชี้วัดวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 (2)
สาระการเรียนรู้แกนกลาง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 (8)
ตัวอย่างโครงสร้างเวลาเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 (15)
ตัวอย่างคำ�อธิบายรายวิชา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 (16)
ผังมโนทัศน์เนื้อหาวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 (18)
ตารางวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ ตัวชี้วัด และสาระการเรียนรู้แกนกลาง (19)
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

แนวการจัดการเรียนรู้

บทที่ 1 ห.ร.ม. และ ค.ร.น. 1

ตัวอย่างข้อสอบ 36

บทที่ 2 เศษส่วน 40

ตัวอย่างข้อสอบ 87

บทที่ 3 ทศนิยม 90

ตัวอย่างข้อสอบ 109

บทที่ 4 ร้อยละและอัตราส่วน 111

ตัวอย่างข้อสอบ 142

บทที่ 5 แบบรูป 147

ตัวอย่างข้อสอบ 166

เฉลยแบบฝึกหัด เล่ม 1 169

บทที่ 1 ห.ร.ม. และ ค.ร.น. 170

บทที่ 2 เศษส่วน 190

บทที่ 3 ทศนิยม 217

บทที่ 4 ร้อยละและอัตราส่วน 228

บทที่ 5 แบบรูป 238

ความรู้เพิ่มเติมสำ�หรับครู 251
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้

สาระที่ 1 จำ�นวนและพีชคณิต
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำ�นวน ระบบจำ�นวน การดำ�เนินการของจำ�นวน
ผลที่เกิดขึ้นจากการดำ�เนินการ สมบัติของการดำ�เนินการ และนำ�ไปใช้
มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป ความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน ลำ�ดับและอนุกรม และนำ�ไปใช้
มาตรฐาน ค 1.3 ใช้นิพจน์ สมการ และอสมการ อธิบายความสัมพันธ์หรือช่วยแก้ปัญหาที่กำ�หนดให้

สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณิต
มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด และนำ�ไปใช้
มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่าง
รูปเรขาคณิต และทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนำ�ไปใช้

สาระที่ 3 สถิติและความน่าจะเป็น
มาตรฐาน ค 3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถิติ และใช้ความรู้ทางสถิติในการแก้ปัญหา
มาตรฐาน ค 3.2 เข้าใจหลักการนับเบื้องต้น ความน่าจะเป็น และนำ�ไปใช้

© สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), 2563 (1)


คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

ตัวชี้วัดวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6

สาระที่ 1 จำ�นวนและพีชคณิต
ตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้
ป.4 ป.5 ป.6
ค 1.1 เข้าใจ 1. อ่านและเขียนตัวเลข 1. เขียนเศษส่วนที่มีตัวส่วน 1. เปรียบเทียบ เรียงลำ�ดับ
ความหลากหลาย ฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย เป็นตัวประกอบของ เศษส่วนและจำ�นวนคละ
ของการแสดงจำ�นวน และตัวหนังสือแสดง 10 หรือ 100 หรือ จากสถานการณ์ต่าง ๆ
ระบบจำ�นวน จำ�นวนนับที่มากกว่า 1,000 ในรูปทศนิยม
2. เขียนอัตราส่วนแสดง
การดำ�เนินการของจำ�นวน 100,000
2. แสดงวิธีหาคำ�ตอบ การเปรียบเทียบปริมาณ
ผลที่เกิดขึ้นจาก
2. เปรียบเทียบและเรียง- ของโจทย์ปัญหา 2 ปริมาณ จากข้อความ
การดำ�เนินการ
ลำ�ดับจำ�นวนนับ โดยใช้บัญญัติไตรยางศ์ หรือสถานการณ์ โดยที่
สมบัติของการดำ�เนินการ
ที่มากกว่า 100,000 ปริมาณแต่ละปริมาณ
และนำ�ไปใช้ 3. หาผลบวก ผลลบของ
จากสถานการณ์ต่าง ๆ เป็นจำ�นวนนับ
เศษส่วนและจำ�นวนคละ
3. บอก อ่านและเขียน 3. หาอัตราส่วนที่เท่ากับ
4. หาผลคูณ ผลหารของ
เศษส่วน จำ�นวนคละ อัตราส่วนที่กำ�หนดให้
เศษส่วนและจำ�นวนคละ
แสดงปริมาณสิ่งต่าง ๆ
4. หา ห.ร.ม. ของ
และแสดงสิ่งต่าง ๆ 5. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของ
จำ�นวนนับไม่เกิน
ตามเศษส่วน จำ�นวนคละ โจทย์ปัญหาการบวก
3 จำ�นวน
ที่กำ�หนด การลบ การคูณ การหาร
เศษส่วน 2 ขั้นตอน 5. หา ค.ร.น. ของ
4. เปรียบเทียบ เรียงลำ�ดับ
จำ�นวนนับไม่เกิน
เศษส่วนและจำ�นวนคละ 6. หาผลคูณของทศนิยม
3 จำ�นวน
ที่ตัวส่วนตัวหนึ่งเป็น ที่ผลคูณเป็นทศนิยม
พหุคูณของอีกตัวหนึ่ง ไม่เกิน 3 ตำ�แหน่ง 6. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของ
โจทย์ปัญหาโดยใช้
5. อ่านและเขียนทศนิยม 7. หาผลหารที่ตัวตั้งเป็น
ความรู้เกี่ยวกับ ห.ร.ม.
ไม่เกิน 3 ตำ�แหน่ง จำ�นวนนับหรือทศนิยม
และ ค.ร.น.
แสดงปริมาณของสิ่งต่าง ๆ ไม่เกิน 3 ตำ�แหน่ง และ
และแสดงสิ่งต่าง ๆ ตัวหารเป็นจำ�นวนนับ 7. หาผลลัพธ์ของการบวก
ตามทศนิยมที่กำ�หนด ผลหารเป็นทศนิยม ลบ คูณ หารระคน
ไม่เกิน 3 ตำ�แหน่ง ของเศษส่วนและ
6. เปรียบเทียบและเรียง-
จำ�นวนคละ
ลำ�ดับทศนิยมไม่เกิน 8. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของ
3 ตำ�แหน่ง โจทย์ปัญหาการบวก 8. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของ
จากสถานการณ์ต่าง ๆ การลบ การคูณ การหาร โจทย์ปัญหาเศษส่วน
ทศนิยม 2 ขั้นตอน และจำ�นวนคละ
2-3 ขั้นตอน

© สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), 2563 (2)


คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

สาระที่ 1 จำ�นวนและพีชคณิต
ตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้
ป.4 ป.5 ป.6
7. ประมาณผลลัพธ์ของ 9. แสดงวิธีหาคำ�ตอบ 9. หาผลหารของทศนิยม
การบวก การลบ ของโจทย์ปญ ั หาร้อยละ ที่ตัวหารและผลหาร
การคูณ การหาร ไม่เกิน 2 ขั้นตอน เป็นทศนิยมไม่เกิน
จากสถานการณ์ต่าง ๆ 3 ตำ�แหน่ง
อย่างสมเหตุสมผล
10. แสดงวิธีหาคำ�ตอบ
8. หาค่าของตัวไม่ทราบค่า ของโจทย์ปัญหา
ในประโยคสัญลักษณ์ การบวก การลบ
แสดงการบวกและ การคูณ การหาร
ประโยคสัญลักษณ์ ทศนิยม 3 ขั้นตอน
แสดงการลบของ
11. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของ
จำ�นวนนับที่มากกว่า
โจทย์ปัญหาอัตราส่วน
100,000 และ 0
12. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของ
9. หาค่าของตัวไม่ทราบค่า
โจทย์ปัญหาร้อยละ
ในประโยคสัญลักษณ์
2-3 ขั้นตอน
แสดงการคูณของจำ�นวน
หลายหลัก 2 จำ�นวน
ที่มีผลคูณไม่เกิน 6 หลัก
และประโยคสัญลักษณ์
แสดงการหารที่ตัวตั้ง
ไม่เกิน 6 หลัก
ตัวหารไม่เกิน 2 หลัก

10. หาผลลัพธ์การบวก
ลบ คูณ หารระคนของ
จำ�นวนนับ และ 0

11. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของ
โจทย์ปัญหา 2 ขั้นตอน
ของจำ�นวนนับที่มากกว่า
100,000 และ 0

© สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), 2563 (3)


คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

สาระที่ 1 จำ�นวนและพีชคณิต
ตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้
ป.4 ป.5 ป.6
12. สร้างโจทย์ปัญหา
2 ขั้นตอนของ
จำ�นวนนับ และ 0
พร้อมทั้งหาคำ�ตอบ

13. หาผลบวก ผลลบ


ของเศษส่วนและ
จำ�นวนคละที่ตัวส่วน
ตัวหนึ่งเป็นพหุคูณ
ของอีกตัวหนึ่ง

14. แสดงวิธีหาคำ�ตอบ
ของโจทย์ปัญหาการบวก
และโจทย์ปัญหา
การลบเศษส่วนและ
จำ�นวนคละที่ตัวส่วน
ตัวหนึ่งเป็นพหุคูณ
ของอีกตัวหนึ่ง

15. หาผลบวก ผลลบ


ของทศนิยมไม่เกิน
3 ตำ�แหน่ง

16. แสดงวิธีหาคำ�ตอบ
ของโจทย์ปัญหาการบวก
การลบ 2 ขั้นตอน
ของทศนิยมไม่เกิน
3 ตำ�แหน่ง

© สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), 2563 (4)


คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

สาระที่ 1 จำ�นวนและพีชคณิต
ตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้
ป.4 ป.5 ป.6
ค 1.2 เข้าใจและ (มีการจัดการเรียนการสอน - 1. แสดงวิธีคิดและหาคำ�ตอบ
วิเคราะห์แบบรูป เพื่อเป็นพื้นฐาน แต่ไม่วัดผล) ของปัญหาเกี่ยวกับ
ความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน แบบรูป
ลำ�ดับและอนุกรม
และนำ�ไปใช้
ค 1.3 ใช้นิพจน์ สมการ - - -
และอสมการอธิบาย
ความสัมพันธ์ หรือช่วย
แก้ปัญหาที่กำ�หนดให้

สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณิต
ตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้
ป.4 ป.5 ป.6
ค 2.1 เข้าใจพื้นฐาน 1. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของ 1. แสดงวิธห
ี าคำ�ตอบของ 1. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของ
เกี่ยวกับการวัด วัดและ โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ
คาดคะเนขนาดของสิ่งที่ ความยาวที่มีการ ปริมาตรของ
2. วัดและสร้างมุม โดยใช้
ต้องการวัด และนำ�ไปใช้ เปลี่ยนหน่วยและ รูปเรขาคณิตสามมิติ
โพรแทรกเตอร์
เขียนในรูปทศนิยม ที่ประกอบด้วย
3. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของ ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
2. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของ
โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ
โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ 2. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของ
ความยาวรอบรูปและ
น้ำ�หนักที่มีการเปลี่ยน โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ
พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยม-
หน่วยและเขียนในรูป ความยาวรอบรูปและ
มุมฉาก
ทศนิยม พื้นที่ของรูปหลายเหลี่ยม

3. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของ 3. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของ
โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ
ปริมาตรของทรง- ความยาวรอบรูปและ
สี่เหลี่ยมมุมฉากและ พื้นที่ของวงกลม
ความจุของภาชนะ
ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก

© สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), 2563 (5)


คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณิต
ตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้
ป.4 ป.5 ป.6
4. แสดงวิธีหาคำ�ตอบ
ของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ
ความยาวรอบรูป
ของรูปสี่เหลี่ยมและ
พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยม-
ด้านขนานและรูป-
สี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน

ค 2.2 เข้าใจและ 1. จำ�แนกชนิดของมุม 1. สร้างเส้นตรง 1. จำ�แนกรูปสามเหลี่ยม


วิเคราะห์รูปเรขาคณิต บอกชื่อมุม ส่วนประกอบ หรือส่วนของเส้นตรง โดยพิจารณาจาก
สมบัติของรูปเรขาคณิต ของมุมและเขียน ให้ขนานกับเส้นตรง สมบัติของรูป
ความสัมพันธ์ระหว่าง สัญลักษณ์แสดงมุม หรือส่วนของเส้นตรง
2. สร้างรูปสามเหลี่ยม
รูปเรขาคณิต และ ที่กำ�หนดให้
2. สร้างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก เมื่อกำ�หนดความยาว
ทฤษฎีบททางเรขาคณิต
เมื่อกำ�หนดความยาว 2. จำ�แนกรูปสี่เหลี่ยม ของด้านและขนาด
และนำ�ไปใช้
ของด้าน โดยพิจารณาจาก ของมุม
สมบัติของรูป
3. บอกลักษณะของรูป-
3. สร้างรูปสี่เหลี่ยมชนิด เรขาคณิตสามมิติ
ต่าง ๆ เมื่อกำ�หนด ชนิดต่าง ๆ
ความยาวของด้าน
4. ระบุรูปเรขาคณิตสามมิติ
และขนาดของมุมหรือ
ที่ประกอบจากรูปคลี่
เมื่อกำ�หนดความยาว
และระบุรูปคลี่ของรูป-
ของเส้นทแยงมุม
เรขาคณิตสามมิติ
4. บอกลักษณะของปริซึม

© สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), 2563 (6)


คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

สาระที่ 3 สถิติและความน่าจะเป็น
ตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้
ป.4 ป.5 ป.6
ค 3.1 เข้าใจกระบวนการ 1. ใช้ข้อมูลจากแผนภูมิแท่ง 1. ใช้ข้อมูลจากกราฟเส้น 1. ใช้ข้อมูลจากแผนภูมิ-
ทางสถิติ และใช้ความรู้ ตารางสองทางในการหา ในการหาคำ�ตอบ รูปวงกลมในการหาคำ�ตอบ
ทางสถิติในการแก้ปัญหา คำ�ตอบของโจทย์ปัญหา ของโจทย์ปญ ั หา ของโจทย์ปัญหา

2. เขียนแผนภูมิแท่ง
จากข้อมูลที่เป็น
จำ�นวนนับ

ค 3.2 เข้าใจหลักการนับ - - -
เบื้องต้น ความน่าจะเป็น
และนำ�ไปใช้

© สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), 2563 (7)


คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

สาระการเรียนรู้แกนกลาง วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6

สาระที่ 1 จำ�นวนและพีชคณิต
สาระการเรียนรู้แกนกลาง
มาตรฐานการเรียนรู้
ป.4 ป.5 ป.6
ค 1.1 เข้าใจ จำ�นวนนับที่มากกว่า จำ�นวนนับและ 0 จำ�นวนนับ และ 0
ความหลากหลาย 100,000 และ 0 การบวก การลบ การคูณ
• ตัวประกอบ
ของการแสดงจำ�นวน และการหาร
• การอ่าน การเขียนตัวเลข จำ�นวนเฉพาะ
ระบบจำ�นวน
ฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย • การแก้โจทย์ปัญหา ตัวประกอบเฉพาะ และ
การดำ�เนินการของจำ�นวน
และตัวหนังสือแสดงจำ�นวน โดยใช้บัญญัติไตรยางศ์ การแยกตัวประกอบ
ผลที่เกิดขึ้นจาก
การดำ�เนินการ • หลัก ค่าประจำ�หลักและ • ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
เศษส่วน และการบวก
สมบัติของการดำ�เนินการ ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก การลบ การคูณ การหาร
และนำ�ไปใช้ • การแก้โจทย์ปัญหา
และการเขียนตัวเลข เศษส่วน
เกี่ยวกับ ห.ร.ม.
แสดงจำ�นวนในรูปกระจาย
• การเปรียบเทียบเศษส่วน และ ค.ร.น.
• การเปรียบเทียบและ และจำ�นวนคละ เศษส่วน
เรียงลำ�ดับจำ�นวน
• การบวก การลบเศษส่วน • การเปรียบเทียบและ
• ค่าประมาณของจำ�นวนนับ
และจำ�นวนคละ เรียงลำ�ดับเศษส่วน
และการใช้เครื่องหมาย ≈
และจำ�นวนคละ
• การคูณ การหารของ
การบวก การลบ การคูณ โดยใช้ความรู้เรื่อง ค.ร.น.
เศษส่วนและจำ�นวนคละ
การหารจำ�นวนนับที่
การบวก การลบ การคูณ
มากกว่า 100,000 และ 0
• การบวก ลบ คูณ หารระคน การหารเศษส่วน
• การประมาณผลลัพธ์ ของเศษส่วนและ
จำ�นวนคละ • การบวก การลบเศษส่วน
ของการบวก การลบ
และจำ�นวนคละ
การคูณ การหาร
• การแก้โจทย์ปัญหา โดยใช้ความรู้เรื่อง ค.ร.น.
• การบวกและการลบ เศษส่วนและจำ�นวนคละ
• การบวก ลบ คูณ หารระคน
• การคูณและการหาร ของเศษส่วนและ
จำ�นวนคละ
• การบวก ลบ คูณ หารระคน
• การแก้โจทย์ปัญหา
• การแก้โจทย์ปัญหาและ เศษส่วนและจำ�นวนคละ
การสร้างโจทย์ปัญหา
พร้อมทั้งหาคำ�ตอบ

© สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), 2563 (8)


คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

สาระที่ 1 จำ�นวนและพีชคณิต
สาระการเรียนรู้แกนกลาง
มาตรฐานการเรียนรู้
ป.4 ป.5 ป.6
เศษส่วน ทศนิยม ทศนิยม และการบวก
การลบ การคูณ การหาร
• เศษส่วนแท้ เศษเกิน • ความสัมพันธ์ระหว่าง
เศษส่วนและทศนิยม • ความสัมพันธ์ระหว่าง
• จำ�นวนคละ
เศษส่วนและทศนิยม
• ค่าประมาณของทศนิยม
• ความสัมพันธ์ระหว่าง
ไม่เกิน 3 ตำ�แหน่ง • การหารทศนิยม
จำ�นวนคละและเศษเกิน
ที่เป็นจำ�นวนเต็ม
• เศษส่วนที่เท่ากัน เศษส่วน- ทศนิยม 1 ตำ�แหน่ง • การแก้โจทย์ปัญหา
อย่างต่ำ� และเศษส่วน และ 2 ตำ�แหน่ง เกี่ยวกับทศนิยม
ที่เท่ากับจำ�นวนนับ การใช้เครื่องหมาย ≈ (รวมการแลกเงิน
ต่างประเทศ)
• การเปรียบเทียบ การคูณ การหารทศนิยม
เรียงลำ�ดับเศษส่วน อัตราส่วน
• การประมาณผลลัพธ์
และจำ�นวนคละ
ของการบวก การลบ
• อัตราส่วน
การบวก การลบเศษส่วน การคูณ การหารทศนิยม
อัตราส่วนที่เท่ากัน
• การคูณทศนิยม และมาตราส่วน
• การบวก การลบเศษส่วน
และจำ�นวนคละ อัตราส่วนและร้อยละ
• การหารทศนิยม
• การแก้โจทย์ปญ
ั หาการบวก
• การแก้โจทย์ปญ
ั หาเกีย่ วกับ • การแก้โจทย์ปัญหา
และโจทย์ปัญหาการลบ
ทศนิยม อัตราส่วนและมาตราส่วน
เศษส่วนและจำ�นวนคละ
ร้อยละหรือเปอร์เซ็นต์ • การแก้โจทย์ปัญหาร้อยละ

• การอ่านและการเขียน
ร้อยละหรือเปอร์เซ็นต์

• การแก้โจทย์ปัญหาร้อยละ

© สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), 2563 (9)


คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

สาระที่ 1 จำ�นวนและพีชคณิต
สาระการเรียนรู้แกนกลาง
มาตรฐานการเรียนรู้
ป.4 ป.5 ป.6
ทศนิยม

• การอ่านและการเขียน
ทศนิยมไม่เกิน 3 ตำ�แหน่ง
ตามปริมาณที่กำ�หนด

• หลัก ค่าประจำ�หลัก
ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก
ของทศนิยม และการเขียน
ตัวเลขแสดงทศนิยม
ในรูปกระจาย

• ทศนิยมที่เท่ากัน

• การเปรียบเทียบและ
เรียงลำ�ดับทศนิยม

การบวก การลบทศนิยม

• การบวก การลบทศนิยม

• การแก้โจทย์ปัญหา
การบวก การลบทศนิยม
ไม่เกิน 2 ขั้นตอน

ค 1.2 เข้าใจและ แบบรูป - แบบรูป


วิเคราะห์แบบรูป
• แบบรูปของจำ�นวน • การแก้ปัญหา
ความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน
ที่เกิดจากการคูณ การหาร เกี่ยวกับแบบรูป
ลำ�ดับและอนุกรม
ด้วยจำ�นวนเดียวกัน
และนำ�ไปใช้

ค 1.3 ใช้นิพจน์ สมการ - - -


และอสมการอธิบาย
ความสัมพันธ์หรือช่วย
แก้ปัญหาที่กำ�หนดให้

© สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), 2563 (10)


คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณิต
สาระการเรียนรู้แกนกลาง
มาตรฐานการเรียนรู้
ป.4 ป.5 ป.6
ค 2.1 เข้าใจพื้นฐาน เวลา ความยาว ความยาวรอบรูปและพื้นที่
เกี่ยวกับการวัด วัดและ ∙ ความสัมพันธ์ระหว่าง ∙ ความยาวรอบรูปและ
∙ การบอกระยะเวลา
คาดคะเนขนาดของสิ่งที่ หน่วยความยาว พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม
เป็นวินาที นาที ชั่วโมง
ต้องการวัด และนำ�ไปใช้ เซนติเมตรกับมิลลิเมตร
วัน สัปดาห์ เดือน ปี
∙ มุมภายในของ
เมตรกับเซนติเมตร
∙ การเปรียบเทียบระยะเวลา รูปหลายเหลี่ยม
กิโลเมตรกับเมตร โดยใช้
โดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่าง ความรู้เรื่องทศนิยม ∙ ความยาวรอบรูปและ
หน่วยเวลา
พื้นที่ของรูปหลายเหลี่ยม
∙ การแก้โจทย์ปญ ั หาเกีย่ วกับ
∙ การอ่านตารางเวลา ความยาวโดยใช้ความรู้ ∙ การแก้โจทย์ปัญหา
∙ การแก้โจทย์ปัญหา เรื่องการเปลี่ยนหน่วย เกี่ยวกับความยาวรอบรูป
เกี่ยวกับเวลา และทศนิยม และพื้นที่ของ
รูปหลายเหลี่ยม
การวัดและสร้างมุม น้ำ�หนัก
∙ ความยาวรอบรูปและ
∙ การวัดขนาดของมุม ∙ ความสัมพันธ์ระหว่าง
พื้นที่ของวงกลม
โดยใช้โพรแทรกเตอร์ หน่วยน้ำ�หนัก กิโลกรัม
กับกรัม โดยใช้ความรู้ ∙ การแก้โจทย์ปัญหา
∙ การสร้างมุมเมื่อกำ�หนด
เรื่องทศนิยม เกีย่ วกับความยาวรอบรูป
ขนาดของมุม
และพื้นที่ของวงกลม
∙ การแก้โจทย์ปัญหา
รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
เกี่ยวกับน้ำ�หนัก ปริมาตรและความจุ
∙ ความยาวรอบรูปของ โดยใช้ความรู้เรื่อง
การเปลี่ยนหน่วย ∙ ปริมาตรของรูปเรขาคณิต-
รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
และทศนิยม สามมิติที่ประกอบด้วย
∙ พืน
้ ทีข
่ องรูปสีเ่ หลีย่ มมุมฉาก ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก

∙ การแก้โจทย์ปญ ั หาเกีย่ วกับ ∙ การแก้โจทย์ปัญหา


ความยาวรอบรูปและพื้นที่ เกี่ยวกับปริมาตรของ
ของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก รูปเรขาคณิตสามมิติ
ที่ประกอบด้วยทรง-
สี่เหลี่ยมมุมฉาก

© สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), 2563 (11)


คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณิต
สาระการเรียนรู้แกนกลาง
มาตรฐานการเรียนรู้
ป.4 ป.5 ป.6
ปริมาตรและความจุ

• ปริมาตรของทรง-
สี่เหลี่ยมมุมฉากและ
ความจุของภาชนะ
ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก

• ความสัมพันธ์ระหว่าง
มิลลิลิตร ลิตร
ลูกบาศก์เซนติเมตร
และลูกบาศก์เมตร

• การแก้โจทย์ปัญหา
เกี่ยวกับปริมาตรของ
ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
และความจุของภาชนะ
ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก

ความยาวรอบรูปและพื้นที่

• ความยาวรอบรูป
ของรูปสี่เหลี่ยม

• พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยม-
ด้านขนานและรูป-
สี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน

• การแก้โจทย์ปัญหา
เกีย่ วกับความยาวรอบรูป
ของรูปสี่เหลี่ยมและ
พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยม-
ด้านขนานและรูป-
สี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน

© สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), 2563 (12)


คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณิต
สาระการเรียนรู้แกนกลาง
มาตรฐานการเรียนรู้
ป.4 ป.5 ป.6
ค 2.2 เข้าใจและ รูปเรขาคณิต รูปเรขาคณิต รูปเรขาคณิตสองมิติ
วิเคราะห์รูปเรขาคณิต
• ระนาบ จุด เส้นตรง รังสี ∙ เส้นตั้งฉากและสัญลักษณ์ ∙ ชนิดและสมบัติของ
สมบัติของรูปเรขาคณิต
ส่วนของเส้นตรงและ แสดงการตั้งฉาก รูปสามเหลี่ยม
ความสัมพันธ์ระหว่าง
สัญลักษณ์แสดงเส้นตรง
รูปเรขาคณิต และ ∙ เส้นขนานและสัญลักษณ์ ∙ การสร้างรูปสามเหลี่ยม
รังสี ส่วนของเส้นตรง
ทฤษฎีบททางเรขาคณิต แสดงการขนาน
และนำ�ไปใช้ ∙ ส่วนต่าง ๆ ของวงกลม
• มุม
∙ การสร้างเส้นขนาน
∙ การสร้างวงกลม
- ส่วนประกอบของมุม
∙ มุมแย้ง มุมภายใน
- การเรียกชื่อมุม รูปเรขาคณิตสามมิติ
และมุมภายนอกที่อยู่บน
- สัญลักษณ์แสดงมุม ข้างเดียวกันของเส้นตัดขวาง ∙ ทรงกลม ทรงกระบอก
- ชนิดของมุม (Transversal) กรวย พีระมิด
• ชนิดและสมบัติของ รูปเรขาคณิตสองมิติ ∙ รูปคลี่ของทรงกระบอก
รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก กรวย ปริซึม พีระมิด
∙ ชนิดและสมบัติ
• การสร้างรูปสีเ่ หลีย่ มมุมฉาก ของรูปสี่เหลี่ยม

∙ การสร้างรูปสี่เหลี่ยม

รูปเรขาคณิตสามมิติ

∙ ลักษณะและส่วนต่าง ๆ
ของปริซึม

© สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), 2563 (13)


คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

สาระที่ 3 สถิติและความน่าจะเป็น
สาระการเรียนรู้แกนกลาง
มาตรฐานการเรียนรู้
ป.4 ป.5 ป.6
ค 3.1 เข้าใจกระบวนการ การนำ�เสนอข้อมูล การนำ�เสนอข้อมูล การนำ�เสนอข้อมูล
ทางสถิติ และใช้ความรู้
∙ การอ่านและการเขียน ∙ การอ่านและการเขียน ∙ การอ่านแผนภูมิรูปวงกลม
ทางสถิติในการแก้ปัญหา
แผนภูมิแท่ง แผนภูมิแท่ง
(ไม่รวมการย่นระยะ)
∙ การอ่านกราฟเส้น
∙ การอ่านตารางสองทาง
(two-way table)

ค 3.2 เข้าใจหลักการนับ - - -
เบื้องต้น ความน่าจะเป็น
และนำ�ไปใช้

© สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), 2563 (14)


คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

ตัวอย่างโครงสร้างเวลาเรียนรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

บทที่/เรื่อง เวลา (ชั่วโมง)

ภาคเรียนที่ 1
บทที่ 1 ห.ร.ม. และ ค.ร.น. 19

บทที่ 2 เศษส่วน 17

บทที่ 3 ทศนิยม 15

บทที่ 4 ร้อยละและอัตราส่วน 20

บทที่ 5 แบบรูป 9

กิจกรรมคณิตศาสตร์เชิงสะเต็ม : หยิบให้ชนะ -

รวมภาคเรียนที่ 1 80

ภาคเรียนที่ 2
บทที่ 6 รูปสามเหลี่ยม 20

บทที่ 7 รูปหลายเหลี่ยม 17

บทที่ 8 วงกลม 20

บทที่ 9 รูปเรขาคณิตสามมิติ 13

บทที่ 10 การนำ�เสนอข้อมูล 10

กิจกรรมคณิตศาสตร์เชิงสะเต็ม : โรงงานลูกกวาด -

รวมภาคเรียนที่ 2 80

รวมเวลาเรียนตลอดปีการศึกษา 160

หมายเหตุ 1. ควรสอนวันละ 1 ชั่วโมง 4 วันต่อสัปดาห์


2. จำ�นวนชั่วโมงที่ใช้สอนแต่ละบทนั้นได้ รวมเวลาที่ใช้ทดสอบไว้แล้ว
3. กำ�หนดเวลาทีใ่ ห้ไว้แต่ละบทเป็นเวลาโดยประมาณ ครูอาจปรับให้เหมาะสมกับระดับความสามารถของนักเรียน
4. กิจกรรมคณิตศาสตร์เชิงสะเต็มเป็นกิจกรรมเสริม ครูอาจให้นักเรียนทำ�กิจกรรมนี้ในเวลาที่เหมาะสม

© สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), 2563 (15)


คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

ตัวอย่างคำ�อธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

รหัสวิชา ค 16101 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์


ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เวลา 160 ชั่วโมง

ศึกษา ฝึกทักษะการคิดคำ�นวณ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในเนื้อหาต่อไปนี้


ตัวประกอบของจำ�นวนนับ จำ�นวนเฉพาะ การแยกตัวประกอบ ตัวหารร่วมที่มากที่สุด (ห.ร.ม.)
ผลคูณร่วมที่น้อยที่สุด (ค.ร.น.) การแก้โจทย์ปัญหาโดยใช้ความรู้เกี่ยวกับ ห.ร.ม และ ค.ร.น. การเปรียบเทียบ
และเรียงลำ�ดับเศษส่วนและจำ�นวนคละ การบวก การลบเศษส่วนและจำ�นวนคละ การบวก ลบ คูณ หารระคน
ของเศษส่วนและจำ�นวนคละ การแก้โจทย์ปัญหาเศษส่วนและจำ�นวนคละ 2-3 ขั้นตอน ความสัมพันธ์ระหว่าง
เศษส่วนกับทศนิยม การหารทศนิยมที่ตัวหารและผลหารเป็นทศนิยมไม่เกิน 3 ตำ�แหน่ง การแลกเปลี่ยนเงินตรา
การแก้โจทย์ปัญหาการบวก การลบ การคูณ การหารทศนิยม 3 ขั้นตอน การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับร้อยละ
2-3 ขั้นตอน อัตราส่วน อัตราส่วนที่เท่ากัน มาตราส่วน การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วนและมาตราส่วน
แบบรูปและความสัมพันธ์ การแก้ปัญหาเกี่ยวกับแบบรูป
ชนิดและสมบัติของรูปหลายเหลี่ยม มุมภายในของรูปหลายเหลี่ยม การสร้างรูปสามเหลี่ยม
ความยาวรอบรูปและพื้นที่ของรูปหลายเหลี่ยม การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาวรอบรูปและพื้นที่
ของรูปหลายเหลี่ยม ส่วนต่าง ๆ ของวงกลม การสร้างวงกลม ความยาวรอบรูปและพื้นที่ของวงกลม
การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาวรอบรูปและพื้นที่ของวงกลม ทรงกลม ทรงกระบอก กรวย พีระมิด
รูปคลี่ของทรงกระบอก กรวย ปริซึม พีระมิด ปริมาตรของรูปเรขาคณิตสามมิติที่ประกอบด้วย
ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับปริมาตรของรูปเรขาคณิตสามมิติที่ประกอบด้วย
ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
การอ่านแผนภูมิรูปวงกลม การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับแผนภูมิรูปวงกลม
โดยจัดประสบการณ์การเรียนรู้จากสถานการณ์ที่ใกล้ตัวหรือที่พบเห็นในชีวิตจริง ให้นักเรียนศึกษา
ค้นคว้าจากการปฏิบัติ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดคำ�นวณ และพัฒนาทักษะและกระบวนการทาง
คณิตศาสตร์ สามารถทำ�งานอย่างเป็นระบบ มีระเบียบวินัย มีความรอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ
มีความเชื่อมั่นในตนเองพร้อมทั้งตระหนักในคุณค่า และมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์
เน้นการวัดผลและประเมินผลเพือ
่ พัฒนาการเรียนรู้ ด้วยวิธก
ี ารทีห
่ ลากหลาย โดยให้สอดคล้องกับบริบท
และเป็นไปตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด

© สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), 2563 (16)


คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

รหัสตัวชี้วัด
ค 1.1 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4, ป.6/5, ป.6/6, ป.6/7, ป.6/8, ป.6/9, ป.6/10,
ป.6/11, ป.6/12
ค 1.2 ป.6/1
ค 1.3 -
ค 2.1 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3
ค 2.2 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4
ค 3.1 ป.6/1
ค 3.2 -
รวมทั้งหมด 21 ตัวชี้วัด

© สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), 2563 (17)


คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

จำ�นวนและพีชคณิต การวัดและเรขาคณิต สถิติและความน่าจะเป็น

จำ�นวนนับ เศษส่วน รูปสามเหลี่ยม รูปหลายเหลี่ยม การนำ�เสนอข้อมูล

∙ ห.ร.ม. ∙ การเปรียบเทียบและเรียงลำ�ดับเศษส่วน ∙ ชนิด และสมบัติ ∙ ลักษณะของรูปหลายเหลี่ยม ∙ การอ่านแผนภูมิรูปวงกลม


จำ�นวนคละ
∙ ค.ร.น. ∙ มุมภายใน ∙ มุมภายใน ∙ โจทย์ปัญหา
∙ การบวก การลบเศษส่วนและจำ�นวนคละ
∙ โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ ห.ร.ม. ∙ การสร้าง ∙ ความยาวรอบรูป
โดยใช้ความรู้เรื่อง ค.ร.น.
และ ค.ร.น.
∙ ความยาวรอบรูป ∙ พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมคางหมู
∙ การบวก ลบ คูณ หารระคนของเศษส่วน
และจำ�นวนคละ ∙ พื้นที่ รูปสี่เหลี่ยมรูปว่าว รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส
รูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน
∙ โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเศษส่วนและจำ�นวนคละ ∙ โจทย์ปัญหา
2-3 ขั้นตอน ∙ พื้นที่ของรูปหลายเหลี่ยม
∙ โจทย์ปัญหา

ทศนิยม ร้อยละและอัตราส่วน วงกลม รูปเรขาคณิตสามมิติ

∙ การหารทศนิยมที่ตัวหารและผลหาร ∙ โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับร้อยละ 2-3 ขั้นตอน ∙ ลักษณะและส่วนต่าง ๆ ∙ ลักษณะและส่วนต่าง ๆ ของพีระมิด ทรงกลม


เป็นทศนิยมไม่เกิน 3 ตำ�แหน่ง ทรงกระบอก กรวย
∙ อัตราส่วน อัตราส่วนที่เท่ากัน ∙ ความยาวของเส้นรอบวง
∙ โจทย์ปัญหาการบวก การลบ การคูณ ∙ รูปคลี่ของปริซึม พีระมิด ทรงกระบอก กรวย
∙ มาตราส่วน ∙ พื้นที่
การหารทศนิยม 3 ขั้นตอน
∙ โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน ∙ โจทย์ปัญหา ∙ ปริมาตรของรูปเรขาคณิตสามมิติที่ประกอบด้วย
และมาตราส่วน ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
∙ โจทย์ปัญหา
แบบรูป

∙ การแก้ปัญหาเกี่ยวกับแบบรูป

© สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), 2563 (18)


คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

ตารางวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง


ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

หน่วยการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง


บทที่ 1 นักเรียนสามารถ ค 1.1 ป.6/4 จำ�นวนนับและ 0
ห.ร.ม. และ ค.ร.น. 1. หา ห.ร.ม. ของจำ�นวนนับ หา ห.ร.ม. ของจำ�นวนนับ • ตัวประกอบ
ไม่เกิน 3 จำ�นวน ไม่เกิน 3 จำ�นวน จำ�นวนเฉพาะ
2. หา ค.ร.น. ของจำ�นวนนับ ค 1.1 ป.6/5 ตัวประกอบเฉพาะ และ
ไม่เกิน 3 จำ�นวน หา ค.ร.น. ของจำ�นวนนับ การแยกตัวประกอบ
ไม่เกิน 3 จำ�นวน • ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
3. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของโจทย์
ปัญหา โดยใช้ความรู้เกี่ยวกับ ค 1.1 ป.6/6 • การแก้โจทย์ปัญหา
ห.ร.ม. และ ค.ร.น. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของโจทย์ เกี่ยวกับ ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
ปัญหาโดยใช้ความรู้เกี่ยวกับ
ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
บทที่ 2 นักเรียนสามารถ ค 1.1 ป.6/1 เศษส่วน
เศษส่วน 1. เปรียบเทียบ เรียงลำ�ดับ เปรียบเทียบเรียงลำ�ดับเศษส่วน • การเปรียบเทียบและเรียงลำ�ดับ
เศษส่วนและจำ�นวนคละ และจำ�นวนคละจากสถานการณ์ เศษส่วนและจำ�นวนคละ
จากสถานการณ์ต่าง ๆ ต่าง ๆ โดยใช้ความรู้เรื่อง ค.ร.น.
2. หาผลลัพธ์ของการบวก ค 1.1 ป.6/7 การบวก การลบ การคูณ
ลบ คูณ หารระคนของ หาผลลัพธ์ของการบวก ลบ คูณ การหารเศษส่วน
เศษส่วนและจำ�นวนคละ หารระคนของเศษส่วน • การบวก การลบเศษส่วน
และจำ�นวนคละ และจำ�นวนคละ โดยใช้
3. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของ
โจทย์ปัญหาเศษส่วนและ ค 1.1 ป.6/8 ความรู้เรื่อง ค.ร.น.
จำ�นวนคละ 2-3 ขั้นตอน แสดงวิธีหาคำ�ตอบ • การบวก ลบ คูณ หารระคน
ของโจทย์ปัญหาเศษส่วนและ ของเศษส่วน และจำ�นวนคละ
จำ�นวนคละ 2-3 ขั้นตอน • การแก้โจทย์ปัญหา
เศษส่วนและจำ�นวนคละ
บทที่ 3 นักเรียนสามารถ ค 1.1 ป.6/9 ทศนิยม และการบวก การลบ
ทศนิยม 1. หาผลหารของทศนิยม หาผลหารของทศนิยมที่ตัวหาร การคูณ การหาร
ที่ตัวหารและผลหาร และผลหาร เป็นทศนิยมไม่เกิน • ความสัมพันธ์ระหว่าง
เป็นทศนิยมไม่เกิน 3 ตำ�แหน่ง 3 ตำ�แหน่ง เศษส่วนและทศนิยม
2. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของ ค 1.1 ป.6/10 • การหารทศนิยม
โจทย์ปัญหาการบวก การลบ แสดงวิธีหาคำ�ตอบ
• การแก้โจทย์ปัญหา
การคูณ และการหารทศนิยม ของโจทย์ปญั หาการบวก
เกี่ยวกับทศนิยม
3 ขั้นตอน การลบ การคูณ การหารทศนิยม
(รวมการแลกเงินต่างประเทศ)
3 ขั้นตอน

© สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), 2563 (19)


คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

หน่วยการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง


บทที่ 4 นักเรียนสามารถ ค 1.1 ป.6/2 อัตราส่วน
ร้อยละและอัตราส่วน 1. แก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ เขียนอัตราส่วนแสดงการเปรียบ • อัตราส่วน อัตราส่วนที่เท่ากัน
ร้อยละ 2-3 ขั้นตอน เทียบปริมาณ 2 ปริมาณ และมาตราส่วน
จากข้อความ หรือสถานการณ์
2. เขียนอัตราส่วนแสดง อัตราส่วนและร้อยละ
โดยที่ปริมาณแต่ละปริมาณ
การเปรียบเทียบปริมาณ
เป็นจำ�นวนนับ • การแก้โจทย์ปัญหา
2 ปริมาณ
ค 1.1 ป.6/3 อัตราส่วนและมาตราส่วน
3. หาอัตราส่วนที่เท่ากับ
หาอัตราส่วนที่เท่ากับ • การแก้โจทย์ปัญหาร้อยละ
อัตราส่วนที่กำ�หนด
อัตราส่วนที่กำ�หนดให้
4. แก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ
อัตราส่วนและมาตราส่วน ค 1.1 ป.6/11
แสดงวิธีหาคำ�ตอบ
ของโจทย์ปัญหาอัตราส่วน
ค 1.1 ป.6/12
แสดงวิธีหาคำ�ตอบของโจทย์
ปัญหาร้อยละ 2-3 ขั้นตอน

บทที่ 5 นักเรียนสามารถแก้ปัญหา ค 1.2 ป.6/1 แบบรูป


แบบรูป เกี่ยวกับแบบรูป แสดงวิธีคิดและหาคำ�ตอบ • การแก้ปัญหาเกี่ยวกับแบบรูป
ของปัญหาเกี่ยวกับแบบรูป

© สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), 2563 (20)


คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

บทที่
1 ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
จุดประสงค์การเรียนรู้ และสาระสำ�คัญ

จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระสำ�คัญ
นักเรียนสามารถ

1. หา ห.ร.ม. ของจำ�นวนนับไม่เกิน 3 จำ�นวน ตัวหารร่วมที่มากที่สุด (ห.ร.ม.) ของจำ�นวนนับตั้งแต่


2 จำ�นวนขึ้นไป หมายถึง จำ�นวนนับที่มากที่สุดที่หาร
จำ�นวนนับเหล่านั้นได้ลงตัว

2. หา ค.ร.น. ของจำ�นวนนับไม่เกิน 3 จำ�นวน ผลคูณร่วมที่น้อยที่สุด (ค.ร.น.) ของจำ�นวนนับตั้งแต่


2 จำ�นวนขึ้นไป หมายถึง จำ�นวนนับที่น้อยที่สุด
ที่หารด้วยจำ�นวนนับเหล่านั้นได้ลงตัว

3. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหา โดยใช้ความรู้ การแก้โจทย์ปัญหาโดยใช้ความรู้เกี่ยวกับ ห.ร.ม. และ ค.ร.น.


เกี่ยวกับ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. เริ่มจากทำ�ความเข้าใจปัญหา วางแผนแก้ปัญหา
ดำ�เนินการตามแผน และตรวจสอบ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 1
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

ตารางวิเคราะห์เนื้อหากับทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และเวลาที่ใช้ในการจัดกิจกรรม

เวลา ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
หัวข้อ เนื้อหา
(ชั่วโมง) j k l m n
เตรียมความพร้อม 1 - - - - -

1.1 ตัวประกอบและการแยกตัวประกอบ 4 -  -  -
• ตัวประกอบของจำ�นวนนับ
• จำ�นวนเฉพาะและตัวประกอบเฉพาะ
• การแยกตัวประกอบ

1.2 ตัวหารร่วมที่มากที่สุด (ห.ร.ม.) 4 -  -  -


• การหา ห.ร.ม. โดยการหาตัวหารร่วม
• การหา ห.ร.ม. โดยการแยกตัวประกอบ
• การหา ห.ร.ม. โดยการหาร

1.3 ผลคูณร่วมที่น้อยที่สุด (ค.ร.น.) 4 -  -  -


• การหา ค.ร.น. โดยการหาผลคูณร่วม
• การหา ค.ร.น. โดยการแยกตัวประกอบ
• การหา ค.ร.น. โดยการหาร

1.4 โจทย์ปัญหา 5   -  -

ร่วมคิดร่วมทำ� 1   -  -

ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์

j การแก้ปัญหา k การสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์
l การเชื่อมโยง m การให้เหตุผล n การคิดสร้างสรรค์

คำ�ใหม่
ตัวประกอบ จำ�นวนเฉพาะ ตัวประกอบเฉพาะ การแยกตัวประกอบ ตัวประกอบร่วม ตัวหารร่วม
ตัวประกอบร่วมที่มากที่สุด ตัวหารร่วมที่มากที่สุด (ห.ร.ม.) ผลคูณร่วม ผลคูณร่วมที่น้อยที่สุด (ค.ร.น.)

ความรู้หรือทักษะพื้นฐาน
1. การคูณและการหารจำ�นวนนับ
2. การแก้โจทย์ปัญหาการคูณและโจทย์ปัญหาการหาร

2| สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

สื่อการเรียนรู้
-

แหล่งเรียนรู้
1. หนังสือเรียน หน้า 2-43

2. แบบฝึกหัด หน้า 2-41

เวลาที่ใช้จัดการเรียนรู้
19 ชั่วโมง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 3
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

แนวการจัดการเรียนรู้
การเตรียมความพร้อม

บทที่
1 ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
ร้านค้าสหกรณ์แห่งหนึ่ง มีข้าวโพดทับทิม 195 ฝัก ข้าวโพดข้าวเหนียว
255 ฝัก และข้าวโพดหวาน 330 ฝัก ต้องการบรรจุข้าวโพดใส่ถุง ถุงละเท่า ๆ กัน
ให้หมดพอดี โดยแต่ละถุงต้องเป็นข้าวโพดชนิดเดียวกัน แม่ค้าจะบรรจุข้าวโพด
ได้มากที่สุดถุงละกี่ฝัก และได้กี่ถุง ถุงละ 15 ฝัก และได้ 52 ถุง
เรียนจบบทนี้แล้ว นักเรียนสามารถ
หา ห.ร.ม. ของจำานวนนับไม่เกิน 3 จำานวน
หา ค.ร.น. ของจำานวนนับไม่เกิน 3 จำานวน
แสดงวิธีหาคำาตอบของโจทย์ปัญหา โดยใช้ความรู้เกี่ยวกับ ห.ร.ม และ ค.ร.น.

12 12

ร้าร้นค้
านค้
าสหกรณ์
าสหกรณ์ 9
6
9 3
6
3

น้ำอัดลม น้ำอัดลม
น้ำอัดลมน้ำอัดลม
น้ำอัดลมน้ำอัดลม
น้ำอัดลมน้ำอัดลม
น้ำอัดลมน้ำอัดลม
น้ำอัดลมน้ำอัดลม
น้ำอัดลมน้ำอัดลม
น้ำอัดลมน้ำอัดลม
น้ำอัดลมน้ำอัดลม
น้ำอัดลมน้ำอัดลม
น้ำอัดลมน้ำอัดลม
น้ำอัดลม น้ำอัดลม

ข้าวโพข้ดข
าวโพ ดขนี้ายวเห
้าวเห ว นียว
ข้าวโพด หวานหวาน
ข้าวโพด ข้าวโพดทั บทิม บทิม
ข้าวโพดทั

1. ครูใช้สถานการณ์หน้าเปิดบทนำ�สนทนาเพื่อกระตุ้นความสนใจเกี่ยวกับการแก้โจทย์ปัญหาโดยใช้ความรู้เกี่ยวกับ ห.ร.ม.
ซึ่งคำ�ถามที่ใช้ควรเริ่มจากจำ�นวนที่ไม่มากนัก เช่น ร้านค้าขายข้าวโพด เหลือข้าวโพดหวาน 12 ฝัก ข้าวโพดข้าวเหนียว
15 ฝัก ถ้าต้องการจัดข้าวโพดทั้งหมดใส่ถุง ถุงละเท่า ๆ กัน โดยแต่ละถุงเป็นข้าวโพดชนิดเดียวกัน แม่ค้าจะจัดข้าวโพด
อย่างไรได้บ้าง ครูตั้งประเด็นคำ�ถามเพื่อเป็นแนวทางไปสู่การหาคำ�ตอบ เช่น
• ถ้าจัดข้าวโพดชนิดเดียวกันใส่ถุง ถุงละ 1 ฝัก ถุงละ 2 ฝัก ถุงละ 3 ฝัก ถุงละ 4 ฝัก ถุงละ 5 ฝัก … จะเป็นอย่างไร
• ถ้าจัดให้แต่ละชนิดหมดพอดี จะจัดอย่างไรได้บ้าง
• ถ้าให้แต่ละถุงมีจำ�นวนฝักมากที่สุด จะได้ถุงละกี่ฝัก และได้ชนิดละกี่ถุง

ทั้งนี้ครูอาจให้นักเรียนปฏิบัติจริงโดยใช้ตัวนับแทนข้าวโพด
จากนั้นใช้สถานการณ์และคำ�ถามในหน้าเปิดบท ให้นักเรียนร่วมกันแสดงวิธีคิดเพื่อหาคำ�ตอบ ซึ่งครูไม่จำ�เป็นต้อง
เฉลยคำ�ตอบ ควรให้นักเรียนเป็นผู้หาคำ�ตอบเองหลังจากเรียนจบ ห.ร.ม. แล้ว

4| สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

2. เตรียมความพร้อม เป็นการตรวจสอบความรูพ ้ น้ื ฐาน


หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6

ทีจ่ �ำ เป็นในการเรียนบทนี้ ครูควรทบทวนความรูพ ้ น ้ื ฐาน บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

ทีจ่ �ำ เป็นก่อน โดยอาจให้นก ั เรียนทำ�กิจกรรมหน้า 4 เตรียมความพร้อม

จากนัน ้ ให้ท�ำ แบบฝึกหัด 1.1 เป็นรายบุคคล 1 หาจำานวนที่แทนด้วย

1) 15 = 5 × 2) 63 = 7×

3) 132 = × 6 4) 288 = × 8

2 ข้อความต่อไปนี้ ถูกหรือผิด เพราะเหตุใด

1) 56 หารด้วย 9 ได้ลงตัว

2) 72 หารด้วย 8 ได้ลงตัว

3) 2, 8, 12, 14, 15 และ 20 นำาไปหาร 60 ได้ลงตัว

4) 96 และ 120 หารด้วย 2, 3, 4 และ 12 ได้ลงตัว

5) จำานวนนับที่มากที่สุดที่นำาไปหาร 77 ได้ลงตัว คือ 11

3 หาคำาตอบ

1) พ่อแบ่งเงินให้ลูก 3 คน คนละ 90 บาท พ่อแบ่งเงินเท่าใด

2) พ่อค้าจัดมะม่วงกองละ 4 ผล ขายไป 37 กอง พ่อค้าขายมะม่วงไปกี่ผล

3) แม่ค้าขายห่อหมก 20 ห่อ ได้เงิน 500 บาท แม่ค้าขายห่อหมกห่อละกี่บาท

4) แก้วตาออมเงินวันละ 10 บาท เป็นเวลา 8 วัน แก้วตาออมเงินได้กี่บาท

แบบฝึกหัด 1.1

4| สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

เฉลยหน้า 4

1) 3 2) 9 3) 22 4) 36

1) ผิด เพราะ 56 หารด้วย 9 ได้ 6 เศษ 2


2) ถูก เพราะ 72 ÷ 8 = 9
3) ผิด เพราะ 8 หารด้วย 60 ได้ 7 เศษ 4 และ 14 หาร 60 ได้ 4 เศษ 4
4) ถูก เพราะ 96 ÷ 2 = 48, 96 ÷ 3 = 32, 96 ÷ 4 = 24 และ 96 ÷ 12 = 8
120 ÷ 2 = 60, 120 ÷ 3 = 40, 120 ÷ 4 = 30 และ 120 ÷ 12 = 10
5) ผิด เพราะ จำานวนนับที่มากที่สุดที่นำาไปหาร 77 ได้ลงตัว คือ 77 ซึ่ง 77 ÷ 77 = 1

1) 270 บาท 2) 148 ผล 3) 25 บาท 4) 80 บาท

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 5
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

1.1 การอ่
ตั วประกอบและการแยกตั
าน การเขียนจำ�นวนนัวบ
ประกอบ
ที่มากกว่า 100,000

เนื้อหานี้สอนเพื่อเป็นความรู้พื้นฐานในการเรียน หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

เรื่องการหา ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของจำ�นวนนับ 1.1 ตัวประกอบและการแยกตัวประกอบ

สื่อการเรียนรู้ ตัวประกอบของจำานวนนับ

พิจารณาสถานการณ์ตอ
่ ไปนี้

- ขุนมีลก
ู อม 6 เม็ด ต้องการจัดลูกอมเป็นกอง กองละเท่า ๆ กัน
ขุนจัดลูกอมได้กองละกีเ่ ม็ด

แนวการจัดการเรียนรู้ การจัดลูกอมเป็นกอง กองละเท่า ๆ กัน จัดได้ 4 แบบ ดังนี้


แบบที่ 1 จัดกองละ 1 เม็ด จะได้ 6 ÷ 1 = 6 กอง
1. การสอนการหาตัวประกอบของจำ�นวนนับ ครูอาจใช้
สถานการณ์หน้า 5-6 ให้นักเรียนพิจารณา โดยครูใช้การถาม-
ตอบประกอบการอธิบาย แล้วร่วมกันสังเกตตัวหารของ 6 แบบที่ 2 จัดกองละ 2 เม็ด จะได้ 6 ÷ 2 = 3 กอง

ซึ่งจะพบว่า 1, 2, 3 และ 6 เป็นจำ�นวนนับที่หาร 6 ได้ลงตัว


จากนั้นครูแนะนำ�ว่า จำ�นวนนับที่หาร 6 ได้ลงตัว
เป็นตัวประกอบของ 6 แสดงว่า 1, 2, 3 และ 6 แบบที่ 3 จัดกองละ 3 เม็ด จะได้ 6 ÷ 3 = 2 กอง

เป็นตัวประกอบของ 6 เพราะ 1, 2, 3 และ 6 หาร 6 ได้ลงตัว


แต่ 4 และ 5 ไม่เป็นตัวประกอบของ 6 เพราะ 4 และ 5 แบบที่ 4 จัดกองละ 6 เม็ด จะได้ 6 ÷ 6 = 1 กอง

หาร 6 ไม่ลงตัว จากนั้นร่วมกันสรุปว่า ตัวประกอบ


ของจำ�นวนนับใด หมายถึง จำ�นวนนับที่หารจำ�นวนนับนั้น
ได้ลงตัว
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี |5

2. ครูและนักเรียนร่วมกันพิจารณาตัวอย่าง 1 และตัวอย่าง 2
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

หน้า 6-7 โดยใช้การถาม-ตอบประกอบการอธิบาย ทัง้ นีค ้ วรให้ จากสถานการณ์ดังกล่าว พบว่า 6÷1 = 6

นักเรียนสังเกตว่า การหาตัวประกอบทั้งหมดของจำ�นวนนับใด 6÷2 = 3

6÷3 = 2
อาจหาได้จาก หาจำ�นวนนับ 2 จำ�นวนที่คูณกันแล้วได้ผลคูณ 6÷6 = 1

เท่ากับจำ�นวนนับนั้น โดยอาจนำ�เสนอวิธีคิดเพื่อหาตัวประกอบ แสดงว่า จำานวนนับทั้งหมดที่หาร 6 ได้ลงตัว ได้แก่ 1, 2, 3 และ 6

เรียกจำานวนนับที่หาร 6 ได้ลงตัวว่า ตัวประกอบของ 6


ทั้งหมดของจำ�นวนนับอีกวิธีดังนี้ เช่น แสดงว่า 1, 2, 3 และ 6 เป็นตัวประกอบของ 6 เพราะ 1, 2, 3 และ 6 หาร 6 ได้ลงตัว

ดังนั้น ตัวประกอบทั้งหมดของ 6 ได้แก่ 1, 2, 3 และ 6

ตัวประกอบของจำานวนนับใด หมายถึง จำานวนนับที่หารจำานวนนับนั้นได้ลงตัว

1
หาตัวประกอบทั้งหมดของ 12

วิธีทำา เนื่องจาก 12 ÷ 1 = 12
ข้อสังเกต 12 = 1 × 12
12 ÷ 2 = 6
12 = 2 × 6
12 ÷ 3 = 4
12 = 3 × 4
12 ÷ 4 = 3

12 ÷ 6 = 2

12 ÷ 12 = 1

ดังนั้น ตัวประกอบทั้งหมดของ 12 ได้แก่ 1, 2, 3, 4, 6 และ 12

ตอบ ๑, ๒, ๓, ๔, ๖ และ ๑๒

6| สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

6| สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

หาตัวประกอบทั้งหมดของ 12 โดยหาจำ�นวนนับทีละคู่ที่คูณกันแล้วได้ผลคูณเท่ากับ 12
• เนื่องจาก 1 × 12 = 12 จะได้ว่า 12 ÷ 1 = 12 และ 12 ÷ 12 = 1
แสดงว่า 1 และ 12 หาร 12 ได้ลงตัว นั่นคือ 1 กับ 12 เป็นตัวประกอบของ 12
• เนื่องจาก 2 × 6 = 12 จะได้ว่า 12 ÷ 2 = 6 และ 12 ÷ 6 = 2
แสดงว่า 2 และ 6 หาร 12 ได้ลงตัว นั่นคือ 2 กับ 6 เป็นตัวประกอบของ 12
• เนื่องจาก 3 × 4 = 12 จะได้ว่า 12 ÷ 3 = 4 และ 12 ÷ 4 = 3
แสดงว่า 3 และ 4 หาร 12 ได้ลงตัว นั่นคือ 3 กับ 4 เป็นตัวประกอบของ 12
ซึ่งจากตัวประกอบทั้งหมดของ 12 เขียนแสดงความสัมพันธ์ของตัวประกอบแต่ละคู่ได้ดังภาพ

1 2 3 4 6 12
ดังนั้น ตัวประกอบทั้งหมดของ 12 ได้แก่ 1, 2, 3, 4, 6 และ 12
ทั้งนี้ครูอาจยกตัวอย่างการหาตัวประกอบทั้งหมดของจำ�นวนนับอื่นเพิ่มเติม ให้นักเรียนช่วยกันหาคำ�ตอบ เช่น
หาตัวประกอบทั้งหมดของ 36 โดยหาจำ�นวนนับทีละคู่ที่คูณกันแล้วได้ผลคูณเท่ากับ 36
• เนื่องจาก 1 × 36 = 36 จะได้ว่า 36 ÷ 1 = 36 และ 36 ÷ 36 = 1
แสดงว่า 1 และ 36 หาร 36 ได้ลงตัว นั่นคือ 1 กับ 36 เป็นตัวประกอบของ 36
• เนื่องจาก 2 × 18 = 36 จะได้ว่า 36 ÷ 2 = 18 และ 36 ÷ 18 = 2
แสดงว่า 2 และ 18 หาร 36 ได้ลงตัว นั่นคือ 2 กับ 18 เป็นตัวประกอบของ 36
• เนื่องจาก 3 × 12 = 36 จะได้ว่า 36 ÷ 3 = 12 และ 36 ÷ 12 = 3
แสดงว่า 3 และ 12 หาร 36 ได้ลงตัว นั่นคือ 3 กับ 12 เป็นตัวประกอบของ 36
• เนื่องจาก 4 × 9 = 36 จะได้ว่า 36 ÷ 4 = 9 และ 36 ÷ 9 = 4
แสดงว่า 4 และ 9 หาร 36 ได้ลงตัว นั่นคือ 4 กับ 9 เป็นตัวประกอบของ 36
• เนื่องจาก 6 × 6 = 36 จะได้ว่า 36 ÷ 6 = 6
แสดงว่า 6 หาร 36 ได้ลงตัว นั่นคือ 6 เป็นตัวประกอบของ 36
ซึ่งจากตัวประกอบทั้งหมดของ 36 เขียนแสดงความสัมพันธ์ของตัวประกอบแต่ละคู่ได้ดังภาพ

1 2 3 4 6 6 9 12 18 36
ดังนั้น ตัวประกอบทั้งหมดของ 36 ได้แก่ 1, 2, 3, 4, 6, 9, 12, 18 และ 36
จากนั้นร่วมกันทำ�กิจกรรมหน้า 7 แล้วให้ทำ�แบบฝึกหัด 1.2 เป็นรายบุคคล

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 7
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น. บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

2 เฉลยหน้า 7

หาตัวประกอบทั้งหมดของ 42
1
วิธีทำา เนื่องจาก 42 ÷ 1 = 42

42 ÷ 2 = 21 ข้อสังเกต 42 = 1 × 42 1) 4 จำานวน ได้แก่ 1, 2, 17 และ 34


42 = 2 × 21 2) เป็น เพราะ 9 หาร 45 ได้ลงตัว
42 ÷ 3 = 14
42 = 3 × 14
3) เป็น เพราะ 7 และ 8 หาร 56 ได้ลงตัว
42 ÷ 6 = 7 42 = 6 × 7
4) ไม่เป็น เพราะ 11 หาร 111 ไม่ลงตัว
42 ÷ 7 = 6

42 ÷ 14 = 3
2
42 ÷ 21 = 2
1) 1, 5 และ 25
42 ÷ 42 = 1
2) 1, 2, 3, 4, 6, 9, 12, 18 และ 36
ดังนั้น ตัวประกอบทั้งหมดของ 42 ได้แก่ 1, 2, 3, 6, 7, 14, 21 และ 42
3) 1 และ 41
ตอบ ๑, ๒, ๓, ๖, ๗, ๑๔, ๒๑ และ ๔๒
4) 1, 7 และ 49
5) 1, 2, 4, 5, 8, 10, 16, 20, 40 และ 80

จำานวนนับทุกจำานวน จะมี 1 และ ตัวมันเอง เป็นตัวประกอบเสมอ 6) 1, 2, 3, 4, 6, 7, 12, 14, 21, 28, 42 และ 84

ปฏิบัติกิจกรรม

1 ตอบคำาถาม
1) ตัวประกอบทั้งหมดของ 34 มีกี่จำานวน อะไรบ้าง
2) 9 เป็นตัวประกอบของ 45 หรือไม่ เพราะเหตุใด
3) 7 และ 8 เป็นตัวประกอบของ 56 หรือไม่ เพราะเหตุใด
4) 11 เป็นตัวประกอบของ 111 หรือไม่ เพราะเหตุใด

2 หาตัวประกอบทั้งหมดของจำานวนที่กำาหนด
1) 25 2) 36 3) 41
4) 49 5) 80 6) 84

แบบฝึกหัด 1.2

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี |7

8| สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

3. การสอนจำ�นวนเฉพาะ ครูใช้การถาม-ตอบเพื่อให้นักเรียน
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6

ช่วยกันหาตัวประกอบทั้งหมดของจำ�นวนนับ 1 ถึง 10 บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

จำานวนเฉพาะและตัวประกอบเฉพาะ
แล้วร่วมกันสังเกตตัวประกอบของจำ�นวนนับเหล่านั้น
พิจารณาตัวประกอบทัง้ หมดของจำานวนนับ ตัง้ แต่ 1-10
เพื่อนำ�ไปสู่ข้อสังเกตที่ว่า
จำานวนนับ ตัวประกอบทั้งหมด จากตาราง พบข้อสังเกตอะไรบ้าง

• 1 มีตัวประกอบเพียงจำ�นวนเดียว คือ 1 1

2
1

1 และ 2
1 มีตัวประกอบเพียงจำานวนเดียว คือ 1

• 1 เป็นตัวประกอบของจำ�นวนนับทุกจำ�นวน
3 1 และ 3

4 1, 2 และ 4
1 เป็นตัวประกอบของจำานวนนับทุกจำานวน
5 1 และ 5
• จำ�นวนนับทุกจำ�นวนมีตัวมันเองเป็นตัวประกอบ 6 1, 2, 3 และ 6
จำานวนนับทุกจำานวน มีตัวมันเองเป็นตัวประกอบ
7 1 และ 7
• 2, 3, 5 และ 7 มีตัวประกอบเพียง 2 จำ�นวน คือ 8 1, 2, 4 และ 8 2, 3, 5 และ 7 มีตัวประกอบเพียง 2 จำานวน
คือ 1 กับ ตัวมันเอง
1 กับ ตัวมันเอง 9 1, 3 และ 9

10 1, 2, 5 และ 10
เราเรียก 2, 3, 5 และ 7 ว่าเป็น จำานวนเฉพาะ
จากนั้นครูแนะนำ�ว่า 2, 3, 5 และ 7 เป็นจำ�นวนเฉพาะ
9 เป็นจำานวนเฉพาะหรือไม่ เพราะเหตุใด

ครูกำ�หนดจำ�นวนนับอื่น เช่น 12, 13, 15 ให้นก


ั เรียน 9 ไม่เป็นจำานวนเฉพาะ เพราะ 9 มีตัวประกอบ 3 จำานวน คือ 1, 3 และ 9

ช่วยกันพิจารณาว่าจำ�นวนเหล่านัน ้ เป็นจำ�นวนเฉพาะ หรือไม่ 11 เป็นจำานวนเฉพาะหรือไม่ เพราะเหตุใด

เพราะเหตุใด แล้วร่วมกันอภิปรายเพื่อให้ได้ข้อสรุปเกี่ยวกับ 11 เป็นจำานวนเฉพาะ เพราะ 11 มีตัวประกอบ 2 จำานวน คือ 1 และ 11

ความหมายของจำ�นวนเฉพาะ ซึ่งควรจะได้ว่า จำ�นวนนับ


ที่มากกว่า 1 และมีตัวประกอบเพียง 2 จำ�นวน คือ 1
จำานวนนับที่มากกว่า 1 และมีตัวประกอบเพียง 2 จำานวน คือ 1 กับ ตัวมันเอง เรียกว่า จำานวนเฉพาะ

กับตัวมันเอง เรียกว่า จำ�นวนเฉพาะ จากนั้นครูให้นักเรียน 1 เป็นจำานวนเฉพาะหรือไม่ เพราะเหตุใด

ร่วมกันอภิปรายแสดงเหตุผลว่า 1 เป็นจำ�นวนเฉพาะหรือไม่
8| สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

เพราะเหตุใด ซึ่งควรจะได้ว่า 1 ไม่เป็นจำ�นวนเฉพาะ


เนื่องจาก 1 มีตัวประกอบเพียงจำ�นวนเดียวคือตัวมันเอง
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6

เพื่อสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับจำ�นวนเฉพาะให้มากยิ่งขึ้น
บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

หาตัวประกอบทั้งหมดของจำานวนนับที่กำาหนด แล้วระบุว่าจำานวนนับนั้น
ให้นก
ั เรียนร่วมกันทำ�กิจกรรมหน้า 9 แล้วให้ท�ำ แบบฝึกหัด 1.3 เป็นจำานวนเฉพาะหรือไม่ โดยเขียน ลงในตาราง พร้อมแสดงเหตุผล

เป็นรายบุคคล จำานวนนับ ตัวประกอบทั้งหมด


จำานวนเฉพาะ
เหตุผล
เป็น ไม่เป็น

27 1, 3, 9 และ 27 มีตัวประกอบ 4 จำานวน

29 1 และ 29 มีตัวประกอบเพียง 2 จำานวน

39 1, 3, 13 และ 39 มีตัวประกอบ 4 จำานวน

43 1 และ 43 มีตัวประกอบเพียง 2 จำานวน

51 1, 3, 17 และ 51 มีตัวประกอบ 4 จำานวน

57 1, 3, 19 และ 57 มีตัวประกอบ 4 จำานวน

63 1, 3, 7, 9, 21 และ 63 มีตัวประกอบ 6 จำานวน

67 1 และ 67 มีตัวประกอบเพียง 2 จำานวน

77 1, 7, 11 และ 77 มีตัวประกอบ 4 จำานวน

79 1 และ 79 มีตัวประกอบเพียง 2 จำานวน

83 1 และ 83 มีตัวประกอบเพียง 2 จำานวน

91 1, 7, 13 และ 91 มีตัวประกอบ 4 จำานวน

97 1 และ 97 มีตัวประกอบเพียง 2 จำานวน

จำานวนเฉพาะทุกจำานวนเป็นจำานวนคี่ ใช่หรือไม่ เพราะเหตุใด

จำานวนคี่ทุกจำานวนเป็นจำานวนเฉพาะ ใช่หรือไม่ เพราะเหตุใด

แบบฝึกหัด 1.3

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี |9

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 9
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

4. การสอนตัวประกอบเฉพาะหน้า 10 นักเรียนจะต้องมีความรู้
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6

เกีย่ วกับตัวประกอบและจำ�นวนเฉพาะมาก่อน ดังนั้นครู บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

อาจเริ่มจากให้นักเรียนหาตัวประกอบทั้งหมดของ 18 ก่อน พิจารณาการหาตัวประกอบเฉพาะ

แล้วจึงหาตัวประกอบทั้งหมดของ 18 ที่เป็นจำ�นวนเฉพาะ ตัวประกอบทั้งหมดของ 18 มีจำานวนใดบ้าง

โดยใช้การถาม-ตอบประกอบการอธิบาย จากนั้นแนะนำ�ว่า ตัวประกอบทั้งหมดของ 18 ได้แก่ 1, 2, 3, 6, 9 และ 18

ตัวประกอบทีเ่ ป็นจำ�นวนเฉพาะ เรียกว่า ตัวประกอบเฉพาะ


ครูก�ำ หนดจำ�นวนนับอืน่ เช่น 20 แล้วให้ตวั แทนนักเรียน ตัวประกอบทั้งหมดของ 18 ที่เป็นจำานวนเฉพาะ มีจำานวนใดบ้าง

หาตัวประกอบเฉพาะของ 20 พร้อมแสดงวิธีคิด ครูอาจ ตัวประกอบทั้งหมดของ 18 ที่เป็นจำานวนเฉพาะ ได้แก่ 2 และ 3

ตั้งคำ�ถามอื่นเพิ่มเติมให้นักเรียนช่วยกันหาคำ�ตอบ
พร้อมแสดงเหตุผล เช่น จะกล่าวว่า 2 และ 3 เป็น ตัวประกอบเฉพาะของ 18

• 5 เป็นตัวประกอบเฉพาะของ 25 หรือไม่
ตัวประกอบที่เป็นจำานวนเฉพาะ เรียกว่า ตัวประกอบเฉพาะ

• 9 เป็นตัวประกอบเฉพาะของ 27 หรือไม่
• 10 มีตัวประกอบเฉพาะเพียง 2 จำ�นวน คือ 2 และ 5
5 เป็นตัวประกอบเฉพาะของ 25 หรือไม่ เพราะเหตุใด

ใช่หรือไม่ 5 เป็นตัวประกอบเฉพาะของ 25 เพราะ 5 เป็นจำานวนเฉพาะ

• จำ�นวนนับใดบ้างที่มี 3 เป็นตัวประกอบเฉพาะ
9 เป็นตัวประกอบเฉพาะของ 27 หรือไม่ เพราะเหตุใด

• จำ�นวนนับใดบ้างที่มี 2 กับ 5 เป็นตัวประกอบเฉพาะ


9 ไม่เป็นตัวประกอบเฉพาะของ 27 เพราะ 9 ไม่เป็นจำานวนเฉพาะ

จากนัน
้ ร่วมกันทำ�กิจกรรมหน้า 11 แล้วให้ท�ำ แบบฝึกหัด 1.4
เป็นรายบุคคล 10 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น. บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

เฉลยหน้า 11
ปฏิบัติกิจกรรม

1 หาตัวประกอบทั้งหมดและตัวประกอบเฉพาะของจำานวนที่กำาหนด
2

จำานวนนับ ตัวประกอบทั้งหมด ตัวประกอบเฉพาะ 1) ไม่เป็น เพราะ 1 ไม่เป็นจำานวนเฉพาะ

12 1, 2, 3, 4, 6 และ 12 2 และ 3 2) 4 และ 11 เป็นตัวประกอบของ 44 เนื่องจาก 4 ไม่เป็นจำานวนเฉพาะ แต่ 11 เป็นจำานวนเฉพาะ


ดังนั้น 4 ไม่เป็นตัวประกอบเฉพาะของ 44 แต่ 11 เป็นตัวประกอบเฉพาะของ 44
14 1, 2, 7 และ 14 2 และ 7
3) มี ซึ่งคือ 31
30 1, 2, 3, 5, 6, 10, 15 และ 30 2, 3 และ 5
4) ไม่ เพราะ ตัวประกอบทั้งหมดของ 92 ได้แก่ 1, 2, 4, 23, 46 และ 92
32 1, 2, 4, 8, 16 และ 32 2
ซึ่ง 2 กับ 23 เป็นตัวประกอบเฉพาะ
35 1, 5, 7 และ 35 5 และ 7 5) เนื่องจากตัวประกอบทั้งหมดของ 210 ได้แก่ 1, 2, 3, 5, 6, 7, 10, 14, 15, 21, 30,
40 1, 2, 4, 5, 8, 10, 20 และ 40 2 และ 5 35, 42, 70, 105 และ 210 ซึ่ง 2, 3, 5 และ 7 เป็นจำานวนเฉพาะ
47 1 และ 47 47 ดังนั้น ตัวประกอบเฉพาะของ 210 ได้แก่ 2, 3, 5 และ 7

52 1, 2, 4, 13, 26 และ 52 2 และ 13

58 1, 2, 29 และ 58 2 และ 29

66 1, 2, 3, 6, 11, 22, 33 และ 66 2, 3 และ 11

71 1 และ 71 71

74 1, 2, 37 และ 74 2 และ 37

86 1, 2, 43 และ 86 2 และ 43

93 1, 3, 31 และ 93 2 และ 31

2 ตอบคำาถาม

1) 1 เป็นตัวประกอบเฉพาะของจำานวนนับทุกจำานวนหรือไม่ เพราะเหตุใด

2) 4 และ 11 เป็นตัวประกอบเฉพาะของ 44 หรือไม่ เพราะเหตุใด

3) 31 มีตัวประกอบเฉพาะหรือไม่ ถ้ามี เป็นจำานวนใดบ้าง

4) 23 เป็นตัวประกอบเฉพาะเพียงจำานวนเดียวของ 92 หรือไม่ เพราะเหตุใด

5) ตัวประกอบเฉพาะของ 210 มีจำานวนใดบ้าง


แบบฝึกหัด 1.4

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 11

10 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

5. การสอนการแยกตัวประกอบหน้า 12 นักเรียนจะต้อง
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6

มีความรู้เกี่ยวกับตัวประกอบเฉพาะมาก่อน ดังนั้นครูอาจ บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

การแยกตัวประกอบ
เริ่มจากให้นักเรียนหาตัวประกอบทั้งหมดของ 24 แล้วให้
ตัวประกอบทัง้ หมดของ 24 ได้แก่ 1, 2, 3, 4, 6, 8, 12 และ 24
ตัวแทนนักเรียนเขียน 24 ในรูปการคูณของตัวประกอบ เราสามารถเขียน 24 ในรูปการคูณของตัวประกอบ เช่น

2 จำ�นวนบนกระดาน จากนั้นแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม 6 กลุ่ม 24 = 1 × 24


24 = 2 × 12

ให้ช่วยกันเขียนจำ�นวนที่กำ�หนดในข้อ 1 - 6 24 = 3 × 8
24 = 4 × 6
กลุ่มละ 1 ข้อ แล้วให้ตัวแทนกลุ่มนำ�เสนอหน้าชั้น ครูและ
เขียนจำานวนต่อไปนี้ในรูปการคูณของตัวประกอบ 2 จำานวน ที่ไม่มีจำานวนใดเป็น 1
เพื่อนร่วมชั้นร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง พร้อมเสนอแนะ 1 18 2 50 3 72

แนวทางแก้ไขเมื่อพบข้อผิดพลาด ทั้งนี้เมื่อแต่ละกลุ่มนำ�เสนอ 4 84 5 119 6 126

ครูควรซักถามเพื่อนร่วมชั้นเพิ่มเติมว่า นอกเหนือจากที่กลุ่ม พิจารณาการเขียน 24 ในรูปการคูณของตัวประกอบ 2 จำานวน ทีไ่ ม่มจี าำ นวนใดเป็น 1

นำ�เสนอแล้ว จำ�นวนดังกล่าวสามารถเขียนในรูปการคูณ
24 = 4 × 6 หรือ 24 = 3 × 8 หรือ 24 = 2 × 12
จะพบว่า 4, 6, 8 และ 12 ไม่เป็นตัวประกอบเฉพาะของ 24

ของตัวประกอบ 2 จำ�นวนอื่นอีก ได้หรือไม่ ถ้าได้ เขียนได้ ซึง่ เราสามารถเขียน 4, 6, 8 และ 12 ในรูปการคูณของตัวประกอบเฉพาะได้ ดังนี้

อย่างไร 24 = 4 × 6 24 = 3 × 8 24 = 2 × 12

= 2×2×2×3 = 3×2×4 = 2×2×6


ครูใช้การถาม-ตอบประกอบการอธิบายการเขียน 24 หรือ
= 3×2×2×2
หรือ
= 2×2×2×3

ในรูปการคูณของตัวประกอบเฉพาะหน้า 12 จากนั้น = 2×2×2×3

ครูแนะนำ�ว่าการเขียน 24 ในรูปการคูณของตัวประกอบเฉพาะ การเขียน 24 = 2 × 2 × 2 × 3 เป็นการเขียน 24 ในรูปการคูณของตัวประกอบเฉพาะ


เรียกการเขียน 24 ในรูปการคูณของตัวประกอบเฉพาะว่า การแยกตัวประกอบของ 24
เป็นการแยกตัวประกอบของ 24 ครูและนักเรียนร่วมกัน
อภิปรายเพื่อให้ได้ข้อสรุปว่า การแยกตัวประกอบของ การแยกตัวประกอบของจำานวนนับใด หมายถึง การเขียนแสดงจำานวนนับนั้นในรูปการคูณ
ของตัวประกอบเฉพาะ

จำ�นวนนับใด หมายถึง การเขียนแสดงจำ�นวนนับนั้น


12 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ในรูปการคูณของตัวประกอบเฉพาะ
จากนั้นให้นักเรียนร่วมกันพิจารณากิจกรรมหน้า 13
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6

ว่าการแยกตัวประกอบของจำ�นวนที่กำ�หนด ถูกต้องหรือไม่ บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

เพราะเหตุใด ซึ่งกิจกรรมนี้ครูควรให้ความสำ�คัญในการให้ การแยกตัวประกอบของจำานวนนับที่กำาหนด ถูกต้องหรือไม่ เพราะเหตุใด

1 52 = 2 × 2 × 13 2 108 = 2 × 2 × 3 × 9
เหตุผลของนักเรียน เพราะจะสะท้อนความเข้าใจของนักเรียน
3 74 = 1 × 2 × 37 4 96 = 2×2×2×2×2×3

เกี่ยวกับการแยกตัวประกอบของจำ�นวนนับ
วิธีแยกตัวประกอบของจำานวนนับ เช่น การแยกตัวประกอบของ 36 อาจทำาได้ดังนี้
วิธท
ี ่ี 1 โดยใช้การคูณ
6. ครูแนะนำ�วิธีการแยกตัวประกอบของจำ�นวนนับหน้า 13 36 = 6 × 6 36

บนกระดาน โดยใช้การถาม-ตอบประกอบการอธิบาย ทั้งนี้ = 2×3×2×3


หรือ
4 × 9

ครูควรยกตัวอย่างจำ�นวนอื่นเพิ่มเติมเพื่อให้นักเรียนฝึก = 2×2×3×3 2 × 2 × 3 × 3

ดังนัน
้ 36 = 2 × 2 × 3 × 3 ้ 36 = 2 × 2 × 3 × 3
ดังนัน

แยกตัวประกอบ จากนั้นให้นักเรียนร่วมกันทำ�กิจกรรม วิธท


ี ่ี 2 โดยใช้การหาร

การแยกตัวประกอบของจำ�นวนนับ โดยใช้การคูณและ โดยนำาตัวประกอบเฉพาะมาหารจนได้ผลหารเป็นจำานวนเฉพาะ แล้วเขียนจำานวนนับนัน


ในรูปการคูณของตัวหารทุกจำานวนและผลหารสุดท้าย

การหาร แล้วให้ทำ�แบบฝึกหัด 1.5 เป็นรายบุคคล 2 36


2 18
3 9
3 ผลหารเป็นจำานวนเฉพาะ

ดังนัน
้ 36 = 2 × 2 × 3 × 3

แยกตัวประกอบของจำานวนนับที่กำาหนด

1 โดยใช้การคูณ
1) 86 2) 100 3) 105

2 โดยใช้การหาร
1) 90 2) 132 3) 174

แบบฝึกหัด 1.5

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 13

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 11
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น. บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

เฉลยหน้า 12 เฉลยหน้า 13

1 (ตอบอย่างใดอย่างหนึ่ง) 2 (ตอบอย่างใดอย่างหนึ่ง) 1 ถูก เพราะ 2 และ 13 เป็นตัวประกอบเฉพาะของ 52


18 = 2 × 9 50 = 2 × 25 2 ไม่ถูก เพราะ 9 ไม่เป็นตัวประกอบเฉพาะของ 108

นเฉพาะ 18 = 3 × 6 50 = 5 × 10 3 ไม่ถูก เพราะ 1 ไม่เป็นตัวประกอบเฉพาะของ 37


4 ถูก เพราะ 2 และ 3 เป็นตัวประกอบเฉพาะของ 96
3 (ตอบอย่างใดอย่างหนึ่ง) 4 (ตอบอย่างใดอย่างหนึ่ง)
72 = 2 × 36 84 = 2 × 42 1
72 = 3 × 24 84 = 3 × 28 1) 86 = 2 × 43 2) ตัวอย่าง
72 = 4 × 18 84 = 4 × 21 ดังนั้น 86 = 2 × 43 100 = 10 × 10
72 = 6 × 12 84 = 6 × 14 = 2×5×2×5
72 = 8 × 9 84 = 7 × 12 = 2×2×5×5
ดังนั้น 100 = 2 × 2 × 5 × 5
5 119 = 7 × 17 6 (ตอบอย่างใดอย่างหนึ่ง) 3) ตัวอย่าง
126 = 2 × 63 105 = 5 × 21
126 = 3 × 42 = 5×3×7
= 3×5×7
126 = 6 × 21
ดังนั้น 105 = 3 × 5 × 7
126 = 7 × 18
126 = 9 × 14
2
1) ตัวอย่าง 2) ตัวอย่าง
5 90 2 132
3 18 3 66
3 6 11 22
2 2

ดังนั้น 90 = 5 × 3 × 3 × 2 ดังนั้น 132 = 2 × 3 × 11 × 2


หรือ 90 = 2 × 3 × 3 × 5 หรือ 132 = 2 × 2 × 3 × 11
3) ตัวอย่าง
2 174
3 87
29
ดังนั้น 174 = 2 × 3 × 29

12 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

7. เพื่อตรวจสอบความเข้าใจและสรุปความรู้ที่ได้
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6

ให้นักเรียนทำ�กิจกรรมหน้า 14 เป็นรายบุคคล บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

ตรวจสอบความเข้าใจ

1 ตอบคำาถามจากจำานวนที่กำาหนด

38 109
53 64
70

47 82 20

1) ตัวประกอบทั้งหมดของทุกจำานวน ได้แก่จำานวนใดบ้าง
2) จำานวนใดบ้างเป็นจำานวนเฉพาะ

2 แยกตัวประกอบของจำานวนที่กำาหนด
1) 64 โดยใช้การคูณ
2) 82 โดยใช้การหาร

สิ่งที่ได้เรียนรู้

ข้อความต่อไปนี้ ถูกหรือผิด เพราะเหตุใด

1 จำานวนนับที่มีตัวประกอบเฉพาะ 2 จำานวน จำานวนนับนั้นจะเป็นจำานวนเฉพาะเสมอ

2 จำานวนนับทุกจำานวนสามารถแยกตัวประกอบได้

3 แยกตัวประกอบของ 54 ได้ดังนี้

2 54
9 27
3

ตอบ 54 = 2 × 9 × 3

14 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

เฉลยหน้า 14

ตรวจสอบความเข้าใจ
1
1) ตัวประกอบทั้งหมดของ 70 ได้แก่ 1, 2, 5, 7, 10, 14, 35 และ 70
ตัวประกอบทั้งหมดของ 53 ได้แก่ 1 และ 53
ตัวประกอบทั้งหมดของ 64 ได้แก่ 1, 2, 4, 8, 16, 32 และ 64
ตัวประกอบทั้งหมดของ 38 ได้แก่ 1, 2, 19 และ 38
ตัวประกอบทั้งหมดของ 109 ได้แก่ 1 และ 109
ตัวประกอบทั้งหมดของ 47 ได้แก่ 1 และ 47
ตัวประกอบทั้งหมดของ 82 ได้แก่ 1, 2, 41 และ 82
ตัวประกอบทั้งหมดของ 20 ได้แก่ 1, 2, 4, 5, 10 และ 20
2) 47, 53 และ 109

2
1) ตัวอย่าง 2) 2 82
41
64 = 8 × 8
= 2×4×2×4 ดังนั้น 82 = 2 × 41
= 2×2×2×2×2×2
ดังนั้น 64 = 2 × 2 × 2 × 2 × 2 × 2

สิ่งที่ได้เรียนรู้

1 ผิด เพราะ จำานวนนับนั้นจะไม่เป็นจำานวนเฉพาะ เช่น 2 และ 3 เป็นตัวประกอบเฉพาะของ 6


และ 6 = 2 × 3 แต่ 6 ไม่เป็นจำานวนเฉพาะ
2 ผิด เพราะ 1 และจำานวนเฉพาะทุกจำานวน ไม่สามารถเขียนในรูปการคูณของตัวประกอบเฉพาะได้
3 ผิด เพราะ 9 ไม่เป็นตัวประกอบเฉพาะ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 13
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

1.1
1.2 การอ่
ตั วหารร่
านวการเขี
มที่มากที
ยนจำ่ส�ุดนวนนั
(ห.ร.ม.)
บที่มากกว่า 100,000

จุดประสงค์การเรียนรู้ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

นักเรียนสามารถหา ห.ร.ม. ของจำ�นวนนับไม่เกิน 1.2 ตัวหารร่วมที่มากที่สุด (ห.ร.ม.)

3 จำ�นวน การหา ห.ร.ม. โดยการหาตัวหารร่วม

พิจารณาสถานการณ์ตอ
่ ไปนี้
สื่อการเรียนรู้ ชุมนุมรักการอ่าน มีนักเรียนชั้น ป.5 จำานวน 16 คน และนักเรียนชั้น ป.6 จำานวน 20 คน
ครูต้องการแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละเท่า ๆ กัน โดยไม่มีการคละชั้น ครูจะสามารถ
แบ่งนักเรียนให้แต่ละกลุ่มมีสมาชิกมากที่สุดกลุ่มละกี่คน
-
แบ่งนักเรียนชั้น ป.5 จำานวน 16 คน เป็นกลุ่ม กลุ่มละเท่า ๆ กัน ได้ดังนี้
แบบที่ 1 แบ่งกลุ่มละ 1 คน ได้ 16 ÷ 1 = 16 กลุ่ม

แนวการจัดการเรียนรู้ แบบที่ 2 แบ่งกลุ่มละ 2 คน ได้ 16 ÷ 2 = 8 กลุ่ม


แบบที่ 3 แบ่งกลุ่มละ 4 คน ได้ 16 ÷ 4 = 4 กลุ่ม
แบบที่ 4 แบ่งกลุ่มละ 8 คน ได้ 16 ÷ 8 = 2 กลุ่ม
1. การหาตัวหารร่วมที่มากที่สุด (ห.ร.ม.) นำ�เสนอวิธีการหา แบบที่ 5 แบ่งกลุ่มละ 16 คน ได้ 16 ÷ 16 = 1 กลุ่ม

ไว้ 3 วิธี ดังนี้ แบ่งนักเรียนชั้น ป.6 จำานวน 20 คน เป็นกลุ่ม กลุ่มละเท่า ๆ กัน ได้ดังนี้
แบบที่ 1 แบ่งกลุ่มละ 1 คน ได้ 20 ÷ 1 = 20 กลุ่ม
วิธีที่ 1 การหา ห.ร.ม. โดยการหาตัวหารร่วม แบบที่ 2 แบ่งกลุ่มละ 2 คน ได้ 20 ÷ 2 = 10 กลุ่ม

วิธีที่ 2 การหา ห.ร.ม. โดยการแยกตัวประกอบ


แบบที่ 3 แบ่งกลุ่มละ 4 คน ได้ 20 ÷ 4 = 5 กลุ่ม
แบบที่ 4 แบ่งกลุ่มละ 5 คน ได้ 20 ÷ 5 = 4 กลุ่ม

วิธีที่ 3 การหา ห.ร.ม. โดยการหาร แบบที่ 5 แบ่งกลุ่มละ 10 คน ได้ 20 ÷ 10 = 2 กลุ่ม


แบบที่ 6 แบ่งกลุ่มละ 20 คน ได้ 20 ÷ 20 = 1 กลุ่ม
ซึ่งในการสอนการหา ห.ร.ม. มีคำ�ใหม่ที่นักเรียนจะต้อง พบว่า จำานวนนับที่หาร 16 ได้ลงตัว ได้แก่ 1, 2, 4, 8 และ 16

ทำ�ความเข้าใจ คือ ตัวประกอบร่วม ตัวหารร่วม จำานวนนับที่หาร 20 ได้ลงตัว ได้แก่ 1, 2, 4, 5, 10 และ 20


จำานวนนับที่หารทั้ง 16 และ 20 ได้ลงตัว ได้แก่ 1, 2 และ 4

ตัวประกอบร่วมทีม ่ ากทีส
่ ด
ุ ตัวหารร่วมทีม ่ ากทีส
่ ด
ุ (ห.ร.ม.) ซึ่ง 4 เป็นจำานวนนับที่มากที่สุดที่หารทั้ง 16 และ 20 ได้ลงตัว
ดังนั้น ครูสามารถแบ่งนักเรียนชั้น ป.5 และ ป.6 เป็นกลุ่ม กลุ่มละเท่า ๆ กัน
(greatest common divisor : gcd) ครูควรเริ่มจาก โดยไม่มีการคละชั้น ได้มากที่สุดกลุ่มละ 4 คน

ให้นักเรียนเข้าใจความหมายของตัวหารร่วมก่อนโดยใช้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 15

การถาม-ตอบประกอบการอธิบายสถานการณ์หน้า 15-16 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อนำ�ไปสู่ข้อสรุป
เกี่ยวกับตัวหารร่วมที่มากที่สุด (ห.ร.ม.) ซึ่งจะได้ว่า เมื่อพิจารณาการแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มข้างต้น
จะได้ว่า ตัวประกอบของ 16 ได้แก่ 1, 2, 4, 8 และ 16

• จำ�นวนนับที่หารจำ�นวนนับตั้งแต่ 2 จำ�นวนขึ้นไป ตัวประกอบของ 20 ได้แก่ 1, 2, 4, 5, 10 และ 20


กล่าวได้ว่า 1, 2 และ 4 เป็นตัวประกอบร่วม หรือ ตัวหารร่วมของ 16 และ 20
ได้ลงตัวเรียกว่า ตัวประกอบร่วม หรือ ตัวหารร่วม และ ตัวประกอบร่วมที่มากที่สุด ของ 16 และ 20 คือ 4

ของจำ�นวนนับเหล่านั้น
เรียก 4 ว่าตัวหารร่วมที่มากที่สุด ของ 16 และ 20

จำานวนนับที่หารจำานวนนับตั้งแต่ 2 จำานวนขึ้นไปได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบร่วม

• 1 เป็นตัวประกอบร่วม หรือ ตัวหารร่วม หรือ ตัวหารร่วม ของจำานวนนับเหล่านั้น


1 เป็นตัวประกอบร่วม หรือ ตัวหารร่วมของจำานวนนับทุกจำานวน

ของจำ�นวนนับทุกจำ�นวน ตัวหารร่วมที่มากที่สุด ใช้อักษรย่อ ห.ร.ม.


ห.ร.ม. ของจำานวนนับตั้งแต่ 2 จำานวนขึ้นไป หมายถึง จำานวนนับที่มากที่สุดที่หารจำานวนนับเหล่านั้น

• ตัวหารร่วมที่มากที่สุด ใช้อักษรย่อ ห.ร.ม. ได้ลงตัว

• ห.ร.ม. ของจำ�นวนนับตั้งแต่ 2 จำ�นวนขึ้นไป หา ห.ร.ม. ของ 8, 10 และ 26


วิธีทำา จำานวนนับที่หาร 8 ได้ลงตัว ได้แก่ 1, 2, 4 และ 8
หมายถึง จำ�นวนนับที่มากที่สุดที่หารจำ�นวนนับ จำานวนนับที่หาร 10 ได้ลงตัว ได้แก่ 1, 2, 5 และ 10

เหล่านั้นได้ลงตัว
จำานวนนับที่หาร 26 ได้ลงตัว ได้แก่ 1, 2, 13 และ 26
ตัวหารร่วมของ 8, 10 และ 26 ได้แก่ 1 และ 2
ตัวหารร่วมที่มากที่สุดของ 8, 10 และ 26 คือ 2
ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 8, 10 และ 26 คือ 2

ตอบ ๒

หา ห.ร.ม. ของจำานวนที่กำาหนด

1 4 และ 15 2 18 และ 30 3 75 และ 105


4 8, 20 และ 28 5 14, 25 และ 26 6 35, 49 และ 56

แบบฝึกหัด 1.6

16 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

14 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

จากนัน
้ ร่วมกันพิจารณาตัวอย่างหน้า 16 พร้อมทัง้ แนะนำ�ว่า
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6

การหา ห.ร.ม. วิธีนี้ใช้การหาตัวหารร่วม แล้วร่วมกันทำ� บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

เฉลยหน้า 16
กิจกรรม และให้ทำ�แบบฝึกหัด 1.6 เป็นรายบุคคล
1 วิธีทำา จำานวนนับที่หาร 4 ได้ลงตัว ได้แก่ 1, 2 และ 4
จำานวนนับที่หาร 15 ได้ลงตัว ได้แก่ 1, 3, 5 และ 15
ตัวหารร่วมของ 4 และ 15 ได้แก่ 1
ตัวหารร่วมที่มากที่สุดของ 4 และ 15 คือ 1
ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 4 และ 15 คือ 1
ตอบ ๑

2 วิธีทำา จำานวนนับที่หาร 18 ได้ลงตัว ได้แก่ 1, 2, 3, 6, 9 และ 18


จำานวนนับที่หาร 30 ได้ลงตัว ได้แก่ 1, 2, 3, 5, 6, 10, 15 และ 30
ตัวหารร่วมของ 18 และ 30 ได้แก่ 1, 2, 3 และ 6
ตัวหารร่วมที่มากที่สุดของ 18 และ 30 คือ 6
ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 18 และ 30 คือ 6
ตอบ ๖

3 วิธีทำา จำานวนนับที่หาร 75 ได้ลงตัว ได้แก่ 1, 3, 5, 15, 25 และ 75


จำานวนนับที่หาร 105 ได้ลงตัว ได้แก่ 1, 3, 5, 7, 15, 21, 35 และ 105
ตัวหารร่วมของ 75 และ 105 ได้แก่ 1, 3, 5 และ 15
ตัวหารร่วมที่มากที่สุดของ 75 และ 105 คือ 15
ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 75 และ 105 คือ 15
ตอบ ๑๕

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

เฉลยหน้า 16

จำานวนนับที่หาร 4 ได้ลงตัว ได้แก่ 1, 2 และ 4 4 วิธีทำา จำานวนนับที่หาร 8 ได้ลงตัว ได้แก่ 1, 2, 4 และ 8


จำานวนนับที่หาร 15 ได้ลงตัว ได้แก่ 1, 3, 5 และ 15 จำานวนนับที่หาร 20 ได้ลงตัว ได้แก่ 1, 2, 4, 5, 10 และ 20
ตัวหารร่วมของ 4 และ 15 ได้แก่ 1 จำานวนนับที่หาร 28 ได้ลงตัว ได้แก่ 1, 2, 4, 7, 14 และ 28
ตัวหารร่วมที่มากที่สุดของ 4 และ 15 คือ 1 ตัวหารร่วมของ 8, 20 และ 28 ได้แก่ 1, 2 และ 4
ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 4 และ 15 คือ 1 ตัวหารร่วมที่มากที่สุดของ 8, 20 และ 28 คือ 4
๑ ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 8, 20 และ 28 คือ 4
ตอบ ๔

จำานวนนับที่หาร 18 ได้ลงตัว ได้แก่ 1, 2, 3, 6, 9 และ 18


จำานวนนับที่หาร 30 ได้ลงตัว ได้แก่ 1, 2, 3, 5, 6, 10, 15 และ 30 5 วิธีทำา จำานวนนับที่หาร 14 ได้ลงตัว ได้แก่ 1, 2, 7 และ 14
ตัวหารร่วมของ 18 และ 30 ได้แก่ 1, 2, 3 และ 6 จำานวนนับที่หาร 25 ได้ลงตัว ได้แก่ 1, 5 และ 25
ตัวหารร่วมที่มากที่สุดของ 18 และ 30 คือ 6 จำานวนนับที่หาร 26 ได้ลงตัว ได้แก่ 1, 2, 13 และ 26
ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 18 และ 30 คือ 6 ตัวหารร่วมของ 14, 25 และ 26 ได้แก่ 1
๖ ตัวหารร่วมที่มากที่สุดของ 14, 25 และ 26 คือ 1
ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 14, 25 และ 26 คือ 1
ตอบ ๑
จำานวนนับที่หาร 75 ได้ลงตัว ได้แก่ 1, 3, 5, 15, 25 และ 75
จำานวนนับที่หาร 105 ได้ลงตัว ได้แก่ 1, 3, 5, 7, 15, 21, 35 และ 105
ตัวหารร่วมของ 75 และ 105 ได้แก่ 1, 3, 5 และ 15 6 วิธีทำา จำานวนนับที่หาร 35 ได้ลงตัว ได้แก่ 1, 5, 7 และ 35
ตัวหารร่วมที่มากที่สุดของ 75 และ 105 คือ 15 จำานวนนับที่หาร 49 ได้ลงตัว ได้แก่ 1, 7 และ 49
ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 75 และ 105 คือ 15 จำานวนนับที่หาร 56 ได้ลงตัว ได้แก่ 1, 2, 4, 7, 8, 14, 28 และ 56
๑๕ ตัวหารร่วมของ 35, 49 และ 56 ได้แก่ 1 และ 7
ตัวหารร่วมที่มากที่สุดของ 35, 49 และ 56 คือ 7
ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 35, 49 และ 56 คือ 7
ตอบ ๗

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 15
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

2. การสอนการหา ห.ร.ม. โดยการแยกตัวประกอบ ครูควรใช้


หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6

การซักถามเพื่อทบทวนความหมายของการแยกตัวประกอบ บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

การหา ห.ร.ม. โดยการแยกตัวประกอบ


ก่อน เช่น
พิจารณาการหา ห.ร.ม. ของ 27 และ 45
• แยกตัวประกอบของ 12 ได้ 12 = 2 × 2 × 3 27 = 3 × 3 × 3
สังเกตได้วา่
ห.ร.ม. ของ 27 และ 45

จะได้ว่า 45 = 3 × 3 × 5 จะไม่มากกว่า 27

พบว่า 3 × 3 เป็นตัวหารร่วมที่มากที่สุดของ 27 และ 45


ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 27 และ 45 คือ 3 × 3 = 9

12 = 2 × 2 × 3 (2 หาร 12 ได้ลงตัว)
พิจารณาการหา ห.ร.ม. ของ 24, 36 และ 60 สังเกตได้วา่
24 = 2 × 2 × 2 × 3 ห.ร.ม. ของ 24, 36 และ 60
จะไม่มากกว่า 24
36 = 2 × 2 × 3 × 3
12 = 2 × 2 × 3 (3 หาร 12 ได้ลงตัว) 60 = 2 × 2 × 3 × 5
พบว่า 2 × 2 × 3 เป็นตัวหารร่วมที่มากที่สุดของ 24, 36 และ 60
ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 24, 36 และ 60 คือ 2 × 2 × 3 = 12

12 = 2 × 2 × 3 (2 × 2 หาร 12 ได้ลงตัว)
หา ห.ร.ม. ของ 9, 21 และ 30

12 = 2 × 2 × 3 (2 × 3 หาร 12 ได้ลงตัว) วิธีทำา 9 = 3×3


21 = 3 × 7
30 = 2 × 3 × 5
ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 9, 21 และ 30 คือ 3
12 = 2 × 2 × 3 (2 × 2 × 3 หาร 12 ได้ลงตัว) ตอบ ๓

หา ห.ร.ม ของจำานวนที่กำาหนด

• แยกตัวประกอบของ 16 ได้ 16 = 2 × 2 × 2 × 2 1 12 และ 20 2 32 และ 46


3 42 และ 54 4 16, 40 และ 72
จะได้ว่า 5 22, 38 และ 121 6 126, 144 และ 162

แบบฝึกหัด 1.7
16 = 2 × 2 × 2 × 2 (2 หาร 16 ได้ลงตัว) สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 17

16 = 2 × 2 × 2 × 2 (2 × 2 หาร 16 ได้ลงตัว) หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

เฉลยหน้า 17

16 = 2 × 2 × 2 × 2 (2 × 2 × 2 หาร 16 ได้ลงตัว)
1 วิธีทำา 12 = 2 × 2 × 3 2 วิธีทำา 32 = 2 × 2 × 2 × 2 × 2

20 = 2 × 2 × 5 46 = 2 × 23

16 = 2 × 2 × 2 × 2 (2 × 2 × 2 × 2 หาร 16 ได้ลงตัว) ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 12 และ 20

คือ 2 × 2 = 4
ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 32 และ 46 คือ 2

ตอบ ๒

ตอบ ๔
ครูใช้การถาม-ตอบประกอบการอธิบายการหา ห.ร.ม.
3 วิธีทำา 42 = 2 × 3 × 7 4 วิธีทำา 16 = 2 × 2 × 2 × 2
โดยการแยกตัวประกอบหน้า 17 ทั้งนี้ครูควรตั้งประเด็น 54 = 2 × 3 × 3 × 3 40 = 2 × 2 × 2 × 5

คำ�ถามให้นักเรียนเปรียบเทียบ ห.ร.ม. ที่ได้ กับจำ�นวนที่นำ�มา ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 42 และ 54 72 = 2 × 2 × 2 × 3 × 3

คือ 2 × 3 = 6 ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 16, 40 และ 72


หา ห.ร.ม. แล้วพิจารณาผลการเปรียบเทียบว่าเป็นอย่างไร ตอบ ๖ คือ 2 × 2 × 2 = 8

ครูให้ตัวแทนนักเรียนแสดงวิธีหา ห.ร.ม. ของ 9, 21 และ ตอบ ๘

30 บนกระดาน แล้วให้นก ั เรียนช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง 5 วิธีทำา 22 = 2 × 11 6 วิธีทำา 126 = 2 × 3 × 3 × 7

38 = 2 × 19 144 = 2 × 2 × 2 × 2 × 3 × 3
แล้วร่วมกันทำ�กิจกรรมหน้า 17 จากนั้นร่วมกันสรุปข้อสังเกต 121 = 11 × 11 162 = 2 × 3 × 3 × 3 × 3

ที่ได้จากการหา ห.ร.ม. ซึ่งควรจะได้ว่า ห.ร.ม. ที่ได้ ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 22, 38 และ 121 คือ 1 ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 126, 144 และ 162

ตอบ ๑ คือ 2 × 3 × 3 = 18
จะน้อยกว่าจำ�นวนนับที่น้อยที่สุดในบรรดาจำ�นวนนับ ตอบ ๑๘

ที่นำ�มาหา ห.ร.ม. แล้วให้ทำ�แบบฝึกหัด 1.7 เป็นรายบุคคล

16 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

3. การสอนการหา ห.ร.ม. โดยการหาร ครูควรทบทวน


หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6

การหารสัน ้ ก่อน โดยยกตัวอย่างโจทย์ เช่น 28 ÷ 7, 64 ÷ 4, บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

การหา ห.ร.ม. โดยการหาร


75 ÷ 6 แล้วให้นักเรียนแสดงการหาผลหาร โดยใช้วิธีหารสั้น
พร้อมทั้งตรวจสอบความถูกต้องโดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่าง พิจารณาการหา ห.ร.ม. ของ 48 และ 72 ดังนี้
ขั้นที่ 1 หาตัวหารร่วมของ 48 และ 72 เช่น 2 แล้วนำามาหารทั้งสองจำานวน

การคูณกับการหาร จะได้ 2 48
24
72
36

ครูให้นักเรียนพิจารณาการหา ห.ร.ม. หน้า 18-19 โดยใช้


การถาม-ตอบประกอบการอธิบายไปทีละขั้น ซึ่งประเด็นที่ครู
ขั้นที่ 2 หาตัวหารร่วมของ 24 และ 36 เช่น 6 แล้วนำามาหารทั้งสองจำานวน
จะได้ 2 48 72

ควรย้ำ�กับนักเรียนคือ ตัวหารร่วมที่นำ�มาหารจำ�นวนนับ
6 24 36
4 6

แต่ละจำ�นวน ไม่จำ�เป็นต้องเป็นจำ�นวนเฉพาะ จากนั้น


ขั้นที่ 3 หาตัวหารร่วมของ 4 และ 6 เช่น 2 แล้วนำามาหารทั้งสองจำานวน
ครูตั้งประเด็นคำ�ถามเกี่ยวกับวิธีตรวจสอบเพื่อให้รู้ว่า จะได้ 2 48 72
6 24 36
จำ�นวนที่หาได้นั้นเป็น ห.ร.ม. ของจำ�นวนนับเหล่านั้นจริง 2 4 6
2 3
ครูอาจเสนอแนะให้นักเรียนทดลองนำ�จำ�นวนที่คาดว่าจะเป็น
พบว่า ตัวหารร่วมของ 2 และ 3 คือ 1 จึงสิ้นสุดการหาร
ห.ร.ม. ไปหารจำ�นวนนับแต่ละจำ�นวน ถ้าผลหารของ
ทุกจำ�นวนมีตวั หารร่วมเป็น 1 เพียงจำ�นวนเดียว แสดงว่า
ดังนั้น ตัวหารร่วมที่มากที่สุดของ 48 และ 72 หาได้โดยนำาตัวหารร่วมทุกจำานวนคูณกัน

จะได้ 2 × 6 × 2 = 24

จำ�นวนที่คาดไว้นั้นเป็น ห.ร.ม. ของจำ�นวนนับเหล่านั้นจริง แสดงว่า ห.ร.ม. ของ 48 และ 72 คือ 24

สังเกต
เมื่อนำา 24 ไปหาร 48 และ 72 จะได้ผลหารเป็น 2 และ 3 ตามลำาดับ
ซึ่งจะเห็นว่า ตัวหารร่วมของ 2 และ 3 มีเพียงจำานวนเดียว คือ 1
แสดงว่า 24 เป็น ห.ร.ม ของ 48 และ 72

18 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

พิจารณาการหา ห.ร.ม. ของ 80, 96 และ 112 ดังนี้


ขั้นที่ 1 หาตัวหารร่วมของ 80, 96 และ 112 เช่น 2 แล้วนำามาหารทั้งสามจำานวน
จะได้ 2 80 96 112
40 48 56

ขั้นที่ 2 หาตัวหารร่วมของ 40, 48 และ 56 เช่น 4 แล้วนำามาหารทั้งสามจำานวน


จะได้ 2 80 96 112
4 40 48 56
10 12 14

ขั้นที่ 3 หาตัวหารร่วมของ 10, 12 และ 14 เช่น 2 แล้วนำามาหารทั้งสามจำานวน


จะได้้ 2 80 96 112
4 40 48 56
2 10 12 14
5 6 7

พบว่า ตัวหารร่วมของ 5, 6 และ 7 คือ 1 จึงสิ้นสุดการหาร

ดังนั้น ตัวหารร่วมที่มากที่สุดของ 80, 96 และ 112 หาได้โดยนำาตัวหารร่วมทุกจำานวนคูณกัน


จะได้ 2 × 4 × 2 = 16

แสดงว่า ห.ร.ม. ของ 80, 96 และ 112 คือ 16

สังเกต

เมื่อนำา 16 ไปหาร 80, 96 และ 112 จะได้ผลหารเป็น 5, 6 และ 7 ตามลำาดับ

ซึ่งจะเห็นว่า ตัวหารร่วมของ 5, 6 และ 7 มีเพียงจำานวนเดียว คือ 1

แสดงว่า 16 เป็น ห.ร.ม ของ 80, 96 และ 112

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 19

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 17
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

4. ครูและนักเรียนร่วมกันพิจารณาตัวอย่างหน้า 20 จากนัน ้
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6

ร่วมกันทำ�กิจกรรม โดยครูควรตั้งประเด็นคำ�ถามให้นักเรียน บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

เปรียบเทียบระหว่าง ห.ร.ม. ที่ได้กับจำ�นวนที่นำ�มาหา ห.ร.ม. หา ห.ร.ม. ของ 15, 45 และ 90

แล้วพิจารณาผลการเปรียบเทียบว่าเป็นอย่างไร วิธีทำา 3 15
5 5
45
15
90
30

ครูนำ�ข้อสังเกตเกี่ยวกับผลการเปรียบเทียบระหว่าง 1 3 6

ห.ร.ม. ทีไ่ ด้กบ


ั จำ�นวนทีน
่ �ำ มาหา ห.ร.ม. มาร่วมกันอภิปราย ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 15, 45 และ 90 คือ 3 × 5 = 15

ตอบ ๑๕
เพื่อนำ�ไปสู่ข้อสรุป ซึ่งจะได้ว่า ห.ร.ม. ที่ได้จะน้อยกว่า
หา ห.ร.ม. ของจำานวนที่กำาหนด
หรือเท่ากับจำ�นวนนับที่น้อยที่สุดในบรรดาจำ�นวนนับ 1 18 และ 36 2 84 และ 98 3 50 และ 100

ที่นำ�มาหา ห.ร.ม. จากนั้นให้ทำ�แบบฝึกหัด 1.8 4 60, 120 และ 135 5 104, 117 และ 143 6 168, 389 และ 210

เป็นรายบุคคล แบบฝึกหัด 1.8

ในส่วนของกรอบน่าคิดด้านล่าง เป็นการนำ�ความรู้
หาจำานวนนับที่มากที่สุดที่หาร 57, 85 และ 99 แล้วเหลือเศษ 1

จากโจทย์ ต้องการหาจำานวนนับที่มากที่สุดที่หาร 57, 85 และ 99 แล้วเหลือเศษ 1


เกี่ยวกับ ห.ร.ม. ไปใช้ ครูและนักเรียนร่วมกันพิจารณา แสดงว่า จำานวนนับนั้นหาร 57 − 1 = 56, 85 − 1 = 84 และ 99 − 1 = 98 ได้ลงตัว
นั่นคือ หา ห.ร.ม. ของ 56, 84 และ 98 ซึ่งเท่ากับ 14
การหาจำ�นวนนับที่มากที่สุดที่หาร 57, 85 และ 99 ดังนั้น จำานวนนับที่มากที่สุดที่หาร 57, 85 และ 99 แล้วเหลือเศษ 1 คือ 14

แล้วเหลือเศษ 1 โดยครูใช้การถาม-ตอบประกอบการอธิบาย 4
ตรวจสอบ
6 7

สำ�หรับโจทย์ข้อ 1 และข้อ 2 ครูอาจให้นักเรียนทำ�เป็นกลุ่ม 14 57


56
14 85
84
14 99
98
1 1 1
ให้แต่ละกลุ่มนำ�เสนอวิธีคิดหน้าชั้นเรียน เพื่อแลกเปลี่ยน
ดังนั้น 57 ÷ 14 ได้ 4 เศษ 1 ดังนั้น 85 ÷ 14 ได้ 6 เศษ 1 ดังนั้น 99 ÷ 14 ได้ 7 เศษ 1
เรียนรู้ร่วมกัน
ลองคิดดู
1. หาจำานวนนับที่มากที่สุดที่หาร 129, 150 และ 192 แล้วเหลือเศษ 3
2. หาจำานวนนับที่มากที่สุดที่หาร 36, 72 และ 108 แล้วเหลือเศษ 1, 2 และ 3 ตามลำาดับ

20 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น. บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

เฉลยหน้า 20 เฉลยหน้า 20

1 ตัวอย่าง 2 ตัวอย่าง กิจกรรมน่าคิด


วิธีทำา 9 18 36 วิธีทำา 2 84 98 1. หาจำานวนนับที่มากที่สุดที่หาร 129, 150 และ 192 แล้วเหลือเศษ 3
2 2 4 7 42 49 วิธีทำา จากโจทย์ ต้องการหาจำานวนนับทีม
่ ากทีส่ ด
ุ ทีห
่ าร 129, 150 และ 192 แล้วเหลือเศษ 3
1 2 6 7 แสดงว่า ต้องหาจำานวนนับที่มากที่สุดที่หาร 126, 147 และ 189 ได้ลงตัว
ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 18 และ 36 ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 84 และ 98 ซึ่ง 126 หาได้จาก 129 − 3
147 หาได้จาก 150 − 3
คือ 9 × 2 = 18 คือ 2 × 7 = 14
189 หาได้จาก 192 − 3
ตอบ ๑๘ ตอบ ๑๔
ดังนั้น ต้องหา ห.ร.ม. ของ 126, 147 และ 189
7 126 147 189
3 ตัวอย่าง 4 ตัวอย่าง 3 18 21 27

วิธีทำา 5 50 100 วิธีทำา 5 60 120 135 6 7 9


10 10 20 3 12 24 27 จะได้ ห.ร.ม. ของ 126, 147 และ 189 คือ 7 × 3 = 21
1 2 4 8 9 ดังนั้น จำานวนนับที่มากที่สุดที่หาร 129, 150 และ 192 แล้วเหลือเศษ 3 คือ 21

ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 50 และ 100 ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 60, 120 และ 135 ตอบ ๒๑

คือ 5 × 10 = 50 คือ 5 × 3 = 15
2. หาจำานวนนับที่มากที่สุดที่หาร 36, 72 และ 108 แล้วเหลือเศษ 1, 2 และ 3 ตามลำาดับ
ตอบ ๕๐ ตอบ ๑๕
วิธีทำา จากโจทย์ ต้องการหาจำานวนนับที่มากที่สุดที่หาร 36, 72 และ 108 แล้วเหลือเศษ
1, 2 และ 3 ตามลำาดับ

5 ตัวอย่าง 6 ตัวอย่าง แสดงว่า ต้องหาจำานวนนับที่มากที่สุดที่หาร 35, 70 และ 105 ได้ลงตัว

13 104 117 143 ซึ่ง 35 หาได้จาก 36 − 1


วิธีทำา วิธีทำา เนื่องจาก 389 เป็นจำานวนเฉพาะ
8 9 11 70 หาได้จาก 72 − 2
ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 168, 389 และ 210
105 หาได้จาก 108 − 3
ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 104, 117 และ 143 คือ 1
ดังนั้น ต้องหา ห.ร.ม. ของ 35, 70 และ 105
คือ 13 ตอบ ๑
7 35 70 105
ตอบ ๑๓ 5 5 10 15
1 2 3
จะได้ ห.ร.ม. ของ 35, 70 และ 105 คือ 7 × 5 = 35
ดังนั้น จำานวนนับที่มากที่สุดที่หาร 36, 72 และ 108 แล้วเหลือเศษ 1, 2 และ 3 ตามลำาดับ
คือ 35
ตอบ ๓๕

18 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

5. เพื่อตรวจสอบความเข้าใจและสรุปความรู้ที่ได้
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6

ให้นักเรียนทำ�กิจกรรมหน้า 21 เป็นรายบุคคล บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

ตรวจสอบความเข้าใจ

วิธีหา ห.ร.ม. ของจำานวนนับต่อไปนี้ ถูกต้องหรือไม่ ถ้าไม่ถูกต้อง ให้แก้ไข

1 210 = 2 × 3 × 5 × 7
140 = 2 × 2 × 5 × 7
280 = 2 × 2 × 2 × 5 × 7
ห.ร.ม. ของ 210, 140 และ 280 คือ 5 × 7 = 35

2 2 510 180 120


5 255 90 60
51 18 12

ห.ร.ม. ของ 510, 180 และ 120 คือ 2 × 5 = 10

สิ่งที่ได้เรียนรู้

ข้อความต่อไปนี้ ถูกต้องหรือไม่ เพราะเหตุใด

1 จำานวนนับจำานวนหนึ่งที่หารจำานวนนับตั้งแต่ 2 จำานวนขึ้นไป ได้ลงตัวทุกจำานวน


จำานวนนับนั้นจะเป็น ห.ร.ม. ของจำานวนนับเหล่านั้น

2 ห.ร.ม. ของจำานวนนับตั้งแต่ 2 จำานวนขึ้นไป จะน้อยกว่าหรือเท่ากับจำานวนนับที่น้อยที่สุด


ในบรรดาจำานวนนับเหล่านั้นเสมอ

3 ถ้า ห.ร.ม. ของจำานวนนับตั้งแต่ 2 จำานวนขึ้นไป เท่ากับ 1 แล้วจำานวนนับเหล่านั้นจะเป็น


จำานวนเฉพาะ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 21

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

เฉลยหน้า 21

ตรวจสอบความเข้าใจ

1 ไม่ถูกต้อง แก้ไขให้ถูกต้องดังน

ห.ร.ม. ของ 210, 140 และ 280 คือ 2 × 5 × 7 = 70

2 ไม่ถูกต้อง แก้ไขให้ถูกต้องดังนี้

2 510 180 120


5 255 90 60
3 51 18 12
17 6 4

ห.ร.ม. ของ 510, 180 และ 120 คือ 2 × 5 × 3 = 30

สิ่งที่ได้เรียนรู้

1 ไม่ถูกต้อง เพราะ จำานวนนับที่หารจำานวนนับตั้งแต่ 2 จำานวนขึ้นไปได้ลงตัวทุกจำานวน


อาจไม่ใช่ ห.ร.ม. ของจำานวนนับเหล่านั้น เช่น 2 หาร 8, 12 และ 24 ได้ลงตัว
แต่ 2 ไม่ใช่จำานวนนับที่มากที่สุดที่หาร 8, 12 และ 24 ได้ลงตัว ซึ่งจำานวนนับที่มากที่สุดที่หาร
8, 12 และ 24 ได้ลงตัว คือ 4

2 ถูกต้อง เพราะ ห.ร.ม. เป็นจำานวนนับที่มากที่สุดที่หารจำานวนนับตั้งแต่ 2 จำานวนขึ้นไป


ได้ลงตัวทุกจำานวน ถ้า ห.ร.ม. มากกว่าจำานวนใดจำานวนหนึ่งในบรรดาจำานวนนับเหล่านั้นแล้ว
ห.ร.ม. จะหารจำานวนนับเหล่านั้นไม่ลงตัว

3 ไม่ถูกต้อง เพราะ จำานวนนับตั้งแต่ 2 จำานวนขึ้นไปที่มี ห.ร.ม. เป็น 1 อาจไม่เป็นจำานวนเฉพาะก็ได้


เช่น 9, 16 และ 25 มี ห.ร.ม. เป็น 1

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 19
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

1.1
1.3 การอ่ณาน
ผลคู ร่วการเขี
มที่น้อยยที
นจำ่ส�ุดนวนนั
(ค.ร.น.)
บที่มากกว่า 100,000

จุดประสงค์การเรียนรู้ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

นักเรียนสามารถหา ค.ร.น. ของจำ�นวนนับไม่เกิน 1.3 ผลคูณร่วมที่น้อยที่สุด (ค.ร.น.)

3 จำ�นวน การหา ค.ร.น. โดยการหาผลคูณร่วม

พิจารณาสถานการณ์ตอ
่ ไปนี้
สื่อการเรียนรู้ ใบบัวและต้นกล้าเริม
่ ออมเงินพร้อมกันและออมทุกวัน โดยใบบัวออมวันละ 4 บาท
ต้นกล้าออมวันละ 6 บาท
- จำานวนเงินออมทั้งหมดในแต่ละวันของใบบัวและต้นกล้า

แนวการจัดการเรียนรู้ วันที่
เงินออม
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 ...

ของใบบัว 4 8 12 16 20 24 28 32 36 40 44 48 52 56 60 ...
(บาท)
1. การหาผลคูณร่วมที่น้อยที่สุด (ค.ร.น.) นำ�เสนอวิธีหาไว้ เงินออม
ของต้นกล้า 6 12 18 24 30 36 42 48 54 60 66 72 78 84 90 ...
3 วิธี ดังนี้ (บาท)

วิธีที่ 1 การหา ค.ร.น. โดยการหาผลคูณร่วม จากตารางพบว่า

ใบบัวออมเงินวันละ 4 บาท ทำาให้จำานวนเงินออมทั้งหมดในแต่ละวันของใบบัวเป็น


วิธีที่ 2 การหา ค.ร.น. โดยการแยกตัวประกอบ 4, 8, 12, 16, 20, 24, 28, 32, 36, 40, 44, 48, 52, 56, 60, … บาท ตามลำาดับ ซึ่งจำานวนเหล่านี้
เป็นผลคูณของ 4 หรือ เป็นพหุคูณของ 4 แสดงว่า จำานวนเหล่านี้ 4 หารได้ลงตัว
วิธีที่ 3 การหา ค.ร.น. โดยการหาร ต้นกล้าออมเงินวันละ 6 บาท ทำาให้จำานวนเงินออมทั้งหมดในแต่ละวันของต้นกล้าเป็น
6, 12, 18, 24, 30, 36, 42, 48, 54, 60, 66, 72, 78, 84, 90, … บาท ตามลำาดับ ซึ่งจำานวนเหล่านี้
ซึ่งในการสอนการหา ค.ร.น. มีคำ�ใหม่ที่นักเรียนจะต้อง เป็นผลคูณของ 6 หรือ เป็นพหุคูณของ 6 แสดงว่า จำานวนเหล่านี้ 6 หารได้ลงตัว

ทำ�ความเข้าใจ คือ ผลคูณร่วม ผลคูณร่วมทีน ่ อ้ ยทีส


่ ด
ุ (ค.ร.น.) จะเห็นได้ว่า ผลคูณร่วมของ 4 และ 6 ได้แก่ 12, 24, 36, 48, 60, …
และ ผลคูณร่วมที่น้อยที่สุด ของ 4 และ 6 คือ 12

(least common multiple : lcm) ครูควรเริ่มจาก เรียก 12 ว่าผลคูณร่วมที่น้อยที่สุด ของ 4 และ 6


จากสถานการณ์ดังกล่าว จะได้ว่า
จำานวนเงินที่น้อยที่สุดที่ทั้งสองคนออมได้เท่ากัน
ให้นักเรียนเข้าใจความหมายของผลคูณร่วมก่อน โดยใช้ คือ 12 บาท

การถาม-ตอบประกอบการอธิบายสถานการณ์หน้า 22
22 |
จากนั้นร่วมกันอภิปรายเพื่อนำ�ไปสู่ข้อสรุปเกี่ยวกับผลคูณร่วม
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ที่น้อยที่สุด (ค.ร.น.) ซึ่งจะได้ว่า หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

• พหุคณ ู ของจำ�นวนนับใด เป็นผลคูณของจำ�นวนนับนัน ้ พหุคูณของจำานวนนับใด เป็นผลคูณของจำานวนนับนั้น ซึ่งสามารถหารด้วยจำานวนนับนั้นได้ลงตัว

ซึ่งสามารถหารด้วยจำ�นวนนับนั้นได้ลงตัว ผลคูณร่วมของจำานวนนับตั้งแต่ 2 จำานวนขึ้นไป เป็นจำานวนนับที่หารด้วยจำานวนนับเหล่านั้นได้ลงตัว

ผลคูณร่วมที่น้อยที่สุด ใช้อักษรย่อ ค.ร.น.

• ผลคูณร่วมของจำ�นวนนับตั้งแต่ 2 จำ�นวนขึ้นไป ค.ร.น. ของจำานวนนับตั้งแต่ 2 จำานวนขึ้นไป หมายถึง จำานวนนับที่น้อยที่สุดที่หารด้วยจำานวนนับ


เหล่านั้นได้ลงตัว

เป็นจำ�นวนนับที่หารด้วยจำ�นวนนับเหล่านั้นได้ลงตัว 1
หา ค.ร.น. ของ 3 และ 5

• ผลคูณร่วมที่น้อยที่สุด ใช้อักษรย่อ ค.ร.น. วิธีทำา จำานวนนับที่เป็นผลคูณของ 3 ได้แก่ 3, 6, 9, 12, 15, 18, 21, 24, 27, 30, …
จำานวนนับที่เป็นผลคูณของ 5 ได้แก่ 5, 10, 15, 20, 25, 30, 35, 40, …

• ค.ร.น. ของจำ�นวนนับตั้งแต่ 2 จำ�นวนขึ้นไป จำานวนนับที่เป็นผลคูณร่วมของ 3 และ 5 ได้แก่ 15, 30, …


ซึ่งผลคูณร่วมที่น้อยที่สุดของ 3 และ 5 คือ 15

หมายถึงจำ�นวนนับทีน
่ อ
้ ยทีส
่ ด
ุ ทีห
่ ารด้วยจำ�นวนนับ ดังนั้น ค.ร.น. ของ 3 และ 5 คือ 15

ตอบ ๑๕
เหล่านัน
้ ได้ลงตัว
2

จากนั้น ครูอธิบายเชื่อมโยงไปสู่การหา ค.ร.น. โดยการหา หา ค.ร.น. ของ 6, 8 และ 12

วิธีทำา จำานวนนับที่เป็นผลคูณของ 6 ได้แก่ 6, 12, 18, 24, 30, 36, 42, 48, 54, 60, …
ผลคูณร่วมด้วยการถาม-ตอบประกอบการอธิบายตัวอย่าง 1 จำานวนนับที่เป็นผลคูณของ 8 ได้แก่ 8, 16, 24, 32, 40, 48, 56, 64, …

และตัวอย่าง 2 หน้า 23 แล้วให้ร่วมกันทำ�กิจกรรม จำานวนนับที่เป็นผลคูณของ 12 ได้แก่ 12, 24, 36, 48, 60, …
จำานวนนับที่เป็นผลคูณร่วมของ 6, 8 และ 12 ได้แก่ 24, 48, …

และทำ�แบบฝึกหัด 1.9 เป็นรายบุคคล ซึ่งผลคูณร่วมที่น้อยที่สุดของ 6, 8 และ 12 คือ 24


ดังนั้น ค.ร.น. ของ 6, 8 และ 12 คือ 24

ตอบ ๒๔

หา ค.ร.น. ของจำานวนที่กำาหนด

1 18 และ 27 2 4, 9 และ 12 3 10, 24 และ 40

แบบฝึกหัด 1.9

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 23

20 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

เฉลยหน้า 23

1 วิธีทำา จำานวนนับที่เป็นผลคูณของ 18 ได้แก่ 18, 36, 54, 72, 90, 108, ...
จำานวนนับที่เป็นผลคูณของ 27 ได้แก่ 27, 54, 81, 108, ...
จำานวนนับที่เป็นผลคูณร่วมของ 18 และ 27 ได้แก่ 54, 108, ...
ซึ่งผลคูณร่วมที่น้อยที่สุดของ 18 และ 27 คือ 54
ดังนั้น ค.ร.น. ของ 18 และ 27 คือ 54
ตอบ ๕๔

2 วิธีทำา จำานวนนับที่เป็นผลคูณของ 4 ได้แก่ 4, 8, 12, 16, 20, 24, 28, 32, 36, 40, 44,
48, 52, 56, 60, 64, 68, 72, ...
จำานวนนับที่เป็นผลคูณของ 9 ได้แก่ 9, 18, 27, 36, 45, 54, 63, 72, ...
จำานวนนับที่เป็นผลคูณของ 12 ได้แก่ 12, 24, 36, 48, 60, 72, ...
จำานวนนับที่เป็นผลคูณร่วมของ 4, 9 และ 12 ได้แก่ 36, 72, ...
ซึ่งผลคูณร่วมที่น้อยที่สุดของ 4, 9 และ 12 คือ 36
ดังนั้น ค.ร.น. ของ 4, 9 และ 12 คือ 36
ตอบ ๓๖

3 วิธีทำา จำานวนนับที่เป็นผลคูณของ 10 ได้แก่ 10, 20, 30, 40, 50, 60, 70, 80, 90,
100, 110, 120, 130, 140, 150, 160, 170, 180, 190, 200, 210, 220,
230, 240, ...

จำานวนนับที่เป็นผลคูณของ 24 ได้แก่ 24, 48, 72, 96, 120, 144, 168, 192,
216, 240, ...
จำานวนนับที่เป็นผลคูณของ 40 ได้แก่ 40, 80, 120, 160, 200, 240, ...
าะก็ได้
จำานวนนับที่เป็นผลคูณร่วมของ 10, 24 และ 40 ได้แก่ 120, 240, ...
ซึ่งผลคูณร่วมที่น้อยที่สุดของ 10, 24 และ 40 คือ 120
ดังนั้น ค.ร.น. ของ 10, 24 และ 40 คือ 120
ตอบ ๑๒๐

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 21
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

2. การสอนการหา ค.ร.น. โดยการแยกตัวประกอบหน้า 24


หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6

ครูควรทบทวนความหมายของ ค.ร.น. โดยใช้การซักถาม บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

การหา ค.ร.น. โดยการแยกตัวประกอบ


จากนั้นร่วมกันพิจารณาการหา ค.ร.น. ของ 24 และ 32
โดยอาจให้ตัวแทนนักเรียนแสดงการแยกตัวประกอบของ พิจารณาการหา ค.ร.น. ของ 24 และ 32
24 = 2 × 2 × 2 × 3

24 และ 32 บนกระดาน แล้วให้เพื่อนช่วยกันตรวจสอบ 32 = 2 × 2 × 2 × 2 × 2


พบว่า
ความถูกต้อง จากนั้นใช้การถาม-ตอบประกอบการอธิบาย ผลคูณของ 2 × 2 × 2 × 3 เป็นจำานวนนับทีน
่ อ
้ ยทีส่ ด
ุ ทีห
่ ารด้วย 24 ได้ลงตัว

การหา ค.ร.น. ของ 24 และ 32 โดยพิจารณาจากผลคูณ


และผลคูณของ 2 × 2 × 2 × 2 × 2 เป็นจำานวนนับทีน
่ อ
้ ยทีส่ ด
ุ ทีห
่ ารด้วย 32 ได้ลงตัว
จะได้วา่

ของตัวประกอบ ซึ่งครูควรอธิบายเพิ่มเติมดังนี้ หารด้วย 24 ได้ลงตัว

ผลคูณของ 2 × 2 × 2 × 2 × 2 × 3 เป็นจำานวนนับทีน
่ อ
้ ยทีส่ ด
ุ ทีห
่ ารด้วย 24 และ 32 ได้ลงตัว
หารด้วย 32 ได้ลงตัว

จาก 24 = 2 × 2 × 2 × 3 ้ ค.ร.น. ของ 24 และ 32 คือ 2 × 2 × 2 × 2 × 2 × 3 = 96


ดังนัน

32 = 2 × 2 × 2 × 2 × 2
1) จำ�นวนนับที่น้อยที่สุดที่ 32 หารได้ลงตัว สังเกตได้ว่า ค.ร.น. ของ 24 และ 32 จะไม่น้อยกว่า 32

มีจำ�นวนใดคูณกันบ้าง กี่จำ�นวน
(มี 2 คูณกัน 5 จำ�นวน หรือ 2 × 2 × 2 × 2 × 2)
2) 24 หารจำ�นวนที่เป็นคำ�ตอบในข้อ 1) ได้ลงตัวหรือไม่
หรืออาจสังเกตการหา ค.ร.น. ของ 24 และ 32 จากการแยกตัวประกอบ ดังนี้

(ไม่ลงตัว) 24 = 2 × 2 × 2 × 3

3) ถ้าต้องการให้ 24 หารจำ�นวนนับที่น้อยที่สุดที่ 32
32 = 2 × 2 × 2 × 2 × 2

ดังนั้น ค.ร.น. ของ 24 และ 32 คือ 2 × 2 × 2 × 2 × 2 × 3 = 96

หารลงตัว ต้องนำ�จำ�นวนใดมาคูณกับจำ�นวนที่เป็น
คำ�ตอบในข้อ 1)
24 |
(3)
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

4) จำ�นวนนับที่น้อยที่สุดที่ 24 และ 32 หารลงตัว


ได้จากจำ�นวนใดคูณกันบ้าง กี่จำ�นวน
(มี 2 คูณกัน 5 จำ�นวน และคูณกับ 3 อีก 1 จำ�นวน หรือ 2 × 2 × 2 × 2 × 2 × 3)
5) ค.ร.น. ของ 24 และ 32 เป็นเท่าใด
(96)
ทั้งนี้ครูควรตั้งประเด็นคำ�ถามให้นักเรียนเปรียบเทียบระหว่าง ค.ร.น. ที่ได้ กับจำ�นวนที่นำ�มาหา ค.ร.น. แล้วพิจารณา
ผลการเปรียบเทียบว่าเป็นอย่างไร
จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันสังเกตวิธีหา ค.ร.น. ของ 24 และ 32 จากการแยกตัวประกอบ หน้า 24
ทั้งนี้ครูควรยกตัวอย่างการหา ค.ร.น. ของจำ�นวนนับ 2 จำ�นวนเพิ่มเติม เช่น 12 กับ 60, 18 กับ 20 โดยใช้การถาม-ตอบ
ทำ�นองเดียวกันกับข้อ 1) ถึงข้อ 5) เพื่อสร้างความเข้าใจมากยิ่งขึ้น

22 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

3. การหา ค.ร.น. ของ 18, 30 และ 36 หน้า 25 ครูอาจ


หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6

จัดกิจกรรมทำ�นองเดียวกันกับหน้า 24 ซึ่งครูควรอธิบาย บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

เพิ่มเติมดังนี้ พิจารณาการหา ค.ร.น. ของ 18, 30 และ 36


18 = 2 × 3 × 3

จาก 18 = 2 × 3 × 3 30 = 2 × 3 × 5
36 = 2 × 2 × 3 × 3
30 = 2 × 3 × 5 พบว่า

36 = 2 × 2 × 3 × 3 ผลคูณของ 2 × 3 × 3 เป็นจำานวนนับทีน
่ อ
ผลคูณของ 2 × 3 × 5 เป็นจำานวนนับทีน
้ ยทีส่ ด
่ อ
ุ ทีห
้ ยทีส่ ด
่ ารด้วย 18 ได้ลงตัว
ุ ทีห
่ ารด้วย 30 ได้ลงตัว
และผลคูณของ 2 × 2 × 3 × 3 เป็นจำานวนนับทีน
่ อ
้ ยทีส่ ด
ุ ทีห
่ ารด้วย 36 ได้ลงตัว
1) จำ�นวนนับที่น้อยที่สุดที่ 36 หารได้ลงตัว จะได้วา่

มีจำ�นวนใดคูณกันบ้าง กี่จำ�นวน หารด้วย 36 ได้ลงตัว

ผลคูณของ 2 × 2 × 3 × 3 × 5 เป็นจำานวนนับทีน ่ อ
้ ยทีส่ ด
ุ ทีห
่ ารด้วย 18, 30 และ 36 ได้ลงตัว

(มี 2 คูณกัน 2 จำ�นวน และคูณกับ 3 อีก 2 จำ�นวน หารด้วย 18 ได้ลงตัว หารด้วย 30 ได้ลงตัว

หรือ 2 × 2 × 3 × 3) ้ ค.ร.น. ของ 18, 30 และ 36 คือ 2 × 2 × 3 × 3 × 5 = 180


ดังนัน

2) 30 หารจำ�นวนที่เป็นคำ�ตอบในข้อ 1) ได้ลงตัวหรือไม่
สังเกตได้ว่า ค.ร.น. ของ 18, 30 และ 36 จะไม่น้อยกว่า 36
(ไม่ลงตัว)
3) ถ้าต้องการให้ 30 หารจำ�นวนนับที่น้อยที่สุดที่ 36
หารลงตัว ต้องนำ�จำ�นวนใดมาคูณกับจำ�นวนที่เป็น หรืออาจสังเกตการหา ค.ร.น. ของ 18, 30 และ 36 จากการแยกตัวประกอบ ดังนี้

คำ�ตอบในข้อ 1)
18 = 2 × 3 × 3

30 = 2 × 3 × 5

(5) 36 = 2 × 2 × 3 × 3

4) จำ�นวนนับที่น้อยที่สุดที่ 36 และ 30 หารลงตัว ดังนั้น ค.ร.น. ของ 18, 30 และ 36 คือ 2 × 3 × 3 × 2 × 5 = 180

ได้จากจำ�นวนใดคูณกันบ้าง กี่จำ�นวน
(มี 2 คูณกัน 2 จำ�นวน คูณกับ 3 อีก 2 จำ�นวน | 25
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

และคูณกับ 5 อีก 1 จำ�นวน หรือ 2 × 2 × 3 × 3 × 5)


5) 18 หารจำ�นวนที่เป็นคำ�ตอบในข้อ 4) ได้ลงตัวหรือไม่
(ลงตัว)
6) ค.ร.น. ของ 18, 30 และ 36 เป็นเท่าใด
(180)
ทั้งนี้ครูควรตั้งประเด็นคำ�ถามให้นักเรียนเปรียบเทียบระหว่าง ค.ร.น. ที่ได้ กับจำ�นวนที่นำ�มาหา ค.ร.น. แล้วพิจารณา
ผลการเปรียบเทียบว่าเป็นอย่างไร
จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันสังเกตวิธีหา ค.ร.น. ของ 18, 30 และ 36 โดยการแยกตัวประกอบ หน้า 25
ทั้งนี้ครูควรยกตัวอย่างการหา ค.ร.น. ของจำ�นวนนับ 3 จำ�นวนเพิ่มเติม เช่น 9, 15 และ 12 กับ 16, 25 และ 30
โดยใช้การถาม-ตอบทำ�นองเดียวกันกับข้อ 1) ถึงข้อ 6) เพื่อสร้างความเข้าใจมากยิ่งขึ้น

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 23
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

ครูอาจให้ตัวแทนนักเรียนแสดงวิธีหา ค.ร.น. ในตัวอย่าง 1


หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6

และตัวอย่าง 2 หน้า 26 บนกระดาน แล้วใช้การซักถาม บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน และให้นักเรียนช่วยกัน 1
หา ค.ร.น. ของ 15 และ 28

ตรวจสอบความถูกต้อง แล้วร่วมกันทำ�กิจกรรมและแบ่งกัน วิธีทำา 15 = 3 × 5


28 = 2 × 2 × 7
ตรวจสอบความถูกต้อง จากนั้น ร่วมกันสรุปข้อสังเกตที่ได้ ดังนั้น ค.ร.น. ของ 15 และ 28 คือ 2 × 2 × 7 × 3 × 5 = 420

จากการหา ค.ร.น. ซึ่งควรจะได้ว่า ค.ร.น. ที่ได้จะไม่น้อยกว่า ตอบ ๔๒๐

จำ�นวนนับที่มากที่สุดในบรรดาจำ�นวนนับที่นำ�มาหา ค.ร.น.
2
แล้วให้ทำ�แบบฝึกหัด 1.10 เป็นรายบุคคล หา ค.ร.น. ของ 12, 18 และ 24
สังเกต 12 = 2 × 2 × 3
18 = 2 × 3 × 3
24 = 2 × 2 × 2 × 3
วิธีทำา 12 = 2 × 2 × 3 และ ค.ร.น. ของ 12, 18 และ 24
18 = 2 × 3 × 3 คือ 2 × 3 × 2 × 2 × 3 = 72

24 = 2 × 2 × 2 × 3
ดังนั้น ค.ร.น. ของ 12, 18 และ 24 คือ 2 × 2 × 2 × 3 × 3 = 72

ตอบ ๗๒

หา ค.ร.น. ของจำานวนที่กำาหนด

1 48 และ 56 2 12, 16 และ 32 3 15, 25 และ 30

4 18, 72 และ 45 5 21, 42 และ 50 6 36, 90 และ 100

แบบฝึกหัด 1.10

26 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

เฉลยหน้า 26

1 วิธีทำา 48 = 2 × 2 × 2 × 2 × 3 2 วิธีทำา 12 = 2 × 2 × 3
56 = 2 × 2 × 2 × 7 16 = 2 × 2 × 2 × 2
ดังนั้น ค.ร.น. ของ 48 และ 56 32 = 2 × 2 × 2 × 2 × 2
คือ 2 × 2 × 2 × 2 × 3 × 7 = 336 ดังนั้น ค.ร.น. ของ 12, 16 และ 32
ตอบ ๓๓๖ คือ 2 × 2 × 2 × 2 × 2 × 3 = 96
ตอบ ๙๖

3 วิธีทำา 15 = 3 × 5 4 วิธีทำา 18 = 2 × 3 × 3
25 = 5 × 5 72 = 2 × 2 × 2 × 3 × 3
30 = 2 × 3 × 5 45 = 3 × 3 × 5
ดังนั้น ค.ร.น. ของ 15, 25 และ 30 ดังนั้น ค.ร.น. ของ 18, 72 และ 45
คือ 2 × 3 × 5 × 5 = 150 คือ 2 × 2 × 2 × 3 × 3 × 5 = 360
ตอบ ๑๕๐ ตอบ ๓๖๐

5 วิธีทำา 21 = 3 × 7 6 วิธีทำา 36 = 2 × 2 × 3 × 3
42 = 2 × 3 × 7 90 = 2 × 3 × 3 × 5
50 = 2 × 5 × 5 100 = 2 × 2 × 5 × 5
ดังนั้น ค.ร.น. ของ 21, 42 และ 50 ดังนั้น ค.ร.น. ของ 36, 90 และ 100
คือ 2 × 3 × 5 × 5 × 7 = 1,050 คือ 2 × 2 × 3 × 3 × 5 × 5 = 900
ตอบ ๑,๐๕๐ ตอบ ๙๐๐

24 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

4. การสอนการหา ค.ร.น. โดยการหาร ครูให้นักเรียน


หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6

พิจารณาการหา ค.ร.น. หน้า 27-28 โดยใช้การถาม-ตอบ บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

การหา ค.ร.น. โดยการหาร


ประกอบการอธิบายไปทีละขั้น ซึ่งประเด็นที่ครูควรย้ำ�
พิจารณาการหา ค.ร.น. ของ 54 และ 81 ดังนี้
กับนักเรียน คือ ต้องหาจำ�นวนนับที่หารจำ�นวนนับเหล่านั้น ขั้นที่ 1 หาจำานวนนับที่หาร 54 และ 81 ได้ลงตัว เช่น 3 แล้วนำามาหารทั้งสองจำานวน

ได้ลงตัวทุกจำ�นวนก่อน ถ้าไม่มี จึงหาจำ�นวนนับที่หาร จะได้ 3 54


18
81
27

จำ�นวนนับเหล่านั้นได้ลงตัว โดยลดลงทีละจำ�นวน
ขั้นที่ 2 หาจำานวนนับที่หาร 18 และ 27 ได้ลงตัว เช่น 3 แล้วนำามาหารทั้งสองจำานวน
จนจำ�นวนนับเหล่านั้นมีตัวหารร่วมเป็น 1 ทั้งนี้ จำ�นวนนับ จะได้ 3 54 81
3 18 27
ที่นำ�มาหารจำ�นวนนับเหล่านั้น จะเป็นจำ�นวนเฉพาะ 6 9

หรือไม่เป็นจำ�นวนเฉพาะก็ได้ ขั้นที่ 3 หาจำานวนนับที่หาร 6 และ 9 ได้ลงตัว เช่น 3 แล้วนำามาหารทั้งสองจำานวน


จะได้ 3 54 81
จากนั้นครูให้นักเรียนช่วยกันหาวิธีตรวจสอบว่า จำ�นวน 3 18
3 6
27
9

ที่หาได้นั้นเป็น ค.ร.น. ของจำ�นวนนับเหล่านั้นหรือไม่ 2 3

โดยครูอาจแนะนำ�ให้นักเรียนทดลองนำ�จำ�นวนนับที่กำ�หนด
พบว่า 2 และ 3 ไม่มีตัวหารร่วมนอกจาก 1 จึงสิ้นสุดการหาร
ดังนั้น ผลคูณร่วมทีน
่ อ
้ ยทีส่ ด
ุ ของ 54 และ 81 หาได้โดย นำาตัวหารและผลหารของทุกจำานวนมาคูณกัน
แสดงว่า ค.ร.น. ของ 54 และ 81 คือ 3 × 3 × 3 × 2 × 3 = 162
แต่ละจำ�นวนไปหารจำ�นวนที่คาดว่าจะเป็น ค.ร.น. แล้วสังเกต
หรือ อาจนำา 9 หาร 54 และ 81 ได้ดังนี้
ผลหารที่ได้ ถ้าผลหารของทุกจำ�นวน มีตัวหารร่วมเป็น 1 9 54 81
6 9
เพียงจำ�นวนเดียว แสดงว่าจำ�นวนที่คาดไว้นั้นเป็น ค.ร.น. สังเกต
จากนั้นนำา 3 หาร 6 และ 9 ได้ดังนี้

ของจำ�นวนเหล่านั้นจริง
เมื่อนำา 54 และ 81 ไปหาร 162
9 54 81 จะได้ผลหารเป็น 3 และ 2 ตามลำาดับ
3 6 9 ซึ่งจะเห็นว่า ตัวหารร่วมของ 3 และ 2
2 3 มี 1 เพียงจำานวนเดียว
แสดงว่า 162 เป็น ค.ร.น. ของ 54 และ 81
แสดงว่า ค.ร.น. ของ 54 และ 81
คือ 9 × 3 × 2 × 3 = 162

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 27

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

พิจารณาการหา ค.ร.น. ของ 60, 96 และ 48 ดังนี้


ขั้นที่ 1 หาจำานวนนับที่หาร 60, 96 และ 48 ได้ลงตัว เช่น 6 แล้วนำามาหารทั้งสามจำานวน
จะได้ 6 60 96 48
10 16 8

ขั้นที่ 2 หาจำานวนนับที่หาร 10, 16 และ 8 ได้ลงตัว เช่น 2 แล้วนำามาหารทั้งสามจำานวน


จะได้ 6 60 96 48
2 10 16 8
5 8 4

ขั้นที่ 3 หาจำานวนนับที่หาร 5, 8 และ 4 ได้ลงตัวทั้งสามจำานวน พบว่าไม่มีจำานวนนับใด


ที่มากกว่า 1 ที่หาร 5, 8 และ 4 ได้ลงตัว จึงต้องหาจำานวนนับที่หาร
5, 8 และ 4 ได้ลงตัว อย่างน้อย 2 จำานวน เช่น 4 แล้วนำามาหาร
จะได้ 6 60 96 48
2 10 16 8
4 5 8 4
เนื่องจาก 4 หาร 5 ไม่ลงตัว
5 2 1
ให้เขียน 5 ไว้เช่นเดิม

พบว่า 5, 2 และ 1 นั้น ไม่มีตัวหารร่วมของ 2 จำานวนใดนอกจาก 1 จึงสิ้นสุดการหาร


ดังนั้น ผลคูณร่วมที่น้อยที่สุดของ 60, 96 และ 48 หาได้โดย นำาตัวหารและผลหารของทุกจำานวน
มาคูณกัน
แสดงว่า ค.ร.น. ของ 60, 96 และ 48 คือ 6 × 2 × 4 × 5 × 2 × 1 = 480

สังเกต

เมื่อนำา 60, 96 และ 48 ไปหาร 480 จะได้ผลหารเป็น 8, 5 และ 10 ตามลำาดับ

ซึ่งจะเห็นว่า ตัวหารร่วมของ 8, 5 และ 10 มี 1 เพียงจำานวนเดียว

แสดงว่า 480 เป็น ค.ร.น. ของ 60, 96 และ 48

28 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 25
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

5. ครูและนักเรียนร่วมกันพิจารณาตัวอย่างหน้า 29 จากนัน ้
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6

ร่วมกันทำ�กิจกรรม แล้วครูตั้งประเด็นคำ�ถามให้นักเรียน บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

เปรียบเทียบ ค.ร.น. ที่ได้ กับจำ�นวนที่นำ�มาหา ค.ร.น. 1


หา ค.ร.น. ของ 8 และ 20

แล้วพิจารณาผลการเปรียบเทียบว่าเป็นอย่างไร วิธีทำา 4 8
2
20
5

ครูนำ�ข้อสังเกตเกี่ยวกับผลการเปรียบเทียบระหว่าง ดังนั้น ค.ร.น. ของ 8 และ 20 คือ 4 × 2 × 5 = 40

ค.ร.น. ที่ได้กับจำ�นวนที่นำ�มาหา ค.ร.น. มาร่วมกันอภิปราย


ตอบ ๔๐

เพื่อนำ�ไปสู่ข้อสรุป ซึ่งจะได้ว่า ค.ร.น. ที่ได้จะมากกว่า หา ค.ร.น. ของ 9, 25 และ 45


วิธีทำา 9 9 25 45
หรือเท่ากับจำ�นวนนับที่มากที่สุดในบรรดาจำ�นวนนับ 5 1 25 5
1 5 1
ทีน
่ �ำ มาหา ค.ร.น. จากนัน ้ ให้ท�ำ แบบฝึกหัด 1.11 ดังนั้น ค.ร.น. ของ 9, 25 และ 45 คือ 9 × 5 × 1 × 5 × 1 = 225

เป็นรายบุคคล ตอบ ๒๒๕

ในส่วนของกรอบน่าคิดด้านล่างหน้า 29 เป็นการนำ� หา ค.ร.น. ของจำานวนที่กำาหนด

1 10 และ 97 2 28, 70 และ 49 3 16, 64 และ 40


ความรู้เกี่ยวกับ ค.ร.น. ไปใช้ ครูใช้การถาม-ตอบประกอบ 4 18, 42 และ 54 5 30, 40 และ 60 6 44, 66 และ 132

การอธิบายการหาจำ�นวนนับทีน ่ อ้ ยทีส่ ดุ ทีห


่ าร 10, 15 และ 20 แบบฝึกหัด 1.11

หาจำานวนนับที่น้อยที่สุดที่หารด้วย 10, 15 และ 20 แล้วเหลือเศษ 4


แล้วเหลือเศษ 4 ทั้งนี้ครูอาจยกตัวอย่างโจทย์อื่นเพิ่มเติม จากโจทย์ ต้องการหาจำานวนนับที่น้อยที่สุดที่หารด้วย 10, 15 และ 20 แล้วเหลือเศษ 4

เพื่อให้นักเรียนได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน
แสดงว่า ต้องหาจำานวนนับที่น้อยที่สุดที่หารด้วย 10, 15 และ 20 ได้ลงตัวก่อน
นั่นคือ หา ค.ร.น. ของ 10, 15 และ 20 ซึ่งเท่ากับ 60
ดังนั้น จำานวนนับที่น้อยที่สุดที่หารด้วย 10, 15 และ 20 แล้วเหลือเศษ 4 คือ 60 + 4 = 64

ตรวจสอบ
6 4 3
10 64 15 64 20 64
60 60 60
4 4 4

ดังนั้น 64 ÷ 10 ได้ 6 เศษ 4 ดังนั้น 64 ÷ 15 ได้ 4 เศษ 4 ดังนั้น 64 ÷ 20 ได้ 3 เศษ 4

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 29

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

เฉลยหน้า 29

1 วิธีทำา มี 1 เพียงจำานวนเดียวที่หาร 10 2 วิธีทำา 7 28 70 49


และ 97 ได้ลงตัว 2 4 10 7
ดังนั้น ค.ร.น. ของ 10 และ 97 2 5 7
คือ 10 × 97 = 970 ดังนั้น ค.ร.น. ของ 28, 70 และ 49
ตอบ ๙๗๐ คือ 7 × 2 × 2 × 5 × 7 = 980
ตอบ ๙๘๐

3 ตัวอย่าง 4 ตัวอย่าง
วิธีทำา 8 16 64 40 วิธีทำา 6 18 42 54
2 2 8 5 3 3 7 9
1 4 5 1 7 3
ดังนั้น ค.ร.น. ของ 16, 64 และ 40 ดังนั้น ค.ร.น. ของ 18, 42 และ 54
คือ 8 × 2 × 1 × 4 × 5 = 320 คือ 6 × 3 × 1 × 7 × 3 = 378
ตอบ ๓๒๐ ตอบ ๓๗๘

5 ตัวอย่าง 6 ตัวอย่าง
วิธีทำา 10 30 40 60 วิธีทำา 11 44 66 132
3 3 4 6 2 4 6 12
2 1 4 2 2 2 3 6
1 2 1 3 1 3 3
ดังนั้น ค.ร.น. ของ 30, 40 และ 60 1 1 1
คือ 10 × 3 × 2 × 1 × 2 × 1 = 120 ดังนั้น ค.ร.น. ของ 44, 66 และ 132
ตอบ ๑๒๐ คือ 11 × 2 × 2 × 3 × 1 × 1 × 1 = 132
ตอบ ๑๓๒

26 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

6. กิจกรรมหาความสัมพันธ์ระหว่าง ห.ร.ม. กับ ค.ร.น.


หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6

ของจำ�นวนนับ 2 จำ�นวน หน้า 30 เป็นกิจกรรมเสริมความรู้ บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

ให้กับนักเรียน ซึ่งครูควรจัดนักเรียนเป็นกลุ่ม ให้แต่ละกลุ่ม กิจกรรมหาความสัมพันธ์ระหว่าง ห.ร.ม. กับ ค.ร.น. ของจำานวนนับ 2 จำานวน

สังเกตผลคูณของจำ�นวนนับ 2 จำ�นวนที่กำ�หนด กับ


เติมคำาตอบในตาราง

ผลคูณของ ห.ร.ม. ผลคูณของจำานวน


ผลคูณของ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของ 2 จำ�นวนนั้น ข้อ จำานวนที่กำาหนด ห.ร.ม. ค.ร.น.
กับ ค.ร.น. ที่กำาหนด
4 และ 6
จากนั้นร่วมกันอภิปรายเพื่อนำ�ไปสู่ข้อสรุปที่ว่า เมื่อกำ�หนด
1 2 12 24 24

2 8 และ 12 4 24 96 96
จำ�นวนนับ 2 จำ�นวน จะพบว่า ผลคูณของ ห.ร.ม. กับ ค.ร.น. 3 9 และ 10 1 90 90 90

จะเท่ากับผลคูณของ 2 จำ�นวนนัน ้ แล้วร่วมกันทำ�กิจกรรม 4 15 และ 18 3 90 270 270

5 25 และ 20 5 100 500 500

จากตารางให้สังเกต ผลคูณของ ห.ร.ม. กับ ค.ร.น.


และผลคูณของจำานวนที่กำาหนด

เมื่อกำาหนดจำานวนนับ 2 จำานวน จะพบว่า


ผลคูณของ ห.ร.ม. กับ ค.ร.น. จะเท่ากับผลคูณของ 2 จำานวนนั้น

แสดงวิธีหาคำาตอบ

1 ถ้า ค.ร.น. ของ 40 กับจำานวนนับอีกจำานวนหนึ่งเป็น 40 และ ห.ร.ม. ของ 2 จำานวนนี้เป็น 20


จำานวนนับอีกจำานวนหนึ่งคือจำานวนใด

2 จำานวนนับ 2 จำานวน ถ้าจำานวนหนึ่งเป็น 12 และผลคูณของ ห.ร.ม. กับ ค.ร.น. ของ 2 จำานวนนี้


เป็น 360 จำานวนนับอีกจำานวนหนึ่งคือจำานวนใด

3 ถ้า ห.ร.ม. ของจำานวนนับ 2 จำานวนเป็น 7 และผลคูณของ 2 จำานวนนั้นเป็น 980


ค.ร.น. ของ 2 จำานวนนี้เป็นเท่าใด

จำานวนนับ 2 จำานวนนี้เป็นจำานวนใดได้บ้าง

30 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

เฉลยหน้า 30

1 วิธีทำา จากความสัมพันธ์ระหว่าง ห.ร.ม. กับ ค.ร.น. ของจำานวนนับ 2 จำานวน


จะได้ 40 × 20 = 40 ×
800 = 40 ×
= 800 ÷ 40
= 20
ดังนั้น จำานวนนับอีกจำานวนหนึ่ง คือ 20
ตอบ ๒๐

2 วิธีทำา จากความสัมพันธ์ระหว่าง ห.ร.ม. กับ ค.ร.น. ของจำานวนนับ 2 จำานวน


จะได้ 360 = 12 ×
= 360 ÷ 12
= 30
ดังนั้น จำานวนนับอีกจำานวนหนึ่ง คือ 30
ตอบ ๓๐

3 วิธีทำา จากความสัมพันธ์ระหว่าง ห.ร.ม. กับ ค.ร.น. ของจำานวนนับ 2 จำานวน


จะได้ 7× = 980
= 980 ÷ 7
= 140
ดังนั้น ค.ร.น. ของจำานวนนับ 2 จำานวนนี้ คือ 140
ตอบ ๑๔๐
หมายเหตุ จำานวนนับ 2 จำานวน ได้แก่ 7 กับ 140 และ 28 กับ 35

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 27
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

7. เพื่อตรวจสอบความเข้าใจและสรุปความรู้ที่ได้
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6

ให้นักเรียนทำ�กิจกรรมหน้า 31 เป็นรายบุคคล บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

ตรวจสอบความเข้าใจ

วิธีหา ค.ร.น. ของจำานวนนับต่อไปนี้ ถูกต้องหรือไม่ ถ้าไม่ถูกต้อง ให้แก้ไข

1 40 = 2×2×2×5
90 = 2×3×3×5
105 = 3 × 5 × 7
ค.ร.น. ของ 40, 90 และ 105 คือ 5 × 2 × 3 × 2 × 3 × 7 = 1,260

2 2 24 56 48
6 12 28 24
4 2 28 4
2 7 1

ค.ร.น. ของ 24, 56 และ 48 คือ 2 × 6 × 4 × 2 × 7 × 1 = 672

สิ่งที่ได้เรียนรู้

ข้อความต่อไปนี้ ถูกต้องหรือไม่ เพราะเหตุใด

1 ค.ร.น. ของจำานวนนับตั้งแต่ 2 จำานวนขึ้นไป จะมากกว่าหรือเท่ากับจำานวนนับที่มากที่สุด


ในบรรดาจำานวนนับเหล่านั้นเสมอ

2 168 เป็นจำานวนนับที่น้อยที่สุดที่หารด้วย 28, 42 และ 84 ได้ลงตัว

3 ถ้า ห.ร.ม. ของจำานวนนับ 2 จำานวนเป็น 1 แล้ว ค.ร.น. จะเท่ากับผลคูณของจำานวนนับ


2 จำานวนนั้น

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 31

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

เฉลยหน้า 31

จากความสัมพันธ์ระหว่าง ห.ร.ม. กับ ค.ร.น. ของจำานวนนับ 2 จำานวน ตรวจสอบความเข้าใจ


1 ไม่ถูกต้อง แก้ไขให้ถูกต้องดังนี้
ค.ร.น. ของ 40, 90 และ 105 คือ 2 × 2 × 2 × 3 × 3 × 5 × 7 = 2,520

2 ไม่ถูกต้อง แก้ไขให้ถูกต้องดังนี้
ดังนั้น จำานวนนับอีกจำานวนหนึ่ง คือ 20 ตัวอย่าง 2 24 56 48
๒๐ 4 12 28 24
3 3 7 6
1 7 2
จากความสัมพันธ์ระหว่าง ห.ร.ม. กับ ค.ร.น. ของจำานวนนับ 2 จำานวน ค.ร.น. ของ 24, 56 และ 48 คือ 2 × 4 × 3 × 1 × 7 × 2 = 336

สิ่งที่ได้เรียนรู้
1 ไม่ถูกต้อง เพราะ ค.ร.น. เป็นจำานวนนับที่น้อยที่สุดที่หารด้วยจำานวนนับตั้งแต่ 2 จำานวนขึ้นไปได้ลงตัว
ดังนั้น จำานวนนับอีกจำานวนหนึ่ง คือ 30 ถ้า ค.ร.น. น้อยกว่าจำานวนใดจำานวนหนึ่งในบรรดาจำานวนนับเหล่านั้น จะไม่สามารถหารด้วย
๓๐ จำานวนนับเหล่านั้นได้ลงตัว

2 ไม่ถูกต้อง เพราะ จำานวนนับที่น้อยที่สุดที่หารด้วย 28, 42 และ 84 ได้ลงตัว คือ 84


จากความสัมพันธ์ระหว่าง ห.ร.ม. กับ ค.ร.น. ของจำานวนนับ 2 จำานวน
3 ถูกต้อง เพราะ จากความสัมพันธ์ระหว่าง ห.ร.ม. กับ ค.ร.น. ของจำานวนนับ 2 จำานวน
จะได้ ห.ร.ม. × ค.ร.น. = ผลคูณของจำานวนนับ 2 จำานวน
1 × ค.ร.น. = ผลคูณของจำานวนนับ 2 จำานวน
ดังนั้น ค.ร.น. ของจำานวนนับ 2 จำานวนนี้ คือ 140 ค.ร.น. = ผลคูณของจำานวนนับ 2 จำานวน
๑๔๐ ดังนั้น ถ้าจำานวนนับ 2 จำานวน มี ห.ร.ม. เป็น 1 แล้ว ค.ร.น. จะเท่ากับผลคูณของ 2 จำานวนนั้น
จำานวนนับ 2 จำานวน ได้แก่ 7 กับ 140 และ 28 กับ 35

28 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

1.1
1.4 การอ่าปนัญการเขี
โจทย์ หา ยนจำ�นวนนับที่มากกว่า 100,000

จุดประสงค์การเรียนรู้ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

นักเรียนสามารถแสดงวิธีหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหา 1.4 โจทย์ปัญหา 5


โดยใช้ความรู้เกี่ยวกับ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. พิจารณาสถานการณ์ต่อไปนี้

สื่อการเรียนรู้ อุ้มทำาโดนัทหน้าช็อกโกแลต 42 ชิ้น หน้าสตรอว์เบอร์รี 36 ชิ้น


และหน้ามะพร้าว 30 ชิ้น นำาโดนัททั้งหมดมาบรรจุกล่อง กล่องละเท่า ๆ กัน

- โดยแต่ละกล่องเป็นโดนัทหน้าเดียวกัน อุ้มจะบรรจุได้มากที่สุดกล่องละกี่ชิ้น และได้กี่กล่อง

แนวการจัดการเรียนรู้ สิ่งที่โจทย์ถาม จำานวนโดนัทที่มากที่สุดที่บรรจุในแต่ละกล่อง


และจำานวนกล่องที่บรรจุโดนัท

1. ก่อนการสอนการแก้โจทย์ปัญหา ครูควรใช้การถาม-ตอบ สิ่งที่โจทย์บอก อุ้มทำาโดนัทหน้าช็อกโกแลต 42 ชิ้น หน้าสตรอว์เบอร์รี 36 ชิ้น


และหน้ามะพร้าว 30 ชิ้น นำาโดนัททั้งหมดมาบรรจุกล่อง

เพื่อทบทวนความหมายของ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ก่อน จากนั้น กล่องละเท่า ๆ กัน โดยแต่ละกล่องเป็นโดนัทหน้าเดียวกัน

จึงนำ�สนทนาเกี่ยวกับโจทย์ปัญหาที่ใช้ความรู้เกี่ยวกับ ห.ร.ม.
จะหาจำานวนโดนัทที่มากที่สุดที่บรรจุในแต่ละกล่อง
และ ค.ร.น. ว่า โจทย์ลักษณะนี้จะไม่มีคำ�ว่า ห.ร.ม. และ ค.ร.น. โดยแต่ละกล่องเป็นโดนัทหน้าเดียวกัน ต้องรู้อะไรก่อน

อยู่ในโจทย์ แต่มักจะใช้คำ� หรือข้อความอื่นที่มีความหมายว่า


ต้องรู้จำานวนโดนัทที่บรรจุกล่อง กล่องละเท่า ๆ กัน

มากที่สุด หรือ น้อยที่สุด ซึ่งนักเรียนจะต้องแปลความหมาย


จากคำ� หรือข้อความที่ปรากฏในโจทย์ แล้ววิเคราะห์ว่าจะต้อง จะบรรจุโดนัทหน้าช็อกโกแลตกล่องละเท่า ๆ กัน ได้กล่องละกี่ชิ้นบ้าง
คิดได้อย่างไร
ใช้ความรู้เกี่ยวกับ ห.ร.ม. หรือ ค.ร.น. ในการแก้ปัญหา
ดังนั้น ครูจึงควรเน้นย้ำ�เกี่ยวกับการแปลความหมายของคำ� จะบรรจุโดนัทหน้าช็อกโกแลตได้กล่องละ 1 ชิ้น 2 ชิ้น 3 ชิ้น 6 ชิ้น 7 ชิ้น

หรือข้อความที่ปรากฏในโจทย์ จากนั้นร่วมกันพิจารณา 14 ชิ้น 21 ชิ้น และ 42 ชิ้น คิดได้โดยหาจำานวนนับที่หาร 42 ได้ลงตัว


ซึ่งได้แก่ 1, 2, 3, 6, 7, 14, 21 และ 42

สถานการณ์หน้า 32-36 ครูใช้การซักถาม โดยให้นักเรียน


32 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

แปลความหมายจากโจทย์ เพื่อเชื่อมโยงไปสู่การเลือกใช้ ห.ร.ม.


หรือ ค.ร.น. ในการแก้ปัญหา พร้อมทั้งเน้นย้ำ�ให้นักเรียน
ตรวจสอบความถูกต้องของคำ�ตอบกับข้อมูลในโจทย์ทุกครั้ง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 29
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น. บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

จะหาจำานวนกล่องที่บรรจุโดนัททั้งหมดได้อย่างไร และได้คำาตอบเท่าใด
จะบรรจุโดนัทหน้าสตรอว์เบอร์รีกล่องละเท่า ๆ กัน ได้กล่องละกี่ชิ้นบ้าง
คิดได้อย่างไร
ต้องนำาจำานวนโดนัทแต่ละหน้า หารด้วยจำานวนโดนัทที่บรรจุในแต่ละกล่อง
แสดงว่า มีโดนัทหน้าช็อกโกแลต 42 ÷ 6 = 7 กล่อง
จะบรรจุโดนัทหน้าสตรอว์เบอร์รีได้กล่องละ 1 ชิ้น 2 ชิ้น 3 ชิ้น 4 ชิ้น 6 ชิ้น โดนัทหน้าสตรอว์เบอร์รี 36 ÷ 6 = 6 กล่อง
9 ชิ้น 12 ชิ้น 18 ชิ้น และ 36 ชิ้น คิดได้โดยหาจำานวนนับที่หาร 36 ได้ลงตัว
โดนัทหน้ามะพร้าว 30 ÷ 6 = 5 กล่อง
ซึ่งได้แก่ 1, 2, 3, 4, 6, 9, 12, 18 และ 36
ดังนั้น อุ้มบรรจุโดนัทได้ทั้งหมด 7 + 6 + 5 = 18 กล่อง

จะบรรจุโดนัทหน้ามะพร้าวกล่องละเท่า ๆ กัน ได้กล่องละกี่ชิ้นบ้าง


สรุปคำาตอบว่าอย่างไร
คิดได้อย่างไร

อุ้มจะบรรจุโดนัทได้มากที่สุดกล่องละ 6 ชิ้น ได้ทั้งหมด 18 กล่อง

จะบรรจุโดนัทหน้ามะพร้าวได้กล่องละ 1 ชิ้น 2 ชิ้น 3 ชิ้น 5 ชิ้น 6 ชิ้น


10 ชิ้น 15 ชิ้น และ 30 ชิ้น คิดได้โดยหาจำานวนนับที่หาร 30 ได้ลงตัว
ซึ่งได้แก่ 1, 2, 3, 5, 6, 10, 15 และ 30
ตรวจสอบได้อย่างไรว่า 6 ชิ้น และ 18 กล่อง เป็นคำาตอบที่ถูกต้อง

ต้องหาว่า 6 เป็น ห.ร.ม. ของ 42, 36 และ 30 จริงหรือไม่


ดังนั้น อุ้มจะบรรจุโดนัทได้มากที่สุดกล่องละ 6 ชิ้น โดยแต่ละกล่อง
ซึ่ง 42 ÷ 6 = 7 36 ÷ 6 = 6 30 ÷ 6 = 5
เป็นโดนัทหน้าเดียวกัน ซึ่ง 6 เป็น ห.ร.ม. ของ 42, 36 และ 30
จะเห็นว่า ตัวหารร่วมของ 7, 6 และ 5 มีเพียงจำานวนเดียว คือ 1
จะได้ว่า 6 เป็น ห.ร.ม ของ 42, 36 และ 30 จริง
แสดงว่า บรรจุโดนัทได้มากที่สุดกล่องละ 6 ชิ้น
และต้องหาว่าถ้าบรรจุโดนัทได้ 18 กล่อง กล่องละ 6 ชิ้น จะมีโดนัททั้งหมดกี่ชิ้น
จะได้ว่า มีโดนัททั้งหมด 18 × 6 = 108 ชิ้น ซึ่งเป็นหน้ามะพร้าว 30 ชิ้น
หน้าสตรอว์เบอร์รี 36 ชิ้น ดังนั้นเป็นหน้าช็อกโกแลต 108 – (30 + 36) = 42 ชิ้น
พบว่าสอดคล้องกับโจทย์
แสดงว่า 6 ชิ้น และ 18 กล่อง เป็นคำาตอบที่ถูกต้อง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 33 34 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น. บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

พิจารณาสถานการณ์ตอ
่ ไปนี้
จะซ่อมบำารุงทางเดินเท้าในปีที่เท่าใดบ้าง

โรงเรียนแห่งหนึ่ง มีแผนปรับปรุงสภาพแวดล้อมภายในโรงเรียน ดังนี้


ปรับปรุงห้องเรียนทุก ๆ 2 ปี ทาสีอาคารใหม่ทุก ๆ 6 ปี และซ่อมบำารุงทางเดินเท้าทุก ๆ 4 ปี เนื่องจากซ่อมบำารุงทางเดินเท้าทุก ๆ 4 ปี แสดงว่าจะซ่อมบำารุงทางเดินเท้าในปีที่
โดยเริ่มดำาเนินการตามแผนทุกรายการครั้งแรกในปี พ.ศ. 2560 โรงเรียนแห่งนี้จะดำาเนินการ 4, 8, 12, 16, 20, … ซึ่งเป็นจำานวนนับที่หารด้วย 4 ได้ลงตัว
ตามแผนที่วางไว้ทุกรายการพร้อมกันเป็นครั้งที่ 2 ในปี พ.ศ. ใด

12 มีความสัมพันธ์อย่างไรกับ 2, 6 และ 4
สิ่งที่โจทย์ถาม ปี พ.ศ. ที่โรงเรียนจะปรับปรุงสภาพแวดล้อมภายในทุกรายการพร้อมกัน
เป็นครั้งที่ 2 12 เป็นจำานวนนับที่น้อยที่สุดที่หารด้วย 2, 6 และ 4 ได้ลงตัว
หรือ 12 เป็น ค.ร.น. ของ 2, 6 และ 4

สิ่งที่โจทย์บอก โรงเรียนปรับปรุงห้องเรียนทุก ๆ 2 ปี ทาสีอาคารใหม่ทุก ๆ 6 ปี


และซ่อมบำารุงทางเดินเท้าทุก ๆ 4 ปี โดยเริ่มดำาเนินการพร้อมกัน อีกกี่ปีที่โรงเรียนจะปรับปรุงทุกรายการพร้อมกันเป็นครั้งที่ 2
ในปี พ.ศ. 2560 ตรงกับปี พ.ศ. ใด และคิดได้อย่างไร

อีก 12 ปี ซึ่งตรงกับปี พ.ศ. 2572 คิดได้โดยนับต่อจากปี พ.ศ. 2560


จะหาปี พ.ศ. ที่โรงเรียนจะปรับปรุงทุกรายการพร้อมกันเป็นครั้งที่ 2
ไปอีก 12 ปี
ต้องรู้อะไรก่อน

ต้องรู้จำานวนปีที่จะปรับปรุงทุกรายการพร้อมกันเป็นครั้งที่ 2
ตรวจสอบได้อย่างไรว่า พ.ศ. 2572 เป็นคำาตอบที่ถูกต้อง
แล้วเทียบจำานวนปีที่ได้ ให้เป็นปี พ.ศ.

จะปรับปรุงห้องเรียนในปีที่เท่าใดบ้าง
ต้องหาว่า จำานวนปีที่จะปรับปรุงทุกรายการพร้อมกันเป็นครั้งที่ 2 คือปีที่เท่าใด
เนื่องจากโรงเรียนปรับปรุงทุกรายการพร้อมกันเป็นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2560
เนื่องจากปรับปรุงห้องเรียนทุก ๆ 2 ปี แสดงว่าจะปรับปรุงห้องเรียนในปีที่
และครั้งที่ 2 ในปี พ.ศ. 2572 ซึ่งห่างกัน 12 ปี
2, 4, 6, 8, 10, 12, 14, 16, … ซึ่งเป็นจำานวนนับที่หารด้วย 2 ได้ลงตัว
และต้องหาว่า 12 เป็น ค.ร.น. ของ 2, 6 และ 4 จริงหรือไม่
ซึ่ง 12 ÷ 2 = 6 12 ÷ 6 = 2 12 ÷ 4 = 3
จะทาสีอาคารใหม่ในปีที่เท่าใดบ้าง จะเห็นว่า ตัวหารร่วมของ 6, 2 และ 3 มีเพียงจำานวนเดียว คือ 1
ดังนั้น 12 เป็น ค.ร.น. ของ 2, 6 และ 4 จริง
เนื่องจากทาสีอาคารใหม่ทุก ๆ 6 ปี แสดงว่าจะทาสีอาคารใหม่ในปีที่ แสดงว่า พ.ศ. 2572 เป็นคำาตอบที่ถูกต้อง
6, 12, 18, 24, … ซึ่งเป็นจำานวนนับที่หารด้วย 6 ได้ลงตัว

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 35 36 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

30 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

2. ครูและนักเรียนร่วมกันพิจารณาตัวอย่าง 1 และตัวอย่าง 2
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6

หน้า 37-40 โดยครูควรใช้การซักถามเพื่อให้นักเรียนแปล บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

ความหมายจากโจทย์เพือ่ เลือกใช้ ห.ร.ม. หรือ ค.ร.น. ในการแก้ 1

แก้มซื้อดอกกุหลาบราคาดอกละ 8 บาท นุชซื้อดอกลิลลี่ราคาดอกละ 25 บาท


โจทย์ปญ ั หา พร้อมทัง้ เน้นย้�ำ ให้นกั เรียนตรวจสอบความถูกต้อง และผึ้งซื้อดอกทานตะวันราคาดอกละ 16 บาท ถ้าแต่ละคนจ่ายเงินซื้อดอกไม้เท่ากัน
จะจ่ายเงินอย่างน้อยที่สุดคนละกี่บาท และได้ดอกไม้คนละกี่ดอก
ของคำ�ตอบกับข้อมูลในโจทย์ทุกครั้ง แล้วร่วมกันทำ�กิจกรรม
หน้า 41 ซึ่งโจทย์บางข้อมีคำ�ว่าน้อยที่สุด แต่ใช้ ห.ร.ม.
ในการแก้ปัญหา ครูควรนำ�ประเด็นลักษณะนี้มาร่วมกัน
อภิปรายเพื่อให้นักเรียนเห็นความสำ�คัญของการแปล
วิธีคิด หาจำานวนเงินที่น้อยที่สุดที่แต่ละคนจ่ายเท่ากัน โดยหา ค.ร.น. ของ 8, 25 และ 16 ก่อน
ความหมายของคำ� หรือข้อความที่ปรากฏในโจทย์ เพราะถ้า แล้วจึงหาจำานวนดอกไม้แต่ละชนิดโดยนำาจำานวนเงินที่แต่ละคนจ่าย
หารด้วยราคาดอกไม้ 1 ดอก
แปลความได้ถูกต้อง จะช่วยให้นักเรียนเลือกใช้วิธีแก้ปัญหา
ได้ถูกต้อง เช่น ข้อ 1 โจทย์ต้องการบรรจุเสื้อใส่กล่อง วิธีทำา หาจำานวนเงินที่น้อยที่สุดที่แต่ละคนจ่ายเท่ากัน โดยหา ค.ร.น. ของ 8, 25 และ 16

8 8 25 16
ซึ่งจะต้องใช้จ�ำ นวนกล่องน้อยทีส่ ดุ หมายความว่า เสือ้ ทีบ
่ รรจุ 1 25 2

ในแต่ละกล่องต้องมีจำ�นวนมากที่สุด ดังนั้นโจทย์ข้อนี้ต้องใช้ จะได้ ค.ร.น. ของ 8, 25 และ 16 คือ 8 × 1 × 25 × 2 = 400


แสดงว่า แต่ละคนจ่ายเงินซื้อดอกไม้ 400 บาท

ห.ร.ม. แก้ปัญหา และ แก้มซื้อดอกกุหลาบได้ 400 ÷ 8 = 50 ดอก


นุชซื้อดอกลิลลี่ได้ 400 ÷ 25 = 16 ดอก
ครูและนักเรียนร่วมกันหาคำ�ตอบจากสถานการณ์ ผึ้งซื้อดอกทานตะวันได้ 400 ÷ 16 = 25 ดอก
ดังนั้น แต่ละคนจ่ายเงินซื้อดอกไม้ 400 บาท แก้มซื้อดอกกุหลาบได้ 50 ดอก
ในหน้าเปิด หน้า 2-3 จากนั้นให้ทำ�แบบฝึกหัด 1.12 นุชซื้อดอกลิลลี่ได้ 16 ดอก และผึ้งซื้อดอกทานตะวันได้ 25 ดอก

เป็นรายบุคคล ตอบ แต่ละคนจ่ายเงินซื้อดอกไม้ ๔๐๐ บาท แก้มซื้อดอกกุหลาบได้ ๕๐ ดอก


นุชซื้อดอกลิลลี่ได้ ๑๖ ดอก และผึ้งซื้อดอกทานตะวันได้ ๒๕ ดอก

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 37

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น. บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

โรงภาพยนตร์เพชรรามา ต้องการจัดที่นั่งโซน A จำานวน 176 ที่ โซน B จำานวน 110 ที่


ตรวจสอบได้อย่างไรว่า 400 บาท กับ 50 ดอก 16 ดอก
และโซน C จำานวน 66 ที่ โดยให้แต่ละโซนมีจำานวนที่นั่งในแต่ละแถวเท่ากัน
และ 25 ดอก เป็นคำาตอบที่ถูกต้อง
โรงภาพยนตร์แห่งนี้จะจัดที่นั่งได้มากที่สุดแถวละกี่ที่ และจัดได้กี่แถว

วิธีคิด หาจำานวนที่นั่งที่มากที่สุดในแต่ละแถวของแต่ละโซน
ต้องหาว่า 400 เป็น ค.ร.น. ของ 8, 25 และ 16 จริงหรือไม่ โดยหา ห.ร.ม. ของ 176, 110 และ 66 แล้วหาจำานวนแถวของแต่ละโซน
ซึ่ง 400 ÷ 8 = 50 400 ÷ 25 = 16 400 ÷ 16 = 25 โดยนำาจำานวนที่นั่งของแต่ละโซน หารด้วยจำานวนที่นั่งที่มากที่สุดในแต่ละแถว
จะเห็นว่า ตัวหารร่วมของ 50, 16 และ 25 มีเพียงจำานวนเดียว คือ 1
จะได้ 400 เป็น ค.ร.น. ของ 8, 25 และ 16 จริง วิธีทำา หาจำานวนที่นั่งที่มากที่สุดในแต่ละแถวของโซน A โซน B และโซน C
แสดงว่า แต่ละคนจ่ายเงินซื้อดอกไม้น้อยที่สุด 400 บาท
โดยการหา ห.ร.ม. ของ 176, 110 และ 66
และต้องหาว่า ดอกไม้แต่ละชนิดราคาดอกละเท่าใด
176 = 2 × 2 × 2 × 2 × 11
เนื่องจากแต่ละคนซื้อดอกไม้ 400 บาท ถ้าแก้มซื้อดอกกุหลาบได้ 50 ดอก
นุชซื้อดอกลิลลี่ได้ 16 ดอก และผึ้งซื้อดอกทานตะวันได้ 25 ดอก 110 = 2 × 5 × 11
ดังนั้น ดอกกุหลาบราคาดอกละ 400 ÷ 50 = 8 บาท 66 = 2 × 3 × 11
ดอกลิลลี่ราคาดอกละ 400 ÷ 16 = 25 บาท จะได้ ห.ร.ม. ของ 176, 110 และ 66 คือ 2 × 11 = 22
ดอกทานตะวันราคาดอกละ 400 ÷ 25 = 16 บาท
แสดงว่า โรงภาพยนตร์แห่งนี้จัดที่นั่งได้มากที่สุดแถวละ 22 ที่
พบว่าสอดคล้องกับโจทย์
โดย โซน A จัดที่นั่งได้ 176 ÷ 22 = 8 แถว
แสดงว่า 400 บาท กับ 50 ดอก 16 ดอก และ 25 ดอก เป็นคำาตอบที่ถูกต้อง
โซน B จัดที่นั่งได้ 110 ÷ 22 = 5 แถว
โซน C จัดที่นั่งได้ 66 ÷ 22 = 3 แถว
และจัดที่นั่งทั้งหมด 8 + 5 + 3 = 16 แถว
ดังนั้น โรงภาพยนตร์แห่งนี้จัดที่นั่งได้มากที่สุดแถวละ 22 ที่ และจัดได้ 16 แถว
ตอบ โรงภาพยนตร์แห่งนี้จะจัดที่นั่งได้มากที่สุดแถวละ ๒๒ ที่ และจัดได้ ๑๖ แถว

ถ้าหา ห.ร.ม. ของ 176, 110 และ 66 โดยการหาร


อาจหา ค.ร.น. ของ 8, 25 และ 16 ด้วยวิธีอื่นได้
จะได้ 2 176 110 66
11 88 55 33
8 5 3

สังเกตผลหาร 8, 5 และ 3 คือ จำานวนแถวของที่นั่งแต่ละโซน

38 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 39

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 31
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น. บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

แสดงวิธีหาคำาตอบ

1 ร้านค้ามีเสื้อขนาดเล็ก (S) 150 ตัว ราคาตัวละ 100 บาท เสื้อขนาดกลาง (M) 250 ตัว
ตรวจสอบได้อย่างไรว่า 22 ที่ กับ 16 แถว เป็นคำาตอบที่ถูกต้อง ราคาตัวละ 120 บาท และเสื้อขนาดใหญ่ (L) 200 ตัว ราคาตัวละ 150 บาท
ต้องการบรรจุเสื้อใส่กล่อง โดยทุกกล่องมีจำานวนเสื้อเท่ากันและเป็นเสื้อขนาดเดียวกัน
ร้านค้าจะต้องใช้กล่องน้อยที่สุดกี่ใบ และเสื้อแต่ละขนาดราคากล่องละกี่บาท

ต้องหาว่า 22 เป็น ห.ร.ม. ของ 176, 110 และ 66 จริงหรือไม่ 2 จิตอาสาปลูกป่าชายเลน 2 กลุม
่ ได้แก่ กลุม
่ ตะวันมีสมาชิก 24 คน และกลุม
่ จันทรามีสมาชิก 32 คน
ซึ่ง 176 ÷ 22 = 8 110 ÷ 22 = 5 และ 66 ÷ 22 = 3 แต่ละกลุ่มได้รับกล้าไม้โกงกางจากผู้นำาชุมชนจำานวนเท่ากัน โดยสมาชิกแต่ละคนในกลุ่มเดียวกัน
ได้รับกล้าไม้จำานวนเท่ากัน ผู้นำาชุมชนจะต้องแจกกล้าไม้โกงกางให้แต่ละกลุ่มอย่างน้อยที่สุดกี่ต้น
จะเห็นว่า ตัวหารร่วมของ 8, 5 และ 3 มีเพียงจำานวนเดียว คือ 1
และสมาชิกของแต่ละกลุ่มได้รับกล้าไม้โกงกางคนละกี่ต้น
จะได้ 22 เป็น ห.ร.ม ของ 176, 110 และ 66 จริง
3 สถานีขนส่งผู้โดยสารแห่งหนึ่ง มีรถตู้เดินทางไปตลาดโรงเกลือ จ.สระแก้ว 3 เส้นทาง ดังนี้
แสดงว่า จัดที่นั่งได้มากที่สุดแถวละ 22 ที่
เส้นทางที่ 1 รถออกทุก ๆ 50 นาที เส้นทางที่ 2 รถออกทุก ๆ 30 นาที เส้นทางที่ 3
และต้องหาว่า มีที่นั่งทั้งหมดกี่แถว
รถออกทุก ๆ 45 นาที โดยรถตู้ทั้งสามเส้นทางออกเดินทางพร้อมกันเวลา 03.00 น.
เนื่องจาก จัดที่นั่งได้มากที่สุดแถวละ 22 ที่ ถ้าจัดที่นั่งได้ทั้งหมด 16 แถว รถตู้ทั้งสามเส้นทางจะออกเดินทางพร้อมกันครั้งต่อไปในเวลาใด
แสดงว่า มีที่นั่งทั้งหมด 16 × 22 = 352 ที่ เป็นที่นั่งโซน A จำานวน 176 ที่ 4 พื้นห้องรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ากว้าง 320 เซนติเมตร และยาว 400 เซนติเมตร
เป็นที่นั่งโซน B จำานวน 110 ที่ เอ็มต้องการปูพื้นห้องด้วยกระเบื้องรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส และใช้กระเบื้องจำานวนน้อยที่สุด
ดังนั้น เป็นที่นั่งโซน C จำานวน 352 – (176 + 110) = 66 ที่ เอ็มจะต้องใช้กระเบื้องกี่แผ่น และกระเบื้องแต่ละแผ่นมีขนาดเท่าใด

พบว่าสอดคล้องกับโจทย์ 5 พ่อมีที่ดินเป็นรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก กว้าง 56 เมตร และยาว 80 เมตร และมีรั้วล้อมรอบทั้งสี่ด้าน ดังรูป


แสดงว่า 22 ที่ กับ 16 แถว เป็นคำาตอบที่ถูกต้อง
รั้ว

รั้ว รั้ว

รั้ว

ถ้าพ่อต้องการปลูกต้นมะนาว โดยให้ระยะห่างจากต้นมะนาวถึงแนวรั้ว กับระยะห่างระหว่าง


ต้นมะนาว 2 ต้นที่อยู่ติดกันเท่ากัน และให้ห่างกันมากที่สุด พ่อจะปลูกต้นมะนาวได้อย่างน้อย
ที่สุดกี่ต้น

แบบฝึกหัด 1.12

40 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 41

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น. บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

เฉลยหน้า 41 เฉลยหน้า 41

1 วิธีคิด ต้อต้งการใช้
จาำ นวนกล่
องการใช้ องทีอน
จาำ นวนกล่ ่ งทีอ
้ น่ ยที
อ ส่ ด
้ ยทีุ ส่ จึด
ุ งหาจำ านวนเสื
จึงหาจำ อ
้ ทีอ
านวนเสื้ จ่ ที
ะบรรจุ ในแต่
จ่ ะบรรจุ ละกล่
ในแต่ องให้
ละกล่ มจี ม
องให้ าำ นวนมากที ส่ ด
จี าำ นวนมากทีุ ส่ ด
ุ 2 วิธีคิด หาจำานวนกล้าไม้โกงกางทีน
่ อ
้ ยทีส่ ด
ุ ทีแ่ ต่ละกลุม
่ ได้รบ
ั จากผูน
้ าำ ชุมชนจำานวนเท่ากัน โดยหา ค.ร.น.
โดยหา ห.ร.ม.
โดยหา ของของ
ห.ร.ม. 150,
150,250 และ
250 200
และ 200แล้แล้
วหาจำ านวนกล่
วหาจำ อง อโดยนำ
านวนกล่ าจำานวนเสื
ง โดยนำ ้อแต่
จำานวนเสื ละขนาด
้อแต่ ละขนาด ของ 24 และ 32 จากนั้นหาจำานวนกล้าไม้โกงกางที่สมาชิกแต่ละคนของกลุ่มเดียวกันได้รับ
หารด้ วยจำวยจำ
หารด้ านวนเสื ้อที้อ่มทีากที
านวนเสื ่สุด่สทีุด่จทีะบรรจุ
่มากที ในแต่
่จะบรรจุ ละกล่
ในแต่ อง อจากนั
ละกล่ ้นหาราคาเสื
ง จากนั ้อแต่
้นหาราคาเสื ละกล่
้อแต่ อง อโดยนำ
ละกล่ า า
ง โดยนำ โดยนำาจำานวนกล้าไม้โกงกางทีน
่ อ
้ ยทีส่ ด
ุ ทีแ่ ต่ละกลุม
่ ได้รบ
ั จากผูน
้ าำ ชุมชน หารด้วยจำานวนสมาชิก
จำานวนเสื ้อในกล่
จำานวนเสื อง อคูงณคูกัณบกัราคาเสื
้อในกล่ ้อ 1้อ ตั1วตัว
บราคาเสื ของแต่ละกลุ่ม

วิธีทำา หาจำหาจำ
านวนเสื
อ้ ทีอ้จ่ ที
านวนเสื ะบรรจุ ในแต่
จ่ ะบรรจุ ละกล่
ในแต่ องให้
ละกล่ มจี าม
องให้ ำ นวนมากที ส่ ด
จี าำ นวนมากทีุ ส่ โดยหา
ด ห.ร.ม.
ุ โดยหา ของของ
ห.ร.ม. 150, 250
150, และและ
250 200200 วิธีทำา หาจำานวนกล้าไม้โกงกางทีน
่ อ
้ ยทีส่ ด
ุ ทีแ่ ต่ละกลุม
่ ได้รบ
ั จากผูน
้ าำ ชุมชนจำานวนเท่ากัน โดยหา ค.ร.น.
ของ 24 และ 32
ตัวอย่าง 10 150 250 200
5 15 25 20 ตัวอย่าง 24 = 2 × 2 × 2 × 3
3 5 4 32 = 2 × 2 × 2 × 2 × 2

จะได้
จะได้ห.ร.ม. ของของ
ห.ร.ม. 150,
150,250 และ
250 200
และ 200คือคื10 × 5× 5= =5050
อ 10 จะได้ ค.ร.น. ของ 24 และ 32 คือ 2 × 2 × 2 × 2 × 2 × 3 = 96

แสดงว่ า จะบรรจุ
แสดงว่ เสื้อเสืขนาดเดี
า จะบรรจุ ยวกัยน
้อขนาดเดี วกัได้นมได้ากที ่สุด่สกล่
มากที องละ
ุดกล่ 5050
องละ ตัวตัว แสดงว่า ผู้นำาชุมชนจะต้องแจกกล้าไม้โกงกางให้แต่ละกลุ่มอย่างน้อยที่สุดกลุ่มละ 96 ต้น

โดย เสื้อขนาดเล็ก (S) ใช้กล่อง 150 ÷ 50 = 3 ใบ และ สมาชิกของกลุ่มตะวันได้รับคนละ 96 ÷ 24 = 4 ต้น

เสื้อขนาดกลาง (M) ใช้กล่อง 250 ÷ 50 = 5 ใบ สมาชิกของกลุ่มจันทราได้รับคนละ 96 ÷ 32 = 3 ต้น

เสื้อขนาดใหญ่ (L) ใช้กล่อง 200 ÷ 50 = 4 ใบ ดังนั้น ผู้นำาชุมชนจะต้องแจกกล้าไม้โกงกางให้แต่ละกลุ่มอย่างน้อยที่สุด 96 ต้น โดยสมาชิก

แสดงว่า ร้านค้าจะต้องใช้กล่องน้อยที่สุด 3 + 5 + 4 = 12 ใบ ของกลุ่มตะวันได้รับคนละ 4 ต้น และสมาชิกของกลุ่มจันทราได้รับคนละ 3 ต้น


และ เสื้อขนาดเล็ก (S) ราคากล่องละ 50 × 100 = 5,000 บาท ตอบ ผูน
้ าำ ชุมชนจะต้องแจกกล้าไม้โกงกางให้แต่ละกลุม
่ อย่างน้อยทีส่ ด
ุ ๙๖ ต้น โดยสมาชิกของกลุม
่ ตะวัน
เสื้อขนาดกลาง (M) ราคากล่องละ 50 × 120 = 6,000 บาท ได้รับคนละ ๔ ต้น และสมาชิกของกลุ่มจันทราได้รับคนละ ๓ ต้น

เสื้อขนาดใหญ่ (L) ราคากล่องละ 50 × 150 = 7,500 บาท


ร้านค้
ดังนั้น ร้านค้ าจะต้
าจะต้ องใช้
กล่กอล่งน้อองน้ยที
องใช้ อยทีุ ส่ 12
ส่ ด ด
ุ 12
ใบ ใบ โดยที
โดยที ้ เ่ สืขนาดเล็
เ่ สือ อ
้ ขนาดเล็ก (S)
ก (S) ราคากล่
ราคากล่ องละ
องละ 5,000
5,000 บาท
บาท
้ เสืขนาดกลาง
เสือ อ
้ ขนาดกลาง
(M)(M) ราคากล่
ราคากล่ องละ
องละ 6,000
6,000 บาท
บาท และเสื
และเสื
อ อ
้ ขนาดใหญ่
้ ขนาดใหญ่ (L)(L) ราคากล่
ราคากล่ องละ
องละ 7,500
7,500 บาท
บาท
ตอบ ร้านค้
ร้านค้
าจะต้
าจะต้
องใช้
องใช้
กล่กอล่งน้
ออ งน้ยที
อยที
่สุด่ส๑๒
ุด ๑๒
ใบ ใบ
โดยที
โดยที
่เสื้อ่เสืขนาดเล็
้อขนาดเล็
ก (S)
ก (S)
ราคากล่
ราคากล่
องละ
องละ
๕,๐๐๐
๕,๐๐๐
บาท
บาท
เสือ
้ เสืขนาดกลาง
อ (M)(M)
้ ขนาดกลาง ราคากล่องละ
ราคากล่ ๖,๐๐๐
องละ บาท
๖,๐๐๐ และเสื
บาท อ
้ ขนาดใหญ่
และเสือ (L)(L)
้ ขนาดใหญ่ ราคากล่องละ
ราคากล่ ๗,๕๐๐
องละ บาท
๗,๕๐๐ บาท

32 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น. บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

เฉลยหน้า 41 เฉลยหน้า 41

3 วิธีคิด หาเวลาที
หาเวลาที
ร่ ถตูร่ ท
ถตู ท
้ ง้ั สามเส้
้ ง้ั สามเส้ นทางออกเดิ
นทางออกเดิ นทางพร้
นทางพร้ อมกั
อมกันเป็นนเป็ครันง้ ครั
ที่ ง้ 2ที่ 2 โดยหา
โดยหา ค.ร.น.
ค.ร.น. ของของ
50,50,
3030
และและ
4545 4 ตัวอย่าง
จากนั
จากนั ้นจึ้นงเปลี
จึงเปลี ่ยนหน่
่ยนหน่ วยเวลาจากนาที
วยเวลาจากนาที เป็นเป็ชัน่วชั
โมง่วโมงแล้แล้
วใช้วกใช้ารนั
การนั
บต่บอต่จากเวลาที
อจากเวลาที ่ออกเดิ
่ออกเดิ นทาง
นทาง วิธีคิด ต้องการปูพน
้ื ห้องด้วยกระเบือ
้ งรูปสีเ่ หลีย่ มจัตรุ สั ขนาดเดียวกัน และใช้กระเบือ
้ งจำานวนน้อยทีส่ ด

พร้พร้
อมกัอมกั
นเป็นนเป็ครั
น้งครั ้งแรกจนครบตามเวลาที
แรกจนครบตามเวลาที ่หาได้
่หาได้ แสดงว่า แผ่นกระเบื้องต้องมีขนาดใหญ่ที่สุด จึงต้องหาความยาวของด้านของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส
ที่มากที่สุด โดยหา ห.ร.ม. ของ 320 และ 400 จากนั้นหาจำานวนกระเบื้อง โดยนำาจำานวนแถว
วิธีทำา หาเวลาที
หาเวลาที
ร่ ถตูร่ ท
ถตู ท
้ ง้ั สามเส้
้ ง้ั สามเส้ นทางออกเดิ
นทางออกเดิ นทางพร้
นทางพร้ อมกั
อมกันเป็นนเป็ครันง้ ครั
ที่ ง้ 2ที่ 2 โดยหา
โดยหา ค.ร.น.
ค.ร.น. ของของ
50,50,
3030
และและ
4545 ของกระเบื้องที่ปูตามด้านกว้าง คูณกับจำานวนกระเบื้องที่ปูตามด้านยาวของพื้นห้อง

ตัวอย่าง 5 50 30 45
วิธีทำา หาความยาวของด้านของกระเบื้องรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มากที่สุด โดยหา ห.ร.ม. ของ 320 และ 400
3 10 6 9
2 10 2 3 10 320 400
5 1 3 8 32 40
4 5
จะได้ค.ร.น.
จะได้ ค.ร.น.
ของของ
50,50,3030 และ
และ 4545คือคือ5 ×5 3× ×3 2× ×2 5× ×5 1× ×1 3× 3= =450
450
แสดงว่
แสดงว่ า รถตู
า รถตู ้ทั้งสามเส้
้ทั้งสามเส้ นทางจะออกเดิ
นทางจะออกเดิ นทางพร้
นทางพร้ อมกัอมกั
นเป็นนเป็ครั
น้งครั
ที่้ง2ที่ 2เมื่อเมืเวลาผ่
่อเวลาผ่ านไป
านไป 450
450 นาที
นาที จะได้ ห.ร.ม. ของ 320 และ 400 คือ 10 × 8 = 80
ซึ่ง ซึ450
่ง 450 นาทีคิดคิเป็ดนเป็น450
นาที 450 ÷ 60ได้ ได้
÷ 60 7 ชั7่วชั
โมง่วโมง
3030 นาที
นาที แสดงว่า ต้องใช้กระเบื้องรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีความยาวด้านละ 80 เซนติเมตร
เนื่อเนืงจาก
่องจากรถตูรถตู ้ทั้งสามเส้
้ทั้งสามเส้ นทางออกเดิ
นทางออกเดิ นทางพร้
นทางพร้ อมกัอมกั
นครัน้งครั ้งแรกเวลา
แรกเวลา 03.00
03.00 น. น. ต้องการปูพื้นห้องรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าซึ่งกว้าง 320 เซนติเมตร และยาว 400 เซนติเมตร
จึงนัจึบ
งนัต่บอต่จากเวลา
อจากเวลา 03.00
03.00 น. น.
ไปอีไปอี
ก 7ก ชั7่วชั
โมง่วโมง
3030 นาที
นาที แสดงว่า ปูกระเบื้องตามด้านกว้างได้ 320 ÷ 80 = 4 แถว
และปูตามด้านยาวได้แถวละ 400 ÷ 80 = 5 แผ่น
1 ชั่วโมง 1 ชั่วโมง 1 ชั่วโมง 1 ชั่วโมง 1 ชั่วโมง 1 ชั่วโมง 1 ชั่วโมง 30 นาที
ดังนั้น เอ็มจะต้องใช้กระเบื้อง 4 × 5 = 20 แผ่น และกระเบื้องแต่ละแผ่นมีความยาวด้านละ
03.00 น. 04.00 น. 05.00 น. 06.00 น. 07.00 น. 08.00 น. 09.00 น. 10.00 น. 10.30 น. 80 เซนติเมตร ดังรูป

80 ซม.
ดั้น
ดังนั งนั้นรถตูรถตู ้ทั้งสามเส้
้ทั้งสามเส้ นทางจะออกเดิ
นทางจะออกเดิ นทางพร้
นทางพร้ อมกัอมกั
นเป็นนเป็ครั
น้งครั
ที่้ง2ที่ 2เวลา
เวลา 10.30
10.30 น. น.

80 ซม.
ตอบ ๑๐.๓๐
๑๐.๓๐ น. น.

320 ซม.
400 ซม.

ตอบ เอ็มจะต้องใช้กระเบื้อง ๒๐ แผ่น และกระเบื้องแต่ละแผ่นมีความยาวด้านละ ๘๐ เซนติเมตร

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

เฉลยหน้า 41

5 วิธีคิด หาระยะห่างระหว่างต้นมะนาวกับแนวรั้ว และระยะห่างระหว่างต้นมะนาว 2 ต้นที่อยู่ติดกัน


ซึง่ ห่างเท่ากันและห่างกันมากทีส่ ด
ุ โดยหา ห.ร.ม. ของ 56 และ 80 แล้วจึงหาจำานวนต้นมะนาว
ทัง้ หมด โดยนำาจำานวนแถวของต้นมะนาวทีป
่ ลูกตามด้านกว้าง คูณกับจำานวนต้นมะนาวทีป
่ ลูกตาม
ด้านยาว

วิธีทำา หาระยะห่างระหว่างต้นมะนาวกับแนวรั้ว และระยะห่างระหว่างต้นมะนาว 2 ต้นที่อยู่ติดกัน


ซึ่งห่างเท่ากันและห่างกันมากที่สุด โดยหา ห.ร.ม. ของ 56 และ 80

ตัวอย่าง 56 = 2 × 2 × 2 × 7
80 = 2 × 2 × 2 × 2 × 5

จะได้ ห.ร.ม. ของ 56 และ 80 คือ 2 × 2 × 2 = 8


แสดงว่า พ่อต้องปลูกต้นมะนาวบนที่ดินรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าซึ่งกว้าง 56 เมตร และยาว 80 เมตร
ให้มีระยะห่างจากแนวรั้ว และมีระยะห่างระหว่างต้นที่อยู่ติดกันตามด้านกว้างและด้านยาว
ต้นละ 8 เมตร
เนื่องจาก พ่อปลูกต้นมะนาวโดยเว้นแนวรั้วทั้งสี่ด้าน
แสดงว่า พ่อปลูกต้นมะนาวตามด้านกว้างได้ (56 ÷ 8) − 1 = 6 แถว
และปลูกต้นมะนาวตามด้านยาวได้แถวละ (80 ÷ 8) − 1 = 9 ต้น
ดังนั้น พ่อจะปลูกต้นมะนาวได้อย่างน้อยที่สุด 6 × 9 = 54 ต้น ดังรูป

80 ม.
รั้ว
8 ม.

8 ม. 8 ม.
56 ม.

รั้ว รั้ว

กำาหนด แทนต้นมะนาว
รั้ว

ตอบ ๕๔ ต้น

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 33
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

3. เพื่อตรวจสอบความเข้าใจและสรุปความรู้ที่ได้
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6

ให้นักเรียนทำ�กิจกรรมหน้า 42 เป็นรายบุคคล บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

ตรวจสอบความเข้าใจ

แสดงวิธีหาคำาตอบ

1 ออมสินและเพื่อน ๆ มีปลากระป๋อง 42 กระป๋อง นม 63 กล่อง และขนม 84 ซอง ต้องการ


จัดสิ่งของทั้งหมดใส่ถุงให้ได้จำานวนถุงมากที่สุด โดยแต่ละถุงสิ่งของอย่างเดียวกันต้องมีจำานวน
เท่ากัน จะจัดได้มากที่สุดกี่ถุง และแต่ละถุงมีสิ่งของอย่างละเท่าใด
2 สวนสาธารณะแห่งหนึ่งมีระยะทางรอบสวน 1,200 เมตร โดยเฉลี่ยระยะทางรอบสวน 1 รอบ
ยุ้ยใช้เวลาเดิน 12 นาที ธนาใช้เวลาเดิน 15 นาที และแก้วใช้เวลาเดิน 20 นาที
ถ้าทั้งสามคนออกเดินจากจุดเริ่มต้นพร้อมกันและเดินไปทิศทางเดียวกัน แต่ละคนจะต้องเดิน
กี่รอบจึงจะมาพบกันที่จุดเริ่มต้นพร้อมกันอีกครั้ง

สิ่งที่ได้เรียนรู้

การหาคำาตอบของโจทย์ปัญหาต่อไปนี้ควรใช้ ห.ร.ม หรือ ค.ร.น. เพราะเหตุใด


1 บริษัทแห่งหนึ่งต้องการซื้อบัตรอวยพรและซองเพื่อส่งให้กับลูกค้าในวันปีใหม่ ถ้าร้านค้าขาย
บัตรอวยพรแพ็คละ 12 ใบ และซองแพ็คละ 50 ซอง และเมื่อบริษัทส่งบัตรอวยพรพร้อมซอง
ที่ซื้อมาให้กับลูกค้าจะหมดพอดี บริษัทจะส่งบัตรอวยพรให้กับลูกค้าได้น้อยที่สุดกี่คน
2 ชาวสวนมีต้นมะลิ 45 ต้น ต้นดาวเรือง 81 ต้น และต้นกุหลาบ 63 ต้น

ชาวสวนต้องการนำาไม้ดอกแต่ละชนิดปลูกเป็นแถว ๆ ในแปลงที่เตรียมไว้
โดยให้แต่ละแถวเป็นไม้ดอกชนิดเดียวกันและมีจำานวนต้นเท่า ๆ กัน
ชาวสวนจะปลูกไม้ดอกได้อย่างน้อยที่สุดกี่แถว

42 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น. บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

เฉลยหน้า 42 เฉลยหน้า 42

ติดกัน ตรวจสอบความเข้าใจ สิ่งที่ได้เรียนรู้


นมะนาว 1 วิธีทำา หาจำานวนถุงที่มากที่สุด โดยหา ห.ร.ม. ของ 42, 63 และ 84 1 ตัวอย่าง
ทีป
่ ลูกตาม 7 42 63 84 ใช้ ค.ร.น. เพราะ บริษัทต้องการส่งบัตรอวยพรพร้อมซองให้ลูกค้าคนละ 1 ชุด บริษัทจึงต้อง
ตัวอย่าง
3 6 9 12 ซื้อบัตรอวยพรกับซองให้มีจำานวนเท่ากัน โดยให้ได้จำานวนชุดน้อยที่สุด

2 3 4
ติดกัน 2 ตัวอย่าง
จะได้ ห.ร.ม. ของ 42, 63 และ 84 คือ 7 × 3 = 21 ใช้ ห.ร.ม. เพราะ ต้องการหาจำานวนแถวที่น้อยที่สุด โดยที่แต่ละแถวเป็นไม้ดอกชนิดเดียวกัน
แสดงว่า จะจัดสิ่งของทั้งหมดใส่ถุงได้มากที่สุด 21 ถุง
และทุกแถวมีจำานวนต้นเท่า ๆ กัน แสดงว่าจำานวนต้นของไม้ดอกในแต่ละแถวต้องมากที่สุด
โดย ใส่ปลากระป๋องถุงละ 42 ÷ 21 = 2 กระป๋อง
ดังนั้นจำานวนนับที่นำามาหารจำานวนต้นของไม้ดอกแต่ละชนิด จึงต้องเป็นจำานวนที่มากที่สุด
ใส่นมถุงละ 63 ÷ 21 = 3 กล่อง
ใส่ขนมถุงละ 84 ÷ 21 = 4 ซอง
80 เมตร ดังนั้น ออมสินจะจัดสิง่ ของทัง้ หมดใส่ถงุ ได้มากทีส่ ด
ุ 21 ถุง และแต่ละถุงมีปลากระป๋อง
นยาว 2 กระป๋อง นม 3 กล่อง และขนม 4 ซอง
ตอบ ออมสินจัดสิ่งของทั้งหมดใส่ถุงได้มากที่สุด ๒๑ ถุง และแต่ละถุงมีปลากระป๋อง ๒ กระป๋อง
นม ๓ กล่อง และขนม ๔ ซอง

2 วิธีทำา หาระยะเวลาที่น้อยที่สุดที่ทั้งสามคนใช้ในการเดินเท่ากัน โดยหา ค.ร.น. ของ 12, 15 และ 20

ตัวอย่าง 12 = 2 × 2 × 3
15 = 3 × 5
20 = 2 × 2 × 5

จะได้ ค.ร.น. ของ 12, 15 และ 20 คือ 2 × 2 × 3 × 5 = 60


แสดงว่า แต่ละคนใช้เวลาเดินอย่างน้อยทีส่ ด
ุ คนละ 60 นาที จึงจะมาพบกันทีจ่ ด
ุ เริม
่ ต้น
พร้อมกันอีกครัง้
โดย ยุ้ยจะต้องเดิน 60 ÷ 12 = 5 รอบ
ธนาจะต้องเดิน 60 ÷ 15 = 4 รอบ
แก้วจะต้องเดิน 60 ÷ 20 = 3 รอบ
ดังนั้น ยุย้ จะต้องเดิน 5 รอบ ธนาจะต้องเดิน 4 รอบ และแก้วจะต้องเดิน 3 รอบ
จึงจะมาพบกันทีจ่ ุดเริ่มต้นพร้อมกันอีกครั้ง
ตอบ ยุ้ยเดิน ๕ รอบ ธนาเดิน ๔ รอบ และแก้วเดิน ๓ รอบ

34 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

ร่วมคิดร่วมทำ�

กิจกรรมร่วมคิดร่วมทำ�เป็นกิจกรรมที่ให้นักเรียน
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6

นำ�ความรู้เกี่ยวกับ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. มาใช้ในการแก้ปัญหา บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

โดยแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 3-4 คน ให้แต่ละกลุ่ม ร่วมคิดร่วมทำา

ปฏิบต ั ต
ิ ามคำ�สัง่ ในกิจกรรมพร้อมตอบคำ�ถาม จากนัน้
โรงเรียนแห่งหนึ่งเตรียมซื้ออาหารสำาหรับแจกนักเรียนในงานสัปดาห์วิชาการ
นำ�เสนอวิธีคิดหน้าชั้นเรียนพร้อมอธิบายเหตุผล ครูและ ซึ่งมีรายการอาหารต่าง ๆ ดังนี้

เพื่อนช่วยกันตรวจสอบความถูกต้องของคำ�ตอบ รายการ ราคา (บาท)

ไส้กรอก (ถุงละ 20 ชิ้น) 60

ปอเปี๊ยะ (ถุงละ 40 ชิ้น) 189

เกี๊ยวซ่า (ถุงละ 30 ชิ้น) 120

ปูอัด (ถุงละ 60 ชิ้น) 135

ปีกไก่ (ถุงละ 24 ชิ้น) 138

จากรายการอาหารดังกล่าว ถ้าโรงเรียนต้องการทำาอาหาร 3 อย่าง และซื้อแต่ละอย่างให้มี


จำานวนชิ้นเท่า ๆ กัน ให้แต่ละกลุ่มนำาเสนอรายการอาหารโดยเลือกอาหาร 3 อย่างที่ไม่ซ้ำากัน
เช่น กลุ่มที่ 1 เลือกไส้กรอก ปอเปี๊ยะ และปูอัด กลุ่มที่ 2 เลือกไส้กรอก เกี๊ยวซ่า และปีกไก่
แล้วตอบคำาถามต่อไปนี้

1 โรงเรียนจะต้องซื้ออาหารน้อยที่สุดอย่างละกี่ชิ้น และอย่างละกี่ถุง

2 โรงเรียนจะต้องเตรียมเงินซื้ออาหารอย่างน้อยที่สุดเท่าใด

3 ถ้าโรงเรียนแจกอาหารให้นักเรียนคนละ 1 จาน ซึ่งมีอาหาร 3 อย่าง อย่างละ 1 ชิ้น


โรงเรียนจะแจกอาหารให้นักเรียนได้มากที่สุดกี่คน

อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 43

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 35
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

ตัวอย่างข้อสอบ บทที่ 1 ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 1 นักเรียนสามารถหา ห.ร.ม. ของจำ�นวนนับไม่เกิน 3 จำ�นวน

1. การหา ห.ร.ม. ของจำ�นวนนับที่กำ�หนด ถูกต้องหรือไม่ ถ้าไม่ถูกต้อง ให้แก้ไข

1) ห.ร.ม. ของ 44 และ 66 หาได้ดังนี้


ตัวประกอบทั้งหมดของ 44 ได้แก่ 1, 2, 4, 11 และ 44
ตัวประกอบทั้งหมดของ 66 ได้แก่ 1, 2, 3, 6, 11 และ 66
ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 44 และ 66 คือ 11
2) กำ�หนดจำ�นวนนับ 3 จำ�นวน แต่ละจำ�นวนแยกตัวประกอบได้ดังนี้
1,800 = 2 × 2 × 2 × 3 × 3 × 5 × 5
540 = 2 × 2 × 3 × 3 × 3 × 5
252 = 2 × 2 × 3 × 3 × 7
ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 1,800, 540 และ 252 คือ 2 × 2 × 3 = 12
3) ห.ร.ม. ของ 171, 261 และ 279 หาได้ดังนี้

3 171 261 279


57 87 93

ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 171, 261 และ 279 คือ 3

2. แสดงวิธีหา ห.ร.ม. ของจำ�นวนที่กำ�หนด

1) 34 และ 51 โดยการหาตัวหารร่วม
2) 52, 78 และ 130 โดยการแยกตัวประกอบ
3) 64, 80 และ 192 โดยการหาร

36 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

จุดประสงค์การเรียนรูท
้ ่ี 2 นักเรียนสามารถหา ค.ร.น. ของจำ�นวนนับไม่เกิน 3 จำ�นวน

1. การหา ค.ร.น. ของจำ�นวนนับที่กำ�หนด ถูกต้องหรือไม่ ถ้าไม่ถูกต้อง ให้แก้ไข

1) ค.ร.น. ของ 3 และ 4 หาได้ดังนี้


จำ�นวนนับที่เป็นผลคูณของ 3 ได้แก่ 3, 6, 9, 12, 15, 18, 21, 24, 27, 30, 33, 36, …
จำ�นวนนับที่เป็นผลคูณของ 4 ได้แก่ 4, 8, 12, 16, 20, 24, 28, 32, 36, …
ดังนั้น ค.ร.น. ของ 3 และ 4 คือ 36
2) ค.ร.น. ของ 45, 63 และ 75 หาได้ดังนี้
45 = 3 × 3 × 5
63 = 3 × 3 × 7
75 = 3 × 5 × 5
ดังนั้น ค.ร.น. ของ 45, 63 และ 75 คือ 3 × 3 × 5 × 7 = 315
3) ค.ร.น. ของ 49, 98 และ 28 หาได้ดังนี้

7 49 98 28
2 7 98 4
7 7 49 2
1 7 2

ดังนั้น ค.ร.น. ของ 49, 98 และ 28 คือ 7 × 2 × 7 × 1 × 7 × 2 = 1,372

2. แสดงวิธีหา ค.ร.น. ของจำ�นวนที่กำ�หนด

1) 5 และ 8 โดยการหาผลคูณร่วม
2) 40, 52 และ 130 โดยการแยกตัวประกอบ
3) 51, 60 และ 80 โดยการหาร

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 37
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

จุดประสงค์การเรียนรูท
้ ่ี 3 นักเรียนสามารถแสดงวิธห
ี าคำ�ตอบของโจทย์ปญ
ั หา โดยใช้ความรูเ้ กีย่ วกับ ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

แสดงวิธีหาคำ�ตอบ

1. ผ้าผืนหนึ่งกว้าง 72 นิ้ว ยาว 84 นิ้ว นิราต้องการตัดผ้าผืนนี้เพื่อทำ�ผ้าเช็ดหน้ารูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสให้มีพื้นที่มากที่สุด


โดยความยาวของด้านเป็นจำ�นวนนับ ให้ได้จำ�นวนชิ้นมากที่สุดและไม่มีผ้าเหลือ ผ้าที่ตัดได้มีความยาวด้านละกี่นิ้ว
และตัดได้ทั้งหมดกี่ชิ้น

2. สวนสนุกแห่งหนึ่งแจกรางวัลให้กับผู้เข้าชมสวนสนุกที่ประตูทางเข้าตามลำ�ดับดังนี้ ทุก ๆ 6 คน จะได้หมวก 1 ใบ


ทุก ๆ 12 คน จะได้เสื้อ 1 ตัว ทุก ๆ 20 คน จะได้กระเป๋า 1 ใบ ผู้เข้าชมคนแรกที่ได้รับของรางวัลครบทั้งสามอย่าง
เป็นผู้เข้าชมลำ�ดับที่เท่าใด

3. ร้านขนมขายเค้กฝอยทองชิ้นละ 8 บาท ขนมปังหมูหยองชิ้นละ 12 บาท และพายสับปะรดชิ้นละ 15 บาท


ถ้าอรซื้อขนมแต่ละอย่างเป็นจำ�นวนเงินเท่ากัน อรจะจ่ายเงินซื้อขนมอย่างน้อยที่สุดอย่างละกี่บาท
และได้ขนมอย่างละกี่ชิ้น

4. การเข้าค่ายลูกเสือของกลุ่มโรงเรียนกลุ่มหนึ่งมี 3 โรงเรียน ซึ่งแต่ละโรงมีลูกเสือ 132 คน 154 คน และ 176 คน


ตามลำ�ดับ ผู้กำ�กับลูกเสือต้องการจัดแถวลูกเสือให้ได้จำ�นวนแถวน้อยที่สุด โดยแต่ละแถวมีจำ�นวนลูกเสือเท่า ๆ กัน
และเป็นลูกเสือของโรงเรียนเดียวกัน ผู้กำ�กับลูกเสือจะจัดได้แถวละกี่คน และได้ทั้งหมดกี่แถว

38 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

เฉลยตัวอย่างข้อสอบ บทที่ 1 ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 1

1. 1) ไม่ถูกต้อง แก้ไขให้ถูกต้อง ดังนี้


ตัวประกอบทั้งหมดของ 44 ได้แก่ 1, 2, 4, 11, 22 และ 44
ตัวประกอบทั้งหมดของ 66 ได้แก่ 1, 2, 3, 6, 11, 22, 33 และ 66
ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 44 และ 66 คือ 22
2) ไม่ถูกต้อง ห.ร.ม. ของ 1,800, 540 และ 252 คือ 2 × 2 × 3 × 3 = 36
3) ไม่ถูกต้อง แก้ไขให้ถูกต้อง ดังนี้ 3 171 261 279
3 57 87 93
19 29 31
ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 171, 261 และ 279 คือ 9
2. 1) ห.ร.ม. ของ 34 และ 51 คือ 17
2) ห.ร.ม. ของ 52, 78 และ 130 คือ 26
3) ห.ร.ม. ของ 64, 80 และ 192 คือ 16

จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 2

1. 1) ไม่ถูกต้อง ค.ร.น. ของ 3 และ 4 คือ 12


2) ไม่ถูกต้อง ค.ร.น. ของ 45, 63 และ 75 คือ 3 × 3 × 5 × 5 × 7 = 1,575
3) ไม่ถูกต้อง แก้ไขให้ถูกต้อง ดังนี้ 7 49 98 28
2 7 14 4
7 7 7 2
1 1 2

ดังนั้น ค.ร.น. ของ 49, 98 และ 28 คือ 7 × 2 × 7 × 1 × 1 × 2 = 196


2. 1) ค.ร.น. ของ 5 และ 8 คือ 40
2) ค.ร.น. ของ 40, 52 และ 130 คือ 520
3) ค.ร.น. ของ 51, 60 และ 80 คือ 4,080

จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 3

1. ยาวด้านละ 12 นิ้ว และตัดได้ทั้งหมด 42 ชิ้น


2. ลำ�ดับที่ 60
3. จ่ายเงินซื้อขนมอย่างน้อยที่สุดอย่างละ 120 บาท และได้เค้กฝอยทอง 15 ชิ้น ขนมปังหมูหยอง 10 ชิ้น
และพายสับปะรด 8 ชิ้น
4. แถวละ 22 คน และได้ทั้งหมด 21 แถว

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 39
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 2 | เศษส่วน

บทที่
2 เศษส่วน
จุดประสงค์การเรียนรู้ และสาระสำ�คัญ

จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระสำ�คัญ
นักเรียนสามารถ

1. เปรียบเทียบ เรียงลำ�ดับเศษส่วนและจำ�นวนคละ • การเปรียบเทียบเศษส่วนที่มีตัวส่วนไม่เท่ากัน ต้องทำ�


จากสถานการณ์ต่าง ๆ ตัวส่วนของเศษส่วนให้เท่ากันก่อน โดยอาจทำ�ให้เท่ากับ
ค.ร.น. ของตัวส่วน แล้วจึงเปรียบเทียบ
• การเปรียบเทียบจำ�นวนคละ ให้เปรียบเทียบจำ�นวนนับ
ของจำ�นวนคละก่อน ถ้าจำ�นวนนับเท่ากัน จึงเปรียบเทียบ
เศษส่วน
• การเปรียบเทียบเศษส่วนกับจำ�นวนคละ อาจเขียน
จำ�นวนคละในรูปเศษเกิน หรือเขียนเศษเกิน
ในรูปจำ�นวนคละ แล้วจึงเปรียบเทียบ

2. หาผลลัพธ์ของการบวก ลบ คูณ หารระคน • การบวกหรือการลบเศษส่วนที่มีตัวส่วนไม่เท่ากัน ต้องทำ�


ของเศษส่วนและจำ�นวนคละ ตัวส่วนของเศษส่วนให้เท่ากันก่อน โดยอาจทำ�ให้เท่ากับ
ค.ร.น. ของตัวส่วน แล้วจึงหาผลบวกหรือผลลบ
• การบวกจำ�นวนคละ อาจทำ�ได้โดย นำ�จำ�นวนนับ
บวกกับจำ�นวนนับ และเศษส่วนบวกกับเศษส่วน
ถ้าผลบวกของเศษส่วนกับเศษส่วนอยู่ในรูปเศษเกิน
ให้ทำ�เป็นจำ�นวนคละ แล้วนำ�จำ�นวนนับของจำ�นวนคละ
ไปบวกกับผลบวกของจำ�นวนนับ
• การลบจำ�นวนคละ อาจทำ�ได้โดย นำ�จำ�นวนนับ
ลบกับจำ�นวนนับ และเศษส่วนลบกับเศษส่วน
ถ้าการลบเศษส่วน มีตัวตั้งน้อยกว่าตัวลบ
ให้กระจายผลลบของจำ�นวนนับมา 1 โดยเขียน
ในรูปเศษส่วน แล้วนำ�ไปบวกกับตัวตัง้ จากนัน
้ จึงหาผลลบ

40 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 2 | เศษส่วน

จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระสำ�คัญ
• การบวกและการลบจำ�นวนคละ อาจเขียนจำ�นวนคละ
ในรูปเศษเกิน แล้วจึงหาผลบวกหรือผลลบ
• ข้อตกลงเกีย่ วกับลำ�ดับขัน
้ การคำ�นวณทีม
่ ากกว่า 1 ขัน
้ ตอน
ขั้นที่ 1 คำ�นวณในวงเล็บ (ถ้ามี)
ขั้นที่ 2 คูณ หรือ หาร โดยคำ�นวณจากซ้ายไปขวา
ขั้นที่ 3 บวก หรือ ลบ โดยคำ�นวณจากซ้ายไปขวา

3. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหาเศษส่วน การแก้โจทย์ปญ
ั หาการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
และจำ�นวนคละ 2-3 ขั้นตอน และจำ�นวนคละ 2-3 ขั้นตอน เริ่มจาก ทำ�ความเข้าใจปัญหา
วางแผนแก้ปัญหา ดำ�เนินการตามแผน และตรวจสอบ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 41
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 2 | เศษส่วน

ตารางวิเคราะห์เนื้อหากับทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และเวลาที่ใช้ในการจัดกิจกรรม

เวลา ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
หัวข้อ เนื้อหา
(ชั่วโมง) j k l m n
เตรียมความพร้อม 1 - - - - -

2.1 การเปรียบเทียบและเรียงลำ�ดับ 2 -    -
• การเปรียบเทียบเศษส่วนและจำ�นวนคละ
• การเรียงลำ�ดับเศษส่วนและจำ�นวนคละ

2.2 การบวก การลบ 2 -    -


• การบวกและการลบเศษส่วน
• การบวกและการลบจำ�นวนคละ

2.3 การบวก ลบ คูณ หารระคน 2 -    -

2.4 โจทย์ปัญหา 9     -

ร่วมคิดร่วมทำ� 1     

ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์

j การแก้ปัญหา k การสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์
l การเชื่อมโยง m การให้เหตุผล n การคิดสร้างสรรค์

คำ�ใหม่

ความรู้หรือทักษะพื้นฐาน

1. ความหมายของเศษส่วน
2. เศษส่วนที่เท่ากัน เศษส่วนอย่างต่ำ�
3. การเขียนจำ�นวนคละในรูปการบวกจำ�นวนนับกับเศษส่วนแท้
4. การเขียนจำ�นวนคละในรูปเศษเกิน และการเขียนเศษเกินในรูปจำ�นวนคละ
5. การเปรียบเทียบเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากัน
6. การบวก การลบเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากัน
7. การหา ค.ร.น. ของจำ�นวนนับ

สื่อการเรียนรู้
แผ่นพลาสติกใสแสดงเศษส่วน

42 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 2 | เศษส่วน

แหล่งเรียนรู้
1. หนังสือเรียน หน้า 44-95

2. แบบฝึกหัด หน้า 42-87

เวลาที่ใช้จัดการเรียนรู้
17 ชั่วโมง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 43
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 2 | เศษส่วน

แนวการจัดการเรียนรู้
การเตรียมความพร้อม

บทที่ ทำาน้ำาให้ใส

2 เศษส่วน เนื่องจ�กสภ�พน้ำ�ในลำ�คลองขุ่น ไม่เหม�ะสำ�หรับอุปโภคและบริโภค แก้วต�และเพื่อน


ทดลองทำ�เครื่องกรองน้ำ�อย่�งง่�ยเพื่อกรองน้ำ�ให้ใส โดยใช้ขวดพล�สติกและวัสดุต่�ง ๆ ดังนี้

เรียนจบบทนี้แล้ว นักเรียนสามารถ
เปรียบเทียบ เรียงลำ�ดับเศษส่วนและจำ�นวนคละ จ�กสถ�นก�รณ์ต่�ง ๆ
ห�ผลลัพธ์ของก�รบวก ลบ คูณ ห�รระคนของเศษส่วนและจำ�นวนคละ 1
ที่ว่�งใส่น้ำ� ของคว�มสูงขวด
6
แสดงวิธีห�คำ�ตอบของโจทย์ปัญห�เศษส่วนและจำ�นวนคละ 2-3 ขั้นตอน
ทร�ยละเอียด
ทร�ยหย�บ
1
ถ่�น ของคว�มสูงขวด
9
1
กรวดละเอียด ของคว�มสูงขวด
6
1
กรวดหย�บ ของคว�มสูงขวด
6

1
สำ�ลี ของคว�มสูงขวด
6

น้ำ�ที่กรองได้

ถ้�แก้วต�ใช้ทร�ยละเอียดและทร�ยหย�บปริม�ณเท่�กัน
แก้วต�ใช้ทร�ยหย�บม�กกว่�หรือน้อยกว่�กรวดหย�บ และคิดเป็นเศษส่วน
เท่�ใดของคว�มสูงขวด แก้วต�ใช้ทร�ยหย�บน้อยกว่�กรวดหย�บ
1
และคิดเป็น ของคว�มสูงขวด
18

1. ครูใช้สถานการณ์ “ทำ�น้ำ�ให้ใส” หน้า 45 นำ�สนทนา เพื่อกระตุ้นความสนใจเกี่ยวกับการใช้เศษส่วนในชีวิตจริง โดยให้


นักเรียนช่วยกันตอบคำ�ถาม และอาจใช้คำ�ถามเพิ่มเติม เช่น
• ทรายละเอียดมีปริมาณเป็นกี่เท่าของกรวดละเอียด
• ถ้าบรรจุทรายละเอียดสูง 6 เซนติเมตร ขวดพลาสติกนี้จะมีความสูงอย่างน้อยกี่เซนติเมตร
ซึ่งนักเรียนอาจจะยังหาคำ�ตอบไม่ได้และครูยังไม่ต้องเฉลยคำ�ตอบ แต่ควรให้นักเรียนกลับมาหาคำ�ตอบอีกครั้งหลังจาก
มีความรู้ในเรื่องนั้น ๆ แล้ว

44 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 2 | เศษส่วน

2. เตรียมความพร้อม เป็นการตรวจสอบความรูพ ้ น ้ื ฐานทีจ่ �ำ เป็น


หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6

ในการเรียนบทนี้ ครูควรทบทวนความรูพ ้ น
้ื ฐานทีจ่ �ำ เป็นก่อน บทที่ 2 | เศษส่วน

โดยให้นก ั เรียนทำ�กิจกรรมหน้า 46 สำ�หรับข้อ 2 และข้อ 3 เตรียมความพร้อม

วิธห ี าคำ�ตอบของแต่ละคนอาจแตกต่างกัน ควรร่วมกันอภิปราย 1 แสดงวิธีทำ�และตอบในรูปอย่�งง่�ย

เกีย่ วกับวิธคี ด
ิ ต่าง ๆ นัน
้ จากนัน
้ ให้ท�ำ แบบฝึกหัด 2.1 1) 1
1
4

1
6
+
7
8
1 7
2) 1 1 − ( + )
4 6 8

เป็นรายบุคคล 3) (2
4
5
3
+ ) × 2
4
2
9
4) 2
4
5
+
3
4
× 2
2
9
1 7 3 1 7 3
5) 4 ÷ ( − ) 6) 4 ÷ −
5 10 8 5 10 8

2 แสดงวิธีคิดและวิธีทำ�
2 3
1) แม่ซื้อผักคะน้� 1 กิโลกรัม ซึ่งซื้อม�กกว่�ผักกว�งตุ้ง กิโลกรัม
5 4
แม่ซื้อผักทั้งสองอย่�งรวมกันกี่กิโลกรัม

5 3
2) น้อยมีริบบิ้นย�ว 10 เมตร ตัดไปผูกของขวัญ 6 เส้น เส้นละ 1 เมตร
8 5
น้อยเหลือริบบิ้นกี่เมตร

5
3) มีนักเรียนม�สมัครเข้�ชุมนุมคณิตศ�สตร์ 72 คน เป็นนักเรียนช�ย ของนักเรียนที่ม�สมัคร
9
มีนักเรียนหญิงม�สมัครเข้�ชุมนุมคณิตศ�สตร์กี่คน

3 แสดงวิธีห� ค.ร.น. ของจำ�นวนนับที่กำ�หนด


1) 18 และ 21 2) 5, 7 และ 9
3) 12, 18 และ 20 4) 6, 12 และ 24

แบบฝึกหัด 2.1

46 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 2 | เศษส่วน บทที่ 2 | เศษส่วน

เฉลยหน้า 46 เฉลยหน้า 46

1 3) วิธีทำ� (2 4 + 3 ) × 2 2 = ( 14 + 3 ) × 20
5 4 9 5 4 9
1) วิธีทำ� 1 1 7 5 1 7
1 − + = − + 14 × 4 3×5 20
4 6 8 4 6 8 = ( + )×
5 ×4 4×5 9
5×6 − 1×4 + 7×3
=
4×6 6×4 8×3 = (56 + 15 ) × 20
20 20 9
30 4 21 71 20
= − + = ×
24 24 24 20 9
= 47 71 × 20
24 =
20 × 9
= 1 23 =
71
24 9
ตอบ 1 23 8
24 = 7
9
ตอบ 78
1 (1 7 5 1 7 9
2) วิธีทำ� 1 − + ) = − ( + )
4 6 8 4 6 8
5 1×4 7×3
= − ( + ) 4 3 2 = 14 3 20
4 6×4 8×3 4) วิธีทำ� 2 + × 2 + ×
5 4 9 5 4 9
= 5 − ( 4 + 21 ) 14 3 × 20
4 24 24 = +
5 4× 9
5 25
= − 5
4 24 = 14 +
5 3
5×6 25
= − 14 × 3 5×5
4×6 24 = +
5 ×3 3×5
30 25
= − 42 25
24 24 = +
15 15
5
= 67
24 =
15
ตอบ 5
24 7
= 4
15
ตอบ 47
15

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 45
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 2 | เศษส่วน

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 2 | เศษส่วน บทที่ 2 | เศษส่วน

เฉลยหน้า 46 เฉลยหน้า 46

2 2) วิธีคิด 5
ริบบิ้นยาว 10 ม.
8
2
1) วิธีคิด 1 กก.
5
ความยาวที่เหลือ
ผักคะน้า
3
น้ำาหนักรวม 6 เส้น เส้นละ 1 ม.
3 5
ผักกวางตุ้ง กก.
4
3
วิธีทำ� น้อยตัดริบบิ้น 6 เส้น เส้นละ 1 เมตร
5
2 น้อยตัดริบบิ้นไป 3 8 เมตร
วิธีทำ� แม่ซื้อผักคะน้า 1 กิโลกรัม 6 × 1 = 6 ×
5 5 5
3 48
ซึ่งซื้อมากกว่าผักกวางตุ้ง กิโลกรัม = เมตร
4 5
2 3 7 3 5
แม่ซื้อผักกวางตุ้ง 1 − = − กิโลกรัม น้อยมีริบบิ้นยาว 10 เมตร
5 4 5 4 8
28 15 5 48 85 48
= − กิโลกรัม ดังนั้น น้อยเหลือริบบิ้น 10 − = − เมตร
20 20 8 5 8 5
13
= กิโลกรัม = 425 − 384 เมตร
20 40 40
2 13 7 13 41
ดังนั้น แม่ซื้อผักทั้งสองอย่างรวมกัน 1 + = + กิโลกรัม = เมตร
5 20 5 20 40
= 28 + 13 กิโลกรัม = 11 เมตร
20 20 40
41
=
20
กิโลกรัม ตอบ 1 1 เมตร
40

= 21 กิโลกรัม
20 3) วิธีคิด นักเรียน 72 คน

ตอบ 2 1 กิโลกรัม ชาย หญิง


20

5
ของนักเรียนทั้งหมด
9

วิธีทำ� มีนักเรียนมาสมัครเข้าชุมนุมคณิตศาสตร์ 72 คน
เป็นนักเรียนชาย 5 ของนักเรียนที่มาสมัคร คิดเป็น 5 × 72 = 40 คน
9 9
ดังนั้น มีนักเรียนหญิงมาสมัครเข้าชุมนุมคณิตศาสตร์ 72 − 40 = 32 คน
ตอบ 32 คน

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 2 | เศษส่วน

เฉลยหน้า 46

3
1) ตัวอย่าง
วิธีทำ� 18 = 2 × 3 × 3
21 = 3 × 7
ดังนั้น ค.ร.น. ของ 18 และ 21 คือ 2 × 3 × 3 × 7 = 126
ตอบ 126

2) วิธีทำ� เนื่องจากตัวหารร่วมของ 5, 7 และ 9 มีเพียงจำานวนเดียวคือ 1


ดังนั้น ค.ร.น. ของ 5, 7 และ 9 คือ 5 × 7 × 9 = 315
ตอบ 315

3) ตัวอย่าง
วิธีทำ� 12 = 2 × 2 × 3
18 = 2 × 3 × 3
20 = 2 × 2 × 5
ดังนั้น ค.ร.น. ของ 12, 18 และ 20 คือ 2 × 2 × 3 × 3 × 5 = 180
ตอบ 180

4) ตัวอย่าง
วิธีทำ� 6 = 2×3
12 = 2 × 2 × 3
24 = 2 × 2 × 2 × 3
ดังนั้น ค.ร.น. ของ 6, 12 และ 24 คือ 2 × 2 × 2 × 3 = 24
ตอบ 24

46 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 2 | เศษส่วน

1.1
2.1 การอ่านยการเขี
การเปรี บเทียบและเรี
ยนจำ�นวนนั
ยงลำ�บดัทีบ่มากกว่า 100,000

จุดประสงค์การเรียนรู้ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 2 | เศษส่วน

2.1
นักเรียนสามารถเปรียบเทียบ เรียงลำ�ดับเศษส่วน การเปรียบเทียบและเรียงลำาดับ

และจำ�นวนคละจากสถานการณ์ต่าง ๆ การเปรียบเทียบเศษส่วนและจำานวนคละ

พิจ�รณ�สถ�นก�รณ์ต่อไปนี้

สื่อการเรียนรู้ 7
ป้�แดงข�ยขนมฟักทองและขนมกล้วย แล้วยังเหลือขนมฟักทอง ถ�ด
10
3
และขนมกล้วย ถ�ด ป้�แดงเหลือขนมชนิดใดม�กกว่�
- 4

แนวการจัดการเรียนรู้
ขนมฟักทอง

การสอนการเปรียบเทียบและเรียงลำ�ดับเศษส่วน
ขนมกล้วย
และจำ�นวนคละ ครูควรจัดลำ�ดับเนื้อหาดังนี้
• การเปรียบเทียบเศษส่วน
ถ้�ต้องก�รรู้ว่� ป้�แดงเหลือขนมชนิดใดม�กกว่�
• การเปรียบเทียบจำ�นวนคละ จะมีวิธีเปรียบเทียบอย่�งไร

• การเปรียบเทียบเศษส่วนกับจำ�นวนคละ
ต้องทำ�เศษส่วนทั้งสองจำ�นวนให้มีตัวส่วนเท่�กัน เเล้วเปรียบเทียบตัวเศษ
• การเรียงลำ�ดับเศษส่วน เศษส่วนใดที่มีตัวเศษม�กกว่� เศษส่วนนั้นจะม�กกว่�

• การเรียงลำ�ดับจำ�นวนคละ
• การเรียงลำ�ดับเศษส่วนและจำ�นวนคละ
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 47

1. การสอนการเปรียบเทียบเศษส่วนและจำ�นวนคละ
อาจเริ่มจากทบทวนการเปรียบเทียบเศษส่วนที่มีตัวเศษเท่ากัน หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 2 | เศษส่วน

แต่ตัวส่วนไม่เท่ากัน และการเปรียบเทียบเศษส่วนที่มีตัวส่วน
เท่ากันก่อน จากนัน ้ นำ�สนทนาเกีย่ วกับการเปรียบเทียบเศษส่วน 7 3
ทำ� และ ให้มีตัวส่วนเท่�กัน ได้อย่�งไร
10 4
ที่มีตัวเศษและตัวส่วนไม่เท่ากัน โดยใช้สถานการณ์หน้า 47
และใช้การถาม-ตอบจนนักเรียนบอกได้ว่า การเปรียบเทียบ
7 3
อ�จทำ� และ ให้มีตัวส่วนเท่�กัน โดยพิจ�รณ�จ�กต�ร�งก�รคูณ ดังนี้
เศษส่วนที่มีตัวเศษและตัวส่วนไม่เท่ากัน ต้องทำ�เศษส่วน 10 4

ทั้งสองจำ�นวนให้มีตัวส่วนเท่ากัน แล้วจึงเปรียบเทียบตัวเศษ × 1 2 3 4 5 7
10
=
7 ×2
10 × 2
=
14
20
10 10 20
เศษส่วนใดที่มีตัวเศษมากกว่า เศษส่วนนั้นจะมากกว่า
3 15
= 3×5 =
4 4 8 12 16 20 4 4×5 20

7 3
จากนั้นให้นักเรียนพิจารณาการทำ� และ 14 15 7 3 3 7
10 4 ซึ่ง
20
<
20
แสดงว่�
10
<
4
หรือ
4
>
10

ให้เป็นเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากัน โดยใช้ตารางการคูณหน้า 48 ดังนั้น ป้�แดงเหลือขนมกล้วยม�กกว่�ขนมฟักทอง

หรือ อ�จทำ�ตัวส่วนให้เท่�กัน โดยห� ค.ร.น. ของตัวส่วน

เนื่องจ�ก ค.ร.น. ของ 10 และ 4 คือ 20


7 3
จึงทำ� และ ให้มีตัวส่วนเป็น 20 ได้ดังนี้
10 4
7 14
= 7 ×2 =
10 10 × 2 20
3 3 × 5 15
และ = =
4 4×5 20
14 15 7 3 3 7
ซึ่ง < แสดงว่� < หรือ >
20 20 10 4 4 10
ดังนั้น ป้�แดงเหลือขนมกล้วยม�กกว่�ขนมฟักทอง

48 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 47
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 2 | เศษส่วน

× 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 ...

10 10 20 30 40 50 60 ...

4 4 8 12 16 20 24 28 32 36 40 44 48 52 56 60 ...

โดยให้นักเรียนหาพหุคูณของ 10 และ 4 จากนั้น ให้นักเรียนบอกพหุคูณของ 10 และ 4 ที่เท่ากันว่าเป็นจำ�นวนใดบ้าง


7 3
ซึ่งได้แก่ 20, 40, 60, … ครูอธิบายเพิ่มเติมว่าต้องทำ�ตัวส่วนของ และ ให้เป็น 20, 40, 60, …
10 4
แล้วแสดงการเปรียบเทียบเศษส่วน ดังนี้

7 7 ×2 14 3 3×5 15 14 15 7 3
= = กับ = = เนื่องจาก < แสดงว่า <
10 10 × 2 20 4 4×5 20 20 20 10 4
7 7 ×4 28 3 3 × 10 30 28 30 7 3
หรือ = = กับ = = เนื่องจาก < แสดงว่า <
10 10 × 4 40 4 4 × 10 40 40 40 10 4
7 7 ×6 42 3 3 × 15 45 42 45 7 3
หรือ = = กับ = = เนือ่ งจาก < แสดงว่า <
10 10 × 6 60 4 4 × 15 60 60 60 10 4

ครูให้นักเรียนสังเกตว่า 20 เป็นผลคูณร่วมที่น้อยที่สุด หรือ ค.ร.น. ของ 10 และ 4

ดังนั้น การเปรียบเทียบเศษส่วนที่มีตัวส่วนไม่เท่ากัน ต้องทำ�ตัวส่วนของเศษส่วนทุกจำ�นวนให้เท่ากัน โดยอาจทำ�

ให้เท่ากับ ค.ร.น. ของตัวส่วน แล้วจึงเปรียบเทียบ

48 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 2 | เศษส่วน

จากนั้นร่วมกันพิจารณาการเปรียบเทียบจำ�นวนคละ
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6

จากสถานการณ์หน้า 49 โดยครูใช้การถาม-ตอบประกอบ บทที่ 2 | เศษส่วน

การอธิบาย แล้วร่วมกันอภิปรายเพื่อนำ�ไปสู่ข้อสรุปที่ว่า พิจ�รณ�สถ�นก�รณ์ต่อไปนี้

7 9
ต�สนมีที่ดิน 5 ไร่ ย�ยบัวมีที่ดิน 5 ไร่ ใครมีที่ดินม�กกว่�กัน
• การเปรียบเทียบเศษส่วนที่มีตัวส่วนไม่เท่ากัน ต้องทำ� 12 16

ตัวส่วนของเศษส่วนให้เท่ากันก่อน โดยอาจทำ�ให้เท่ากับ ถ้�ต้องก�รรู้ว่� ต�สนกับย�ยบัว ใครมีที่ดินม�กกว่�กัน


จะมีวิธีเปรียบเทียบอย่�งไร

ค.ร.น. ของตัวส่วน แล้วจึงเปรียบเทียบ


7 9
เปรียบเทียบ 5 กับ 5 พบว่� 5 = 5
12 16
• การเปรียบเทียบจำ�นวนคละ ให้เปรียบเทียบจำ�นวนนับ จึงเปรียบเทียบ
7
และ
9
โดยทำ�
7
และ
9
ให้มีตัวส่วนเท่�กัน
12 16 12 16
ของจำ�นวนคละก่อน ถ้าจำ�นวนนับเท่ากัน ซึ่งอ�จทำ�ตัวส่วนให้เท่�กับ ค.ร.น. ของ 12 และ 16

จึงเปรียบเทียบเศษส่วน แสดงวิธีเปรียบเทียบ
7
และ
9
ได้อย่�งไร
12 16

• การเปรียบเทียบเศษส่วนกับจำ�นวนคละ อาจเขียน ค.ร.น. ของ 12 และ 16 คือ 48

จำ�นวนคละในรูปเศษเกิน หรือเขียนเศษเกินในรูป จึงทำ�


7
12
และ
9
16
ให้มีตัวส่วนเป็น 48 ได้ดังนี้

7 28 9 27
= 7 ×4 = = 9 ×3 =
จำ�นวนคละ แล้วจึงเปรียบเทียบ 12 12 × 4 48
และ
16 16 × 3 48
28 27 7 9 7 9
ซึ่ง > แสดงว่� > จะได้ 5 > 5
48 48 12 16 12 16
จากนั้นให้พิจารณาตัวอย่างหน้า 50-51 แล้วร่วมกัน ดังนั้น ต�สนมีที่ดินม�กกว่�ย�ยบัว

อภิปรายเกี่ยวกับการทำ�ตัวส่วนของเศษส่วนทุกจำ�นวน
ก�รเปรียบเทียบเศษส่วนที่มีตัวส่วนไม่เท่�กัน ต้องทำ�ตัวส่วนของเศษส่วนให้เท่�กันก่อน

ให้เท่ากัน โดยทำ�ให้เท่ากับ ค.ร.น. ของตัวส่วน สำ�หรับข้อ 2 โดยอ�จทำ�ให้เท่�กับ ค.ร.น. ของตัวส่วน แล้วจึงเปรียบเทียบ


ก�รเปรียบเทียบจำ�นวนคละ ให้เปรียบเทียบจำ�นวนนับของจำ�นวนคละก่อน
ครูใช้การถาม-ตอบประกอบการอธิบาย แล้วให้นักเรียน ถ้�จำ�นวนนับเท่�กัน จึงเปรียบเทียบเศษส่วน
ก�รเปรียบเทียบเศษส่วนกับจำ�นวนคละ อ�จเขียนจำ�นวนคละในรูปเศษเกิน
เลือกวิธีที่เหมาะสมกับตนเอง จากนั้นร่วมกันทำ�กิจกรรม หรือเขียนเศษเกินในรูปจำ�นวนคละ แล้วจึงเปรียบเทียบ

หน้า 51 แล้วให้ทำ�แบบฝึกหัด 2.2 เป็นรายบุคคล สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 49

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 2 | เศษส่วน

แสดงวิธีเปรียบเทียบเศษส่วนและจำ�นวนคละ

5 9
1 กับ
6 14

วิธีทำา ค.ร.น. ของ 6 และ 14 คือ 42


5 35
= 5 × 7 =
6 6 × 7 42
9 27
= 9 × 3 =
14 14 × 3 42
35 27 5 9
ซึ่ง > ดังนั้น >
42 42 6 14
5 9
ตอบ >
6 14

8 83
2 4 กับ
15 18

83 11
วิธีทำา 1 เขียนเศษเกินในรูปจำ�นวนคละ จะได้ = 4
18 18
8 11
เปรียบเทียบ 4 กับ 4 พบว่� 4 = 4
15 18
8 11
จึงเปรียบเทียบ กับ
15 18

ค.ร.น ของ 15 และ 18 คือ 90

8 48
= 8 × 6 =
15 15 × 6 90
11 55
= 11 × 5 =
18 18 × 5 90
48 55 8 11
ซึ่ง < แสดงว่� <
90 90 15 18
8 11 8 83
ดังนั้น 4 < 4 หรือ 4 <
15 18 15 18
8 83
ตอบ 4 <
15 18

50 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 49
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 2 | เศษส่วน

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 2 | เศษส่วน
บทที่ 2 | เศษส่วน

เฉลยหน้า 51
8 68
วิธีทำา 2 เขียนจำ�นวนคละในรูปเศษเกิน จะได้ 4 =
15 15
1 ตัวอย่าง 2 ตัวอย่าง
68 83
เปรียบเทียบ กับ วิธีทำ� ค.ร.น. ของ 5 และ 11 คือ 55 วิธีทำ� ค.ร.น. ของ 15 และ 20 คือ 60
15 18
3 = 3 × 11 = 33 12 = 12 × 4 = 48
ค.ร.น. ของ 15 และ 18 คือ 90 5 5 × 11 55 15 15 × 4 60
3 = 3 × 5 = 15 13 = 13 × 3 = 39
68 408
= 68 × 6 = 11 11 × 5 55 20 20 × 3 60
15 15 × 6 90
33 < 15 3 < 3 48 < 39 12 < 13
ซึ่ง 55 55 ดังนั้น 5 11 ซึ่ง 60 60 ดังนั้น 15 20
83 415
= 83 × 5 =
18 18 × 5 90
ตอบ 3 < 3 ตอบ 12 < 13
5 11 15 20
408 415
ซึ่ง <
90 90
68 83 3 ตัวอย่าง 4 ตัวอย่าง
แสดงว่� <
15 18 วิธีทำ� เนื่องจาก 29 = 2 5 วิธีทำ� เนื่องจาก 37 = 6 1
12 12 6 6
8 83 4 1
ดังนั้น 4 < จึงเปรียบเทียบ 2 5 กับ 3 5 จึงเปรียบเทียบ 6 กับ 6
15 18 12 8 5 6
พบว่า 6 = 6
8 83 พบว่า 2 < 3 จะได้ 2 5 < 3 5
ตอบ 4 < 12 8
15 18 จึงเปรียบเทียบ 4 กับ 1
ดังนั้น 29 < 3 5 5 6
12 8
ค.ร.น. ของ 5 และ 6 คือ 30
ตอบ 29 < 3 5
12 8 4 = 4 × 6 = 24
แสดงวิธีเปรียบเทียบเศษส่วนและจำานวนคละ 5 5×6 30
1 = 1×5 = 5
3 3 12 13 6 6×5 30
1 กับ 2 กับ
5 11 15 20 ซึ่ง 24 5
<
30 30
29 5 4 37
3 กับ 3 4 6 กับ แสดงว่า 4 1 จะได้ 6 4 61
< <
12 8 5 6 5 6 5 6
2 3 7 11 ดังนั้น 64 37
<
5 4 กับ 4 6 15 กับ 15 5 6
3 4 9 12
ตอบ 64 37
<
5 6

แบบฝึกหัด 2.2

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 51

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 2 | เศษส่วน

เฉลยหน้า 51

5 ตัวอย่าง 6 ตัวอย่าง
วิธีทำ� เนื่องจาก 4 = 4 วิธีทำ� เนื่องจาก 15 = 15
จึงเปรียบเทียบ 2 กับ 3 จึงเปรียบเทียบ 7 กับ 11
3 4 9 12
ค.ร.น. ของ 3 และ 4 คือ 12 ค.ร.น. ของ 9 และ 12 คือ 36
2 = 2×4 = 8 7 = 7 × 4 = 28
3 3×4 12 9 9×4 36
3 = 3×3 = 9 11 = 11 × 3 = 33
4 4×3 12 12 12 × 3 36
ซึ่ง 8 < 9 แสดงว่า 2 < 3 ซึ่ง 28 < 33 แสดงว่า 7 < 11
12 12 3 4 36 36 9 12
ดังนั้น 4 2 < 4 3 ดังนั้น 15 7 < 15 11
3 4 9 12
ตอบ 4 2 < 4 3 ตอบ 15 7 < 15 11
3 4 9 12

50 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 2 | เศษส่วน

2. การสอนการเรียงลำ�ดับเศษส่วนและจำ�นวนคละ ครูควร
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 2 | เศษส่วน

ทบทวนวิธเี รียงลำ�ดับเศษส่วนและจำ�นวนคละทีม ่ ต
ี วั ส่วนตัวหนึง่
การเรียงลำาดับเศษส่วนและจำานวนคละ
3 5 19
เป็นพหุคูณของตัวส่วนอีกตัวหนึ่ง เช่น 2 , , พิจ�รณ�สถ�นก�รณ์ต่อไปนี้
4 2 8
5
3 7
มะม่วง 4 ผล มีน้ำ�หนักดังนี้ มะม่วงแรด กิโลกรัม มะม่วงน้ำ�ดอกไม้มัน กิโลกรัม
และ 2 โดยร่วมกันอภิปรายเพื่อนำ�ไปสู่ข้อสรุปที่ว่า
10 8
1 2
16 มะม่วงอกร่อง
4
กิโลกรัม และมะม่วงเขียวเสวย
5
กิโลกรัม

การเรียงลำ�ดับเศษส่วนและจำ�นวนคละ ให้เปรียบเทียบ
จะมีวิธีเรียงลำ�ดับน้ำ�หนักมะม่วงจ�กน้อยไปม�ก อย่�งไร

ทีละคู่ แล้วเรียงลำ�ดับจากมากไปน้อย หรือจากน้อยไปมาก


3 5 19 5 3 1 2 1 7 1
จากนั้นให้นักเรียนเรียงลำ�ดับ 2 , , และ 2 เนื่องจ�ก ,
10 4
และ
5
น้อยกว่�
2
ในขณะที่
8
ม�กกว่�
2
4 2 8 16 แสดงว่�
7
ม�กที่สุด จึงเปรียบเทียบ
3 1
, และ
2
8 10 4 5

จากมากไปน้อย หรือจากน้อยไปมาก โดยทำ�เศษส่วนทุกจำ�นวนให้เป็นเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่�กัน ซึ่งอ�จทำ�ตัวส่วน

ให้เท่�กับ ค.ร.น. ของ 10, 4 และ 5

ครูใช้การถาม-ตอบประกอบการอธิบายการเรียงลำ�ดับ

เศษส่วนและจำ�นวนคละหน้า 52-53 ให้นักเรียนสังเกตว่า ค.ร.น. ของ 10, 4 และ 5 คือ 20


3 1 2
จึงทำ� , และ ให้เป็นเศษส่วนที่มีตัวส่วนเป็น 20 ดังนี้
10 4 5

นอกจากการเขียนเศษเกินในรูปจำ�นวนคละ หรือเขียน 3 6 1 5 2 8
= 3 × 2 = = 1 × 5 = = 2 × 4 =
10 10 × 2 20 4 4 × 5 20 5 5 × 4 20

จำ�นวนคละในรูปเศษเกินแล้ว อาจใช้วิธีเปรียบเทียบเศษส่วน เมื่อเรียงลำ�ดับจ�กน้อยไปม�ก จะได้


5
,
6
,
8
หรือ
1 3
, ,
2
20 20 20 4 10 5
1 ดังนั้นเรียงลำ�ดับน้ำ�หนักมะม่วงจ�กน้อยไปม�ก ได้ดังนี้
กับ และ 1 ซึง่ ครูควรแนะนำ�เพิม
่ เติมว่า การเรียงลำ�ดับ
2 1
4
กิโลกรัม
3
10
กิโลกรัม
2
5
กิโลกรัม
7
8
กิโลกรัม

เศษส่วนและจำ�นวนคละ อาจใช้หลายวิธีผสมผสานกัน
52 |
ตามความเหมาะสม ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับจำ�นวนที่นำ�มาเรียงลำ�ดับ
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

จากนั้นครูใช้การถาม-ตอบประกอบการอธิบายตัวอย่าง หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 2 | เศษส่วน

หน้า 54-55 แล้วร่วมกันทำ�กิจกรรมหน้า 56 แล้วให้ทำ�


พิจ�รณ�สถ�นก�รณ์ต่อไปนี้

แบบฝึกหัด 2.3 เป็นรายบุคคล ระยะเวล�ที่ชุลีกรอ่�นหนังสือตั้งแต่วันจันทร์ถึงวันศุกร์ ต�มลำ�ดับดังนี้


3 2 7 1 13
ชั่วโมง 1 ชั่วโมง ชั่วโมง 1 ชั่วโมง ชั่วโมง
2 5 6 3 10

จะเรียงลำ�ดับระยะเวล�ที่ชุลีกรอ่�นหนังสือจ�กม�กไปน้อย อย่�งไร

3 1 7 1 13 3
อ�จเขียนเศษเกินในรูปจำ�นวนคละ ดังนี้
= 1 = 1 และ = 1
2 2 6 6 10 10
1 2 1 1 3
แล้วเปรียบเทียบ 1 , 1 , 1 , 1 และ 1
2 5 6 3 10
1 2 1 1 3
พบว่�จำ�นวนนับของจำ�นวนคละทุกจำ�นวนเท่�กัน จึงเปรียบเทียบ , , , และ
2 5 6 3 10
2 1 1 3 1 1
เนื่องจ�ก , , และ น้อยกว่� แสดงว่� ม�กที่สุด
5 6 3 10 2 2
2 1 1 3
จึงเปรียบเทียบ , , และ โดยทำ�ให้เป็นเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่�กัน
5 6 3 10
ซึ่งอ�จทำ�ตัวส่วนให้เท่�กับ ค.ร.น. ของ 5, 6, 3 และ 10

ค.ร.น. ของ 5, 6, 3 และ 10 คือ 30


2 1 1 3
จึงทำ� , , และ ให้เป็นเศษส่วนที่มีตัวส่วนเป็น 30 ดังนี้
5 6 3 10
2 12 1 5
= 2 × 6 = = 1 × 5 =
5 5 × 6 30 6 6 × 5 30

3 9
1
= 1 × 10 =
10 = 3 × 3 =
3 3 × 10 30 10 10 × 3 30
12 10 9 5 2 1 3 1
เมื่อเรียงลำ�ดับจ�กม�กไปน้อย จะได้ , , , หรือ , , ,
30 30 30 30 5 3 10 6
ดังนั้น เรียงลำ�ดับระยะเวล�ที่ชุลีกรอ่�นหนังสือจ�กม�กไปน้อย ได้ดังนี้
3 2 1 13 7
ชั่วโมง 1 ชั่วโมง 1 ชั่วโมง ชั่วโมง ชั่วโมง
2 5 3 10 6

1
อ�จใช้วิธีเปรียบเทียบกับ และ 1 หรือใช้วิธีทำ�ตัวส่วนของเศษส่วนทุกจำ�นวนให้เท่�กัน
2
แล้วเปรียบเทียบตัวเศษ จ�กนั้นจึงเรียงลำ�ดับ แต่ถ้�มีจำ�นวนคละให้เขียนจำ�นวนคละในรูปเศษเกินก่อน

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 53

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 51
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 2 | เศษส่วน

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 2 | เศษส่วน บทที่ 2 | เศษส่วน

1 3
8 7 2 25 1 5 19 43
เรียงลำ�ดับ , และ จ�กม�กไปน้อย เรียงลำ�ดับ , 4 , 3 , และ จ�กน้อยไปม�ก
15 12 3 7 6 11 4 9
วิธีทำา ค.ร.น. ของ 15, 12 และ 3 คือ 60 25 4 19 3 43 7
วิธีทำา เนื่องจ�ก = 3 , = 4 และ = 4
8 32 7 7 4 4 9 9
= 8 × 4 =
15 15 × 4 60 4 1 5 3 7
จึงเปรียบเทียบ 3 , 4 , 3 , 4 และ 4
7 35
= 7 × 5 = 7 6 11 4 9
12 12 × 5 60
4 5 4 5
2 40 เปรียบเทียบ 3 และ 3 พบว่� 3 = 3 จึงเปรียบเทียบ และ
= 2 × 20 = 7 11 7 11
3 3 × 20 60
40 35 32 2 7 8 4 1 5 1 5 4
ดังนั้นเรียงลำ�ดับจ�กม�กไปน้อย ได้ดังนี้ , , หรือ , , เนื่องจ�ก > และ < แสดงว่� <
60 60 60 3 12 15 7 2 11 2 11 7
2 7 8 5 4
ตอบ , , ดังนัน
้ 3 < 3
3 12 15 11 7
1 3 7 1 3 7
เปรียบเทียบ 4 , 4 และ 4 พบว่� 4 เท่�กัน จึงเปรียบเทียบ , และ
2 6 4 9 6 4 9
3 4 5 8 1 1 3 7 1
เรียงลำ�ดับ , , และ จ�กน้อยไปม�ก เนื่องจ�ก < ในขณะที่ และ ม�กกว่�
2 11 6 15 6 2 4 9 2
4 5 8 3
วิธีทำา เนื่องจ�ก , และ น้อยกว่� 1 และ ม�กกว่� 1 1 3 1 7
11 6 15 2 แสดงว่� 4 < 4 และ 4 < 4
6 4 6 9
3
แสดงว่� ม�กที่สุด
2 3 7
เปรียบเทียบ กับ โดยห� ค.ร.น. ของ 4 และ 9
5 8 1 4 1 4 9
และ กับ ม�กกว่� ในขณะที่ น้อยกว่�
6 15 2 11 2
ค.ร.น. ของ 4 และ 9 คือ 36
4 5 8
แสดงว่� น้อยที่สุด จึงเปรียบเทียบ กับ
11 6 15
3 27
= 3 × 9 =
ค.ร.น. ของ 6 และ 15 คือ 30 4 4 × 9 36
7 28
5 25 = 7 × 4 =
= 5 × 5 = 9 9 × 4 36
6 6 × 5 30
8 16 27 28 3 7 3 7
= 8 × 2 = ซึ่ง
36
<
36
แสดงว่�
4
<
9
ดังนัน
้ 4 < 4
4 9
15 15 × 2 30
16 25 8 5 5 4 1 3 7
ซึ่ง < แสดงว่� < ดังนั้นเรียงลำ�ดับจ�กน้อยไปม�ก ได้ดังนี้ 3 , 3 , 4 , 4 , 4
30 30 15 6 11 7 6 4 9
4 8 5 3 5 25 1 19 43
ดังนั้นเรียงลำ�ดับจ�กน้อยไปม�ก ได้ดังนี้ , , , หรือ 3 , , 4 , ,
11 15 6 2 11 7 6 4 9
4 8 5 3 5 25 1 19 43
ตอบ , , , ตอบ 3 , , 4 , ,
11 15 6 2 11 7 6 4 9

54 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 55

3. เพือ
่ ตรวจสอบความเข้าใจและสรุปความรูท
้ ไ่ี ด้ ให้นก
ั เรียน หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6

ทำ�กิจกรรมหน้า 56 เป็นรายบุคคล
บทที่ 2 | เศษส่วน

ปฏิบัติกิจกรรม

1 เรียงลำ�ดับจ�กน้อยไปม�ก

7 3 16 9 19 4 70 45
1) , , และ 2) , 6 , และ
10 8 15 12 2 5 9 7

2 เรียงลำ�ดับจ�กม�กไปน้อย

5 3 8 11 23 4 7 17 1
1) , , และ 2) , 5 , , และ 2
12 4 9 11 10 7 3 6 4

แบบฝึกหัด 2.3

ตรวจสอบความเข้าใจ

1 แสดงวิธีเปรียบเทียบเศษส่วนและจำ�นวนคละ

14 7 34 56
1) กับ 2) กับ
18 12 15 25

5 23 93 3
3) 10 กับ 10 4) กับ 11
9 30 8 5

2 แสดงวิธเี รียงลำ�ดับจ�กน้อยไปม�ก

4 10 11 6 3 31 29 7 8
1) , , และ 2) 2 , , , 4 และ
5 6 8 9 7 31 6 10 3

3 แสดงวิธเี รียงลำ�ดับจ�กม�กไปน้อย

13 5 19 7 5 73 7 101 35
1) , , และ 2) 3 , , 6 , และ
12 8 18 11 6 12 10 15 9

สิ่งที่ได้เรียนรู้

ถ้�ต้องก�รเรียงลำ�ดับเศษเกิน 3 จำ�นวน และจำ�นวนคละอีก 2 จำ�นวน


ซึ่งแต่ละจำ�นวนมีตัวส่วนไม่เท่�กัน จ�กน้อยไปม�ก จะมีวิธีก�รอย่�งไร

56 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

52 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 2 | เศษส่วน

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 2 | เศษส่วน บทที่ 2 | เศษส่วน

เฉลยหน้า 56 เฉลยหน้า 56
2
1 1) ตัวอย่าง
1) ตัวอย่าง 5 , 3 8 11 11
วิธีทำ� เนื่องจาก และ น้อยกว่า 1 และ = 1 แสดงว่า มากที่สุด
12 4 9 11 11
7 , 3 9 16
วิธีทำ� เนื่องจาก และ น้อยกว่า 1 ในขณะที่ มากกว่า 1
10 8 12 15 จึงเปรียบเทียบ 5 , 3 และ 8
12 4 9
16 7 , 3 9
แสดงว่า มากที่สุด จึงเปรียบเทียบ และ 5 3 8 5
15 10 8 12 พบว่่า น้อยกว่า 1 ในขณะที่ และ มากกว่า 1 แสดงว่า น้อยที่สุด
12 2 4 9 2 12
7 9 1 3 1 3
พบว่่า และ มากกว่า และ < แสดงว่า น้อยที่สุด
10 12 2 8 2 8 จึงเปรียบเทียบ 3 กับ 8 ซึ่ง ค.ร.น. ของ 4 และ 9 คือ 36
4 9
7 9
จึงเปรียบเทียบ กับ ซึ่ง ค.ร.น. ของ 10 และ 12 คือ 60 3 = 3 × 9 = 27 8 = 8 × 4 = 32
10 12 และ
4 4×9 36 9 9×4 36
7 = 7 × 6 = 42 9 = 9 × 5 = 45
และ 32 27 8 3
10 10 × 6 60 12 12 × 5 60 ซึ่ง
<
แสดงว่า
<
36 36 9 4
42 45 7 9
ซึ่ง < แสดงว่า <
60 60 10 12 ดังนั้นเรียงลำาดับจากมากไปน้อยได้ดังนี้ 11 , 8 , 3 , 5
11 9 4 12
ดังนั้นเรียงลำาดับจากน้อยไปมากได้ดังนี้ 3 , 7 , 9 , 16 ตอบ 11 , 8 , 3 , 5
8 10 12 15 11 9 4 12
ตอบ 3 , 7 , 9 , 16
8 10 12 15

2) ตัวอย่าง
19 1 70 7 45 3
วิธีทำ� เนื่องจาก = 9 , = 7 และ = 6
2 2 9 9 7 7

จึงเปรียบเทียบ 9 1 , 6 4 , 7 7 และ 6 3
2 5 9 7
1 7
พบว่่า 9 มากที่สุด รองลงมาคือ 7
2 9

จึงเปรียบเทียบ 6 4 กับ 6 3 พบว่า 6 = 6


5 7

จึงเปรียบเทียบ 4 กับ 3 พบว่า 4 1 และ 3 < 1


<
5 7 5 2 7 2

แสดงว่า 3 < 4 จะได้ 6 3 < 6 4


7 5 7 5

ดังนั้นเรียงลำาดับจากน้อยไปมากได้ดังนี้ 6 3 , 6 4 , 7 7 , 9 1
7 5 9 2

หรือ 45 , 6 4 , 70 , 19
7 5 9 2
ตอบ 45 , 6 4 , 70 , 19
7 5 9 2

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 2 | เศษส่วน บทที่ 2 | เศษส่วน

เฉลยหน้า 56 เฉลยหน้า 56

2) ตัวอย่าง ตรวจสอบคว�มเข้�ใจ
23 3 , 7 1 17 5
วิธีทำ� เนื่องจาก = 2 = 2 และ = 2 1
10 10 3 3 6 6
1) ตัวอย่าง 2) ตัวอย่าง
จึงเปรียบเทียบ 2 3 , 5 4 , 2 1 , 2 5 และ 2 1 พบว่า 5 4 มากที่สุด
10 7 3 6 4 7 วิธีทำ� ค.ร.น. ของ 18 และ 12 คือ 36 วิธีทำ� ค.ร.น. ของ 15 และ 25 คือ 75
3 1 5 1 14 = 14 × 2 = 28 34 = 34 × 5 = 170
จึงเปรียบเทียบ 2 , 2 , 2 และ 2 พบว่า 2 เท่ากัน
10 3 6 4 18 18 × 2 36 15 15 × 5 75
3 , 1 , 5 1 7 = 7 × 3 = 21 56 = 56 × 3 = 168
จึงเปรียบเทียบ และ
10 3 6 4 12 12 × 3 36 25 25 × 3 75
พบว่า 3 , 1 และ 1 น้อยกว่า 1 ในขณะที่ 5 มากกว่า 1 ซึ่ง 28
< 21 ดังนั้น 14 < 7 ซึ่ง 170
< 168 ดังนั้น 34 < 56
10 3 4 2 6 2 36 36 18 12 75 75 15 25
จึงเปรียบเทียบ 3 , 1 และ 1 ซึ่ง ค.ร.น. ของ 10, 3 และ 4 คือ 60 ตอบ 14 < 7 ตอบ 34 < 56
10 3 4 18 12 15 25
3 = 3 × 6 = 18 , 1 = 1 × 20 = 20 1 = 1 × 15 = 15
และ
10 10 × 6 60 3 3 × 20 60 4 4 × 15 60
3) ตัวอย่าง 4) ตัวอย่าง
20 18 18 15 1 3 3 1
ซึ่ง และ แสดงว่า และ วิธีทำ� เนื่องจาก 93 = 11 5
< < < <
วิธีทำ� เนื่องจาก 10 = 10
60 60 60 60 3 10 10 4 8 8
จึงเปรียบเทียบ 5 กับ 23 จึงเปรียบเทียบ 11 5 กับ 11 3
ดังนั้นเรียงลำาดับจากมากไปน้อยได้ดังนี้ 5 4 , 2 5 , 2 1 , 2 3 , 2 1 9 30 8 5
7 6 3 10 4
ค.ร.น. ของ 9 และ 30 คือ 90 พบว่า 11 = 11
หรือ 5 4 , 17 , 7 , 23 , 2 1
7 6 3 10 4 5 = 5 × 10 = 50 จึงเปรียบเทียบ 5 กับ 3
9 9 × 10 90 8 5
ตอบ 5 4 , 17 , 7 , 23 , 2 1
7 6 3 10 4 23 = 23 × 3 = 69 ค.ร.น. ของ 8 และ 5 คือ 40
30 30 × 3 90
5 = 5 × 5 = 25
ซึ่ง 50 < 69 แสดงว่า 5 < 23 8 8×5 40
90 90 9 30 3 = 3 × 8 = 24
5 5×8 40
ดังนั้น 10 5 < 10 23
9 30
ซึ่ง 25
< 24 แสดงว่า 5 < 3
ตอบ 10 5 < 10 23 40 40 8 5
9 30
ดังนั้น 11 5 11 3
<
8 5
หรือ 93 11 3
<
8 5
ตอบ 93 11 3
<
8 5

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 53
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 2 | เศษส่วน

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 2 | เศษส่วน บทที่ 2 | เศษส่วน

เฉลยหน้า 56 เฉลยหน้า 56

2 2) ตัวอย่าง
1) ตัวอย่าง วิธีทำ� เนื่องจาก 2 3 , 29 , 4 7 และ 8 มากกว่า 1 และ 31 เท่ากับ 1
7 6 10 3 31
วิธีทำ� เนื่องจาก 4 และ 6 น้อยกว่า 1 ในขณะที่ 10 และ 11 มากกว่า 1
5 9 6 8 แสดงว่า 31 น้อยที่สุด จึงเปรียบเทียบ 2 3 , 29 , 4 7 และ 8
31 7 6 10 3
10 11
จึงเปรียบเทียบ 4 กับ 6 และเปรียบเทียบ กับ 29 5 8 2 3 5 7 และ 2 2
5 9 6 8 เนื่องจาก = 4 และ = 2 จึงเปรียบเทียบ 2 , 4 , 4
6 6 3 3 7 6 10 3
เปรียบเทียบ 4 กับ 6
5 9 เปรียบเทียบ 2 3 กับ 2 2
7 3
ค.ร.น. ของ 5 และ 9 คือ 45
พบว่า 2 = 2 จึงเปรียบเทียบ 3 กับ 2 พบว่า 3 < 1 และ 2 < 1
4 = 4 × 9 = 36 6 = 6 × 5 = 30 7 3 7 2 3 2
และ
5 5×9 45 9 9×5 45 แสดงว่า 3 < 2 ดังนั้น 2 3 < 2 2
6 4 7 3 7 3
30 36
ซึ่ง < แสดงว่า
45 45 9 < 5
เปรียบเทียบ 4 5 กับ 4 7
6 10
เปรียบเทียบ 10 กับ 11
6 8
พบว่า 4 = 4 จึงเปรียบเทียบ 5 กับ 7
ค.ร.น. ของ 6 และ 8 คือ 24 6 10
ค.ร.น. ของ 6 และ 10 คือ 30
10 = 10 × 4 = 40 11 = 11 × 3 = 33
และ 5 = 5 × 5 = 25 7 = 7 × 3 = 21
6 6 ×4 24 8 8 ×3 24 และ
6 6×5 30 10 10 × 3 30
33 40 11 10
ซึ่ง < แสดงว่า < 21 25 7 5 7 5
24 24 8 6 ซึ่ง < แสดงว่า < ดังนั้น 4 < 4
30 30 10 6 10 6
ดังนั้นเรียงลำาดับจากน้อยไปมากได้ดังนี้ 6 , 4 , 11 , 10
9 5 8 6 ดังนั้น เรียงลำาดับจากน้อยไปมากได้ดังนี้ 31 , 2 3 , 2 2 , 4 7 , 4 5
31 7 3 10 6
ตอบ 6 , 4 , 11 , 10
9 5 8 6
หรือ 31 , 2 3 , 8 , 4 7 , 29
31 7 3 10 6

ตอบ 31 , 2 3 , 8 , 4 7 , 29
31 7 3 10 6

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 2 | เศษส่วน บทที่ 2 | เศษส่วน

เฉลยหน้า 56 เฉลยหน้า 56

3 2) ตัวอย่าง
1) ตัวอย่าง วิธีทำ� เนื่องจาก 73 = 6 1 , 101 = 6 11 และ 35 = 3 8
12 12 15 15 9 9
วิธีทำ� เนื่องจาก 13 และ 19 มากกว่า 1 ในขณะที่ 5 และ 7 น้อยกว่า 1 5 1 , 6 7 , 6 11 8
12 18 8 11 จึงเปรียบเทียบ 3 , 6 และ 3
6 12 10 15 9
จึงเปรียบเทียบ 13 กับ 19 และเปรียบเทียบ 5 กับ 7
12 18 8 11 เปรียบเทียบ 6 1 , 6 7 และ 6 11
12 10 15
เปรียบเทียบ 13 กับ 19
12 18 พบว่า 6 เท่ากัน จึงเปรียบเทียบ 1 , 7 และ 11
12 10 15
ค.ร.น. ของ 12 และ 18 คือ 36
พบว่า 7 และ 11 มากกว่า 1 ในขณะที่ 1 น้อยกว่า 1
13 = 13 × 3 = 39 และ 19 = 19 × 2 = 38 10 15 2 12 2
12 12 × 3 36 18 18 × 2 36
เปรียบเทียบ 7 และ 11 ซึ่ง ค.ร.น. ของ 10 และ 15 คือ 30
39 38 13 19 10 15
ซึ่ง แสดงว่า
< <
36 36 12 18 7 = 7 × 3 = 21 11 = 11 × 2 = 22
และ
10 10 × 3 30 15 15 × 2 30
เปรียบเทียบ 5 กับ 7
8 11 22 21 11 7
ซึ่ง แสดงว่า
< <
ค.ร.น. ของ 8 และ 11 คือ 88 30 30 15 10

5 = 5 × 11 = 55 7
= 7 × 8 = 56 ดังนั้น 6 11 6 7 และ 6 7 61
< <
และ 15 10 10 12
8 8 × 11 88 11 11 × 8 88

ซึ่ง
56 < 55
แสดงว่า
7 < 5 เปรียบเทียบ 3 5 กับ 3 8
88 88 11 8 6 9
พบว่า 3 = 3 จึงเปรียบเทียบ 5 กับ 8
ดังนั้นเรียงลำาดับจากมากไปน้อยได้ดังนี้ 13 , 19 , 7 , 5 6 9
12 18 11 8
ค.ร.น. ของ 6 และ 9 คือ 18
ตอบ 13 , 19 , 7 , 5
12 18 11 8 5 = 5 × 3 = 15 8 = 8 × 2 = 16
และ
6 6×3 18 9 9×2 18
16 15 8 5
ซึ่ง แสดงว่า ดังนั้น 3 8 35
< < <
18 18 9 6 9 6
ดังนั้น เรียงลำาดับจากมากไปน้อยได้ดังนี้ 6 11 , 6 7 , 6 1 , 3 8 , 3 5
15 10 12 9 6
หรือ 101 , 6 7 , 73 , 35 , 3 5
15 10 12 9 6

ตอบ 101 , 6 7 , 73 , 35 , 3 5
15 10 12 9 6

54 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 2 | เศษส่วน

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 2 | เศษส่วน

เฉลยหน้า 56

สิ่งที่ได้เรียนรู้
การเรียงลำาดับอาจทำาได้ดังนี้
1. ใช้วิธีเขียนเศษเกินในรูปจำานวนคละ แล้วพิจารณาจำานวนนับของจำานวนคละ
ถ้าจำานวนนับไม่เท่ากัน จำานวนคละที่มีจำานวนนับน้อยกว่า จำานวนคละนั้นจะน้อยกว่า
ถ้าจำานวนนับเท่ากัน ให้เปรียบเทียบเศษส่วน โดยทำาให้เป็นเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากัน
แล้วเปรียบเทียบตัวเศษ เศษส่วนที่มีตัวเศษน้อยกว่า เศษส่วนนั้นจะน้อยกว่า
จากนั้นจึงเรียงลำาดับจำานวนคละทั้งห้าจำานวนจากน้อยไปมาก แล้วเขียนในรูปเศษเกิน 3 จำานวน
และจำานวนคละ 2 จำานวน ตามโจทย์กำาหนด

2. ใช้วิธีเขียนจำานวนคละในรูปเศษเกิน จากนั้นทำาเศษเกินทุกจำานวนให้มีตัวส่วนเท่ากัน แล้วเปรียบเทียบ


ตัวเศษ เศษเกินที่มีตัวเศษน้อยกว่า เศษเกินนั้นจะน้อยกว่า จากนั้นจึงนำาเศษเกินทั้งห้าจำานวนมาเรียงลำาดับ
จากน้อยไปมาก แล้วเขียนในรูปเศษเกิน 3 จำานวน และจำานวนคละ 2 จำานวน ตามโจทย์กำาหนด

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 55
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 2 | เศษส่วน

1.1
2.2 การอ่าน การเขี
การบวก การลบยนจำ�นวนนับที่มากกว่า 100,000

จุดประสงค์การเรียนรู้ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 2 | เศษส่วน

นักเรียนสามารถหาผลบวกและผลลบของเศษส่วน 2.2 การบวก การลบ

และจำ�นวนคละ การบวกและการลบเศษส่วน

พิจ�รณ�สถ�นก�รณ์ต่อไปนี้

สื่อการเรียนรู้ หยกมีน้ำ�ผึ้งและน้ำ�มะน�วที่บรรจุในแก้วขน�ดเดียวกัน โดยมีน้ำ�ผึ้ง


1
2
3
แก้ว

และมีน้ำ�มะน�ว แก้ว หยกมีน้ำ�ผึ้งม�กกว่�น้ำ�มะน�วกี่แก้ว


4

แผ่นพลาสติกใสแสดงเศษส่วน แสดงวิธห
ี �ปริม�ณน้�ำ ผึง้ ทีม
่ �กกว่�น้�ำ มะน�ว ดังนี้

ค.ร.น. ของ 3 และ 4 คือ 12

แนวการจัดการเรียนรู้ น้ำ�ผึ้ง
2
3
แก้ว น้ำ�มะน�ว
1
4
แก้ว
2
3

1
4
=
2×4
3×4

1×3
4×3
8 3
= −
12 12
การสอนการบวก การลบเศษส่วนและจำ�นวนคละ น้ำ�ผึ้งม�กกว่�
น้ำ�มะน�ว =
5
5 12
ครูควรจัดลำ�ดับเนื้อหาดังนี้
แก้ว
2 8 12 1 3 5
= = ดังนั้น หยกมีน้ำ�ผึ้งม�กกว่�น้ำ�มะน�ว แก้ว
3 12 4 12 12

• การบวกและการลบเศษส่วน หยกนำ�น้ำ�ผึ้งและน้ำ�มะน�วม�ผสมกัน จะได้น้ำ�ผึ้งผสมน้ำ�มะน�วกี่แก้ว

แสดงวิธห
ี �ปริม�ณน้�ำ ผึง้ ผสมน้�ำ มะน�ว ดังนี้

• การบวกและการลบจำ�นวนคละ ค.ร.น. ของ 3 และ 4 คือ 12

2 1 2×4 1×3
1. การสอนการบวก การลบเศษส่วนที่มีตัวส่วนไม่เท่ากัน
+ = +
3 4 3×4 4×3
2 8 1 3
= =
3 12 4 12 8 3
= +
ครูควรเริ่มจากการทบทวนการบวก การลบเศษส่วนที่มี น้ำ�ผึ้งผสมน้ำ�มะน�ว
12
11
12

11 =
ตัวส่วนตัวหนึ่งเป็นพหุคูณของตัวส่วนของเศษส่วนอีกตัวหนึ่ง แก้ว 12
12
11
ดังนั้น จะได้น้ำ�ผึ้งผสมน้ำ�มะน�ว แก้ว
12
จากนั้นครูใช้แผ่นพลาสติกใสแสดงเศษส่วนสาธิตประกอบ ก�รบวกหรือก�รลบเศษส่วนที่มีตัวส่วนไม่เท่�กัน ต้องทำ�ตัวส่วนของเศษส่วนให้เท่�กันก่อน

การอธิบายสถานการณ์ปัญหาหน้า 57 และควรยกตัวอย่าง
โดยอ�จทำ�ให้เท่�กับ ค.ร.น. ของตัวส่วน แล้วจึงห�ผลบวกหรือผลลบ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 57

สถานการณ์ปัญหาอื่นเพิ่มเติมโดยใช้สื่อชุดนี้สาธิตประกอบ
การอธิบาย จากนั้นร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับวิธีหาคำ�ตอบ
จากสถานการณ์ปัญหาเพื่อนำ�ไปสู่ข้อสรุปที่ว่า การบวก
หรือการลบเศษส่วนที่มีตัวส่วนไม่เท่ากัน ต้องทำ�ตัวส่วน
ของเศษส่วนให้เท่ากันก่อน โดยอาจทำ�ให้เท่ากับ ค.ร.น.
ของตัวส่วน แล้วจึงหาผลบวกหรือผลลบ

หมายเหตุ ครูอาจทบทวนวิธีหา ค.ร.น. ของจำ�นวนนับเพิ่มเติม


เพื่อให้นักเรียนมีความแม่นยำ�มากขึ้น

56 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 2 | เศษส่วน

2. การสอนความสัมพันธ์ระหว่างการบวกกับการลบเศษส่วน
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6

ครูควรเริ่มจากทบทวนความสัมพันธ์ระหว่างการบวกกับการลบ บทที่ 2 | เศษส่วน

จำ�นวนนับ โดยใช้การซักถามเพื่อให้นักเรียนแสดงวิธีคิด พิจ�รณ�คว�มสัมพันธ์ระหว่�งก�รบวกกับก�รลบเศษส่วนต่อไปนี้

3 1
แสดงวิธีห�ผลบวกของ + ได้อย่�งไร
เพื่อหาจำ�นวนที่แทน เช่น 8 6

ต้องทำ�เศษส่วนทั้งสองจำ�นวนให้เป็นเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่�กัน แล้วจึงห�ผลบวก
7 + 2 = 9 จะได้ 9 – 2 = 7 และ 9 – 7 = 2 ซึ่งอ�จทำ�ตัวส่วนให้เท่�กับ ค.ร.น. ของ 8 และ 6 คือ 24
3 1 3×3 1×4
จะได้ + = +
8 6 8×3 6×4
8 – 3 = 5 จะได้ 8 – 5 = 3 และ 3 + 5 = 8 =
9
+
4
24 24
13
จากนัน
้ ครูก�ำ หนดสัญลักษณ์แทนจำ�นวน เช่น =
24
3 1 13
ดังนั้น + =
8 6 24

แล้วให้นักเรียนหาความสัมพันธ์ ดังนี้ แสดงวิธีห�ผลลบของ


13

3
และ
13

1
ได้อย่�งไร
24 8 24 6

ถ้า + = 13

3
=
13

3×3 13

1
=
13

1×4
24 8 24 8×3 24 6 24 6×4
13 9 13 4
จะได้ – = =
24

24
=
24

24
4 9
= =
24 24

และ – = =
1
6
=
3
8
13 3 1 13 1 3
ดังนัน
้ − = ดังนัน
้ − =
จากนั้น ให้นักเรียนพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างการบวก 24 8 6 24 6 8

3 1 13
กับการลบเศษส่วนหน้า 58 โดยใช้การถาม-ตอบประกอบ
สรุปคว�มสัมพันธ์ของ + = ได้อย่�งไร
8 6 24

การอธิบาย และควรยกตัวอย่างความสัมพันธ์ระหว่างการบวก
3 1 13 13 3 1 13 1 3
จ�ก + = จะได้ − = หรือ − =
8 6 24 24 8 6 24 6 8

กับการลบเศษส่วนเพิ่มเติม แล้วร่วมกันอภิปรายเพื่อนำ�ไปสู่ ก�รห�คว�มสัมพันธ์ระหว่�งก�รบวกกับก�รลบเศษส่วน ใช้วิธีก�รเดียวกันกับ


ก�รห�คว�มสัมพันธ์ระหว่�งก�รบวกกับก�รลบจำ�นวนนับ
ข้อสรุปที่ว่า การหาความสัมพันธ์ระหว่างการบวก
58 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

กับการลบเศษส่วน ใช้วิธีการเดียวกันกับ
การหาความสัมพันธ์ระหว่างการบวกกับการลบจำ�นวนนับ
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6

ครูใช้การถาม-ตอบประกอบการอธิบายตัวอย่าง หน้า 59 บทที่ 2 | เศษส่วน

และตอบในรูปเศษส่วนอย่างต่ำ� จำ�นวนคละ หรือจำ�นวนนับ แสดงวิธีห�คำ�ตอบและตอบในรูปอย่�งง่�ย

พร้อมทั้งเน้นย้ำ�ให้นักเรียนตรวจสอบคำ�ตอบ โดยใช้ 1
5
+
4
12 9
ความสัมพันธ์ระหว่างการบวกกับการลบเศษส่วน จากนั้น วิธีทำา ค.ร.น. ของ 12 และ 9 คือ 36
ตรวจสอบ
ร่วมกันทำ�กิจกรรมหน้า 59 แล้วให้ทำ�แบบฝึกหัด 2.4 5
12
+
4
9
= 5 × 3 + 4 × 4
12 × 3 9 × 4 31

5
=
31

15
36 12 36 36

เป็นรายบุคคล =
15
36
+
16
36 =
16
36
31 4
= =
36 9
31
31 แสดงว่� เป็นคำ�ตอบที่ถูกต้อง
ตอบ 36
36

10 13
2 −
8 20

วิธีทำา ค.ร.น. ของ 8 และ 20 คือ 40


ตรวจสอบ
10 13
− = 10 × 5 − 13 × 2 3 13 12 13
8 20 8 × 5 20 × 2 + = +
5 20 20 20
50 26 25
= − =
40 40 20
5
24 =
= 4
40
10
3 =
= 8
5 3
3 แสดงว่� เป็นคำ�ตอบที่ถูกต้อง
ตอบ 5
5

แสดงวิธีหาคำาตอบและตอบในรูปอย่างง่าย

1 2 5 4 7 5
1 + 2 − 3 −
3 5 4 7 8 12

4 3 11 3 7 5
4 + 5 − 6 +
15 10 10 4 16 24

แบบฝึกหัด 2.4

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 59

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 57
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 2 | เศษส่วน

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 2 | เศษส่วน

เฉลยหน้า 59

1 วิธีทำ� ค.ร.น. ของ 3 และ 5 คือ 15 2 วิธีทำ� ค.ร.น. ของ 4 และ 7 คือ 28
1 + 2 = 1×5 + 2×3 5 − 4 = 5×7 − 4×4
3 5 3×5 5×3 4 7 4×7 7×4

= 5 + 6 = 35 − 16
15 15 28 28
11 19
= =
15 28

ตอบ 11 ตอบ 19
15 28

3 วิธีทำ� ค.ร.น. ของ 8 และ 12 คือ 24 4 วิธีทำ� ค.ร.น. ของ 15 และ 10 คือ 30
7 − 5 = 7×3 − 5 ×2 4
+
3
= 4 ×2 + 3 ×3
8 12 8×3 12 × 2 15 10 15 × 2 10 × 3

= 21 − 10 = 8 + 9
24 24 30 30
11 17
= =
24 30

ตอบ 11 ตอบ 17
24 30

5 วิธีทำ� ค.ร.น. ของ 10 และ 4 คือ 20 6 วิธีทำ� ค.ร.น. ของ 16 และ 24 คือ 48
11 3
− = 11 × 2 − 3 × 5 7
+
5
= 7 ×3 + 5 ×2
10 4 10 × 2 4×5 16 24 16 × 3 24 × 2

= 22 − 15 = 21 + 10
20 20 48 48
7 31
= =
20 48

ตอบ 7 ตอบ 31
20 48

58 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 2 | เศษส่วน

3. การสอนการบวกและการลบจำ�นวนคละ ครูควรทบทวน
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6

การบวกและการลบจำ�นวนคละ โดยเขียนจำ�นวนคละ
บทที่ 2 | เศษส่วน

การบวกและการลบจำานวนคละ
ในรูปเศษเกิน โดยใช้การถาม-ตอบประกอบการอธิบาย พิจ�รณ�สถ�นก�รณ์ต่อไปนี้

4 1 3
ตัวอย่าง เช่น หาผลบวกของ 35 + 27 จากนั้นร่วมกัน
แม่ค้�มีขนมถั่วกวนและขนมเผือกกวนในถ�ดที่มีขน�ดเท่�กัน โดยมีขนมถั่วกวน 2 ถ�ด
5
9 6 1
และขนมเผือกกวน 1 ถ�ด แม่ค้�มีขนมถั่วกวนและขนมเผือกกวนทั้งหมดกี่ถ�ด
3

พิจารณาสถานการณ์หน้า 60 โดยครูอาจใช้แผ่นพลาสติกใส และขนมถั่วกวนม�กกว่�ขนมเผือกกวนกี่ถ�ด

หาปริมาณทั้งหมดของขนมถั่วกวนและขนมเผือกกวนที่มีอยู่ ดังนี้

สาธิตประกอบการอธิบายเพื่อนำ�ไปสู่การหาผลบวก 3
ขนมถั่วกวน 2 ถ�ด
5
3
5
=
3×3
5×3
=
9
15

และสรุปคำ�ตอบ ซึ่งจะได้ว่า แม่ค้ามีขนมถั่วกวน


14
และขนมเผือกกวนทั้งหมด 3 ถาด
15 ขนมเผือกกวน 1
1
3
ถ�ด 1
3
=
1×5
=
5
3 × 5 15

จากนั้น ให้นักเรียนสังเกตและร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับวิธี
หาผลบวกจากสถานการณ์ดังกล่าว ซึ่งจะได้ว่าการบวก 3 1
จะได้ขนมถั่วกวนและขนมเผือกกวน 2 + 1 ถ�ด ดังนี้
5 3

จำ�นวนคละ อาจทำ�ได้โดย นำ�จำ�นวนนับบวกกับจำ�นวนนับ


และเศษส่วนบวกกับเศษส่วน 3 1 3 1
2 + 1 = (2 + 1) + ( + ) ถ�ด
5 3 5 3
ครูและนักเรียนช่วยกันแสดงขั้นตอนการหาผลบวก = 3 + (
9
15
+
5
15
) ถ�ด

ของจำ�นวนคละหน้า 61 โดยนำ�จำ�นวนนับบวกกับจำ�นวนนับ
14
= 3 + ถ�ด
15
14
= 3 ถ�ด
และเศษส่วนบวกกับเศษส่วน และให้นักเรียนแสดงขั้นตอน 15
14
ดังนั้น แม่ค้�มีขนมถั่วกวนและขนมเผือกกวนทั้งหมด 3 ถ�ด
15

การหาผลบวกดังกล่าวโดยเขียนจำ�นวนคละในรูปเศษเกิน 60 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

แล้วเปรียบเทียบคำ�ตอบที่ได้
4 1 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6

ครูอาจให้นักเรียนหาผลบวกของ 35 + 27 บทที่ 2 | เศษส่วน

9 6
โดยนำ�จำ�นวนนับบวกกับจำ�นวนนับ และเศษส่วนบวกกับ สังเกตได้ว่� ในก�รห�คำ�ตอบส�ม�รถห�ได้โดยนำ�จำ�นวนนับบวกกับจำ�นวนนับ
และเศษส่วนบวกกับเศษส่วน

เศษส่วน เพื่อเปรียบเทียบวิธีการบวกจำ�นวนคละทั้งสองวิธี 3 1 3 1
2 + 1 = (2 + ) + (1 + )
5 3 5 3
3 1
= (2 + 1) + ( + )
5 3
3×3 1×5
= 3 + ( + ) ค.ร.น. ของ 5 และ 3 คือ 15
5×3 3×5
9 5
= 3 + ( + )
15 15
14
= 3 +
15
14
= 3
15
14
ดังนั้น แม่ค้�มีขนมถั่วกวนและขนมเผือกกวนทั้งหมด 3 ถ�ด
15

หรืออ�จห�คำ�ตอบได้โดยเขียนจำ�นวนคละในรูปเศษเกิน
แล้วจึงห�ผลบวก

3 1 13 4
2 + 1 = +
5 3 5 3
13 × 3 4×5
= +
5 ×3 3×5
39 20
= +
15 15
59
=
15
14
= 3
15
14
ดังนั้น แม่ค้�มีขนมถั่วกวนและขนมเผือกกวนทั้งหมด 3 ถ�ด
15

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 61

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 59
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 2 | เศษส่วน

จากนั้นร่วมกันพิจารณาการหาผลลบหน้า 62
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 2 | เศษส่วน

โดยครูอาจใช้แผ่นพลาสติกใสสาธิตประกอบการอธิบาย
หาปริมาณขนมถั่วกวนที่มากกว่าขนมเผือกกวน ดังนี้
เพื่อนำ�ไปสู่วิธีหาผลลบ และสรุปคำ�ตอบ ซึ่งจะได้ว่า 3 3 3×3 9
ขนมถั่วกวน 2 ถ�ด = =
4 5 5 5×3 15

แม่ค้ามีขนมถั่วกวนมากกว่าขนมเผือกกวน 1 ถาด
15
แล้วให้นกั เรียนสังเกตและร่วมกันอภิปรายเกีย่ วกับวิธห
ี าผลลบ
1 1 1×5 5
ขนมเผือกกวน 1 ถ�ด = =
3 3 3×5 15
จากสถานการณ์ดังกล่าว ซึ่งจะได้ว่า การลบจำ�นวนคละ

อาจทำ�ได้โดย นำ�จำ�นวนนับลบกับจำ�นวนนับ และเศษส่วน


3 1
จะได้ขนมถั่วกวนม�กกว่�ขนมเผือกกวน 2 − 1 ถ�ด ดังนี้
5 3
ลบกับเศษส่วน

ครูและนักเรียนช่วยกันแสดงขั้นตอนการหาผลลบ

ของจำ�นวนคละหน้า 63 โดยนำ�จำ�นวนนับลบกับจำ�นวนนับ
และเศษส่วนลบกับเศษส่วน จากนัน
้ ให้นก
ั เรียนช่วยกันแสดง 2
3
5
1
3
3
5
1
− 1 = (2 − 1) + ( − ) ถ�ด
3
9 5
ขัน
้ ตอนการหาผลลบดังกล่าว โดยเขียนจำ�นวนคละ
= 1 + ( − ) ถ�ด
15 15
4
= 1 + ถ�ด
15
ในรูปเศษเกิน แล้วเปรียบเทียบคำ�ตอบที่ได้ = 1
4
15
ถ�ด

4
ดังนั้น ขนมถั่วกวนม�กกว่�ขนมเผือกกวน 1 ถ�ด
15

62 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 2 | เศษส่วน

สังเกตได้ว่� ในก�รห�คำ�ตอบส�ม�รถห�ได้โดยนำ�จำ�นวนนับลบกับจำ�นวนนับ
และเศษส่วนลบกับเศษส่วน

3 1 3 1
2 − 1 = (2 + ) − (1 + )
5 3 5 3
3 1
= (2 − 1) + ( − )
5 3
3×3 1×5
= 1 + ( − ) ค.ร.น. ของ 5 และ 3 คือ 15
5×3 3×5
9 5
= 1 + ( − )
15 15
4
= 1 +
15
4
= 1
15
4
ดังนั้น ขนมถั่วกวนม�กกว่�ขนมเผือกกวน 1 ถ�ด
15

หรืออ�จห�คำ�ตอบได้โดยเขียนจำ�นวนคละในรูปเศษเกิน
แล้วจึงห�ผลลบ

3 1 13 4
2 − 1 = −
5 3 5 3
13 × 3 4×5
= −
5 ×3 3×5
39 20
= −
15 15
19
=
15
4
= 1
15
4
ดังนั้น ขนมถั่วกวนม�กกว่�ขนมเผือกกวน 1 ถ�ด
15

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 63

60 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 2 | เศษส่วน

4. ครูและนักเรียนร่วมกันพิจารณาสถานการณ์หน้า 64
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 2 | เศษส่วน

โดยครูอาจใช้แผ่นพลาสติกใสสาธิตประกอบการอธิบาย
พิจ�รณ�สถ�นก�รณ์ต่อไปนี้
4 1
เพื่อนำ�ไปสู่วิธีหาผลบวก และไปสู่การสรุปคำ�ตอบ ซึ่งจะได้ว่า นุ่นรีดนมวัวได้ 1 ถัง อ้อรีดนมวัวได้ 3 ถัง ถ้�ถังแต่ละถังมีขน�ดเท่�กัน
5 2
นุ่นและอ้อรีดนมวัวได้ทั้งหมดกี่ถัง และนุ่นรีดนมวัวได้น้อยกว่�อ้อกี่ถัง

3 หาปริมาณทั้งหมดของนมวัวที่นุ่นและอ้อรีดได้ ดังนี้
นุ่นและอ้อรีดนมวัวได้ทั้งหมด 5 ถัง จากนั้นให้นักเรียน 4 4 4×2 8
10 นุ่นรีดนมวัวได้ 1 ถัง
5 5
=
5×2
=
10

สังเกตและร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับวิธีหาผลบวกจาก

สถานการณ์ดังกล่าว ซึ่งจะได้ว่า การบวกจำ�นวนคละ 1


อ้อรีดนมวัวได้ 3 ถัง
1
=
1×5
=
5
2 2 2 × 5 10

อาจทำ�ได้โดย นำ�จำ�นวนนับบวกกับจำ�นวนนับ และเศษส่วน

บวกกับเศษส่วน เนื่องจากผลบวกของเศษส่วนกับเศษส่วน จะได้นมวัวทั้งหมด 1


4 1
+ 3 ถัง ดังนี้
5 2

อยู่ในรูปเศษเกิน จึงทำ�ให้เป็นจำ�นวนคละ แล้วนำ�จำ�นวนนับ

ของจำ�นวนคละไปบวกกับผลบวกของจำ�นวนนับ 1
4
+ 3
1
= (1 + 3) + (
4 1
+ ) ถัง
5 2 5 2
8 5
= 4 + ( + ) ถัง
10 10
ครูและนักเรียนช่วยกันแสดงขั้นตอนการหาผลบวก = 4 +
13
10
ถัง
3
= 4 + 1 ถัง
ของจำ�นวนคละหน้า 65 โดยนำ�จำ�นวนนับบวกกับจำ�นวนนับ = 4 + 1 +
10
3
ถัง
10
3
และเศษส่วนบวกกับเศษส่วน จากนั้นให้นักเรียนช่วยกันแสดง = 5 +
10
ถัง
3
= 5 ถัง
10
ขั้นตอนการหาผลบวกดังกล่าว โดยเขียนจำ�นวนคละ ดังนั้น นุ่นและอ้อรีดนมวัวได้ทั้งหมด 5
3
10
ถัง

64 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ในรูปเศษเกิน แล้วเปรียบเทียบคำ�ตอบที่ได้

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 2 | เศษส่วน

สังเกตได้ว่� ในก�รห�คำ�ตอบส�ม�รถห�ได้โดยนำ�จำ�นวนนับบวกกับจำ�นวนนับ
และเศษส่วนบวกกับเศษส่วน

ถ้�ผลบวกของเศษส่วนกับเศษส่วนอยู่ในรูปเศษเกิน ให้ทำ�เป็นจำ�นวนคละ
แล้วนำ�จำ�นวนนับของจำ�นวนคละไปบวกกับผลบวกของจำ�นวนนับ

4 1 4 1
1 + 3 = (1 + ) + (3 + )
5 2 5 2
4 1
= (1 + 3) + ( + )
5 2
4×2 1×5 ค.ร.น. ของ 5 และ 2 คือ 10
= 4 + ( + )
5×2 2×5
8 5
= 4 + ( + )
10 10
13
= 4 +
10
3
= 4 + 1
10
3
= 4 + 1 +
10
3
= 5 +
10
3
= 5
10
3
ดังนั้น นุ่นและอ้อรีดนมวัวได้ทั้งหมด 5 ถัง
10

หรืออ�จห�คำ�ตอบได้โดยเขียนจำ�นวนคละในรูปเศษเกิน แล้วจึงห�ผลบวก

4 1 9 7
1 + 3 = +
5 2 5 2
9×2 7×5
= +
5×2 2×5
18 35
= +
10 10
53
=
10
3
= 5
10
3
ดังนั้น นุ่นและอ้อรีดนมวัวได้ทั้งหมด 5 ถัง
10

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 65

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 61
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 2 | เศษส่วน

ครูและนักเรียนร่วมกันพิจารณาการหาผลลบหน้า 66
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6

จากสถานการณ์หน้า 64 โดยครูอาจใช้แผ่นพลาสติกใสสาธิต
บทที่ 2 | เศษส่วน

หาปริมาณนมวัวที่นุ่นรีดได้น้อยกว่าอ้อ ดังนี้
ประกอบการอธิบายเพื่อนำ�ไปสู่วิธีหาผลลบ ซึ่งจะสังเกตได้ว่า นุ่นรีดนมวัวได้ 1
4
ถัง 4
=
4×2
=
8
5 5 5×2 10

เศษส่วนที่เป็นตัวตั้งน้อยกว่าเศษส่วนที่เป็นตัวลบ ครูแนะนำ�
ให้กระจายจำ�นวนนับที่เป็นตัวตั้งมา 1 เพื่อนำ�ไปรวมกับ
เศษส่วนที่เป็นตัวตั้ง แล้วจึงหาผลลบ ซึ่งสามารถสรุป 1
อ้อรีดนมวัวได้ 3 ถัง
2
1
2
=
1×5
=
5
2 × 5 10

7
คำ�ตอบได้ว่า นุ่นรีดนมวัวได้น้อยกว่าอ้อ 1 ถัง
10
จากนั้นให้นักเรียนสังเกตและร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับวิธีหา จะได้ว่� นุ่นรีดนมวัวได้น้อยกว่�อ้อ 3
1 4
− 1 ถัง ดังนี้
2 5
ผลลบจากสถานการณ์ดังกล่าว ซึ่งจะได้ว่า
การลบจำ�นวนคละอาจทำ�ได้โดย นำ�จำ�นวนนับลบกับจำ�นวนนับ
และเศษส่วนลบกับเศษส่วน เนือ
่ งจากการลบเศษส่วน
มีตวั ตัง้ น้อยกว่าตัวลบ จึงกระจายผลลบของจำ�นวนนับมา 1 3
1 4 1
− 1 = (3 − 1) + ( −
4
) ถัง
2 5 2 5

โดยเขียนในรูปเศษส่วน แล้วนำ�ไปบวกกับตัวตั้ง จากนั้น = 2 + (


5
10

8
10
) ถัง

5 8
จึงหาผลลบ = 1 + 1 + (
10

10 5
10
)

8
ถัง

= 1 + ( + − ) ถัง 10
1 =
10 10 10
ครูและนักเรียนช่วยกันแสดงขั้นตอนการหาผลลบ
10
7
= 1 + ถัง
10

ของจำ�นวนคละหน้า 67 โดยนำ�จำ�นวนนับลบกับจำ�นวนนับ
7
= 1 ถัง
10
7
ดังนั้น นุ่นรีดนมวัวได้น้อยกว่�อ้อ 1 ถัง
และเศษส่วนลบกับเศษส่วน จากนั้นให้นักเรียนช่วยกันแสดง 10

66 |
ขั้นตอนการหาผลลบดังกล่าว โดยเขียนจำ�นวนคละ
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ในรูปเศษเกิน แล้วเปรียบเทียบคำ�ตอบที่ได้
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6

ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อนำ�ไปสู่ข้อสรุปที่ว่า
บทที่ 2 | เศษส่วน

• การบวกจำ�นวนคละ อาจทำ�ได้โดย สังเกตได้ว่� ในก�รห�คำ�ตอบส�ม�รถห�ได้โดยนำ�จำ�นวนนับลบกับจำ�นวนนับ


และเศษส่วนลบกับเศษส่วน
ถ้�ก�รลบเศษส่วน มีตัวตั้งน้อยกว่�ตัวลบ ให้กระจ�ยจำ�นวนนับม� 1
นำ�จำ�นวนนับบวกกับจำ�นวนนับ แล้วนำ�ไปบวกกับตัวตั้ง จ�กนั้นจึงห�ผลลบ

และเศษส่วนบวกกับเศษส่วน
1 4 1 4
3 − 1 = (3 + ) − (1 + )
2 5 2 5
1 4
= (3 − 1) + ( − )
ถ้าผลบวกของเศษส่วนกับเศษส่วนอยู่ในรูปเศษเกิน
2 5
1×5 4×2
= 2 + ( − ) ค.ร.น. ของ 2 และ 5 คือ 10
2×5 5×2

ให้ทำ�เป็นจำ�นวนคละ แล้วนำ�จำ�นวนนับของจำ�นวนคละ = 2 + (
5
10

8
10
)
5 8
= 1 + 1 + ( − )
ไปบวกกับผลบวกของจำ�นวนนับ = 1 + (
10
+
10
5

10
8
) 1 =
10
10 10 10 10
15 8
• การลบจำ�นวนคละ อาจทำ�ได้โดย
= 1 + ( − )
10 10
7
= 1 +
10
นำ�จำ�นวนนับลบกับจำ�นวนนับ = 1
7
10
7
และเศษส่วนลบกับเศษส่วน
ดังนั้น นุ่นรีดนมวัวได้น้อยกว่�อ้อ 1 ถัง
10

ถ้าการลบเศษส่วน มีตัวตั้งน้อยกว่าตัวลบ ให้กระจาย หรืออ�จห�คำ�ตอบได้โดยเขียนจำ�นวนคละในรูปเศษเกิน แล้วจึงห�ผลลบ

1 4 7 9
ผลลบของจำ�นวนนับมา 1 โดยเขียนในรูปเศษส่วน 3
2
− 1 =
5 2

5
7×5 9×2
= −
แล้วนำ�ไปบวกกับตัวตั้ง จากนั้นจึงหาผลลบ
2×5 5×2
35 18
= −
10 10
17
• การบวกและการลบจำ�นวนคละ อาจทำ�ได้โดย
=
10
7
= 1
10
เขียนจำ�นวนคละในรูปเศษเกิน แล้วจึงหาผลบวก 7
ดังนั้น นุ่นรีดนมวัวได้น้อยกว่�อ้อ 1 ถัง
10

หรือผลลบ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 67

62 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 2 | เศษส่วน

5. ครูใช้การถาม-ตอบประกอบการอธิบายการหาผลบวก
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 2 | เศษส่วน

จากตัวอย่างข้อ 1 หน้า 68 และการหาผลลบจากตัวอย่าง


ก�รบวกจำ�นวนคละ อ�จทำ�ได้โดย นำ�จำ�นวนนับบวกกับจำ�นวนนับ และเศษส่วนบวกกับเศษส่วน
ข้อ 2 หน้า 69 โดยตัวอย่างข้อ 1 ให้นักเรียนแสดงวิธีหา ถ้�ผลบวกของเศษส่วนกับเศษส่วนอยู่ในรูปเศษเกิน ให้ทำ�เป็นจำ�นวนคละ
แล้วนำ�จำ�นวนนับของจำ�นวนคละไปบวกกับผลบวกของจำ�นวนนับ

ผลบวก โดยนำ�จำ�นวนนับบวกกับจำ�นวนนับ และเศษส่วน


ก�รลบจำ�นวนคละ อ�จทำ�ได้โดย นำ�จำ�นวนนับลบกับจำ�นวนนับ และเศษส่วนลบกับเศษส่วน
ถ้�ตัวตั้งน้อยกว่�ตัวลบ ให้กระจ�ยผลลบของจำ�นวนนับม� 1 แล้วนำ�ไปบวกกับตัวตั้ง
จ�กนั้นจึงห�ผลลบ

บวกกับเศษส่วน ส่วนตัวอย่างข้อ 2 ให้นักเรียนแสดงวิธีหา ก�รบวกและก�รลบจำ�นวนคละ อ�จเขียนจำ�นวนคละในรูปเศษเกิน แล้วจึงห�ผลบวกหรือผลลบ

ผลลบพร้อมสังเกตการลบเศษส่วน ซึ่งเมื่อทำ�ตัวส่วนให้เท่ากัน
2 3 แสดงวิธีห�คำ�ตอบและตอบในรูปอย่�งง่�ย

แล้ว พบว่า ที่เป็นตัวตั้ง จะน้อยกว่า ทีเ่ ป็นตัวลบ 1 5


12 12 1 2
15
+ 3
12
12 1 5 1 5
จึงต้องกระจายผลลบของจำ�นวนนับมา 1 ซึ่งเขียนในรูป วิธีทำา 2
15
+ 3
12
= (2 +
15
) + (3 +
12
)

12 1 5
2 14 = (2 + 3) + (
15
+
12
)

แล้วนำ�ไปบวกกับ เป็น จากนั้นหาผลลบ 1 ×4 5 ×5


12 12 = 5 + ( + ) ค.ร.น. ของ 15 และ 12 คือ 60
15 × 4 12 × 5
4 25
= 5 + ( + )
60 60
ให้นักเรียนร่วมกันทำ�กิจกรรมหน้า 69 โดยอาจแบ่ง = 5 +
29 ตรวจสอบ
60 29 5 29 5
5 − 3 = (5 − 3) + ( − )
29
นักเรียนเป็นกลุ่ม แล้วให้แต่ละกลุ่มนำ�เสนอวิธีคิด
60 12 60 12
= 5
60 29 25
= 2 + ( − )
29 60 60
ตอบ 5 4
60
ที่แตกต่างกัน เพื่อให้นักเรียนได้เห็นวิธีคิดที่หลากหลาย
= 2 +
60
1
= 2 +
15

จากนั้นให้ทำ�แบบฝึกหัด 2.5 เป็นรายบุคคล


1
หรืออ�จแสดงวิธีห�คำ�ตอบ = 2
15
โดยเขียนจำ�นวนคละในรูปเศษเกิน 29
แสดงว่� 5 เป็นคำ�ตอบที่ถูกต้อง
60

68 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 2 | เศษส่วน

1 1
2 2 − 1
6 4
1 1 1 1
วิธีทำา 2 − 1 = (2 + ) − (1 + )
6 4 6 4
1 1
= (2 − 1) + ( − )
6 4
1×2 1×3
= 1 + ( − ) ค.ร.น. ของ 6 และ 4 คือ 12
6×2 4×3
2 3
= 1 + ( − )
12 12
12 2 3
= + ( − ) ตรวจสอบ
12 12 12
12 2 3 11 1 11 1
= + − + 1 = 1 + ( + )
12 12 12 12 4 12 4
11 3
14 3 = 1 + ( + )
= − 12 12
12 12
14
11 = 1 +
= 12
12 7
= 1 +
11 6
ตอบ
12 1
= 1 + 1
6
1
หรืออ�จแสดงวิธีห�คำ�ตอบ = 2
6
โดยเขียนจำ�นวนคละในรูปเศษเกิน
11
แสดงว่� เป็นคำ�ตอบที่ถูกต้อง
12

อย่�ลืมตรวจสอบคำ�ตอบ
แสดงวิธีหาคำาตอบและตอบในรูปอย่างง่าย

4 2 8 7 27 1
1 1 + 2 2 3 − 1 3 + 2
5 3 9 12 7 4

13 3 59 3
4 4 + 6 5 5 − 6 7 − 4
19 10 15 11

แบบฝึกหัด 2.5

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 69

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 63
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 2 | เศษส่วน

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 2 | เศษส่วน บทที่ 2 | เศษส่วน

เฉลยหน้า 69 เฉลยหน้า 69

1 ตัวอย่าง 3 ตัวอย่าง
4 2 27 1 6 1
วิธีทำ� 1 +2 = ( 1 + 4 ) + (2 + 2 ) วิธีทำ�
7
+ 2
4
= 3 + 2
7 4
5 3 5 3
4 2
= (1 + 2 ) + ( + )
6
= ( 3 + ) + (2 + 1 )
5 3 7 4
4×3 + 2×5 6 1
= 3+ ( ) = (3 + 2 ) + ( + )
5×3 3×5 7 4
12 10 6×4 + 1×7
= 3+ ( + ) = 5+ ( )
15 15 7×4 4×7
22 24 7
= 3+ = 5+ ( + )
15 28 28
31
= 3+17 = 5+
28
15
= 5+13
= 3+1+ 7 28
15
7 = 5+1+ 3
= 4+ 28
15 3
= 6+
= 47 28
15
= 63
7 28
ตอบ 4
15 3
ตอบ 6
28

2 ตัวอย่าง
8 7 4 ตัวอย่าง
วิธีทำ� 3 −1 = ( 3 + 8 ) − (1 + 7 )
9 12 9 12 13 13
วิธีทำ� 4 + 6 = (4 + ) + 6
8 7 19 19
= (3 − 1 ) + ( − )
9 12 = ( 4 + 6 ) + 13
8×4 − 7 ×3 19
= 2+ ( )
9×4 12 × 3 = 10 + 13
32 21 19
= 2+ ( − )
36 36 = 10 13
11 19
= 2+
36 13
ตอบ 10
19
= 2 11
36
ตอบ 11
2
36

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 2 | เศษส่วน

เฉลยหน้า 69

5 ตัวอย่าง
3 59 3 14
วิธีทำ� 5 − = 5 −3
10 15 10 15
= (5 + 3 ) − (3 + 14 )
10 15
3 14
= (5 − 3 ) + ( − )
10 15
3 × 3 − 14 × 2
= 2+ ( )
10 × 3 15 × 2
9 28
= 2+ ( − )
30 30
9 28
= 1+1+( − )
30 30
= 1+ 30 9 28
+ ( − )
30 30 30
= 1 + ( 30 + 9 − 28 )
30 30 30
11
= 1+
30
= 1 11
30
ตอบ 11
1
30

6 ตัวอย่าง
3 3
วิธีทำ� 7 − 4 = 7 − (4 + 11 )
11
3
= ( 6 + 1 ) − (4 + )
11
3
= ( 6 − 4 ) + ( 1 − )
11
11 3
= 2+ ( − )
11 11
8
= 2+
11
8
= 2 11

ตอบ 8
2
11

64 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 2 | เศษส่วน

6. เพื่อตรวจสอบความเข้าใจและสรุปความรู้ที่ได้ ให้นักเรียน
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6

ทำ�กิจกรรมหน้า 70 เป็นรายบุคคล บทที่ 2 | เศษส่วน

ตรวจสอบความเข้าใจ

แสดงวิธีหาคำาตอบ

11 1 21 8
1 + 2 −
10 7 4 9

1 1 7 5
3 5 + 6 4 3 +
3 2 8 12

25 8 1 2
5 − 2 6 4 − 1
6 15 12 9

สิ่งที่ได้เรียนรู้

วิธีหาคำาตอบต่อไปนี้ ถูกหรือผิด ถ้าผิด ให้แก้ไข

2 2
1 4 + 3 = 2 4 − 3 =
9 9
2 2 2 2
วิธีทำา 4 + 3 = 4 + (3 + ) วิธีทำา 4 − 3 = 4 − (3 + )
9 9 9 9
2 2
= (4 + 3) + = (4 − 3) +
9 9
2 2
= 7 + = 1 +
9 9
2 2
= 7 = 1
9 9
2 2
ตอบ 7 ตอบ 1
9 9

70 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 2 | เศษส่วน บทที่ 2 | เศษส่วน

เฉลยหน้า 70 เฉลยหน้า 70

ตรวจสอบคว�มเข้�ใจ
5 ตัวอย่าง 6 ตัวอย่าง
25 8 1 8 1 2 1 2
1 วิธีทำ� ค.ร.น. ของ 10 และ 7 คือ 70 2 วิธีทำ� ค.ร.น. ของ 4 และ 9 คือ 36 วิธีทำ� −2 = 4 −2 วิธีทำ� 4 −1 = (4 + ) − ( 1 + 9 )
6 15 6 15 12 9 12
1 2
11 + 1 = 11 × 7 + 1 × 10 21 − 8 = 21 × 9 − 8 × 4 = (4 + 1 ) − ( 2 + 8 ) = (4 − 1 ) + ( − )
10 7 10 × 7 7 × 10 4 9 4 ×9 9×4 6 15 12 9
1 8 1 ×3 − 2×4
= 77 + 10 = 189 − 32 = (4 − 2 ) + ( −
6 15
) = 3+ (
12 × 3 9 × 4
)
70 70 36 36
87 157 1×5 − 8 ×2 3 8
= = = 2+ ( ) = 3+ ( − )
70 36 6×5 15 × 2 36 36
17 13 5 16 3 8
= 1 = 4 = 2+ ( − ) = 2 + 1 + ( 36 − 36 )
70 36 30 30
ตอบ 1 17 13 5 16 36 3 8
ตอบ 4 = 1+1+( − ) = 2+ + ( − )
70 36 30 30 36 36 36
= 1+ 30 5 16 36 3 8
+ ( − ) = 2 + ( 36 + 36 − 36 )
30 30 30
3 ตัวอย่าง 4 ตัวอย่าง
= 1 + ( 30 + 5 − 16 ) = 2+
31
1 1 1 1 7 5 7 5 30 30 30 36
วิธีทำ� 5 + 6 = (5 + ) + (6 + ) วิธีทำ� 3 + = (3 + ) +
3 2 3 2 8 12 8 12 19
1 1 = 1+ = 2 31
= (5 + 6 ) + ( 3 + 2 ) = 3+ 7 × 3 + 5 ×2 30 36
8×3 12 × 2
1×2 1×3 = 1 19 ตอบ 2
31
21 10 30
= 11 + ( 3 × 2 + 2 × 3 ) = 3+ + 36
24 24
ตอบ 1 19
2 3 31 30
= 11 + ( 6 + 6 ) = 3+
24
5 สิ่งที่ได้เรียนรู้
= 11 + = 3+17
6 24 1 ถูก
= 11 5 = 3+1+ 7 2 ผิด แก้ไขให้ถูกต้องดังนี้
6 24
2 2
ตอบ 5 = 4+ 7 ตัวอย่าง วิธีทำ� 4− 3 = 4 − (3 + )
11 9 9
6 24
2
= ( 3 + 1 ) − (3 + )
= 47 9
24 2
= ( 3 − 3 ) + (1 − )
ตอบ 7 9
4
24
= 0 + (1 − 2 )
9
9 2
= −
9 9
7
=
9
ตอบ 7
9

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 65
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 2 | เศษส่วน

1.1
2.3 การอ่าน การเขี
การบวก ลบ คูณยนจำ
หารระคน
�นวนนับที่มากกว่า 100,000

จุดประสงค์การเรียนรู้ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 2 | เศษส่วน

2.3
นักเรียนสามารถหาผลลัพธ์ของการบวก ลบ คูณ หารระคน การบวก ลบ คูณ หารระคน

ของเศษส่วนและจำ�นวนคละ ข้อตกลงเกี่ยวกับลำ�ดับขั้นก�รคำ�นวณที่ม�กกว่� 1 ขั้นตอน

ขั้นที่ 1 คำ�นวณในวงเล็บ (ถ้�มี)

สื่อการเรียนรู้ ขั้นที่ 2 คูณ หรือ ห�ร โดยคำ�นวณจ�กซ้�ยไปขว�

ขั้นที่ 3 บวก หรือ ลบ โดยคำ�นวณจ�กซ้�ยไปขว�

– พิจ�รณ�ก�รห�ผลลัพธ์ของ 1
3
÷ 1
7

8
×
11
22 33 11 24

ลำ�ดับขั้นก�รคำ�นวณ

แนวการจัดการเรียนรู้ 1
3
22
÷ 1
7
33

8
11
×
11
24
1 2
3

1. การสอนการบวก ลบ คูณ หารระคน ทั้งที่มีวงเล็บและไม่มี 3 7 8 11


ขั้นที่ 1 ห�ผลลัพธ์ของ 1 ÷ 1 ขั้นที่ 2 ห�ผลลัพธ์ของ ×
วงเล็บ ครูควรทบทวนลำ�ดับขัน ้ การคำ�นวณ โดยอาจยกตัวอย่าง
22 33 11 24
1 1
3 7 25 40 8 11
1 ÷ 1 = ÷ × = 8 × 11
22 33 22 33 11 24
เช่น 18 – 12 ÷ 3 × 2 กับ 18 – 12 ÷ (3 × 2)
11 × 24
1 3
25 33 1
= × =
22 40 3
ให้นักเรียนบอกลำ�ดับขั้นการคำ�นวณพร้อมหาผลลัพธ์ 5
= 25 × 33
3

22 × 40 15 1
จากนั้น ครูใช้การซักถามและอธิบายแสดงเหตุผลวิธีหาผลลัพธ์ =
2
15
8 ขั้นที่ 3 ห�ผลลัพธ์ของ
16

3
16 15 1
= 15 × 3 − 1 × 16
หน้า 71-72 โดยให้นักเรียนบอกลำ�ดับขั้นการคำ�นวณ 16

3 16 × 3 3 × 16
45 16
ครูอาจแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม แล้วให้แต่ละกลุ่มแสดงวิธีหา ค.ร.น. ของ 16 และ 3 คือ 48
=
48

48
29
ผลลัพธ์ ครูเลือกกลุ่มที่มีวิธีคิดที่แตกต่างกันนำ�เสนอ
=
48

หน้าชั้นเรียน ดังนั้น 1
3
22
÷ 1
7
33

8
11
×
11
24
=
29
48

จากนั้น ครูแนะนำ�การเขียนแสดงวิธีหาผลลัพธ์ของ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 71

3 7 8 11
1 ÷ (1 – ) × หน้า 73 โดยใช้การถาม-ตอบ
22 33 11 24
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 2 | เศษส่วน

ประกอบการอธิบาย 3 7 8 11
พิจ�รณ�ก�รห�ผลลัพธ์ของ 1 ÷ (1 − ) ×
22 33 11 24

ลำ�ดับขั้นก�รคำ�นวณ
3 7 8 11
1 ÷ (1 − ) ×
22 33 11 24
2 1
3

7 8
ขั้นที่ 1 ห�ผลลัพธ์ของ 1 −
33 11
7 8 40 8
1 − = −
33 11 33 11
40 8 ×3 ค.ร.น. ของ 33 และ 11 คือ 33
= −
33 11 × 3
40 24
= −
33 33
3 16
16 ขั้นที่ 2 ห�ผลลัพธ์ของ 1 ÷
= 22 33
33
3 16 25 16
1 ÷ = ÷
22 33 22 33

25 33
= ×
22 16
75 11 3
ขั้นที่ 3 ห�ผลลัพธ์ของ ×
32 24 = 25 × 33
25 22 × 16
2
75 11
× = 75 × 11 75
32 24 32 × 24 =
8 32
275
=
256

19
= 1
256

3 7 8 11 19
ดังนั้น 1 ÷ (1 − ) × = 1
22 33 11 24 256

72 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

66 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 2 | เศษส่วน

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 2 | เศษส่วน

3 7 8 11
ซึ่งอ�จเขียนแสดงก�รห�ผลลัพธ์ของ 1 ÷ (1 − ) × ดังนี้
22 33 11 24

3 7 8 11 25 40 8 11
1 ÷ (1 − ) × = ÷ ( − ) ×
22 33 11 24 22 33 11 24

25 11
= ÷ (40 − 8 × 3 ) ×
22 33 11 × 3 24

25 40 24 11
= ÷ ( − ) ×
22 33 33 24

25 16 11
= ÷ ×
22 33 24

25 33 11
= × ×
22 16 24

= 25 × 33 × 11
22 × 16 × 24

275
=
256

19
= 1
256

อย่�ลืมว่� ก�รคำ�นวณที่ม�กกว่� 1 ขั้นตอน


ต้องทำ�ต�มข้อตกลงเกี่ยวกับลำ�ดับขั้นก�รคำ�นวณ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 73

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 67
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 2 | เศษส่วน

2. ครูและนักเรียนร่วมกันพิจารณาตัวอย่าง 1 และตัวอย่าง 2
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6

หน้า 74-75 โดยครูควรให้นักเรียนบอกลำ�ดับขั้น บทที่ 2 | เศษส่วน

การคำ�นวณก่อน แล้วให้นักเรียนช่วยกันแสดงวิธีหาผลลัพธ์ 1
1 2 3 5
ห�ผลลัพธ์ของ (5 + 1 ) ÷ (2 − )
จากนั้นร่วมกันทำ�กิจกรรมหน้า 76 แล้วให้ทำ�แบบฝึกหัด 2.6
2 3 4 6

เป็นรายบุคคล 1
ลำ�ดับขั้นก�รคำ�นวณ
2 3 5
(5 + 1 ) ÷ (2 − )
2 3 4 6
1 2
3

1 2 3 5 11 5 11 5
วิธีทำา (5 + 1 ) ÷ (2 − ) = ( + ) ÷ ( − )
2 3 4 6 2 3 4 6

= (11 × 3 + 5 × 2 ) ÷ (11 × 3 − 5 × 2 )
ค.ร.น. ของ 2 และ 3 คือ 6 2 ×3 3×2 4 ×3 6×2
ค.ร.น. ของ 4 และ 6 คือ 12 33 10 33 10
= ( + ) ÷ ( − )
6 6 12 12
43 23
= ÷
6 12
43 12
= ×
6 23
2
= 43 × 12
6 1× 23
86
=
23
17
= 3
23

17
ตอบ 3
23

74 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 2 | เศษส่วน

2
1 2 3 5
ห�ผลลัพธ์ของ 5 + 1 ÷ 2 −
2 3 4 6

ลำ�ดับขั้นก�รคำ�นวณ
1 2 3 5
5 + 1 ÷ 2 −
2 3 4 6
1
2
3

1 2 3 5 11 5 11 5
วิธีทำา 5 + 1 ÷ 2 − = + ÷ −
2 3 4 6 2 3 4 6
11 5 4 5
= + × −
2 3 11 6
11 5
= + 5× 4 −
2 3 × 11 6
11 20 5
= + −
2 33 6

ค.ร.น. ของ 2, 33 และ 6 คือ 66 = 11 × 33 + 20 × 2 − 5 × 11


2 × 33 33 × 2 6 × 11
363 40 55
= + −
66 66 66

= 363 + 40 − 55
66
348
=
66
58
=
11
3
= 5
11

3
ตอบ 5
11

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 75

68 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 2 | เศษส่วน

3. เพื่อตรวจสอบความเข้าใจและสรุปความรู้ที่ได้ ให้นักเรียน
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6

ทำ�กิจกรรมหน้า 76 เป็นรายบุคคล บทที่ 2 | เศษส่วน

แสดงวิธีหาผลลัพธ์

3 2 1 24 3 2 1 24
1 3 − 2 × 1 ÷ 2 (3 − 2 ) × (1 ÷ )
7 3 5 25 7 3 5 25

1 11 7 16 2 5 27 32
3 6 ÷ 1 + 1 × 4 2 − + ÷ 1
2 15 8 45 9 6 35 49

แบบฝึกหัด 2.6

ตรวจสอบความเข้าใจ

แสดงวิธีหาผลลัพธ์

2 5 7 1 3 4 9
1 (3 − 1 ) × 2 + 2 1 + 2 ÷ (4 × )
9 6 10 4 5 7 35

1 1 9 12 5 11 17 7
3 1 × 2 + ÷ 4 + ÷ 1 −
6 7 14 49 9 18 27 18

1
สิ่งที่ได้เรียนรู้

7 25 4 3
1 ÷ × ( + )
8 16 15 10
1
2
3

ก�รโยงเส้นแสดงลำ�ดับขั้นก�รคำ�นวณข้�งต้นถูกหรือผิด ถ้�ผิด ให้แก้ไข


พร้อมห�ผลลัพธ์

76 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 2 | เศษส่วน บทที่ 2 | เศษส่วน

เฉลยหน้า 76 เฉลยหน้า 76

3 2 1 24 = 24 8 6 24 1 11 7 16 = 13 26 15 16
1 วิธีทำ� 3 − 2 × 1 ÷ − × ÷ 3 วิธีทำ� 6 ÷ 1 + 1 × ÷ + ×
7 3 5 25 7 3 5 25 2 15 8 45 2 15 8 45
24 8×6 24 13 15 15 16
= − ÷ = × + ×
7 3×5 25 2 26 8 45
24 16 24 13 × 15 + 15 × 16
= − ÷ =
7 5 25 2 × 26 8 × 45
24 16 25 15 2
= − × = +
7 5 24 4 3
24 15 × 3 + 2 × 4
= − 16 × 25 =
7 5 × 24 4 ×3 3×4
24 10
= − = 45 + 8
7 3 12 12
24 × 3 − 10 × 7 53
= =
7 ×3 3 ×7 12
72 70 5
= − = 4
21 21 12
= 2 ตอบ 5
4
21 12
ตอบ 2
21
4 2 5 27 32 = 20 − 5 27 81
วิธีทำ� 2 − + ÷ 1 + ÷
9 6 35 49 9 6 35 49
20 5 27 49
2 วิธีทำ� (3 3 − 2 2 ) × (1 1 ÷ 24 ) = ( 24 − 8 ) 6 24 )
× ( ÷ = − + ×
7 3 5 25 7 3 5 25 9 6 35 81
24 × 3 8×7 6 25 ) 20 5 27 × 49
= ( − ) × ( × = − +
7 ×3 3×7 5 24 9 6 35 × 81
72 56 6 × 25
= ( − ) × ( ) 20 5 7
21 21 5 × 24 = − +
9 6 15
16 5
= × 20 × 10 − 5 × 15 + 7 × 6
21 4 =
16 × 5 9 × 10 6 × 15 15 × 6
= 200 75 42
21 × 4 = − +
90 90 90
= 20
21 167
=
20 90
ตอบ
21 77
= 1
90
ตอบ 1 77
90

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 69
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 2 | เศษส่วน

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 2 | เศษส่วน บทที่ 2 | เศษส่วน

เฉลยหน้า 76 เฉลยหน้า 76

ตรวจสอบคว�มเข้�ใจ 3 วิธีทำ� 1 1 9 12 = 7 15 9 12
1 × 2 + ÷ × + ÷
6 7 14 49 6 7 14 49
2 5 7 1 29 11 ) 27 1
1 วิธีทำ� (3 − 1 ) × 2 + = ( − × +
9 6 10 4 9 6 10 4 = 7 × 15 + 9 × 49
29 × 2 11 × 3 27 1 6 7 14 12
= ( − ) × + 7 × 15 + 9 × 49
9 ×2 6 ×3 10 4 =
6× 7 14 × 12
58 33 27 1
= ( − ) × + 5 21
18 18 10 4 = +
2 8
= 25 × 27 + 1 5 × 4 + 21
18 10 4 =
2×4 8
= 25 × 27 + 1
18 × 10 4 20 21
= +
8 8
= 15 + 1
4 4 41
=
8
= 16
4 = 51
8
= 4 1
ตอบ 5
ตอบ 4 8

3 4 9 ) = 8 18 ( 9 ) 5 17
2 วิธีทำ� 1 + 2 ÷ (4 × + ÷ 4× 4 วิธีทำ� +
11
÷ 1 −
7 = 5 + 11 ÷ 44 − 7
5 7 35 5 7 35 9 18 27 18 9 18 27 18
8 18 4 × 9 5 11 27 7
= + ÷ ( ) = + × −
5 7 35 9 18 44 18
8 18 36 11 × 27 7
= + ÷ = 5 + −
5 7 35 9 18 × 44 18
8 18 35 5 3 7
= + × = + −
5 7 36 9 8 18
8 18 × 35 5×8 + 3×9 − 7 ×4
= + =
5 7 × 36 9×8 8×9 18 × 4
8 5 40 27 28
= + = + −
5 2 72 72 72
8×2 5×5
= + = 39
5×2 2×5 72
16 25
= + = 13
10 10 24
41 13
= ตอบ
10 24
1
= 4
10
ตอบ 4 1
10

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 2 | เศษส่วน

เฉลยหน้า 76

สิ่งที่ได้เรียนรู้
ผิด แก้ไขให้ถูกต้องดังนี้
7 25 4 3
1 ÷ × ( + )
8 16 15 10
2 1
3

7 25 4 3 = 15 ÷ 25 4 3
วิธีทำ� 1 ÷ × ( + ) ×( + )
8 16 15 10 8 16 15 10
15 25 ( 4 × 2 + 3 × 3 )
= ÷ ×
8 16 15 × 2 10 × 3
15 25 8 9
= ÷ ×( + )
8 16 30 30
15 25 17
= ÷ ×
8 16 30
15 16 17
= × ×
8 25 30
= 15 × 16 × 17
8 × 25 × 30
= 17
25

ตอบ 17
25

70 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 2 | เศษส่วน

1.1
2.4 การอ่าปนัญการเขี
โจทย์ หา ยนจำ�นวนนับที่มากกว่า 100,000

จุดประสงค์การเรียนรู้ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 2 | เศษส่วน

นักเรียนสามารถแสดงวิธีหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหา 2.4 โจทย์ปัญหา 9


เศษส่วนและจำ�นวนคละ 2-3 ขั้นตอน พิจ�รณ�สถ�นก�รณ์ตอ
่ ไปนี้

1
สื่อการเรียนรู้
หนุย่ ขับรถยนต์จ�กกรุงเทพฯ ไประยอง โดยช่วงแรกขับได้ระยะท�ง 75 กิโลเมตร
2
3
และช่วงหลังขับอีก 123 กิโลเมตร จึงถึงระยอง ถ้�น้�ำ มันร�ค�ลิตรละ 30 บ�ท และน้�ำ มัน 1 ลิตร
5
รถยนต์คน
ั นีแ้ ล่นได้ระยะท�งเฉลีย่ 11 กิโลเมตร ระยะท�งจ�กกรุงเทพฯ ไประยอง
แผ่นพลาสติกใสแสดงเศษส่วน รถยนต์ของหนุย่ ใช้น�ำ้ มันคิดเป็นเงินกีบ
่ �ท

แนวการจัดการเรียนรู้ สิ่งที่โจทย์ถ�ม เงินค่�น้ำ�มันรถยนต์ของหนุ่ยที่ขับจ�กกรุงเทพฯ ไประยอง

สิ่งที่โจทย์บอก 1 3
ช่วงแรกขับรถได้ 75 กิโลเมตร ช่วงหลังขับได้อก
ี 123 กิโลเมตร
2 5
1. การสอนการแก้โจทย์ปัญหาเศษส่วนและจำ�นวนคละ และน้�ำ มันร�ค�ลิตรละ 30 บ�ท โดยน้�ำ มัน 1 ลิตร รถยนต์คน
ั นีแ้ ล่นได้

2-3 ขั้นตอน ครูใช้สถานการณ์จากโจทย์ปัญหาหน้า 77


ระยะท�งเฉลีย่ 11 กิโลเมตร

นำ�สนทนาเกี่ยวกับขั้นตอนการหาคำ�ตอบ ครูใช้การถาม-ตอบ จะห�เงินค่�น้ำ�มันรถยนต์ของหนุ่ยที่ขับจ�กกรุงเทพฯ ไประยองได้อย่�งไร

พร้อมเขียนภาพแสดงการวิเคราะห์ลำ�ดับขั้นการหาคำ�ตอบ
เพื่อฝึกให้นักเรียนคิดอย่างเป็นระบบและให้เห็นขั้นตอน นำ�ปริม�ณน้ำ�มันที่ใช้ทั้งหมด คูณด้วยร�ค�น้ำ�มัน 1 ลิตร

การแก้ปัญหาอย่างชัดเจน เช่น
จะห�ปริม�ณน้ำ�มันที่ใช้ทั้งหมดได้อย่�งไร

นำ�ระยะท�งที่หนุ่ยขับรถยนต์จ�กกรุงเทพฯ ไประยอง ห�รด้วยระยะท�งเฉลี่ย

ที่รถยนต์คันนี้แล่นได้เมื่อใช้น้ำ�มัน 1 ลิตร

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 77

ค่าน้ำ�มัน

ปริมาณน้ำ�มันที่ใช้ทั้งหมด × ราคาน้ำ�มัน 1 ล.
ขั้นที่ 3
(30 บาท)

ระยะทางจาก ระยะทางที่รถวิ่งได้เมื่อใช้น้ำ�มัน 1 ล.
÷ ขั้นที่ 2
กรุงเทพฯ ถึงระยอง (11 กม.)

ระยะทางช่วงแรก ระยะทางช่วงหลัง
+ ขั้นที่ 1
1 3
(75 กม.) (123 กม.)
2 5

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 71
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 2 | เศษส่วน

ครูใช้การถาม-ตอบประกอบการอธิบาย หน้า 78-79


หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6

แล้วให้นักเรียนช่วยกันหาผลลัพธ์ในแต่ละขั้น จากนั้นครูใช้ บทที่ 2 | เศษส่วน

การอธิบายแสดงเหตุผลเกี่ยวกับวิธีพิจารณาความสมเหตุสมผล จะห�ระยะท�งจ�กกรุงเทพฯ ไประยองได้อย่�งไร และได้คำ�ตอบเท่�ใด

ของคำ�ตอบ ทั้งนี้ครูควรแนะนำ�ให้นักเรียนเลือกวิธีพิจารณา
ความสมเหตุสมผลของคำ�ตอบตามความเหมาะสม นำ�ระยะท�งช่วงแรก รวมกับ ระยะท�งช่วงหลัง

ครูใช้การถาม-ตอบประกอบการอธิบายตัวอย่าง หน้า 80 จะได้ 75


1
2
3 1 3
+ 123 = (75 + 123) + ( + ) กิโลเมตร
5 2 5
5 6
ทั้งนี้ครูควรเขียนภาพแสดงการวิเคราะห์ลำ�ดับขั้น = 198 + (
10
+
10
) กิโลเมตร

11
= 198 + กิโลเมตร
การหาคำ�ตอบ จากนั้นร่วมกันทำ�กิจกรรมหน้า 81 10
1
= 198 + 1 กิโลเมตร
แล้วให้ทำ�แบบฝึกหัด 2.7 เป็นรายบุคคล
10
1
= 199 กิโลเมตร
10
1
ดังนั้น ระยะท�งจ�กกรุงเทพฯ ไประยอง 199 กิโลเมตร
10

รถยนต์คันนี้ใช้น้ำ�มันไปทั้งหมดกี่ลิตร

เนือ
่ งจ�ก ระยะท�ง 11 กิโลเมตร ใช้น�ำ้ มัน 1 ลิตร

1 1 1991 1
ดังนัน
้ ระยะท�ง 199 กิโลเมตร ใช้น�ำ้ มัน 199 ÷ 11 = × ลิตร
10 10 10 11
181
= ลิตร
10
1
= 18 ลิตร
10

78 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 2 | เศษส่วน บทที่ 2 | เศษส่วน

3
เงินค่�น้ำ�มันรถยนต์ของหนุ่ยที่ขับจ�กกรุงเทพฯ ไประยองเป็นเท่�ใด ทิพย์มีน้ำ�เชื่อม 10 1 ลิตร ครั้งแรกนำ�ม�บรรจุ 6 ขวด ขวดละ ลิตร
2 4
ครั้งที่ 2 บรรจุน้ำ�เชื่อมที่เหลือทั้งหมดขวดละ 1 1 ลิตร ทิพย์บรรจุน้ำ�เชื่อมครั้งที่ 2 ได้กี่ขวด
2
เนื่องจ�ก น้ำ�มันร�ค�ลิตรละ 30 บ�ท 1
วิธีคิด น้ำ�เชื่อม 10 ล.
2
ดังนั้น ค่�น้ำ�มันรถยนต์ของหนุ่ยที่ขับจ�กกรุงเทพฯ ไประยอง
น้ำ�เชื่อมที่เหลือ
1 181
คิดเป็นเงิน 18 × 30 = × 30 บ�ท
10 10 3 1
ครั้งแรก บรรจุ 6 ขวด ขวดละ ล. ครั้งที่ 2 บรรจุขวดละ 1 ล.
181 × 30 4 2
= บ�ท
10
ห�จำ�นวนขวดที่บรรจุครั้งที่ 2 โดยนำ�ปริม�ณน้ำ�เชื่อมทั้งหมด ลบด้วยปริม�ณน้ำ�เชื่อมที่
= 543 บ�ท
บรรจุครั้งแรก จะได้น้ำ�เชื่อมที่เหลือ จ�กนั้นนำ�ปริม�ณน้ำ�เชื่อมที่เหลือ ห�รด้วยปริม�ณ
น้ำ�เชื่อม 1 ขวด ที่บรรจุในครั้งที่ 2
1
วิธีทำา ทิพย์มีน้ำ�เชื่อม 10 ลิตร
2
543 บ�ท เป็นคำ�ตอบที่สมเหตุสมผลหรือไม่ มีวิธีพิจ�รณ�อย่�งไร 3 3 9
ครั้งแรกบรรจุ 6 ขวด ขวดละ ลิตร คิดเป็น 6 × = ลิตร
4 4 2
1 9 21 9
เหลือน้ำ�เชื่อม 10 − = − ลิตร
2 2 2 2
1 = 6 ลิตร
เนือ
่ งจ�กช่วงแรกหนุย่ ขับรถยนต์ได้ระยะท�ง 75 กม. หรือประม�ณ 76 กม.
2 1
ครั้งที่ 2 บรรจุน้ำ�เชื่อมขวดละ 1 ลิตร
3 2
ี 123 กม. หรือประม�ณ 124 กม. ซึง่ 76 + 124 = 200
ช่วงหลังขับได้อก
5 1 3
ดังนั้น ทิพย์บรรจุน้ำ�เชื่อมครั้งที่ 2 ได้ 6 ÷ 1 = 6 ÷ ขวด
2 2
แสดงว่� หนุย่ ขับรถได้ระยะท�งประม�ณ 200 กม.
2
= 6 × ขวด
3
เนือ
่ งจ�ก น้�ำ มัน 1 ล. รถยนต์แล่นได้ระยะท�งเฉลีย่ 11 กม. หรือประม�ณ 10 กม.
= 4 ขวด
จะได้ว�่ ระยะท�งประม�ณ 10 กม. รถยนต์ใช้น�ำ้ มัน 1 ล.
ตอบ 4 ขวด
ถ้�ระยะท�งประม�ณ 200 กม. รถยนต์ใช้น�ำ้ มัน 200 ÷ 10 = 20 ล.
ตรวจสอบคว�มถูกต้องของคำ�ตอบ
และ น้�ำ มัน 1 ล. ร�ค� 30 บ�ท 1 1
ครั้งที่ 2 บรรจุน้ำ�เชื่อม 4 ขวด ขวดละ 1 ล. คิดเป็นปริม�ณน้ำ�เชื่อม 4 × 1 = 6 ล.
2 2
น้�ำ มัน 20 ล. ร�ค� 20 × 30 = 600 บ�ท ซึง่ ใกล้เคียงกับ 543 1 1
แสดงว่� เหลือน้ำ�เชื่อม 10 − 6 = 4 ล.
2 2
แสดงว่� 543 บ�ท เป็นคำ�ตอบทีส่ มเหตุสมผล 1 3
ครั้งแรกบรรจุน้ำ�เชื่อม 6 ขวด ขวดละเท่� ๆ กัน จะบรรจุได้ขวดละ 4 ÷ 6 = ล.
2 4
พบว่�สอดคล้องกับโจทย์ แสดงว่� 4 ขวด เป็นคำ�ตอบที่ถูกต้อง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 79 80 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

72 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 2 | เศษส่วน

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 2 | เศษส่วน
บทที่ 2 | เศษส่วน

แสดงวิธีหาคำาตอบ เฉลยหน้า 81

3 1 1
1 นุ่นวิ่งออกกำ�ลังก�ย วันเส�ร์วิ่งได้ 3 กิโลเมตร วันอ�ทิตย์วิ่งได้ 4 กิโลเมตร ตัวอย่าง
10 4
วิธีคิด
ในสองวันนี้นุ่นวิ่งออกกำ�ลังก�ยเฉลี่ยวันละกี่กิโลเมตร ระยะทางที่วิ่งได้ 2 วัน

5 3 วันเสาร์์ 3 3 กม. วันอาทิตย์ 4 1 กม.


2 ขิมซื้อหมึก 1 กิโลกรัม ร�ค�กิโลกรัมละ 240 บ�ท และซื้อกุ้ง 1 กิโลกรัม 10 4
8 5
ร�ค�กิโลกรัมละ 320 บ�ท ขิมจ่�ยเงินซื้อหมึกและกุ้งทั้งหมดเท่�ใด
นำาระยะทางที่วิ่งได้ในวันเสาร์และวันอาทิตย์รวมกัน แล้วหารด้วย 2
1
3 ในก�รเข้�ค่�ยพักแรมครั้งหนึ่ง ครูแบ่งเชือกให้ลูกเสือ 6 หมู่ หมู่ละ 5 เมตร เพื่อทำ�ร�วต�กผ้� วิธีทำ� วันเสาร์วิ่งได้ 33 กิโลเมตร
2
2 10
และแบ่งให้ลูกเสืออีก 11 คน คนละ 1 เมตร เพื่อใช้ทำ�กิจกรรมผูกเงื่อน ครูยังเหลือเชือกอีก 1
5 วันอาทิตย์วิ่งได้ 4 กิโลเมตร
3 4
2 เมตร เดิมครูมีเชือกย�วกี่เมตร
4 2 วัน วิ่งได้ระยะทางรวม 3 3 + 41 =
33 17
+ กิโลเมตร
1 10 4 10 4
4 ลุงแบ่งน้ำ�ต�ลมะพร้�ว 40 กิโลกรัม ใส่ถุง ถุงละ กิโลกรัม และแบ่งน้ำ�ต�ลโตนด 15 กิโลกรัม 66 85
2 = + กิโลเมตร
3 20 20
ใส่ถุง ถุงละ กิโลกรัม ลุงจะต้องใช้ถุงทั้งหมดกี่ใบ
5 151 กิโลเมตร
=
20
ดังนั้นในสองวันนี้นุ่นวิ่งออกกำาลังกายเฉลี่ยวันละ 151 151 1 กิโลเมตร
÷ 2 = ×
20 20 2
แบบฝึกหัด 2.7
151 กิโลเมตร
=
40

= 3 31 กิโลเมตร
40

หมึก หรือที่นิยมเรียกกันว่�ปล�หมึก แท้จริงแล้วเป็นสัตว์ทะเลที่ไม่ใช่ปล� เป็นสัตว์ไม่มี ตอบ 3 31 กิโลเมตร


40
กระดูกสันหลังจำ�พวกเดียวกับหอย หมึกที่พบในน่�นน้ำ�ไทย เช่น หมึกกล้วย หมึกหอม
หมึกกระดองล�ยเสือ หมึกส�ยร�ช� เป็นต้น

หมึกกล้วย หมึกหอม หมึกกระดองล�ยเสือ หมึกส�ยร�ช�

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 81

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 2 | เศษส่วน บทที่ 2 | เศษส่วน

เฉลยหน้า 81 เฉลยหน้า 81

2 วิธีคิด 3 ตัวอย่าง
เงินที่ซื้อหมึกและกุ้ง
วิธีคิด ความยาวเชือกทั้งหมด

หมึก 1 5 กก. กุ้ง 1 3 กก.


8 5 ทำาราวตากผ้า ใช้ผูกเงื่อน เชือกที่เหลือ

กิโลกรัมละ 240 บาท กิโลกรัมละ 320 บาท


ให้ลูกเสือ 6 หมู่ หมู่ละ 5 1 ม. ให้ลูกเสือ 11 คน คนละ 1 2 ม. 3
2 ม.
2 5 4

หาจำานวนเงินที่ซื้อหมึกและกุ้ง แล้วนำามารวมกัน
หาความยาวเชือกแต่ละส่วน แล้วนำามารวมกัน จะได้ความยาวเชือกทั้งหมด
วิธีทำ� ขิมซื้อหมึก 5 กิโลกรัม
1 1
8 วิธีทำ� ครูแบ่งเชือกให้ลูกเสือใช้ทำาราวตากผ้า 6 หมู่ หมู่ละ 5 เมตร
2
ราคากิโลกรัมละ บาท 1
240 แสดงว่า แบ่งเชือกให้ลูกเสือใช้ทำาราวตากผ้า 6× 5 6 × 11 เมตร
2 = 2
5 13 240 บาท เมตร
แสดงว่า ขิมจ่ายเงินซื้อหมึก 1 × 240 = × = 33
8 8
2
แบ่งให้ลูกเสือใช้ผูกเงื่อน 11 คน คนละ 1 เมตร
= 390 บาท 5
2 7 เมตร
แสดงว่า แบ่งเชือกให้ลูกเสือใช้ผูกเงื่อน 11 × 1 = 11 ×
3 5 5
ซื้อกุ้ง 1 กิโลกรัม
5
= 77 เมตร
5
ราคากิโลกรัมละ 320 บาท 3
และยังเหลือเชือกอีก 2 เมตร
4
3
แสดงว่า ขิมจ่ายเงินซื้อกุ้ง 1 × 320 = 8 × 320 บาท ดังนั้น ครูมีเชือกยาว 33 +
77
+ 2
3
= 33 + 15 2 + 2 3 เมตร
5 5 5 4 5 4
= 512 บาท = 33 + (15 + 2 ) + ( 2 + 3 ) เมตร
5 4
2 3
ดังนั้น ขิมจ่ายเงินซื้อหมึกและกุ้งทั้งหมด 390 + 512 = 902 บาท = ( 33 + 15 + 2 ) + ( + ) เมตร
5 4
= 8 15
ตอบ 902 บาท 50 + ( + ) เมตร
20 20
23
= 50 + เมตร
20
= 50 + 1 3 เมตร
20
= 50 + 1 + 3 เมตร
20
= 51 + 3 เมตร
20
= 51 3 เมตร
20
ตอบ 51 3 เมตร
20

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 73
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 2 | เศษส่วน

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 2 | เศษส่วน

เฉลยหน้า 81

4 ตัวอย่าง
วิธีคิด
จำานวนถุงทั้งหมด

จำานวนถุงใส่น้ำาตาลมะพร้าว จำานวนถุงใส่น้ำาตาลโตนด

น้ำาตาลมะพร้าว 40 กก. น้ำาตาลโตนด 15 กก.


แบ่งใส่ถุง ถุงละ 1 กก. แบ่งใส่ถุง ถุงละ 3 กก.
2 5

1
วิธีทำ� น้ำาตาลมะพร้าว 40 กิโลกรัม แบ่งใส่ถุง ถุงละ กิโลกรัม
2
แสดงว่า ลุงต้องใช้ถุงใส่น้ำาตาลมะพร้าว 40 ÷ 1 = 40 × 2 ใบ
2 1
= 80 ใบ
3
น้ำาตาลโตนด 15 กิโลกรัม แบ่งใส่ถุง ถุงละ กิโลกรัม
5
แสดงว่า ลุงต้องใช้ถุงใส่น้ำาตาลโตนด 15 ÷ 3 = 15 × 5 ใบ
5 3
= 25 ใบ

ดังนั้น ลุงจะต้องใช้ถุงทั้งหมด 80 + 25 = 105 ใบ

ตอบ 105 ใบ

74 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 2 | เศษส่วน

2. ให้นักเรียนร่วมกันพิจารณาสถานการณ์ปัญหาหน้า 82
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6

โดยใช้การถาม-ตอบ พร้อมเขียนภาพแสดงการวิเคราะห์ บทที่ 2 | เศษส่วน

ลำ�ดับขั้นการหาคำ�ตอบ เพื่อฝึกให้นักเรียนคิดอย่างเป็นระบบ พิจ�รณ�สถ�นก�รณ์ตอ


่ ไปนี้

และให้เห็นขั้นตอนการแก้ปัญหาอย่างชัดเจน เช่น ทีด


่ น
ิ ของเกษตรกรแปลงหนึง่ มีพน
้ื ที่ 20
1
4
5
ไร่ ปลูกมะม่วง ของพืน
9
้ ทีท
่ ง้ั หมด ปลูกชมพู่
1
ของพืน
้ ทีท
่ ง้ั หมด พืน
้ ทีท
่ เ่ี หลือทัง้ หมดขุดเป็นบ่อเลีย้ งปล� เกษตรกรขุดบ่อเลีย้ งปล�กีไ่ ร่
6

สิ่งที่โจทย์ถ�ม พื้นที่สำ�หรับขุดบ่อเลี้ยงปล�

1 5
สิ่งที่โจทย์บอก พืน
้ ที่ 20 ไร่ ปลูกมะม่วง ของพืน ้ ทีท ่ ง้ั หมด
4 9
1
ปลูกชมพู่ ของพืน ้ ทีท
่ ง้ั หมด พืน
้ ทีท
่ เ่ี หลือทัง้ หมดขุดบ่อเลีย้ งปล�
6

จ�กโจทย์ เขียนแสดงด้วยภ�พอย่�งไร

1
พื้นที่ 20 ไร่
4

มะม่วง ชมพู่ บ่อเลี้ยงปล�

5 1
ของพื้นที่ทั้งหมด ของพ้ืนที่ทั้งหมด
9 6

จ�กภ�พ จะห�พื้นที่สำ�หรับขุดบ่อเลี้ยงปล�ได้อย่�งไร

นำ�พื้นที่ทั้งหมด ลบด้วยพื้นที่ที่ปลูกมะม่วงและชมพู่

82 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

พื้นที่บ่อเลี้ยงปลา

พื้นที่ทั้งหมด พื้นที่ปลูกมะม่วงและชมพู่
– ขั้นที่ 3
1 (หน่วย : ไร่)
(20 ไร่)
4

พื้นที่ปลูกมะม่วงและชมพู่ พื้นที่ทั้งหมด
× ขั้นที่ 2
ในรูปเศษส่วน 1
(20 ไร่)
4

พื้นที่ปลูกมะม่วง พื้นที่ปลูกชมพู่
+ ขั้นที่ 1
5 1
( ) ( )
9 6

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 75
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 2 | เศษส่วน

ครูใช้การถาม-ตอบประกอบการอธิบาย หน้า 83
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6

โดยให้นักเรียนช่วยกันหาผลลัพธ์ในแต่ละขั้น บทที่ 2 | เศษส่วน

จากนั้น ครูใช้การอธิบายแสดงเหตุผลเกี่ยวกับวิธีพิจารณา จะห�พื้นที่ที่ปลูกมะม่วงและชมพู่ได้อย่�งไร และได้คำ�ตอบเท่�ใด

ความสมเหตุสมผลของคำ�ตอบ ทั้งนี้ครูควรแนะนำ�
นำ�พื้นที่ที่ปลูกมะม่วง รวมกับพื้นที่ที่ปลูกชมพู่
ให้นักเรียนเลือกวิธีพิจารณาความสมเหตุสมผลของคำ�ตอบ 5 1 10 3 13
จะได้ + = + = ของพื้นที่ทั้งหมด
9 6 18 18 18
ตามความเหมาะสม ซึ่งคิดเป็น
13 1
× 20 =
13
×
81 5
= 14 ไร่
18 4 18 4 8

จากนั้น ครูใช้การถาม-ตอบประกอบการอธิบายตัวอย่าง ดังนั้น เกษตรกรปลูกมะม่วงและชมพู่ 14


5
8
ไร่

หน้า 84-85 ทั้งนี้ครูควรเขียนภาพแสดงการวิเคราะห์ พื้นที่สำ�หรับขุดบ่อเลี้ยงปล�เป็นเท่�ใด

ลำ�ดับขั้นการหาคำ�ตอบ จากนั้น ร่วมกันทำ�กิจกรรมหน้า 85


1
เนื่องจ�กที่ดินของเกษตรกรมีพื้นที่ 20 ไร่
แล้วให้ทำ�แบบฝึกหัด 2.8 เป็นรายบุคคล 4
1 5
ดังนั้น พื้นที่ขุดบ่อเลี้ยงปล�คิดเป็น 20 − 14 =
81

117 5
= 5 ไร่
4 8 4 8 8

5
5 ไร่ เป็นคำ�ตอบที่สมเหตุสมผลหรือไม่ มีวิธีพิจ�รณ�อย่�งไร
8

1
เนื่องจ�กที่ดินของเกษตรกรมีพื้นที่ 20
ไร่ หรือประม�ณ 20 ไร่
4
5 100 1
จะได้ว่� ปลูกมะม่วง × 20 = = 11 ไร่ หรือประม�ณ 11 ไร่
9 9 9
1 10 1
ปลูกชมพู่ × 20 = = 3 ไร่ หรือประม�ณ 3 ไร่
6 3 3
ซึ่ง 11 + 3 = 14 แสดงว่� เกษตรกรปลูกมะม่วงและชมพู่ประม�ณ 14 ไร่
5
และ 20 − 14 = 6 ดังนั้น พื้นที่ขุดบ่อเลี้ยงปล�ประม�ณ 6 ไร่ ซึ่งใกล้เคียงกับ 5
8
5
แสดงว่� 5 ไร่ เป็นคำ�ตอบที่สมเหตุสมผล
8

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 83

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 2 | เศษส่วน บทที่ 2 | เศษส่วน

นักฟุตบอลทีมหนึ่งใช้เวล�ฝึกซ้อมครั้งละ 3 ชั่วโมง เริ่มจ�กก�รอบอุ่นร่�งก�ย ตรวจสอบคว�มถูกต้องของคำ�ตอบ

1 8 8
ของเวล�ฝึกซ้อมทั้งหมด ต่อด้วยก�รซ้อมเทคนิคก�รเล่น ของเวล�ที่เหลือ ฝึกซ้อมเทคนิคก�รเล่น ของเวล�ที่เหลือ ซึ่งเท่�กับ 80 น�ที
6 15 15
จ�กก�รอบอุ่นร่�งก�ย จ�กนั้นจึงฝึกซ้อมก�รเล่นเป็นทีม นักฟุตบอลทีมนี้ฝึกซ้อม แสดงว่� เวล�ที่เหลือ 8 ส่วน คิดเป็น 80 น�ที
80
เทคนิคก�รเล่นครั้งละกี่น�ที เวล�ที่เหลือ 1 ส่วน คิดเป็น 80 ÷ 8 =
น�ที
8
80
เวล�ที่เหลือ 15 ส่วน คิดเป็น 15 × = 150 น�ที
8
วิธีคิด เวล�ฝึกซ้อมทั้งหมด
แสดงว่� เวล�ฝึกซ้อมที่เหลือจ�กก�รอบอุ่นร่�งก�ยคิดเป็น 150 น�ที
เวล�ที่เหลือ
เนื่องจ�กใช้เวล�ฝึกซ้อมทั้งหมด 180 น�ที

อบอุ่นร่�งก�ย ซ้อมเทคนิค เล่นเป็นทีม จะได้ว่� ใช้เวล�อบอุ่นร่�งก�ย 180 - 150 = 30 น�ที


30 1
1 8 แสดงว่� เวล�ที่ใช้อบอุ่นร่�งก�ยคิดเป็น = ของเวล�ฝึกซ้อมทั้งหมด
ของเวล�ฝึกซ้อมทั้งหมด ของเวล�ที่เหลือ 180 6
6 15
พบว่�สอดคล้องกับโจทย์ แสดงว่� 80 น�ที เป็นคำ�ตอบที่ถูกต้อง

วิธีทำา ก�รฝึกซ้อมฟุตบอลใช้เวล� 3 ชั่วโมง คิดเป็น 3 × 60 = 180 น�ที


1 1
อบอุ่นร่�งก�ย ของเวล�ฝึกซ้อมทั้งหมด คิดเป็น × 180 = 30 น�ที แสดงวิธีหาคำาตอบ
6 6
แสดงว่� เหลือเวล�ซ้อม 180 – 30 = 150 น�ที 2
1 อดุลย์มีเงินเดือน เดือนละ 45,000 บ�ท เก็บออม ของเงินเดือน เป็นค่�ใช้จ่�ยในบ้�น
15
8 4
ซ้อมเทคนิคก�รเล่น ของเวล�ที่เหลือจ�กก�รอบอุ่นร่�งก�ย ของเงินเดือน ส่วนที่เหลือเป็นค่�ใช้จ่�ยส่วนตัว อดุลย์มีค่�ใช้จ่�ยส่วนตัวเท่�ใด
15 9
8 5
คิดเป็น × 150 = 80 น�ที 2 แม่ค้�ซื้อกุ้งม�ข�ย 120 กิโลกรัม ช่วงเช้�ข�ยไป ของกุ้งที่ซื้อม� ช่วงบ่�ยข�ยได้อีก
15 8
ดังนั้น นักฟุตบอลทีมนี้ฝึกซ้อมเทคนิคก�รเล่นครั้งละ 80 น�ที 2
ของกุ้งที่เหลือ ช่วงบ่�ยแม่ค้�ข�ยกุ้งได้กี่กิโลกรัม
3
ตอบ 80 น�ที 1 3
3 พ่อค้�มีส�ยไฟย�ว 56 เมตร วันแรกข�ยไป ของคว�มย�วส�ยไฟที่มีอยู่
4 5
1
วันที่สองข�ยได้ ของคว�มย�วส�ยไฟที่เหลือ วันที่สองพ่อค้�ข�ยส�ยไฟได้กี่เมตร
2
1
4 ลุงเก็บมะม่วงได้ 378 ผล เป็นพันธุ์อกร่อง ของมะม่วงที่เก็บได้ เป็นพันธุ์น้ำ�ดอกไม้
6
2
ของมะม่วงที่เก็บได้ ที่เหลือเป็นพันธุ์เขียวเสวย ลุงเก็บมะม่วงพันธุ์ใดได้ม�กที่สุดและเก็บได้กี่ผล
7

แบบฝึกหัด 2.8

84 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 85

76 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 2 | เศษส่วน

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 2 | เศษส่วน บทที่ 2 | เศษส่วน

เฉลยหน้า 85 เฉลยหน้า 85

1 ตัวอย่าง 2 วิธีคิด
วิธีคิด กุ้ง 120 กก.

เงินเดือน 45,000 บาท กุ้งที่เหลือ

5 ของกุ้งทั้งหมด 2 ของกุ้งที่เหลือ
เก็บออม 2 ของเงินเดือน ใช้จ่ายในบ้าน 4 ของเงินเดือน ค่าใช้จ่ายส่วนตัว
15 9 8 3

รวมเงินรวมเงิ
ที่เก็บนออมและค่
ที่เก็บออมและค่
าใช้จ่ายในบ้
าใช้จ่ายในบ้
น แล้วานำ
นาแล้
ไปลบออกจากเงิ
วนำาไปลบออกจากเงิ
นเดือนทั
นเดื
้งหมด
อนทัจะได้
้งหมดเป็จะได้
นค่าเใช้
ป็นจ่าค่ยส่
าใช้วจนตั
่ายส่
ว วนตัว ขายช่วงเช้า ขายช่วงบ่าย

วิธีทำ� อดุลย์มีเงินเดือน เดือนละ 45,000 บาท หาจำานวนกุ้งที่ขายไปในช่วงเช้าเป็นกิโลกรัม แล้วหาจำานวนกุ้งที่เหลือ โดยนำาไปลบออกจาก


จำานวนกุ้งทั้งหมด จากนั้นจึงหาจำานวนกุ้งเป็นกิโลกรัมที่ขายในตอนบ่าย
เก็บออม 2 ของเงินเดือน
15
วิธีทำ� แม่ค้าซื้อกุ้งมา 120 กิโลกรัม
อดุลย์เก็บออมเป็นเงิน 2 บาท
× 45,000 = 6,000
15 5
ช่วงเช้าขายไป ของกุ้งที่ซื้อมา
4 8
เป็นค่าใช้จ่ายในบ้าน ของเงินเดือน
9 แสดงว่า ช่วงเช้าขายไป 5 × 120 = 75 กิโลกรัม
4 × 8
ค่าใช้จ่ายในบ้านเป็นเงิน 45,000 = 20,000 บาท
9
เหลือกุ้ง 120 − 75 = 45 กิโลกรัม
รวมเงินออมและค่าใช้จ่ายในบ้าน 6,000 + 20,000 = 26,000 บาท
ช่วงบ่ายขายได้ 2 ของกุ้งที่เหลือ
3
แสดงว่า อดุลย์ยังเหลือเงินอีก 45,000 − 26,000 = 19,000 บาท
ดังนั้น ช่วงบ่ายแม่ค้าขายกุ้งได้ 2 × 45 = 30 กิโลกรัม
ดังนั้น อดุลย์มีค่าใช้จ่ายส่วนตัว 19,000 บาท 3
ตอบ 30 กิโลกรัม
ตอบ 19,000 บาท

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 2 | เศษส่วน บทที่ 2 | เศษส่วน

เฉลยหน้า 85 เฉลยหน้า 85

3 วิธีคิด 4 ตัวอย่าง
สายไฟยาว 56 1 ม.
4 วิธีคิด
ความยาวสายไฟที่เหลือ
มะม่วง 378 ผล
1 ของความยาว
3 ของความยาวสายไฟที่มีอยู่ 2
5 พันธุ์อกร่อง พันธ์ุน้ำาดอกไม้
สายไฟที่เหลือ 1 ของทั้งหมด 2 ของทั้งหมด พันธุ์เขียวเสวย
6 7
ขายวันแรก ขายวันที่สอง

หาความยาวของสายไฟเป็
หาความยาวของสายไฟเป็
นเมตรท่
นเมตรท่
ีขายในวัีขนายในวั
แรก นแล้
แรกวหาความยาวของสายไฟที
แล้วหาความยาวของสายไฟที
่เหลือ ่เหลือ หาจำานวนผลของมะม่วงพันธ์อ
ุ กร่องและพันธ์น
ุ าำ้ ดอกไม้ แล้วจึงหาจำานวนผลของพันธ์เุ ขียวเสวย
โดยนำาไปลบออกจากความยาวของสายไฟทั
โดยนำาไปลบออกจากความยาวของสายไฟทั
้งหมด ้งจากนั
หมด ้นจากนั
จึงหาความยาวของสายไฟที
้นจึงหาความยาวของสายไฟที
่ขายในวั่ขนายในวั
ที่สองนที่สอง โดยนำาจำานวนมะม่วงพันธ์ุอกร่องและพันธ์ุน้ำาดอกไม้รวมกัน แล้วลบออกจากจำานวนมะม่วงทั้งหมด
จากนั้น จึงนำาจำานวนมะม่วงทั้งสามพันธ์ุมาเปรียบเทียบกัน

วิธีทำ� พ่อค้ามีสายไฟยาว 56 1 เมตร วิธีทำ� ลุงเก็บมะม่วงได้ 378 ผล


4
วันแรกขายไป 3 ของความยาวสายไฟที่มีอยู่ เป็นพันธ์ุอกร่อง 1 ของมะม่วงที่เก็บได้
5 6
แสดงว่า วันแรกขายไป 3 × 56 1 3 × 225 เมตร 1 × 378
= แสดงว่า มีมะม่วงพันธ์ุอกร่อง = 63 ผล
5 4 5 4 6
135 เมตร เป็นพันธ์ุน้ำาดอกไม้ 2 ของมะม่วงที่เก็บได้
=
4 7
เหลือสายไฟ 1
56 − 135 225 − 135 เมตร 2 × 378 = 108 ผล
= แสดงว่า มีมะม่วงพันธ์ุน้ำาดอกไม้
4 4 4 4 7
90 เมตร รวมมะม่วงพันธ์ุอกร่องและพันธ์ุน้ำาดอกไม้ 63 + 108 = 171 ผล
=
4
วันที่สองขายได้ 1 ของความยาวสายไฟที่เหลือ
2 แสดงว่า มีมะม่วงพันธ์ุเขียวเสวย 378 − 171 = 207 ผล
ดังนั้น วันที่สองพ่อค้าขายสายไฟได้ 1 × 90 45 เมตร
= ดังนั้น ลุงเก็บมะม่วงพันธ์ุเขียวเสวยได้มากที่สุด โดยเก็บได้ 207 ผล
2 4 4
= 11 1 เมตร
4 ตอบ พันธ์ุเขียวเสวย โดยเก็บได้ 207 ผล
ตอบ 11 1 เมตร
4

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 77
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 2 | เศษส่วน

3. ครูใช้สถานการณ์ หน้า 86 เพื่อทบทวนความหมายของ


หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6

เศษส่วน โดยใช้การถาม-ตอบ และเขียนภาพประกอบการ บทที่ 2 | เศษส่วน

อธิบาย ทั้งนี้ครูควรยกตัวอย่างเพิ่มเติมอีก 2-3 ตัวอย่าง กิจกรรมทบทวนความหมายของเศษส่วน

แล้วร่วมกันทำ�กิจกรรม “แม่แบ่งเงินให้ลูก
1
6
ของเงินที่มีอยู่” หม�ยคว�มว่�อย่�งไร

ครูนำ�สถานการณ์ปัญหา หน้า 87 ให้นักเรียนร่วมกัน เงินของแม่แบ่งเป็น 6 ส่วนเท่� ๆ กัน แบ่งให้ลูก 1 ส่วน แม่เหลือเงิน 6 – 1 = 5 ส่วน

อภิปรายเกี่ยวกับวิธีการแก้ปัญหาและหาคำ�ตอบ จากนั้น แสดงด้วยภ�พดังนี้


เงินที่แม่มีอยู่

ครูใช้การอธิบายแสดงเหตุผลเกี่ยวกับวิธีตรวจสอบความถูกต้อง ให้ลูก

ของคำ�ตอบ เงินที่เหลือ

6 1
จ�กภ�พ แม่มีเงินอยู่ แบ่งให้ลูก ของเงินที่มีอยู่
ครูใช้การถาม-ตอบประกอบการอธิบายตัวอย่างหน้า 88 6
6 1
6
5
แม่เหลือเงิน – = ของเงินที่มีอยู่
6 6 6
จากนั้นร่วมกันทำ�กิจกรรมหน้า 89 แล้วให้ทำ�แบบฝึกหัด 2.9
เป็นรายบุคคล หาคำาตอบ

2
1 แม่ค้�ข�ยส้มโอได้ ของที่มีอยู่ ส้มโอที่เหลือคิดเป็นเศษส่วนเท่�ใดของส้มโอที่มีอยู่เดิม 1 ของส้มโอทีม
่ อี ยูเ่ ดิม
3 3
2 7
วันแรกพรอ่�นหนังสือได้ ของจำ�นวนหน้�ทั้งหมด จำ�นวนหน้�ที่พรยังไม่ได้อ่�น
10
3 ของจำ�นวนหน้�ทั้งหมด
คิดเป็นเศษส่วนเท่�ใดของจำ�นวนหน้�ทั้งหมด
10

3 โรงเรียนแห่งหนึ่งได้รับงบประม�ณจำ�นวนหนึ่ง เมื่อใช้ในก�รจัดโครงก�รต่�ง ๆ แล้ว


1
ยังเหลืออีก ของงบประม�ณที่ได้รับ โรงเรียนแห่งนี้ใช้งบประม�ณไปแล้วคิดเป็นเศษส่วนเท่�ใด
20
19 ของงบประม�ณที่ได้รับ
ของงบประม�ณที่ได้รับ
20
3
4 นักเรียนที่ยังไม่ได้ฉีดวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่คิดเป็น ของจำ�นวนนักเรียนทั้งหมด
8
นักเรียนที่ฉีดวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่แล้วคิดเป็นเศษส่วนเท่�ใดของจำ�นวนนักเรียนทั้งหมด
5 ของจำ�นวนนักเรียนทั้งหมด
8
86 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 2 | เศษส่วน บทที่ 2 | เศษส่วน

พิจ�รณ�สถ�นก�รณ์ตอ
่ ไปนี้
3
ชมรมกีฬ�มีสม�ชิกเป็นช�ย ของสม�ชิกทั้งหมด ที่เหลือเป็นหญิง 30 คน
5
4
ขวัญออมเงิน 28,000 บ�ท คิดเป็น ของเงินโบนัสทีไ่ ด้รบ
ั ขวัญได้รบ
ั เงินโบนัสเท่�ใด ชมรมนี้มีสม�ชิกทั้งหมดกี่คน
7

วิธีคิด สม�ชิกทั้งหมด
สิ่งที่โจทย์ถ�ม เงินโบนัสที่ขวัญได้รับ

4
สิ่งที่โจทย์บอก ขวัญออมเงิน 28,000 บ�ท คิดเป็น ของเงินโบนัสทีไ่ ด้รบ

7
ช�ย หญิง 30 คน

จ�กโจทย์ เขียนแสดงด้วยภ�พอย่�งไร ห�จำ�นวนสม�ชิกทั้งหมด โดยคิดจำ�นวนสม�ชิกที่เป็นหญิงในรูปเศษส่วน แล้วนำ�ไปเทียบกับ

30 คน
เงินโบนัส

5 3
วิธีทำา มีสม�ชิกทั้งหมด เป็นช�ย ของสม�ชิกทั้งหมด
5 5
ออม 28,000 บ�ท 5 3 2
ดังนั้น มีสม�ชิกเป็นหญิง – = ของสม�ชิกทั้งหมด ซึ่งเท่�กับ 30 คน
5 5 5
จ�กภ�พ จะห�เงินโบนัสของขวัญได้อย่�งไร และได้คำ�ตอบเท่�ใด แสดงว่� สม�ชิก 2 ส่วน คิดเป็น 30 คน
30
สม�ชิก 1 ส่วน คิดเป็น คน
4 2
ขวัญออมเงิน ของเงินโบนัสทีไ่ ด้รบ
ั ซึง่ เท่�กับ 28,000 บ�ท 30
7 สม�ชิก 5 ส่วน คิดเป็น 5× = 75 คน
2
องส้มโอทีม
่ อี ยูเ่ ดิม แสดงว่� เงิน 4 ส่วน คิดเป็น 28,000 บ�ท
ดังนั้น ชมรมนี้มีสม�ชิกทั้งหมด 75 คน
28000
เงิน 1 ส่วน คิดเป็น 28,000 ÷ 4 หรือ บ�ท
4 ตอบ 75 คน
28000
เงิน 7 ส่วน คิดเป็น 7 × = 49,000 บ�ท
4
ดังนัน
้ ขวัญได้รบ
ั เงินโบนัส 49,000 บ�ท ตรวจสอบคว�มถูกต้องของคำ�ตอบ
3
ชมรมมีสม�ชิก 75 คน เป็นช�ย ของสม�ชิกทั้งหมด
ตรวจสอบคว�มถูกต้องของคำ�ตอบ 5
3
แสดงว่� เป็นช�ย × 75 = 45 คน
4 5
เงินโบนัส 49,000 บ�ท ขวัญออมเงิน ของเงินโบนัส
7
4 ดังนั้น เป็นหญิง 75 − 45 = 30 คน พบว่�สอดคล้องกับโจทย์
ดังนั้น ขวัญออมเงิน × 49,000 = 28,000 บ�ท พบว่�สอดคล้องกับโจทย์
7
แสดงว่� 75 คน เป็นคำ�ตอบที่ถูกต้อง
แสดงว่� 49,000 บ�ท เป็นคำ�ตอบที่ถูกต้อง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 87 88 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

78 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 2 | เศษส่วน

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 2 | เศษส่วน
บทที่ 2 | เศษส่วน

แสดงวิธีหาคำาตอบ เฉลยหน้า 89

5
1 ในฟ�ร์มแห่งหนึ่งมีไก่ 1,200 ตัว คิดเป็น ของสัตว์ทั้งหมดในฟ�ร์ม 1 วิธีคิด
8
จำานวนสัตว์ทั้งหมด
ฟ�ร์มแห่งนี้มีสัตว์ทั้งหมดกี่ตัว
ไก่ 1,200 ตัว
7
2 ครูแจกดินสอให้นักเรียน ของจำ�นวนดินสอที่ซื้อม� แล้วยังเหลืออีก 35 แท่ง
12 คิดเป็น 5 ของจำานวนสัตว์ทั้งหมด
8
ครูซื้อดินสอทั้งหมดกี่แท่ง
หาจำานวนสัตว์ทั้งหมดจากความหมายของเศษส่วน โดยเทียบกับไก่ 1,200 ตัว แล้วจึงหาตัวส่วนทั้งหมด
3 บริษัทแสงทวีรับเหม�สร้�งถนน และสร้�งเสร็จไปแล้ว 21 กิโลเมตร
วิธีทำ� ในฟาร์มแห่งหนึ่งมีไก่ 1,200 ตัว คิดเป็น 5 ของจำานวนสัตว์ทั้งหมด
8
3
ซึ่งคิดเป็น ของคว�มย�วถนนที่ต้องสร้�ง บริษัทนี้ต้องสร้�งถนนอีกกี่กิโลเมตรจึงจะแล้วเสร็จ แสดงว่า สัตว์ในฟาร์ม 5 ส่วน คิดเป็น 1,200 ตัว
7
สัตว์ในฟาร์ม 1 ส่วน คิดเป็น 1200 ตัว
4 เก่งออกกำ�ลังก�ยเป็นเวล� 3 เดือน ทำ�ให้น้ำ�หนักตัวลดลง 12 กิโลกรัม
5
4 สัตว์ในฟาร์ม 8 ส่วน คิดเป็น 8 × 1200 = 1,920 ตัว
ซึ่งคิดเป็น ของน้ำ�หนักตัวก่อนออกกำ�ลังก�ย หลังจ�กที่เก่งออกกำ�ลังก�ยเป็นเวล� 3 เดือนแล้ว 5
25
ดังนั้น ฟาร์มแห่งนี้มีสัตว์ทั้งหมด 1,920 ตัว
เก่งหนักเท่�ใด
ตอบ 1,920 ตัว
4
5 แม่ค้�ซื้อส้ม 2 ชนิด เป็นส้มส�ยน้ำ�ผึ้ง ของส้มที่ซื้อม�ทั้งหมด และเป็นส้มโชกุน
9
45 กิโลกรัม แม่ค้�ซื้อส้มทั้งหมดกี่กิโลกรัม

8
6 ช่วงปิดภ�คเรียน ใบบัวต้องฝึกทำ�โจทย์คณิตศ�สตร์ โดยทำ�เสร็จไปแล้ว ของจำ�นวนข้อทั้งหมด
15
ยังเหลือที่ต้องทำ�อีก 56 ข้อ ใบบัวทำ�โจทย์คณิตศ�สตร์เสร็จแล้วกี่ข้อ

แบบฝึกหัด 2.9

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 89

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 2 | เศษส่วน บทที่ 2 | เศษส่วน

เฉลยหน้า 89 เฉลยหน้า 89

2 วิธีคิด 3
ดินสอที่ครูซื้อ ความยาวถนนที่สร้าง

แจก 7 ของดินสอที่ซื้อมา เหลือ 35 แท่ง สร้างไปแล้ว 21 กม.


12

คิดเป็น 3 ของความยาวถนนที่สร้าง ความยาวถนนที่ต้องสร้างต่อ


7
หาจำานวนดินสอที่ซื้อมาทั้งหมดจากความหมายของเศษส่วน โดยเทียบกับดินสอ 35 แท่ง
ตัวส่วนทั้งหมด แล้วจึงหาตัวส่วนทั้งหมด วิธีคิด 1 หาความยาวของถนนที่ต้องสร้างต่อจากความหมายของเศษส่วน โดยเทียบกับระยะทาง 21 กม.

วิธีทำ� 1 ครูแจกดินสอให้นักเรียน 7 ของดินสอที่ซื้อมา วิธีทำ� 1 บริษัทสร้างถนนไปแล้ว 3 ของความยาวถนนที่ต้องสร้าง


12 7
หมายความว่า ถ้าครูซื้อดินสอมา 12 ส่วน แจกไป 7 ส่วน เหลือดินสอ 12 − 7 = 5 ส่วน หมายความว่า ถ้าความยาวของถนนที่ต้องสร้างมี 7 ส่วน สร้างไปแล้ว 3 ส่วน

แสดงว่า ดินสอ 5 ส่วน คิดเป็น 35 แท่ง เหลือที่ต้องสร้างอีก 7 − 3 = 4 ส่วน

ดินสอ 1 ส่วน คิดเป็น 35 แท่ง แสดงว่า ความยาวของถนน 3 ส่วน คิดเป็น 21 กิโลเมตร


5
ดินสอ 12 ส่วน คิดเป็น 12 × 35 = 84 แท่ง ความยาวของถนน 1 ส่วน คิดเป็น 21 กิโลเมตร
5 3
ดังนั้น ครูซื้อดินสอทั้งหมด 84 แท่ง ความยาวของถนน 4 ส่วน คิดเป็น 4 × 21 = 28 กิโลเมตร
3
ตอบ 84 แท่ง
ดังนั้น บริษัทนี้ต้องสร้างถนนต่ออีก 28 กิโลเมตร จึงจะแล้วเสร็จ

วิธีทำ� 2 ครูซื้อดินสอมา 12 แจกให้นักเรียน 7 ของดินสอที่ซื้อมา ตอบ 28 กิโลเมตร


12 12
ดังนั้นเหลือดินสอ 12 − 7 = 5 ของดินสอที่ซื้อมา ซึ่งเท่ากับ 35 แท่ง
12 12 12 วิธีคิด 2 หาความยาวของถนนที่สร้างไปแล้วในรูปเศษส่วน แล้วใช้ความหมายของเศษส่วน
แสดงว่า ดินสอ 5 ส่วน คิดเป็น 35 แท่ง เทียบกับระยะทาง 21 กม. เพื่อหาความยาวของถนนที่ต้องสร้างจากตัวส่วนทั้งหมด
ดินสอ 1 ส่วน คิดเป็น 35 แท่ง จากนั้น จึงลบออกด้วยความยาวของถนนที่สร้างไปแล้ว
5
ดินสอ 12 ส่วน คิดเป็น 12 × 35 = 84 แท่ง วิธีทำ� 2 บริษัทสร้างถนนไปแล้ว 3 ของความยาวถนน ซึ่งเท่ากับ 21 กิโลเมตร
5 7
ดังนั้น ครูซื้อดินสอทั้งหมด 84 แท่ง จะได้ว่า ความยาวของถนน 3 ส่วน คิดเป็น 21 กิโลเมตร

ตอบ 84 แท่ง ความยาวของถนน 1 ส่วน คิดเป็น 21 กิโลเมตร


3
ความยาวของถนน 7 ส่วน คิดเป็น 7 × 21 = 49 กิโลเมตร
3
แสดงว่า บริษัทสร้างถนนยาว 49 กิโลเมตร

ดังนั้น บริษัทนี้ต้องสร้างถนนต่ออีก 49 − 21 = 28 กิโลเมตร จึงจะแล้วเสร็จ

ตอบ 28 กิโลเมตร

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 79
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 2 | เศษส่วน

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 2 | เศษส่วน บทที่ 2 | เศษส่วน

เฉลยหน้า 89 เฉลยหน้า 89

4 น้ำาหนักตัวก่อนออกกำาลังกาย 12 กก. 5 วิธีคิด


ส้มที่แม่ค้าซื้อ
คิดเป็น 4 ของน้ำาหนักตัวก่อนออกกำาลังกาย
น้ำาหนักตัวหลังออกกำาลังกาย 25
ส้มสายน้ำาผึ้ง
4 ของส้มที่ซื้อมา ส้มโชกุน 45 กก.
9
วิธีคิด 1 หาน้ำาหนักตัวที่ลดลงในรูปเศษส่วน แล้วใช้ความหมายของเศษส่วนเทียบกับน้ำาหนัก 12 กก.
เพื่อหาน้ำาหนักตัวก่อนออกกำาลังกายจากตัวส่วนทั้งหมด จากนั้น จึงลบออกด้วยน้ำาหนักที่ลดลง
ะยะทาง 21 กม.
หาจำานวนส้มทั้งหมดจากความหมายของเศษส่วน โดยเทียบกับส้ม 45 กก. แล้วจึงหาตัวส่วนทั้งหมด
วิธีทำ� 1 น้ำาหนักตัวลดลง 4 ของน้ำาหนักตัวก่อนออกกำาลังกาย หมายความว่า ถ้าก่อนออกกำาลังกาย
25
มีน้ำาหนักตัว 25 ส่วน หลังออกกำาลังกายน้ำาหนักตัวลดลง 4 ส่วน ซึ่งเท่ากับ 12 กิโลกรัม วิธีทำ� 1 แม่ค้าซื้อส้มสายน้ำาผึ้ง 4 ของส้มที่ซื้อมาทั้งหมด
9
จะได้ว่า น้ำาหนักตัว 4 ส่วน คิดเป็นน้ำาหนัก 12 กิโลกรัม
หมายความว่า ถ้าแม่ค้าซื้อส้ม 9 ส่วน เป็นส้มสายน้ำาผึ้ง 4 ส่วน
น้ำาหนักตัว 1 ส่วน คิดเป็นน้ำาหนัก 12 กิโลกรัม
ที่เหลือเป็นส้มโชกุน 9 − 4 = 5 ส่วน
4
น้ำาหนักตัว 25 ส่วน คิดเป็นน้ำาหนัก 25 × 12 = 75 กิโลกรัม แสดงว่า ส้ม 5 ส่วน คิดเป็น 45 กิโลกรัม
4
แสดงว่า ก่อนออกกำาลังกายเก่งมีน้ำาหนักตัว 75 กิโลกรัม ส้ม 1 ส่วน คิดเป็น 45 กิโลกรัม
5
ดังนั้น หลังจากที่ออกกำาลังกาย 3 เดือน เก่งมีน้ำาหนักตัว 75 − 12 = 63 กิโลกรัม 45
ส้ม 9 ส่วน คิดเป็น 9 × = 81 กิโลกรัม
5
ตอบ 63 กิโลกรัม
ดังนั้น แม่ค้าซื้อส้มทั้งหมด 81 กิโลกรัม
ตอบ 81 กิโลกรัม
วน วิธีคิด 2 หาน้ำาหนักตัวหลังออกกำาลังกายจากความหมายของเศษส่วนที่แสดงถึงน้ำาหนักที่ลดลง
โดยเทียบกับน้ำาหนักที่ลดลง 12 กก.
วิธีทำ� 2 แม่ค้าซื้อส้มทั้งหมด 9 เป็นส้มสายน้ำาผึ้ง 4 ของส้มที่ซื้อมาทั้งหมด
วิธีทำ� 2 หลังจากที่ออกกำาลังกาย 3 เดือน น้ำาหนักตัวลดลง 4 ของน้ำาหนักตัวก่อนออกกำาลังกาย 9 9
25
9 4 5
หมายความว่า ถ้ามีน้ำาหนักตัวก่อนออกกำาลังกาย 25 ส่วน หลังจากออกกำาลังกาย ดังนั้นเป็นส้มโชกุน − = ของส้มที่ซื้อมาทั้งหมด ซึ่งเท่ากับ 45 กิโลกรัม
9 9 9
น้ำาหนักตัวลดลง 4 ส่วน แสดงว่า น้ำาหนักตัวหลังออกกำาลังกาย 25 − 4 = 21 ส่วน แสดงว่า ส้ม 5 ส่วน คิดเป็น 45 กิโลกรัม

แสดงว่า น้ำาหนักตัว 4 ส่วน คิดเป็นน้ำาหนัก 12 กิโลกรัม ส้ม 1 ส่วน คิดเป็น 45 กิโลกรัม


5
น้ำาหนักตัว 1 ส่วน คิดเป็นน้ำาหนัก 12 กิโลกรัม 45
4 ส้ม 9 ส่วน คิดเป็น 9 × = 81 กิโลกรัม
5
น้ำาหนักตัว 21 ส่วน คิดเป็นน้ำาหนัก 21 × 12 = 63 กิโลกรัม ดังนั้น แม่ค้าซื้อส้มทั้งหมด 81 กิโลกรัม
4
ดังนั้น หลังจากที่ออกกำาลังกาย 3 เดือน เก่งมีน้ำาหนักตัว 63 กิโลกรัม ตอบ 81 กิโลกรัม

ตอบ 63 กิโลกรัม

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 2 | เศษส่วน

เฉลยหน้า 89

6
จำานวนโจทย์ทั้งหมด

ทำาเสร็จ 8 ของจำานวนข้อทั้งหมด เหลือ 56 ข้อ


15

วิธีคิด 1 หาจำานวนข้อที่ทำาเสร็จแล้วจากความหมายของเศษส่วนที่แสดงถึงจำานวนข้อที่ทำาไปแล้ว
โดยเทียบกับจำานวนข้อที่ต้องทำาอีก 56 ข้อ
วิธีทำ� 1 ทำาโจทย์คณิตศาสตร์เสร็จไปแล้ว 8 ของจำานวนข้อทั้งหมด
15
หมายความว่า ถ้าจำานวนข้อของโจทย์คณิตศาสตร์มี 15 ส่วน ทำาไปแล้ว 8 ส่วน
เหลือที่ต้องทำาอีก 15 − 8 = 7 ส่วน
จะได้ว่า จำานวนข้อของโจทย์ 7 ส่วน คิดเป็น 56 ข้อ
จำานวนข้อของโจทย์ 1 ส่วน คิดเป็น 56 ข้อ
7
จำานวนข้อของโจทย์ 8 ส่วน คิดเป็น 8 × 56 = 64 ข้อ
7
ดังนั้น ใบบัวทำาโจทย์คณิตศาสตร์เสร็จไปแล้ว 64 ข้อ
ตอบ 64 ข้อ

วิธีคิด 2 หาจำานวนข้อที่ต้องทำาอีกในรูปเศษส่วน แล้วใช้ความหมายของเศษส่วนเทียบกับ


จำานวนข้อที่ต้องทำาอีก 56 ข้อ เพื่อหาจำานวนข้อทั้งหมด จากนั้นจึงลบออกด้วยจำานวนข้อ

ที่ต้องทำาอีก จะได้จำานวนข้อที่ทำาไปแล้ว
กรัม
วิธีทำ� 2 จำานวนข้อของโจทย์คณิตศาสตร์ทั้งหมด 15 ทำาเสร็จไปแล้ว 8 ของจำานวนข้อทั้งหมด
15 15
ดังนั้นเหลือโจทย์ที่ต้องทำาอีก 15 − 8 = 7 ของจำานวนข้อทั้งหมด ซึ่งเท่ากับ 56 ข้อ
15 15 15
จะได้ว่า จำานวนข้อของโจทย์ 7 ส่วน คิดเป็น 56 ข้อ
จำานวนข้อของโจทย์ 1 ส่วน คิดเป็น 56 ข้อ
7
จำานวนข้อของโจทย์ 15 ส่วน คิดเป็น 15 × 56 = 120 ข้อ
7
แสดงว่า มีโจทย์คณิตศาสตร์ทั้งหมด 120 ข้อ

ดังนั้น ใบบัวทำาโจทย์คณิตศาสตร์เสร็จไปแล้ว 120 − 56 = 64 ข้อ


ตอบ 64 ข้อ

80 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 2 | เศษส่วน

4. ให้นักเรียนร่วมกันพิจารณาสถานการณ์ปัญหาหน้า 90
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6

โดยใช้การถาม-ตอบ พร้อมเขียนภาพแสดงการวิเคราะห์ บทที่ 2 | เศษส่วน

ลำ�ดับขัน
้ การหาคำ�ตอบ เพือ
่ ฝึกให้นก
ั เรียนคิดอย่างเป็นระบบ พิจ�รณ�สถ�นก�รณ์ตอ
่ ไปนี้

3
และให้เห็นขั้นตอนการแก้ปัญหาอย่างชัดเจน เช่น
ลุงนัดปลูกทุเรียน เง�ะ และมังคุด เป็นทุเรียน ของจำ�นวนไม้ผลทีป ่ ลูก
8
1
เป็นเง�ะ ของจำ�นวนไม้ผลทีป
่ ลูก ทีเ่ หลือเป็นมังคุด 42 ต้น ลุงนัดปลูกไม้ผลทัง้ หมดกีต
่ น

3

สิ่งที่โจทย์ถ�ม จำ�นวนไม้ผลที่ลุงนัดปลูกทั้งหมด

3
สิ่งที่โจทย์บอก ปลูกทุเรียน ของจำ�นวนไม้ผลทีป
่ ลูก
8
1
ปลูกเง�ะ ของจำ�นวนไม้ผลทีป่ ลูก และปลูกมังคุด 42 ต้น
3

จ�กโจทย์ เขียนแสดงด้วยภ�พได้อย่�งไร

จำ�นวนไม้ผลที่ปลูก

เง�ะ มังคุด
ทุเรียน
42 ต้น

3 1
ของจำ�นวนไม้ผลที่ปลูก ของจำ�นวนไม้ผลที่ปลูก
8 3

จะห�จำ�นวนไม้ผลที่ปลูกทั้งหมดได้อย่�งไร

ห�จำ�นวนต้นมังคุดในรูปเศษส่วน
โดยเทียบกับจำ�นวนไม้ผลที่ปลูกทั้งหมด

ห�จำ�นวนต้นมังคุดในรูปเศษส่วนได้อย่�งไร

นำ�จำ�นวนต้นทุเรียนและต้นเง�ะในรูปเศษส่วนรวมกัน
แล้วนำ�ไปลบออกจ�กเศษส่วนของจำ�นวนไม้ผลที่ปลูกทั้งหมด

90 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

จำ�นวนไม้ผลทั้งหมด

จำ�นวนต้นมังคุดในรูปเศษส่วน
ขั้นที่ 3
(เท่ากับ 42 ต้น)

จำ�นวนไม้ผลทั้งหมด จำ�นวนต้นทุเรียนและต้นเงาะ
– ขั้นที่ 2
ในรูปเศษส่วน ในรูปเศษส่วน

จำ�นวนต้นทุเรียน จำ�นวนต้นเงาะ
+ ขั้นที่ 1
3 1
( ) ( )
8 3

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 81
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 2 | เศษส่วน

ครูใช้การถาม-ตอบประกอบการอธิบาย หน้า 91
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6

โดยให้นักเรียนช่วยกันหาผลลัพธ์ในแต่ละขั้น ครูอธิบาย บทที่ 2 | เศษส่วน

เหตุผลเกี่ยวกับวิธีตรวจสอบความถูกต้องของคำ�ตอบ แสดงวิธีห�จำ�นวนต้นมังคุดในรูปเศษส่วนได้อย่�งไร

จากนั้น ครูใช้การถาม-ตอบประกอบการอธิบายตัวอย่าง 3 1 9 8
ปลูกทุเรียนและเง�ะ + = + ของจำ�นวนไม้ผลที่ปลูกทั้งหมด
หน้า 92 ทั้งนี้ ครูควรเขียนภาพแสดงการวิเคราะห์ล�ำ ดับขัน

8 3 24 24
17
= ของจำ�นวนไม้ผลที่ปลูกทั้งหมด
24
การหาคำ�ตอบ แล้วร่วมกันทำ�กิจกรรม หน้า 93 แสดงว่� ปลูกไม้ผลทั้งหมด
24
24
และให้ท�ำ แบบฝึกหัด 2.10 เป็นรายบุคคล เป็นมังคุด
24 17

24 24
=
7
24
ของจำ�นวนไม้ผลที่ปลูกทั้งหมด

ลุงนัดปลูกไม้ผลทั้งหมดกี่ต้น

7
เนื่องจ�ก ปลูกมังคุด ของจำ�นวนไม้ผลที่ปลูกทั้งหมด ซึ่งเท่�กับ 42 ต้น
24
แสดงว่� จำ�นวนไม้ผลที่ปลูก 7 ส่วน คิดเป็น 42 ต้น
42
จำ�นวนไม้ผลที่ปลูก 1 ส่วน คิดเป็น ต้น
7
42
จำ�นวนไม้ผลที่ปลูก 24 ส่วน คิดเป็น 24 × = 144 ต้น
7
ดังนั้น ลุงนัดปลูกไม้ผลทั้งหมด 144 ต้น

ตรวจสอบได้อย่�งไรว่� 144 ต้น เป็นคำ�ตอบที่ถูกต้อง

3
ถ้�ลุงนัดปลูกไม้ผล 144 ต้น จะเป็นทุเรียน × 144 = 54 ต้น
8
1
เป็นเง�ะ × 144 = 48 ต้น
3
ที่เหลือเป็นมังคุด 144 – (54 + 48) = 42 ต้น พบว่�สอดคล้องกับโจทย์

แสดงว่� 144 ต้น เป็นคำ�ตอบที่ถูกต้อง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 91

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 2 | เศษส่วน บทที่ 2 | เศษส่วน

แสดงวิธีหาคำาตอบ
1 3
ในแต่ละเดือน วิมลให้เงินแม่ ของเงินเดือน ฝ�กธน�ค�ร ของเงินเดือน
6 10 3
1 ช�วสวนเก็บทุเรียนพันธุ์หมอนทองได้ ของจำ�นวนทุเรียนที่เก็บได้ทั้งหมด
เหลือเป็นค่�ใช้จ่�ยส่วนตัว 11,200 บ�ท วิมลได้รับเงินเดือนเดือนละเท่�ใด 4
1
และพันธุ์ก้�นย�วเก็บได้ ของจำ�นวนทุเรียนที่เก็บได้ทั้งหมด ที่เหลือเป็นพันธุ์ชะนีไข่ 30 ผล
วิธีคิด เงินเดือนของวิมล 5
ช�วสวนเก็บทุเรียนได้ทั้งหมดกี่ผล
ค่�ใช้จ่�ยส่วนตัว 11,200 บ�ท
7
2 ป้�ติ๋มข�ยข้�วมันไก่ ก๋วยเตี๋ยว และน้ำ�ดื่ม โดยวันนี้ข�ยข้�วมันไก่ได้ ของเงินที่ข�ยได้ทั้งหมด
ให้แม่
1
ของเงินเดือน ฝ�ก
3
ของเงินเดือน 15
6 10 5
ข�ยก๋วยเตี๋ยวได้ ของเงินที่ข�ยได้ทั้งหมด และข�ยน้ำ�ดื่มได้อีก 490 บ�ท
1 12
วิธีทำา วิมลให้เงินแม่ ของเงินเดือน
6 วันนี้ป้�ติ๋มข�ยของได้เงินทั้งหมดกี่บ�ท
3
ฝ�กธน�ค�ร ของเงินเดือน
10 2
1 3 5 9 3 ลุงจรัญเลี้ยงเป็ด ไก่ และห่�น โดยเลี้ยงห่�น ของจำ�นวนสัตว์ที่เลี้ยงทั้งหมด
ดังนั้น เงินที่ให้แม่กับฝ�กธน�ค�ร คิดเป็น + = + ของเงินเดือน 9
6 10 30 30 1
14 เลี้ยงเป็ด ของจำ�นวนสัตว์ที่เลี้ยงทั้งหมด และเลี้ยงไก่ 550 ตัว ลุงจรัญเลี้ยงสัตว์ทั้งหมดกี่ตัว
= ของเงินเดือน 6
30
30
แสดงว่� วิมลได้รับเงินเดือน เดือนละ 4 จ�กก�รสอบถ�มนักเรียนของโรงเรียนแห่งหนึ่งเกี่ยวกับก�รเดินท�งม�โรงเรียน
30
30 14 16 3
เหลือเป็นค่�ใช้จ่�ยส่วนตัว − = ของเงินเดือน พบว่�เดินท�งโดยรถประจำ�ท�ง ของจำ�นวนนักเรียนทั้งหมด
30 30 30 10
ซึ่งเท่�กับ 11,200 บ�ท 1
รถส่วนตัว ของจำ�นวนนักเรียนทั้งหมด ส่วนนักเรียนที่เหลือทั้งหมด 230 คน เดินม�โรงเรียน
8
แสดงว่� เงิน 16 ส่วน คิดเป็น 11,200 บ�ท
โรงเรียนนี้มีนักเรียนทั้งหมดกี่คน
11200
เงิน 1 ส่วน คิดเป็น บ�ท
16
11200
เงิน 30 ส่วน คิดเป็น 30 × = 21,000 บ�ท
16
ดังนั้น วิมลได้รับเงินเดือน เดือนละ 21,000 บ�ท

ตอบ 21,000 บ�ท

ตรวจสอบคว�มถูกต้องของคำ�ตอบ
1
ถ้�วิมลได้รับเงินเดือน เดือนละ 21,000 บ�ท ให้แม่ × 21,000 = 3,500 บ�ท
6
3
ฝ�กธน�ค�ร × 21,000 = 6,300 บ�ท
10
ดังนั้น เหลือเป็นค่�ใช้จ่�ยส่วนตัว 21,000 – (3,500 + 6,300) = 11,200 บ�ท

พบว่�สอดคล้องกับโจทย์ แสดงว่� 21,000 บ�ท เป็นคำ�ตอบที่ถูกต้อง แบบฝึกหัด 2.10

92 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 93

82 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 2 | เศษส่วน

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 2 | เศษส่วน บทที่ 2 | เศษส่วน

เฉลยหน้า 93 เฉลยหน้า 93

1 วิธีคิด ทุเรียนทั้งหมด 2 วิธีคิด เงินที่ขายของได้ทั้งหมด

3 ของทุเรียนทั้งหมด 1 ของทุเรียนทั้งหมด 30 ผล 7 ของเงินที่ขายได้ทั้งหมด 5 ของเงินที่ขายได้ทั้งหมด 490 บาท


4 5 15 12

พันธุ์หมอนทอง พันธุ์ก้านยาว พันธุ์ชะนีไข่ ข้าวมันไก่ ก๋วยเตี๋ยว น้ำาดื่ม

รวมเงินที่ขายข้าวมันไก่และก๋วยเตี๋ยวในรูปเศษส่วน แล้วหาเงินที่ขายน้ำาดื่มในรูปเศษส่วน
รวมจำานวนทุเรียนพันธ์ุหมอนทองและพันธ์ุก้านยาวในรูปเศษส่วน แล้วหาจำานวนทุเรียนพันธ์ุชะนีไข่
จากนั้นใช้ความหมายของเศษส่วนเพื่อหาเงินทั้งหมด โดยเทียบกับ 490 บาท
ในรูปเศษส่วน จากนั้น ใช้ความหมายของเศษส่วนเพื่อหาจำานวนทุเรียนทั้งหมด โดยเทียบกับทุเรียน 30 ผล
วิธีทำ� 1 ป้าติ๋มขายข้าวมันไก่ได้ 7 ของเงินที่ขายได้ทั้งหมด
3 ของทุเรีของทุ 15
ชาวสวนเก็
วิธีทำ� 1 ชาวสวนเก็ บทุเรียบ ทุเนรีธ์ยุหนพั
นพั นธ์ุหมอนทองได้
มอนทองได้ ยนทีเ่ รีก็ยบนที
ได้ท่เก็ั้งบ ได้ทั้งหมด
หมด 5 ของเงินที่ขายได้ทั้งหมด
4 ขายก๋วยเตี๋ยวได้
12
และเก็บพันธ์ุก้านยาวได้ 1 ของทุเรียนที่เก็บได้ทั้งหมด
5 ป้าติ๋มขายข้าวมันไก่และก๋วยเตี๋ยวได้ 7 5 53 ของเงินที่ขายได้ทั้งหมด
3 1 19 ของทุเรียนที่เก็บได้ทั้งหมด + =
ชาวสวนเก็บทุเรียนพันธ์ุหมอนทองและพันธ์ุก้านยาวได้ + = 15 12 60
4 5 20
20 แสดงว่า ป้าติ๋มขายของได้เงินทั้งหมด 60
แสดงว่าเก็บทุเรียนได้ทั้งหมด 60
20
โดยขายน้ำาดื่มได้ 60 − 53 = 7 ของเงินที่ขายได้ทั้งหมด ซึ่งเท่ากับ 490 บาท
เหลือเป็นทุเรียนพันธุ์ชะนีไข่ 20 − 19 = 1 ของทุเรียนที่เก็บได้ทั้งหมด ซึ่งเท่ากับ 30 ผล 60 60 60
20 20 20
แสดงว่า เงิน 7 ส่วน คิดเป็น 490 บาท
แสดงว่า ทุเรียน 1 ส่วน คิดเป็น 30 ผล 490 บาท
เงิน 1 ส่วน คิดเป็น
ทุเรียน 20 ส่วน คิดเป็น 20 × 30 = 600 ผล 7
เงิน 60 ส่วน คิดเป็น 60 × 490 = 4,200 บาท
ดังนั้น ชาวสวนเก็บทุเรียนได้ทั้งหมด 600 ผล 7
ตอบ 600 ผล
600 ผล ดังนั้น วันนี้ป้าติ๋มขายของได้เงินทั้งหมด 4,200 บาท
ตอบ 4,200 บาท
วิธีทำ� 2 ชาวสวนเก็
ชาวสวนเก็
บทุเรียบ ทุเนรีธ์ยุหนพั
นพั 3 ของทุเรีของทุ
นธ์ุหมอนทองได้
มอนทองได้ ยนทีเ่ รีก็ยบนที
ได้ท่เก็ั้งบ ได้ทั้งหมด
หมด
4
1 วิธีทำ� 2 ป้าติ๋มขายข้าวมันไก่ได้ 7 ของเงินที่ขายได้ทั้งหมด
และเก็บพันธ์ุก้านยาวได้ ของทุเรียนที่เก็บได้ทั้งหมด 15
5 5 ของเงินที่ขายได้ทั้งหมด
3 1 19 ของทุเรียนที่เก็บได้ทั้งหมด ขายก๋วยเตี๋ยวได้
ชาวสวนเก็บทุเรียนพันธ์ุหมอนทองและพันธ์ุก้านยาวได้ + = 12
4 5 20
ป้าติ๋มขายข้าวมันไก่และก๋วยเตี๋ยวได้ 7 5 53 ของเงินที่ขายได้ทั้งหมด
หมายความว่า ถ้าชาวสวนเก็บทุเรียนได้ 20 ส่วน เป็นพันธ์ุหมอนทองและพันธ์ุก้านยาว 19 ส่วน + =
15 12 60
ที่เหลือทีเป็่เหลื
นพัอนเป็
ธ์ุชนะนี
พันไธ์ขุ่ชะนี
20ไข่− 19
20 −= 19
1 ส่=
วน1ซึส่่งวเท่
นากัซึบ่งเท่
30 ากัผล
บ 30 ผล หมายความว่า ถ้าขายของได้เงิน 60 ส่วน เป็นเงินที่ขายข้าวมันไก่และก๋วยเตี๋ยว 53 ส่วน
แสดงว่า ทุเรียน 1 ส่วน คิดเป็น 30 ผล ที่เหลือเป็นเงินขายน้ำาดื่มได้ 60 − 53 = 7 ส่วน ซึ่งเท่ากับ 490 บาท
ทุเรียน 20 ส่วน คิดเป็น 20 × 30 = 600 ผล แสดงว่า เงิน 7 ส่วน คิดเป็น 490 บาท
ดังนั้น ชาวสวนเก็บทุเรียนได้ทั้งหมด 600 ผล เงิน 1 ส่วน คิดเป็น 490 บาท
7
ตอบ 600 ผล
600 ผล เงิน 60 ส่วน คิดเป็น 60 × 490 = 4,200 บาท
7
ดังนั้น วันนี้ป้าติ๋มขายของได้เงินทั้งหมด 4,200 บาท
ตอบ 4,200 บาท

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 2 | เศษส่วน บทที่ 2 | เศษส่วน

เฉลยหน้า 93 เฉลยหน้า 93

3 วิธีคิด 4 วิธีคิด นักเรียนทั้งหมด


สัตว์ที่เลี้ยงทั้งหมด
3 ของนักเรียนทั้งหมด 1 ของนักเรียนทั้งหมด 230 คน
10 8
ห่าน 2 ของสัตว์ที่เลี้ยงทั้งหมด เป็ด 1 ของสัตว์ที่เลี้ยงทั้งหมด ไก่ 550 ตัว
9 6
รถประจำาทาง รถส่วนตัว เดิน
รวมจำาานวนห่
รวมจำานวนห่ านและเป็
นและเป็ ดในรูปด ในรูป
เศษส่ วนเศษส่
แล้ววนหาจำ
แล้านวนไก่
วหาจำานวนไก่ ในรูป
ในรูปเศษส่ วนเศษส่ วน ้นจากนั
จากนั ้น ใช้ความหมาย
ใช้ความหมาย
ของเศษส่วนเพื่อหาจำานวนสัตว์ที่เลี้ยงทั้งหมด โดยเทียบกับ 550 ตัว รวมจำานวนนักเรียนที่เดินทางโดยรถประจำาทางและรถส่วนตัว แล้วหาจำานวนนักเรียนที่เดินในรูปเศษส่วน

2 ของสัตว์ที่เลี้ยงทั้งหมด จากนั้น ใช้ความหมายของเศษส่วนเพื่อหาจำานวนนักเรียนทั้งหมด โดยเทียบกับ 230 คน


วิธีทำ� 1 ลุงจรัญเลี้ยงห่าน
9
เลี้ยงเป็ด 1 ของสัตว์ที่เลี้ยงทั้งหมด วิธีทำ� 1 นักเรียนเดินทางโดยรถประจำาทาง 3 ของจำานวนนักเรียนทั้งหมด
10
6
2 1 7 เดินทางโดยรถส่วนตัว 1 ของจำานวนนักเรียนทั้งหมด
ลุงจรัญเลี้ยงห่านและเป็ด + = ของสัตว์ที่เลี้ยงทั้งหมด 8
9 6 18
มีนักเรียนที่เดินทางโดยรถประจำาทางและรถส่วนตัว 3 + 1 = 17 ของจำานวนนักเรียนทั้งหมด
แสดงว่า ลุงจรัญเลี้ยงสัตว์ทั้งหมด 18 10 8 40
18 แสดงว่า โรงเรียนแห่งนี้มีนักเรียนทั้งหมด 40
40
งไก่ 18
โดยเลี้ยโดยเลี ้ยงไก่− 7 = 11 ของสัตของสั
ว์ที่เลี้ยตงทั
ว์ท้งี่เหมด
ลี้ยงทั้งซึหมด
่งเท่ากัซึบ่งเท่
550ากับตัว550 ตัว
18 18 18 โดยเดินมาโรงเรียน 40 − 17 = 23 ของจำานวนนักเรียนทั้งหมด ซึ่งเท่ากับ 230 คน
40 40 40
แสดงว่า สัตว์ที่เลี้ยง 11 ส่วน คิดเป็น 550 ตัว
550 ตัว แสดงว่า นักเรียน 23 ส่วน คิดเป็น 230 คน
สัตว์ที่เลี้ยง 1 ส่วน คิดเป็น
11 นักเรียน 1 ส่วน คิดเป็น 230 คน
สัตว์ที่เลี้ยง 18 ส่วน คิดเป็น 18 × 550 = 900 ตัว 23
11 นักเรียน 40 ส่วน คิดเป็น 40 × 230 = 400 คน
ดังนั้น ลุงจรัญเลี้ยงสัตว์ทั้งหมด 900 ตัว 23
ดังนั้น โรงเรียนแห่งนี้มีนักเรียนทั้งหมด 400 คน
ตอบ 900 ตัว900 ตัว
ตอบ 400 คน
วิธีทำ� 2 ลุงจรัญเลี้ยงห่าน 2 ของสัตว์ที่เลี้ยงทั้งหมด
9 3
วิธีทำ� 2 นักเรียนเดินทางโดยรถประจำาทาง ของจำานวนนักเรียนทั้งหมด
เลี้ยงเป็ด 1 ของสัตว์ที่เลี้ยงทั้งหมด 10
6 เดินทางโดยรถส่วนตัว 1 ของจำานวนนักเรียนทั้งหมด
2 1 7 ของสัตว์ที่เลี้ยงทั้งหมด 8
ลุงจรัญเลี้ยงห่านและเป็ด + =
9 6 18 มีนักเรียนที่เดินทางโดยรถประจำาทางและรถส่วนตัว 3 + 1 = 17 ของจำานวนนักเรียนทั้งหมด
10 8 40
หมายความว่า ถ้ามีสัตว์ที่เลี้ยง 18 ส่วน เลี้ยงห่านและเป็ด 7 ส่วน หมายความว่า ถ้านักเรียนทั้งหมด 40 ส่วน เดินทางโดยรถประจำาทางและรถส่วนตัว 17 ส่วน
ที่เหลือที
เลี่เ้ยหลื อเลี18
งไก่ ้ยงไก่
− 718=−11
7 ส่=วน11ซึส่่งวเท่นากัซึบ่งเท่
550ากับตัว550 ตัว ที่เหลือ เดินมาโรงเรียน 40 − 17 = 23 ส่วน ซึ่งเท่ากับ 230 คน
แสดงว่า สัตว์ที่เลี้ยง 11 ส่วน คิดเป็น 550 ตัว
แสดงว่า นักเรียน 23 ส่วน คิดเป็น 230 คน
สัตว์ที่เลี้ยง 1 ส่วน คิดเป็น 550 ตัว 230 คน
11 นักเรียน 1 ส่วน คิดเป็น
23
สัตว์ที่เลี้ยง 18 ส่วน คิดเป็น 18 × 550 = 900 ตัว
11 นักเรียน 40 ส่วน คิดเป็น 40 × 230 = 400 คน
23
ดังนั้น ลุงจรัญเลี้ยงสัตว์ทั้งหมด 900 ตัว ดังนั้น โรงเรียนแห่งนี้มีนักเรียนทั้งหมด 400 คน
ตอบ 900 ตัว900 ตัว
ตอบ 400 คน

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 83
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 2 | เศษส่วน

5. เพื่อตรวจสอบความเข้าใจและสรุปความรู้ที่ได้ ให้นักเรียน
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6

ทำ�กิจกรรมหน้า 94 เป็นรายบุคคล บทที่ 2 | เศษส่วน

ตรวจสอบความเข้าใจ

แสดงวิธีหาคำาตอบ

1 สหกรณ์โรงเรียนข�ยสมุด เครื่องเขียน และขนม ได้เงินทั้งหมด 6,400 บ�ท


3 5
โดยข�ยสมุดได้ ของเงินที่ข�ยได้ทั้งหมด และข�ยเครื่องเขียนได้ ของเงินที่ข�ยได้ทั้งหมด
8 16
สหกรณ์โรงเรียนแห่งนี้ข�ยขนมได้เงินกี่บ�ท

2
2 ชมรมกีฬ�ของโรงเรียนแห่งหนึ่ง มีสม�ชิกสมัครเรียนฟุตบอล ของจำ�นวนสม�ชิกในชมรม
7
1
และสมัครเรียนว่�ยน้ำ� ของจำ�นวนสม�ชิกในชมรม ส่วนที่เหลือสมัครเรียนวอลเลย์บอล
3
96 คน ถ้�สม�ชิกแต่ละคนสมัครเรียนกีฬ�ได้เพียงชนิดเดียวเท่�นั้น ชมรมกีฬ�นี้มีสม�ชิก

ทั้งหมดกี่คน

สิ่งที่ได้เรียนรู้

โจทย์ปัญหานี้มีลำาดับขั้นการหาคำาตอบอย่างไร และมีคำาตอบเท่าใด

5 3
“แก้วต�ใช้เงินไป ของเงินที่มีอยู่ ซึ่งคิดเป็น 210 บ�ท ส่วนขวัญใช้เงินไป ของเงินที่มีอยู่
7 5
ทำ�ให้ขวัญเหลือเงิน 180 บ�ท เดิมแก้วต�และขวัญมีเงินคนละเท่�ใด”

94 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 2 | เศษส่วน บทที่ 2 | เศษส่วน

เฉลยหน้า 94 เฉลยหน้า 94

ตรวจสอบคว�มเข้�ใจ 2 วิธีคิด สมาชิกทั้งหมด


1 ตัวอย่าง
ฟุตบอล ว่ายน้ำา
วิธีคิด 2 1 วอลเลย์บอล 96 คน
เงินที่ขายของได้ 6,400 บาท ของสมาชิกทั้งหมด ของสมาชิกทั้งหมด
7 3

สมุด เครื่องเขียน รวมจำานวนสมาชิกที่เรียนฟุตบอลและว่ายน้ำาในรูปเศษส่วน แล้วหาจำานวนสมาชิกที่เรียนวอลเลย์บอล


3
ของเงินทั้งหมด
5
ของเงินทั้งหมด ขนม
8 16 ในรูปเศษส่วน จากนั้น ใช้ความหมายของเศษส่วนเพื่อหาจำานวนสมาชิกทั้งหมด โดยเทียบกับ 96 คน

วิธีทำ� 1 มีสมาชิกสมัครเรียนฟุตบอล 2 ของสมาชิกในชมรม


7
หาเงินทีหาเงิ
่ขายสมุ
นที่ขดายสมุ
และเครื
ดและเครื
่องเขียน่องเขี
แล้ยวนนำาแล้
มารวมกั
วนำามารวมกั
น จากนัน ้นจากนั
นำาไปลบออกจากเงิ
้น นำาไปลบออกจากเงิ
นที่ขายของได้
นที่ขายของได้
ทั้งหมดทั้งหมด 1 ของสมาชิกในชมรม
สมัครเรียนว่ายน้ำา
จะได้เงิจะได้
นที่ขเายขนม
งินที่ขายขนม 3
มีสมาชิกสมัครเรียนฟุตบอลและว่ายน้ำา 2 1 13 ของสมาชิกในชมรม
+ =
วิธีทำ� สหกรณ์โรงเรียนขายสมุด เครื่องเขียน และขนมได้เงินทั้งหมด 6,400 บาท 7 3 21
แสดงว่า ชมรมกีฬามีสมาชิกทั้งหมด 21
ขายสมุดได้ 3 ของเงินที่ขายได้ทั้งหมด 21
8
3 × โดยสมัครเรียนวอลเลย์บอล 21 − 13 = 8 ของสมาชิกในชมรม ซึ่งเท่ากับ 96 คน
แสดงว่า ขายสมุดได้เงิน 6,400 = 2,400 บาท 21 21 21
8
ขายเครื่องเขียนได้ 5 ของเงินที่ขายได้ทั้งหมด แสดงว่า สมาชิก 8 ส่วน คิดเป็น 96 คน
16 สมาชิก 1 ส่วน คิดเป็น 96 คน
5 × 8
แสดงว่า ขายเครื่องเขียนได้เงิน 6,400 = 2,000 บาท
16 สมาชิก 21 ส่วน คิดเป็น 21 × 96 = 252 คน
8
รวมเงินขายสมุดและเครื่องเขียน 2,400 + 2,000 = 4,400 บาท ดังนั้น ชมรมกีฬานี้มีสมาชิกทั้งหมด 252 คน
แสดงว่า ขายขนมได้เงิน 6,400 − 4,400 = 2,000 บาท ตอบ 252 คน

ดังนั้น สหกรณ์โรงเรียนแห่งนี้ขายขนมได้เงิน 2,000 บาท วิธีทำ� 2 มีสมาชิกสมัครเรียนฟุตบอล 2 ของสมาชิกในชมรม


7
ตอบ 2,000 บาท สมัครเรียนว่ายน้ำา 1 ของสมาชิกในชมรม
3
มีสมาชิกสมัครเรียนฟุตบอลและว่ายน้ำา 2 1 13 ของสมาชิกในชมรม
+ =
7 3 21
หมายความว่า ถ้าสมาชิกทั้งหมด 21 ส่วน เรียนฟุตบอลและว่ายน้ำา 13 ส่วน
ที่เหลือ เรียนวอลเลย์บอล 21 − 13 = 8 ส่วน ซึ่งเท่ากับ 96 คน
แสดงว่า สมาชิก 8 ส่วน คิดเป็น 96 คน
สมาชิก 1 ส่วน คิดเป็น 96 คน
8
สมาชิก 21 ส่วน คิดเป็น 21 × 96 = 252 คน
8
ดังนั้น ชมรมกีฬานี้มีสมาชิกทั้งหมด 252 คน
ตอบ 252 คน

84 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 2 | เศษส่วน

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 2 | เศษส่วน

เฉลยหน้า 94

สิ่งที่ได้เรียนรู้
ห�เงินทั้งหมดของแก้วต�

ขั้นที่ 1 แปลความหมายของ “แก้วตาใช้เงินไป 5 ของเงินที่มีอยู่” หมายความว่า


7
แก้วตามีเงินทั้งหมด 7 ส่วน ใช้ไป 5 ส่วน

ขั้นที่ 2 หาเงินทั้งหมดของแก้วตา โดยนำาเงิน 5 ส่วน เทียบกับเงิน 210 บาท ดังนี้


เงิน 5 ส่วน คิดเป็น 210 บาท

เงิน 1 ส่วน คิดเป็น 210 บาท


5
เงิน 7 ส่วน คิดเป็น 7 × 210 = 294 บาท
5
ดังนั้น แก้วตามีเงินทั้งหมด 294 บาท

ห�เงินทั้งหมดของขวัญ

ขั้นที่ 1 แปลความหมายของ “ขวัญใช้เงินไป 3 ของเงินที่มีอยู่” หมายความว่า


5
ขวัญมีเงินทั้งหมด 5 ส่วน ใช้ไป 3 ส่วน เหลือเงิน 5 − 3 = 2 ส่วน

ขั้นที่ 2 หาเงินทั้งหมดของขวัญ โดยนำาเงิน 2 ส่วน เทียบกับเงิน 180 บาท ดังนี้


เงิน 2 ส่วน คิดเป็น 180 บาท

เงิน 1 ส่วน คิดเป็น 180 บาท


2
เงิน 5 ส่วน คิดเป็น 5 × 180 = 450 บาท
2
ดังนั้น ขวัญมีเงินทั้งหมด 450 บาท

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 85
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 2 | เศษส่วน

ร่วมคิดร่วมทำ�

ร่วมคิดร่วมทำ�เป็นกิจกรรมที่ให้นักเรียนนำ�ความรู้ที่ได้
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6

จากการเรียนในบทนี้มาช่วยกันแก้ปัญหา โดยแบ่งนักเรียน บทที่ 2 | เศษส่วน

เป็นกลุ่ม กลุ่มละ 2-3 คน ให้ร่วมกันพิจารณาสถานการณ์ ร่วมคิดร่วมทำา 1

วางแผน และปฏิบัติกิจกรรมให้เป็นไปตามข้อกำ�หนด
พื้นห้องรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้� กว้�ง 3 เมตร และย�ว 5 เมตร ช่�งต้องก�รปูพื้นห้องด้วย
พร้อมนำ�เสนอและอธิบายวิธีคำ�นวณจำ�นวนกระเบื้อง กระเบื้องรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ย�วด้�นละ 50 เซนติเมตร ให้เต็มพอดี โดยใช้จำ�นวนกระเบื้องสีแดง

แต่ละสีที่ใช้ นักเรียนสามารถออกแบบลวดลายได้อย่างอิสระ 2
5
1
ของพื้นที่ห้อง ใช้จำ�นวนกระเบื้องสีเหลืองเป็น ของจำ�นวนกระเบื้องสีแดง
2
และพื้นห้องส่วนที่เหลือทั้งหมดใช้กระเบื้องสีเขียว
โดยกระดาษตาราง 1 ช่อง แทนขนาดกระเบื้อง 1 แผ่น
จ�กสถ�นก�รณ์ดังกล่�ว ให้นักเรียนออกแบบลวดล�ยและระบ�ยสีเพื่อปูแผ่นกระเบื้อง
ทั้งนี้สามารถดาวน์โหลดกระดาษตารางได้จาก QR Code แต่ละสีต�มข้อกำ�หนดบนกระด�ษต�ร�ง พร้อมระบุจำ�นวนแผ่นกระเบื้องแต่ละสีที่ใช้

ลักษณะของกระเบื้องที่ใช้ปูพื้นห้อง

อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน

กระด�ษต�ร�ง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 95

86 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 2 | เศษส่วน

ตัวอย่างข้อสอบ บทที่ 2 เศษส่วน

จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 1 นักเรียนสามารถเปรียบเทียบ เรียงลำ�ดับเศษส่วนและจำ�นวนคละจากสถานการณ์ต่าง ๆ

55 13
การแข่งขันวิ่งระยะทาง 800 เมตร แต่ละคนใช้เวลาดังนี้ ขุนใช้เวลา
นาที บอยใช้เวลา นาที
20 6
3 8 5 31
เพชรใช้เวลา 2 นาที ต้นกล้าใช้เวลา นาที เก่งใช้เวลา 2 นาที และนิวใช้เวลา นาที
4 3 12 10
จากสถานการณ์ที่กำ�หนด ตอบคำ�ถามต่อไปนี้

1. ใครวิ่งเร็วที่สุด
ตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. ใครวิ่งช้าที่สุด
ตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. ใครบ้างที่ใช้เวลาวิ่งเท่ากัน
ตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………

4. ใครที่วิ่งเข้าเส้นชัยเป็นอันดับที่ 3
ตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………

จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 2 นักเรียนสามารถหาผลลัพธ์ของการบวก ลบ คูณ หารระคนของเศษส่วนและจำ�นวนคละ

แสดงวิธีหาผลลัพธ์

1 3 5 7
1. 7 – 2 ÷ ( + 1 )
10 5 6 8
5 1 1 13
2. 8 + 2 ÷ (4 × 1 )
12 10 12 35
1 17 21
3. 5 – 2 ÷ 1 ×
12 18 25

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 87
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 2 | เศษส่วน

จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 3 นักเรียนสามารถแสดงวิธีหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหาเศษส่วนและจำ�นวนคละ 2-3 ขั้นตอน

แสดงวิธีหาคำ�ตอบ

8
1. ชาวสวนขายส้มโอไป ของส้มที่เก็บได้ทั้งหมด ยังเหลือส้มโออยู่อีก 105 ผล ชาวสวนเก็บส้มโอได้ทั้งหมดกี่ผล
15
1 1
2. แม่ค้ามีน้ำ�ตาลทราย 50 กิโลกรัม ครั้งแรกแบ่งใส่ถุง ถุงละ กิโลกรัม จำ�นวน 27 ถุง
4 2
7
และน้ำ�ตาลทรายที่เหลือทั้งหมดแบ่งใส่ถุง ถุงละ กิโลกรัม แม่ค้าแบ่งน้ำ�ตาลทรายที่เหลือได้กี่ถุง
8
3 2
3. แพรได้รับเงินโบนัส 120,000 บาท ออมไว้ ของเงินโบนัสที่ได้รับ ให้แม่ ของเงินโบนัสที่เหลือจากที่ออมไว้
4 5
แพรให้เงินแม่กี่บาท

4. โรงเรียนแห่งหนึ่งมีนักเรียนสมัครไปทัศนศึกษาที่พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์และสวนสัตว์เขาเขียว 312 คน
3 1
ซึ่งสมัครไปพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ ของนักเรียนทั้งหมด และไปสวนสัตว์เขาเขียว ของนักเรียนทั้งหมด
8 6
โรงเรียนนี้มีนักเรียนทั้งหมดกี่คน

88 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 2 | เศษส่วน

เฉลยตัวอย่างข้อสอบ บทที่ 2 เศษส่วน

จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 1

1. บอย

2. นิว

3. ขุนและเพชร

4. ต้นกล้า

จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 2

7
1. 6
50
19
2. 8
24
1
3. 4
10

จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 3

1. 225 ผล

2. 42 ถุง

3. 12,000 บาท

4. 576 คน

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 89
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 3 | ทศนิยม

บทที่
3 ทศนิยม
จุดประสงค์การเรียนรู้ และสาระสำ�คัญ

จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระสำ�คัญ
นักเรียนสามารถ

1. หาผลหารของทศนิยมที่ตัวหารและผลหารเป็นทศนิยม การหารทศนิยมหรือจำ�นวนนับด้วยทศนิยมไม่เกิน
ไม่เกิน 3 ตำ�แหน่ง 3 ตำ�แหน่ง อาจทำ�ได้โดย
• เขียนทศนิยมในรูปเศษส่วน และหาผลหาร
จากนั้นเขียนผลหารในรูปทศนิยม
• ทำ�ตัวหารเป็นจำ�นวนนับ โดยนำ� 10 100 หรือ
1,000 มาคูณทั้งตัวตั้งและตัวหาร แล้วจึงหาผลหาร

2. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การลบ การแก้โจทย์ปัญหาการบวก การลบ การคูณ และการหาร


การคูณ และการหารทศนิยม 3 ขั้นตอน ทศนิยม 3 ขั้นตอน เริ่มจากทำ�ความเข้าใจปัญหา
วางแผนการแก้ปัญหา ดำ�เนินการตามแผน และตรวจสอบ

90 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 3 | ทศนิยม

ตารางวิเคราะห์เนื้อหากับทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และเวลาที่ใช้ในการจัดกิจกรรม

เวลา ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
หัวข้อ เนื้อหา
(ชั่วโมง) j k l m n
เตรียมความพร้อม 1 - - - - -

3.1 การเขียนเศษส่วนในรูปทศนิยม 1 -  -  -

3.2 การหารทศนิยม 5 -  -  -

3.3 การแลกเปลี่ยนเงินตรา 1 -    -

3.4 โจทย์ปัญหา 6     -

ร่วมคิดร่วมทำ� 1 -   - -

ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์

j การแก้ปัญหา k การสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์
l การเชื่อมโยง m การให้เหตุผล n การคิดสร้างสรรค์

คำ�ใหม่

ความรู้หรือทักษะพื้นฐาน
1. การเขียนทศนิยมในรูปเศษส่วน และการเขียนเศษส่วนในรูปทศนิยม
2. การหารเศษส่วนด้วยเศษส่วน การหารจำ�นวนนับด้วยเศษส่วน และการหารทศนิยมด้วยจำ�นวนนับ
3. การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับทศนิยมไม่เกิน 2 ขั้นตอน

สื่อการเรียนรู้
-

แหล่งเรียนรู้
1. หนังสือเรียน หน้า 96-121

2. แบบฝึกหัด หน้า 88-109

เวลาที่ใช้จัดการเรียนรู้
15 ชั่วโมง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 91
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 3 | ทศนิยม

แนวการจัดการเรียนรู้
การเตรียมความพร้อม

บทที่
3 ทศนิยม

เรียนจบบทนี้แล้ว นักเรียนสามารถ สถานีบริการน้ำามันเชื้อเพลิง หรือ ปั๊มน้ำามัน เป็นสถานที่ที่ใช้ในการเก็บน้ำามันเชื้อเพลิง


เพื่อให้บริการน้ำามันเชื้อเพลิงแก่ยานพาหนะ น้ำามันเชื้อเพลิงในประเทศไทยมีหลายชนิด
หาผลหารของทศนิยมที่ตัวหารและผลหารเป็นทศนิยมไม่เกิน 3 ตำาแหน่ง ราคาน้ำามันเชื้อเพลิงที่ปั๊มน้ำามันเป็นราคาของน้ำามัน 1 ลิตร เช่น น้ำามันแก๊สโซฮอล์ 95
ราคาลิตรละ 27.30 บาท น้ำามันดีเซล ราคาลิตรละ 25.64 บาท ทั้งนี้ราคาน้ำามันเชื้อเพลิง
แสดงวิธีหาคำาตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การลบ การคูณ
จะมีการเปลี่ยนแปลงไปตามราคาการซื้อขายน้ำามันเชื้อเพลิงในตลาดโลก
และการหารทศนิยม 3 ขั้นตอน

ราคาน้
ราคาน้ำำมัมันนวัวันนนีนี้ ้ ว่านเติมน้ำามันแก๊สโซฮอล์ 91 เป็นเงิน 900 บาท จะได้น้ำามันประมาณกี่ลิตร

ดีดีเซล
เซล
B20 22.99
B20 22.99
ดีดีเซล
เซล 25.64
25.64
25.37
91 25.37
แกแก
สโซฮอล
สโซฮอล
91
95 27.30
27.30
แกแก
สโซฮอล
สโซฮอล
95
เบนซินน 33.67
เบนซิ 33.67

1. ครูใช้สถานการณ์หน้าเปิดบทนำ�สนทนา แล้วให้นักเรียนตอบคำ�ถามและบอกวิธีคิด เช่น ฟ้าเติมน้ำ�มันดีเซล 20 ลิตร


ฟ้าต้องจ่ายเงินเท่าใด จากคำ�ถาม ครูอาจแนะว่า ในชีวิตจริงเรานิยมเติมน้ำ�มันโดยกำ�หนดจำ�นวนเงินที่ต้องจ่าย เช่น
ว่านเติมน้ำ�มันแก๊สโซฮอล์ 91 เป็นเงิน 900 บาท จะได้น้ำ�มันประมาณกี่ลิตร ซึ่งคำ�ถามนี้นักเรียนอาจบอกวิธีคิดได้
แต่ยังหาคำ�ตอบไม่ได้ หรืออาจหาคำ�ตอบได้แต่ใช้เวลานาน ครูนำ�วิธีคิดดังกล่าวมาอธิบายเชื่อมโยงไปสู่การหารจำ�นวนนับ
ด้วยทศนิยม

92 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 3 | ทศนิยม

2. ครูทบทวนการเขียนทศนิยมในรูปเศษส่วน และการเขียน
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6

เศษส่วนที่มีตัวส่วนเป็น 10 100 และ 1,000 ในรูปทศนิยม บทที่ 3 | ทศนิยม

การบวกและการลบทศนิยม การคูณทศนิยมด้วยทศนิยมและ เตรียมความพร้อม

จำ�นวนนับ การหารทศนิยมด้วยจำ�นวนนับรวมทั้งโจทย์ปัญหา 1 เขียนในรูปทศนิยม

ทศนิยม โดยใช้หนังสือเรียนหน้า 98 แล้วให้ท�ำ แบบฝึกหัด 3.1 1)


6
10
0.6 2)
15
100
0.15 3) 375 3.75
100
4) 90 0.090 หรือ 0.09
1000

เป็นรายบุคคล 2 หาจำานวนที่แทนด้วย

1) 7.3 + 9.9 – 8 = 9.2 2) 0.5 – (0.124 + 0.07) = 0.306

3) 0.003 × 15 = 0.045 4) 1.4 ÷ 8 = 0.175

5) (6.3 ÷ 9) × 7 = 4.9 6) (2.8 × 3.5) ÷ 20 = 0.49

7) (0.2 × 100) + (0.05 × 100) = 25 8) 7.5 × 10 = 75

9) 1,000 × 0.002 = 2 10) 5.36 × 100 = 536

3 แสดงวิธีหาคำาตอบ
1) ข้าวหอมมะลิถุงหนึ่งหนัก 5 กิโลกรัม ราคา 302.50 บาท ข้าวหอมมะลิราคากิโลกรัมละกี่บาท
2) แย้มซื้อปลากระป๋อง 12 กระป๋อง ราคากระป๋องละ 16.75 บาท แย้มต้องจ่ายเงินกี่บาท
3) น้ำามันพืช 1 ปี๊บ มีปริมาตร 0.02 ลูกบาศก์เมตร น้ำามันพืช 500 ปี๊บ มีปริมาตรกี่ลูกบาศก์เมตร
4) เงาะราคากิโลกรัมละ 27.50 บาท ถ้าพรซื้อเงาะ 1.5 กิโลกรัม พรต้องจ่ายเงินกี่บาท

แบบฝึกหัด 3.1

98 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 3 | ทศนิยม

เฉลยหน้า 98

3
1) วิธีทำ� ข้าวหอมมะลิถุงหนึ่งหนัก 5 กิโลกรัม
ราคาถุงละ 302.50 บาท
ดังนั้น ข้าวหอมมะลิราคากิโลกรัมละ 302.50 ÷ 5 = 60.50 บาท
ตอบ ๖๐.๕๐ บาท

2) วิธีทำ� แย้มซื้อปลากระป๋อง 12 กระป๋อง


ราคากระป๋องละ 16.75 บาท
ดังนั้น แย้มต้องจ่ายเงิน 12 × 16.75 = 201 บาท
ตอบ ๒๐๑ บาท

3) วิธีทำ� น้ำามันพืช 1 ปี๊บ มีปริมาตร 0.02 ลูกบาศก์เมตร

ดังนั้น น้ำามันพืช 500 ปี๊บ มีปริมาตร 500 × 0.02 = 10 ลูกบาศก์เมตร


ตอบ ๑๐ ลูกบาศก์เมตร

4) วิธีทำ� เงาะราคากิโลกรัมละ 27.50 บาท


พรซื้อเงาะ 1.5 กิโลกรัม
ดังนั้น พรต้องจ่ายเงิน 1.5 × 27.50 = 41.25 บาท
ตอบ ๔๑.๒๕ บาท

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 93
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 3 | ทศนิยม

1.1
3.1 การอ่ายนนเศษส่
การเขี การเขีวยนในรู
นจำ�นวนนั
ปทศนิบยทีม่มากกว่า 100,000

จุดประสงค์การเรียนรู้ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 3 | ทศนิยม

3.1 การเขียนเศษส่วนในรูปทศนิยม
-

สื่อการเรียนรู้ พิจารณาการเขียน
12
15
ในรูปทศนิยม

เนื่องจาก 15 ไม่เป็นตัวประกอบของ 100 และ 1,000

- และ
12
=
12 ÷ 3
=
4
ซึ่ง 5 เป็นตัวประกอบของ 10
15 15 ÷ 3 5
12 4
จะได้ว่า =
15 5
แนวการจัดการเรียนรู้ =
4×2
5×2 เศษส่วนที่มีตัวส่วนเป็น 10 100 และ 1,000
8 สามารถเขียนเป็นทศนิยม 1 ตำาแหน่ง 2 ตำาแหน่ง
=
หัวข้อนี้เป็นการสอนการเขียนเศษส่วนที่ตัวส่วนไม่เป็น
10 และ 3 ตำาแหน่ง ตามลำาดับ

= 0.8

พหุคูณของ 10 100 และ 1,000 ในรูปทศนิยม ดังนั้น


12
= 0.8
15

เพื่อเชื่อมโยงกับเนื้อหาการเขียนเศษส่วนในรูปทศนิยมของ
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ครูอาจจัดกิจกรรมโดยใช้การถาม-ตอบ พิจารณาการเขียน
115
625
ในรูปทศนิยม

ประกอบการอธิบายหน้า 99 จากนั้นร่วมกันพิจารณาตัวอย่าง เนื่องจาก 625 ไม่เป็นตัวประกอบของ 1,000

หน้า 100 แล้วร่วมกันทำ�กิจกรรม และให้ทำ�แบบฝึกหัด 3.2 และ


115
625
=
115 ÷ 5
625 ÷ 5
=
23
125
ซึ่ง 125 เป็นตัวประกอบของ 1,000

115 23
เป็นรายบุคคล จะได้ว่า
625
=
125
23 × 8
=
125 × 8
184
=
1000

= 0.184

115
ดังนั้น = 0.184
625

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 99

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 3 | ทศนิยม

เขียนในรูปทศนิยม

18 124
1 2
12 160

18 18 ÷ 6 124 124 ÷ 4
วิธีทำา = วิธีทำา =
12 12 ÷ 6 160 160 ÷ 4
3 31
= =
2 40
3×5 31 × 25
= =
2×5 40 × 25
15 775
= =
10 1000
= 1.5 = 0.775

ตอบ ๑.๕ ตอบ ๐.๗๗๕

เขียนในรูปทศนิยม

3 42 21
1 0.5 2 1.75 3 0.14
6 24 150

27 0.36 18 0.25 68 0.85


4 5 6
75 72 80

2
72 0.375 65 0.052 105 0.021
7 8 9
192 1250 5000

52 0.065 297 0.792 105 1.4


10 11 12
800 375 75

แบบฝึกหัด 3.2

100 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

94 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 3 | ทศนิยม

1.1
3.2 การอ่าน การเขี
การหารทศนิ ยมยนจำ�นวนนับที่มากกว่า 100,000

จุดประสงค์การเรียนรู้ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 3 | ทศนิยม

นักเรียนสามารถหาผลหารของทศนิยมที่ตัวหาร 3.2 การหารทศนิยม

และผลหารเป็นทศนิยมไม่เกิน 3 ตำ�แหน่ง พิจารณา 0.08 ÷ 0.4


8 4
เนื่องจาก 0.08 = และ 0.4 =
100 10

สื่อการเรียนรู้ จะได้ว่า 0.08 ÷ 0.4 =


8
100
÷
4
10
ตรวจสอบโดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่าง
8 10
= ×
100 4 การคูณกับการหารที่ว่า
- =
2
8 × 10
1
ตัวตั้ง ÷ ตัวหาร = ผลหาร
100 × 4
10 1
2 หรือ ตัวหาร × ผลหาร = ตัวตั้ง
=
10

แนวการจัดการเรียนรู้ = 0.2

ตรวจสอบ 0.4 × 0.2 = 0.08

การสอนการหารทศนิยม ครูอาจแบ่งเนื้อหา ดังนี้ ดังนั้น 0.08 ÷ 0.4 = 0.2

• การหารทศนิยมโดยเขียนทศนิยมในรูปเศษส่วน
พิจารณา 3 ÷ 0.6
6
เนื่องจาก 0.6 =
10
6 อาจแสดงได้โดย
• การหารทศนิยมโดยทำ�ตัวหารเป็นจำ�นวนนับ จะได้ว่า 3 ÷ 0.6 = 3 ÷
10
10 6
= 3× 3 ÷ 0.6 = 3 ÷
6 10
1 5 5
1
3 × 10
การหารทศนิยมโดยเขียนทศนิยมในรูปเศษส่วน นำ�เสนอ
10
= = 3×
6 6
2
2 1
1
= 5
3 กรณี ดังนี้
= 5

ตรวจสอบ 0.6 × 5 = 3.0 = 3

ดังนั้น 3 ÷ 0.6 = 5
• ตัวหารเป็นทศนิยม 1 ตำ�แหน่ง
การหารทศนิยมหรือจำานวนนับ ด้วยทศนิยม 1 ตำาแหน่ง
• ตัวหารเป็นทศนิยม 2 ตำ�แหน่ง อาจทำาได้โดยเขียนทศนิยมในรูปเศษส่วน แล้วหาผลหาร จากนั้นเขียนผลหารในรูปทศนิยม

| 101
• ตัวหารเป็นทศนิยม 3 ตำ�แหน่ง
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

1. การสอนการหารทศนิยมโดยเขียนทศนิยมในรูปเศษส่วน
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 3 | ทศนิยม

เมื่อตัวหารเป็นทศนิยม 1 ตำ�แหน่ง ครูควรทบทวนการเขียน •

แสดงวิธีหาผลหาร
ทศนิยมในรูปเศษส่วนและการหารเศษส่วน จากนั้นครูและ
1 5.6 ÷ 0.7

นักเรียนร่วมกันพิจารณาหน้า 101 แล้วร่วมกันอภิปราย วิธีทำา 5.6 ÷ 0.7 =


56 7
÷
10 10

เพื่อนำ�ไปสู่ข้อสรุปที่ว่า การหารทศนิยมหรือจำ�นวนนับ
56 10
= ×
10 7
= 8
ด้วยทศนิยม 1 ตำ�แหน่ง อาจทำ�ได้โดยเขียนทศนิยมในรูป ดังนั้น 5.6 ÷ 0.7 = 8 0.7 × 8 = 5.6

เศษส่วน แล้วหาผลหาร และเขียนผลหารในรูปทศนิยม


ตอบ ๘

จากนั้นร่วมกันพิจารณาตัวอย่างหน้า 102 แล้วร่วมกันทำ� 2 2.436 ÷ 1.2

กิจกรรม และทำ�แบบฝึกหัด 3.3 เป็นรายบุคคล วิธีทำา 2.436 ÷ 1.2 =


2436 12
÷
1000 10

= 2436 × 10
1000 12
203
=
100
= 2.03
ดังนั้น 2.436 ÷ 1.2 = 2.03 1.2 × 2.03 = 2.436
ตอบ ๒.๐๓

แสดงวิธีหาผลหาร

1 2.1 ÷ 0.3 2 0.32 ÷ 0.4 3 0.576 ÷ 0.9


4 54 ÷ 0.6 5 7 ÷ 0.2 6 1.08 ÷ 1.8

แบบฝึกหัด 3.3

102 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 95
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 3 | ทศนิยม

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 3 | ทศนิยม

เฉลยหน้า 102

21 3 32 4
1 วิธีทำ� 2.1 ÷ 0.3 = ÷ 2 วิธีทำ� 0.32 ÷ 0.4 = ÷
10 10 100 10
21 10 32 10
= × = ×
10 3 100 4
= 7 8
=
10
ดังนั้น 2.1 ÷ 0.3 = 7
= 0.8
ตอบ ๗
ดังนั้น 0.32 ÷ 0.4 = 0.8
ตอบ ๐.๘

576 9 6
3 วิธีทำ� 0.576 ÷ 0.9 = ÷ 4 วิธีทำ� 54 ÷ 0.6 = 54 ÷
1000 10 10
576 10 10
= × = 54 ×
1000 9 6
64 = 90
=
100 ดังนั้น 54 ÷ 0.6 = 90
= 0.64 ตอบ ๙๐
ดังนั้น 0.576 ÷ 0.9 = 0.64
ตอบ ๐.๖๔

2 108 18
5 วิธีทำ� 7 ÷ 0.2 = 7 ÷ 6 วิธีทำ� 1.08 ÷ 1.8 = ÷
10 100 10
10 108 10
= 7 × = ×
2 100 18
= 35 60
=
ดังนั้น 7 ÷ 0.2 = 35 100
ตอบ ๓๕ = 0.60
ดังนั้น 1.08 ÷ 1.8 = 0.60 หรือ 0.6
ตอบ ๐.๖

2. การสอนการหารทศนิยมโดยเขียนทศนิยมในรูปเศษส่วน
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6

เมื่อตัวหารเป็นทศนิยม 2 ตำ�แหน่ง หน้า 103 ครูอาจ บทที่ 3 | ทศนิยม

จัดกิจกรรมในทำ�นองเดียวกันกับหน้า 101 แล้วร่วมกัน พิจารณา 0.572 ÷ 0.11

572 11
อภิปรายเพื่อนำ�ไปสู่ข้อสรุปที่ว่า การหารทศนิยมหรือ เนื่องจาก 0.572 =
1000
และ 0.11 =
100
572 11
จำ�นวนนับด้วยทศนิยม 2 ตำ�แหน่ง อาจทำ�ได้โดยเขียน จะได้ว่า 0.572 ÷ 0.11 = ÷
1000 100
อาจแสดงได้โดย
572 100
ทศนิยมในรูปเศษส่วน แล้วหาผลหาร และเขียนผลหาร
= ×
1000 11 572 11
52 1 0.572 ÷ 0.11 = ÷
1000 100
= 572 × 100
ในรูปทศนิยม
52 1
1000 × 11 =
572 100
×
10 1 1000 11
52 10 1
= 52
10 =
จากนั้นร่วมกันพิจารณาตัวอย่างหน้า 104 แล้วร่วมกัน = 5.2
= 5.2
10

ทำ�กิจกรรม และทำ�แบบฝึกหัด 3.4 เป็นรายบุคคล ตรวจสอบ 0.11 × 5.2 = 0.572

ดังนั้น 0.572 ÷ 0.11 = 5.2

พิจารณา 6 ÷ 0.15

15
เนื่องจาก 0.15 =
100
อาจแสดงได้โดย
15
จะได้ว่า 6 ÷ 0.15 = 6 ÷
100 15
6 ÷ 0.15 = 6 ÷
100 100
= 6× 20
15 2 100
20
2 = 6×
= 6 × 100 15 5
1
15
5 = 40
1
= 40

ตรวจสอบ 0.15 × 40 = 6.00 = 6

ดังนั้น 6 ÷ 0.15 = 40

การหารทศนิยมหรือจำานวนนับ ด้วยทศนิยม 2 ตำาแหน่ง


อาจทำาได้โดยเขียนทศนิยมในรูปเศษส่วน แล้วหาผลหาร จากนั้นเขียนผลหารในรูปทศนิยม

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 103

96 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 3 | ทศนิยม

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 3 | ทศนิยม บทที่ 3 | ทศนิยม

• เฉลยหน้า 104

แสดงวิธีหาผลหาร
1 18.9 ÷ 3.15 5 36 9
1 วิธีทำ� 20 ÷ 0.05 = 20 ÷ 2 วิธีทำ� 3.6 ÷ 0.09 = ÷
100 10 100
189 315
วิธีทำา 18.9 ÷ 3.15 = ÷ 100 36 100
10 100 = 20 × = ×
5 10 9
189 100 = 400 = 40
= ×
10 315
ดังนั้น 20 ÷ 0.05 = 400 ดังนั้น 3.6 ÷ 0.09 = 40
= 6
ตอบ ๔๐๐ ตอบ ๔๐
ดังนั้น 18.9 ÷ 3.15 = 6 3.15 × 6 = 18.9
175 7 812 28
ตอบ ๖ 3 วิธีทำ� 1.75 ÷ 0.07 = ÷ 4 วิธีทำ� 0.812 ÷ 0.28 = ÷
100 100 1000 100
175 100 812 100
= × = ×
2 0.54 ÷ 0.04 100 7 1000 28
= 25 29
=
54 4 10
วิธีทำา 0.54 ÷ 0.04 = ÷ ดังนั้น 1.75 ÷ 0.07 = 25
100 100 = 2.9
54 100 ตอบ ๒๕
= × ดังนั้น 0.812 ÷ 0.28 = 2.9
100 4
ตอบ ๒.๙
27
=
2
468 312 9018 1503
27 × 5 5 วิธีทำ� 46.8 ÷ 3.12 = ÷ 6 วิธีทำ� 9.018 ÷ 15.03 = ÷
= 10 100 1000 100
2 ×5
468 100 9018 100
135 = × = ×
= 10 312 1000 1503
10
= 15 6
=
= 13.5 10
ดังนั้น 46.8 ÷ 3.12 = 15
= 0.6
ดังนั้น 0.54 ÷ 0.04 = 13.5 0.04 × 13.5 = 0.54 ตอบ ๑๕
ดังนั้น 9.018 ÷ 15.03 = 0.6
ตอบ ๑๓.๕ ตอบ ๐.๖

แสดงวิธีหาผลหาร

1 20 ÷ 0.05 2 3.6 ÷ 0.09 3 1.75 ÷ 0.07


4 0.812 ÷ 0.28 5 46.8 ÷ 3.12 6 9.018 ÷ 15.03

แบบฝึกหัด 3.4

104 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

3. การสอนการหารทศนิยมโดยเขียนทศนิยมในรูปเศษส่วน หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 3 | ทศนิยม

เมือ
่ ตัวหารเป็นทศนิยม 3 ตำ�แหน่ง หน้า 105 ครูอาจ พิจารณา 1.5 ÷ 0.005

จัดกิจกรรมในทำ�นองเดียวกันกับหน้า 101 แล้วร่วมกัน เนื่องจาก 1.5 =


15
10
และ 0.005 =
5
1000

อภิปรายเพือ ่ นำ�ไปสูข ้ สรุปทีว่ า่ การหารทศนิยมหรือ


่ อ จะได้ว่า 1.5 ÷ 0.005 =
15
÷
5
10 1000
อาจแสดงได้โดย
จำ�นวนนับด้วยทศนิยม 3 ตำ�แหน่ง อาจทำ�ได้โดยเขียน
15 1000
= ×
10 5
3 100 15 5
1.5 ÷ 0.005 = ÷
= 15 × 1000
ทศนิยมในรูปเศษส่วน แล้วหาผลหาร และเขียนผลหาร
10 1000
3 100
1 10 × 5 1 15 1000
= ×
1 10 5 1

ในรูปทศนิยม
= 300
= 300
ตรวจสอบ 0.005 × 300 = 1.500 = 1.5

จากนัน
้ ร่วมกันพิจารณาตัวอย่างหน้า 106 แล้วร่วมกัน ดังนั้น 1.5 ÷ 0.005 = 300

ทำ�กิจกรรม และทำ�แบบฝึกหัด 3.5 เป็นรายบุคคล


พิจารณา 14 ÷ 0.002

2
เนื่องจาก 0.002 =
1000
2
จะได้ว่า 14 ÷ 0.002 = 14 ÷
1000
อาจแสดงได้โดย
1000
= 14 ×
2 2
7 14 ÷ 0.002 = 14 ÷
1000
= 14 × 1000 7
2 = 14 ×
1000
1
2 1
= 7,000
= 7,000
ตรวจสอบ 0.002 × 7,000 = 14.000 = 14

ดังนั้น 14 ÷ 0.002 = 7,000

การหารทศนิยมหรือจำานวนนับ ด้วยทศนิยม 3 ตำาแหน่ง


อาจทำาได้โดยเขียนทศนิยมในรูปเศษส่วน แล้วหาผลหาร จากนั้นเขียนผลหารในรูปทศนิยม

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 105

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 97
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 3 | ทศนิยม

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 3 | ทศนิยม บทที่ 3 | ทศนิยม

• เฉลยหน้า 106

แสดงวิธีหาผลหาร
392 112 15
1 0.88 ÷ 0.016 1 วิธีทำ� 0.392 ÷ 0.112 = ÷ 2 วิธีทำ� 6 ÷ 0.015 = 6 ÷
1000 100 1000
88 16 392 100 1000
วิธีทำา 0.88 ÷ 0.016 = ÷ = × = 6 ×
100 1000 1000 112 15
88 1000 35 = 400
= × =
100 16 10
ดังนั้น 6 ÷ 0.015 = 400
= 55 = 3.5
ตอบ ๔๐๐
ดังนั้น 0.392 ÷ 0.112 = 3.5
ดังนั้น 0.88 ÷ 0.016 = 55 0.016 × 55 = 0.88
ตอบ ๓.๕
ตอบ ๕๕
189 35 53 106
3 วิธีทำ� 1.89 ÷ 0.035 = ÷ 4 วิธีทำ� 0.53 ÷ 0.106 = ÷
100 1000 100 1000
189 1000 53 1000
2 72 ÷ 0.009 = × = ×
100 35 100 106
9 = 54 = 5
วิธีทำา 72 ÷ 0.009 = 72 ÷
1000
1000 ดังนั้น 1.89 ÷ 0.035 = 54 ดังนั้น 0.53 ÷ 0.106 = 5
= 72 ×
9 ตอบ ๕๔ ตอบ ๕
= 8,000
98 28 5 125
5 วิธีทำ� 0.098 ÷ 0.028 = ÷ 6 วิธีทำ� 0.5 ÷ 0.125 = ÷
ดังนั้น 72 ÷ 0.009 = 8,000 0.009 × 8,000 = 72 1000 1000 10 1000
98 1000 5 1000
= × = ×
ตอบ ๘,๐๐๐ 1000 28 10 125
35 = 4
=
10 ดังนั้น 0.5 ÷ 0.125 = 4
= 3.5
ตอบ ๔
ดังนั้น 0.098 ÷ 0.028 = 3.5
แสดงวิธีหาผลหาร
ตอบ ๓.๕

1 0.392 ÷ 0.112 2 6 ÷ 0.015 3 1.89 ÷ 0.035


4 0.53 ÷ 0.106 5 0.098 ÷ 0.028 6 0.5 ÷ 0.125

แบบฝึกหัด 3.5

106 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

4. การสอนการหารทศนิยมโดยใช้วิธีหารยาว ครูอาจ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6

จัดกิจกรรมโดยเริม ่ จากยกตัวอย่างเกีย่ วกับการหารจำ�นวนนับ


บทที่ 3 | ทศนิยม

ซึ่งเป็นการหารลงตัว ให้นักเรียนพิจารณาผลหารต่อไปนี้ พิจารณา 1.95 ÷ 0.3 ดังนี้


6.5
ว่าเท่ากันหรือไม่ เช่น 0 .3 1.9 5
1.8 0.3 × 6

1) 6 ÷ 3 กับ (6 × 10) ÷ (3 × 10) 0.1 5


0.1 5 0.3 × 0.5

และ (6 × 100) ÷ (3 × 100) 0

ตรวจสอบ 0.3 × 6.5 = 1.95


2) 12 ÷ 4 กับ (12 × 10) ÷ (4 × 10) ดังนั้น 1.95 ÷ 0.3 = 6.5

และ (12 × 100) ÷ (4 × 100) การหาผลหารของ 1.95 ÷ 0.3 อาจใช้ความรู้เรื่องการหารทศนิยมเมื่อตัวหารเป็นจำานวนนับ


ได้ดังนี้

ครูอาจใช้การถาม-ตอบ เพื่อให้นักเรียนสังเกตถึงการนำ� เนื่องจาก 1.95 ÷ 0.3 = (1.95 × 10) ÷ (0.3 × 10)


= 19.5 ÷ 3
จำ�นวนนับ ไปคูณทั้งตัวตั้งและตัวหาร ซึ่งจะพบว่า ในกรณี
6 .5
การหารลงตัว เมื่อนำ�จำ�นวนนับจำ�นวนเดียวกันไปคูณทั้งตัว 3 1 9 .5
1 8 3×6
ตั้งและตัวหาร จะได้ผลหารเท่ากัน จากนั้นร่วมกันพิจารณา 1 .5

หน้า 107-108 แล้วร่วมกันอภิปรายเพื่อนำ�ไปสู่ข้อสรุปที่ว่า


1 .5 3 × 0.5
0

การหารทศนิยมด้วยทศนิยม หรือการหารจำ�นวนนับด้วย ตรวจสอบ 3 × 6.5 = 19.5

ทศนิยม อาจทำ�ตัวหารเป็นจำ�นวนนับ โดยนำ� 10 100 เนื่องจาก 19.5 ÷ 3 = 1.95 ÷ 0.3

ดังนั้น 1.95 ÷ 0.3 = 6.5

หรือ 1,000 มาคูณทัง้ ตัวตัง้ และตัวหาร แล้วจึงหาผลหาร


ในกรณีที่คูณตัวหารด้วย 10 100 หรือ 1,000 แล้วได้
ตัวหารเป็นจำ�นวนนับ 1 หลัก ครูอาจแสดงการหาผลหาร
ด้วยวิธีหารสั้น แล้วให้นักเรียนตรวจสอบคำ�ตอบโดยใช้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 107

ความสัมพันธ์ระหว่างการคูณกับการหาร
98 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 3 | ทศนิยม

จากนั้นร่วมกันพิจารณาตัวอย่างหน้า 109 แล้วร่วมกันทำ�


หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6

กิจกรรมหน้า 110 และให้ทำ�แบบฝึกหัด 3.6 เป็นรายบุคคล บทที่ 3 | ทศนิยม

พิจารณา 0.21 ÷ 0.042 ดังนี้

5. เพื่อตรวจสอบความเข้าใจและสรุปความรู้ที่ได้ ให้นักเรียน 5

ทำ�กิจกรรมหน้า 110 เป็นรายบุคคล 0 .0 4 2 0.2 1 0


0.2 1 0 0.042 × 5
0

ตรวจสอบ 0.042 × 5 = 0.210 = 0.21

ดังนั้น 0.21 ÷ 0.042 = 5

การหาผลหารของ 0.21 ÷ 0.042 อาจใช้ความรู้เรื่องการหารทศนิยมเมื่อตัวหารเป็นจำานวนนับ


ได้ดังนี้
เนื่องจาก 0.21 ÷ 0.042 = (0.21 × 1,000) ÷ (0.042 × 1,000)
= 210 ÷ 42

5
4 2 2 1 0
2 1 0 42 × 5
0

ตรวจสอบ 42 × 5 = 210
เนื่องจาก 210 ÷ 42 = 0.21 ÷ 0.042
ดังนั้น 0.21 ÷ 0.042 = 5

การหารทศนิยมด้วยทศนิยม อาจทำาตัวหารเป็นจำานวนนับ โดยนำา 10 100 หรือ 1,000


มาคูณทั้งตัวตั้งและตัวหาร แล้วจึงหาผลหาร

108 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 3 | ทศนิยม

แสดงวิธีหาผลหาร

1 10.4 ÷ 0.2
วิธีทำา 10.4 ÷ 0.2 = (10.4 × 10) ÷ (0.2 × 10) หรืออาจแสดงได้โดย
= 104 ÷ 2

5 2 2 1 0 4
2 1 0 4 5 2
1 0
4
4
0

ดังนั้น 10.4 ÷ 0.2 = 52 0.2 × 52 = 10.4


ตอบ ๕๒

2 0.45 ÷ 0.75

วิธีทำา 0.45 ÷ 0.75 = (0.45 × 100) ÷ (0.75 × 100)

= 45 ÷ 75

0.6
7 5 4 5.0
4 5.0
0

ดังนั้น 0.45 ÷ 0.75 = 0.6 0.75 × 0.6 = 0.45

ตอบ ๐.๖

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 109

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 99
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 3 | ทศนิยม

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 3 | ทศนิยม บทที่ 3 | ทศนิยม

เฉลยหน้า 110
เแสดงวิธีหาผลหาร

1 3.74 ÷ 0.5 2 2.16 ÷ 1.2 3 75 ÷ 0.15 1 วิธีทำ� 3.74 ÷ 0.5 = (3.74 × 10) ÷ (0.5 × 10)

4 3.2 ÷ 0.008 5 2.56 ÷ 0.16 6 1.62 ÷ 0.108 = 37.4 ÷ 5

7.48
5 37.40
แบบฝึกหัด 3.6 35
2.4
2.0
0.40
0.40
0
ตรวจสอบความเข้าใจ
ดังนั้น 3.74 ÷ 0.5 = 7.48
แสดงวิธีหาผลหาร ตอบ ๗.๔๘

1 3 ÷ 0.4 2 0.25 ÷ 0.05 3 8.1 ÷ 0.003


2 วิธีทำ� 2.16 ÷ 1.2 = (2.16 × 10) ÷ (1.2 × 10)
4 0.192 ÷ 1.6 5 1.395 ÷ 4.5 6 1.008 ÷ 0.012
= 21.6 ÷ 12
7 3,402 ÷ 0.54 8 3.38 ÷ 1.3 9 7.65 ÷ 7.5
1.8
12 21.6
12
9.6
9.6
0
สิ่งที่ได้เรียนรู้
ดังนั้น 2.16 ÷ 1.2 = 1.8
ตอบ ๑.๘
อธิบายวิธีหาผลหารของ 0.273 ÷ 0.21

110 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 3 | ทศนิยม บทที่ 3 | ทศนิยม

เฉลยหน้า 110 เฉลยหน้า 110

3 วิธีทำ� 75 ÷ 0.15 = (75 × 100) ÷ (0.15 × 100) 5 วิธีทำ� 2.56 ÷ 0.16 = (2.56 × 100) ÷ (0.16 × 100)
= 7,500 ÷ 15 = 256 ÷ 16

500 16
15 7500 16 256
75 16
0 96
0 96
0 0
0
0 ดังนั้น 2.56 ÷ 0.16 = 16
ตอบ ๑๖
ดังนั้น 75 ÷ 0.15 = 500
ตอบ ๕๐๐
6 วิธีทำ� 1.62 ÷ 0.108 = (1.62 × 1,000) ÷ (0.108 × 1,000)
= 1,620 ÷ 108
4 วิธีทำ� 3.2 ÷ 0.008 = (3.2 × 1,000) ÷ (0.008 × 1,000)
= 3,200 ÷ 8 15
108 1620
400 108
8 3200 540
32 540
0 0
0
0 ดังนั้น 1.62 ÷ 0.108 = 15
0 ตอบ ๑๕
0
ดังนั้น 3.2 ÷ 0.008 = 400
ตอบ ๔๐๐

100 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 3 | ทศนิยม

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 3 | ทศนิยม บทที่ 3 | ทศนิยม

เฉลยหน้า 110 เฉลยหน้า 110

ตรวจสอบคว�มเข้�ใจ 4 วิธีทำ� 0.192 ÷ 1.6 = (0.192 × 10) ÷ (1.6 × 10)


= 1.92 ÷ 16
1 วิธีทำ� 3 ÷ 0.4 = (3 × 10) ÷ (0.4 × 10)
= 30 ÷ 4 0.12
16 1.92
7.5 1.6
4 30.0 0.32
28 0.32
2.0 0
2.0
0 ดังนั้น 0.192 ÷ 1.6 = 0.12
ตอบ ๐.๑๒
ดังนั้น 3 ÷ 0.4 = 7.5
ตอบ ๗.๕
5 วิธีทำ� 1.395 ÷ 4.5 = (1.395 × 10) ÷ (4.5 × 10)
= 13.95 ÷ 45
2 วิธีทำ� 0.25 ÷ 0.05 = (0.25 × 100) ÷ (0.05 × 100)
0.31
= 25 ÷ 5
45 13.95
= 5 13.5
ดังนั้น 0.25 ÷ 0.05 = 5 0.45
0.45
ตอบ ๕
0
ดังนั้น 1.395 ÷ 4.5 = 0.31
3 วิธีทำ� 8.1 ÷ 0.003 = (8.1 × 1,000) ÷ (0.003 × 1,000) ตอบ ๐.๓๑
= 8,100 ÷ 3

3 8100 6 วิธีทำ� 1.008 ÷ 0.012 = (1.008 × 1,000) ÷ (0.012 × 1,000)


2700 = 1,008 ÷ 12
ดังนั้น 8.1 ÷ 0.003 = 2,700 84
ตอบ ๒,๗๐๐ 12 1008
96
48
48
0
ดังนั้น 1.008 ÷ 0.012 = 84
ตอบ ๘๔

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 3 | ทศนิยม บทที่ 3 | ทศนิยม

เฉลยหน้า 110 เฉลยหน้า 110

7 วิธีทำ� 3,402 ÷ 0.54 = (3,402 × 100) ÷ (0.54 × 100) 9 วิธีทำ� 7.65 ÷ 7.5 = (7.65 × 10) ÷ (7.5 × 10)
= 340,200 ÷ 54 = 76.5 ÷ 75

6300 1.02
54 340200 75 76.50
324 75
162 1.50
162 1.50
0 0
0
0 ดังนั้น 7.65 ÷ 7.5 = 1.02
0 ตอบ ๑.๐๒
0
ดังนั้น 3,402 ÷ 0.54 = 6,300
ตอบ ๖,๓๐๐ สิ่งที่ได้เรียนรู้

การหาร 0.273 ด้วย 0.21 ต้องทำาให้ 0.21 เป็นจำานวนนับ โดยนำา 100 คูณกับ 0.273 และ 0.21
8 วิธีทำ� 3.38 ÷ 1.3 = (3.38 × 10) ÷ (1.3 × 10) จะได้ 0.273 ÷ 0.21 = (0.273 × 100) ÷ (0.21 × 100)
= 33.8 ÷ 13
= 27.3 ÷ 21
2.6
13 33.8
26
7.8
7.8
0
ดังนั้น 3.38 ÷ 1.3 = 2.6
ตอบ ๒.๖

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 101
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 3 | ทศนิยม

1.1
3.3 การอ่าน การเขี
การแลกเปลี ่ยนเงิ
ยนจำ
นตรา
�นวนนับที่มากกว่า 100,000

จุดประสงค์การเรียนรู้ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 3 | ทศนิยม

- 3.3 การแลกเปลี่ยนเงินตรา

สื่อการเรียนรู้ พิจารณาการแลกเปลี่ยนเงินตรา

- ถ้าเงิน 1 ดอลลาร์สหรัฐ แลกเงินไทยได้ 30.50 บาท กรนำาธนบัตรหนึ่งร้อยดอลลาร์สหรัฐ


1 ฉบับ ไปแลกเงินไทยได้กี่บาท

แนวการจัดการเรียนรู้ เนื่องจาก 1 ดอลลาร์สหรัฐ แลกเงินไทยได้ 30.50 บาท


ธนบัตรหนึ่งร้อยดอลลาร์สหรัฐ 1 ฉบับ แลกเงินไทยได้ 100 × 30.50 = 3,050 บาท
ดังนั้น กรนำาธนบัตรหนึ่งร้อยดอลลาร์สหรัฐ 1 ฉบับ ไปแลกเงินไทยได้ 3,050 บาท
หัวข้อนี้เป็นการนำ�ความรู้เรื่องการคูณและการหารทศนิยม
มาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง ครูอาจจัดกิจกรรมโดยให้นักเรียน ถ้าเงิน 22.25 บาท แลกเงินสิงคโปร์ได้ 1 ดอลลาร์สิงคโปร์ เหมียวนำาเงิน 17,800 บาท
ไปแลกเงินสิงคโปร์ได้กี่ดอลลาร์สิงคโปร์
ร่วมกันพิจารณาการแลกเปลี่ยนเงินตราหน้า 111 ครูอาจ
สอดแทรกคำ�ที่เกี่ยวข้องในการแลกเปลี่ยนเงินตรา และอาจ เนื่องจาก เงิน 22.25 บาท แลกเงินสิงคโปร์ได้ 1 ดอลลาร์สิงคโปร์
เงิน 17,800 บาท แลกเงินสิงคโปร์ได้ 17,800 ÷ 22.25 = 800 ดอลลาร์สิงคโปร์

แนะนำ�สกุลเงินอื่นที่นอกเหนือจากหนังสือเรียน จากนั้น ดังนั้น เหมียวนำาเงิน 17,800 บาท ไปแลกเงินสิงคโปร์ได้ 800 ดอลลาร์สิงคโปร์

ร่วมกันทำ�กิจกรรม
หาคำาตอบโดยใช้เครื่องคิดเลข

1 ถ้าเงิน 34.25 บาท แลกเงินยูโรได้ 1 ยูโร กวางนำาเงิน 68,500 บาท ไปแลกเงินยูโรได้กี่ยูโร 2,000 ยูโร

ความรู้เพิ่มเติมสำ�หรับครู 2 ถ้าเงิน 1 ดอลลาร์ออสเตรเลีย แลกเงินเกาหลีใต้ได้ 824.16 วอนเกาหลีใต้


อุ้มนำาเงิน 150 ดอลลาร์ออสเตรเลีย ไปแลกเงินเกาหลีใต้ได้กี่วอนเกาหลีใต้ 123,624 วอนเกาหลีใต้

การแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ คือ การแลกเปลี่ยน 3 ถ้าเงินญี่ปุ่น 100 เยน แลกเงินไทยได้ 28.38 บาท ทรายนำาเงินญี่ปุ่น 34,200 เยน
ไปแลกเงินไทยได้กี่บาท 9,705.96 บาท
เงินสกุลหนึ่งไปเป็นเงินอีกสกุลหนึ่งตามราคาที่สถาบันการเงิน
กำ�หนด เช่น 1 ดอลลาร์สหรัฐ แลกเป็นเงินบาทได้ 32 บาท สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 111

ในทางกลับกัน เงิน 1 บาท แลกเป็นเงินดอลลาร์สหรัฐได้


0.03 ดอลลาร์สหรัฐ

102 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 3 | ทศนิยม

1.1
3.4 การอ่าปนัญการเขี
โจทย์ หา ยนจำ�นวนนับที่มากกว่า 100,000

จุดประสงค์การเรียนรู้ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 3 | ทศนิยม

3.4 โจทย์ปัญหา
นักเรียนสามารถแสดงวิธีหาคำ�ตอบของโจทย์ปัญหา 6
การบวก การลบ การคูณ และการหารทศนิยม 3 ขั้นตอน พิจารณาสถานการณ์ต่อไปนี้

ปอยซื้อผ้า 3.5 เมตร ราคา 140 บาท ผ้าราคาเมตรละเท่าใด

สื่อการเรียนรู้
สิ่งที่โจทย์ถาม ราคาผ้า 1 เมตร

- สิ่งที่โจทย์บอก ผ้า 3.5 เมตร ราคา 140 บาท

แนวการจัดการเรียนรู้ มีวิธีหาราคาผ้า 1 เมตร อย่างไร

นำาราคาผ้าที่ซื้อ หารด้วยความยาวของผ้า
การสอนการแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับการหารทศนิยม จะได้ 140 ÷ 3.5 = 40 บาท

ครูอาจแบ่งเนื้อหา ดังนี้
• โจทย์ปัญหาไม่เกิน 2 ขั้นตอน สรุปคำาตอบว่าอย่างไร

ผ้าราคาเมตรละ 40 บาท

• โจทย์ปัญหา 3 ขั้นตอน
โดยอาจจัดกิจกรรมดังนี้ ตรวจสอบได้อย่างไรว่า 40 บาท เป็นคำาตอบที่ถูกต้อง

1. การสอนการแก้โจทย์ปัญหาไม่เกิน 2 ขั้นตอน ครูใช้ ต้องหาว่า ปอยซื้อผ้าทั้งหมดเป็นเงินเท่าใด

สถานการณ์หน้า 112-114 นำ�สนทนาเกี่ยวกับวิธีหาคำ�ตอบ


ซึ่งหาได้จาก นำาความยาวของผ้าที่ซื้อ คูณกับราคาผ้า 1 เมตร
จะได้ 3.5 × 40 = 140 บาท พบว่าสอดคล้องกับโจทย์

โดยอาจใช้การถาม-ตอบ เพื่อฝึกให้นักเรียนคิดอย่างเป็นระบบ แสดงว่า 40 บาท เป็นคำาตอบที่ถูกต้อง

ตามขั้นตอนการแก้ปัญหา ครูควรเน้นย้ำ�ให้นักเรียนแปล 112 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ความหมาย และตีความหมายจากโจทย์ปัญหา แล้วร่วมกัน


หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6

บอกวิธีคิด เพื่อเชื่อมโยงไปสู่วิธีทำ�และหาคำ�ตอบ พร้อมทั้ง บทที่ 3 | ทศนิยม

ตรวจสอบความถูกต้องของคำ�ตอบหรือพิจารณาความสมเหตุ- พิจารณาสถานการณ์ต่อไปนี้

สมผลของคำ�ตอบ ทั้งนี้ครูไม่ควรให้นักเรียนจำ�คำ� หรือ สุดามีที่ดิน 26.6 ไร่ ใช้ทำาสวน 11 ไร่ ที่เหลือแบ่งเป็นแปลงสำาหรับปลูกผัก


แปลงละ 1.2 ไร่ ได้กี่แปลง
ข้อความสำ�คัญที่ปรากฏในโจทย์ แต่ควรเน้นให้นักเรียนอ่าน
แล้วแปลความหมายจากคำ� หรือข้อความสำ�คัญเหล่านัน ้
สิ่งที่โจทย์ถาม จำานวนแปลงที่ดินที่แบ่งได้

สิ่งที่โจทย์บอก ทีด
่ น
ิ 26.6 ไร่ ใช้ทาำ สวน 11 ไร่
เพือ่ ทีจ่ ะเลือกวิธด
ี �ำ เนินการได้ถกู ต้อง ส่วนทีเ่ หลือแบ่งเป็นแปลงสำาหรับปลูกผัก แปลงละ 1.2 ไร่

จากนั้นร่วมกันพิจารณาตัวอย่างหน้า 115 แล้วร่วมกัน


มีวิธีหาจำานวนแปลงที่ดินได้อย่างไร
ทำ�กิจกรรม และให้ทำ�แบบฝึกหัด 3.7 เป็นรายบุคคล
หาได้โดยนำาที่ดินที่เหลือจากใช้ทำาสวน หารด้วยพื้นที่
ของที่ดิน 1 แปลง

หาที่ดินที่เหลือได้อย่างไร และได้คำาตอบเท่าใด

หาได้โดยนำาที่ดินทั้งหมด ลบด้วยที่ดินที่ใช้ทำาสวน
จะได้ว่า มีที่ดินเหลือ 26.6 – 11 = 15.6 ไร่

สุดาแบ่งที่ดินสำาหรับปลูกผักได้กี่แปลง

แบ่งได้ 15.6 ÷ 1.2 = 13 แปลง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 113

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 103
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 3 | ทศนิยม

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 3 | ทศนิยม บทที่ 3 | ทศนิยม

สรุปคำาตอบว่าอย่างไร
พิณมีน้ำาส้ม 91 ลิตร แบ่งใส่ขวด ขวดละ 0.35 ลิตร แล้วขายราคาขวดละ 14.50 บาท
ถ้าขายหมด พิณได้เงินกี่บาท
สุดาแบ่งที่ดินได้ 13 แปลง

วิธีคิด หาจำานวนขวดน้ำาส้ม โดยนำาปริมาตรน้ำาส้มทั้งหมด หารด้วย ปริมาตรน้ำาส้ม 1 ขวด


แล้วนำาจำานวนขวดที่ได้คูณกับราคาน้ำาส้ม 1 ขวด
ตรวจสอบได้อย่างไรว่า 13 แปลง เป็นคำาตอบที่ถูกต้อง

วิธีทำา น้ำาส้ม 91 ลิตร

ต้องหาว่า สุดามีที่ดินทั้งหมดเท่าใด แบ่งใส่ขวด ขวดละ 0.35 ลิตร


ซึ่งหาได้จาก นำาจำานวนแปลง คูณกับพื้นที่ของที่ดิน 1 แปลง แล้วนำาไป
จะได้น้ำาส้ม 91 ÷ 0.35 = 260 ขวด
รวมกับที่ดินที่ใช้ทำาสวน
จะได้ ที่ดินที่นำามาแบ่งเป็นแปลง มีพื้นที่ 13 × 1.2 = 15.6 ไร่ นำาน้ำาส้มไปขาย ขวดละ 14.50 บาท
ดังนั้น สุดามีที่ดินทั้งหมด 15.6 + 11 = 26.6 ไร่
ดังนั้น พิณได้เงิน 260 × 14.50 = 3,770 บาท
พบว่าสอดคล้องกับโจทย์ แสดงว่า 13 แปลง เป็นคำาตอบที่ถูกต้อง
ตอบ ๓,๗๗๐ บาท

แสดงวิธีหาคำาตอบ

1 ถังทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากมีพื้นที่ฐาน 4.5 ตารางเมตร และมีความจุ 6.75 ลูกบาศก์เมตร


ถังนี้สูงเท่าใด

2 คุกกี้ราคาชิ้นละ 5.25 บาท ถ้าปิ่นซื้อคุกกี้ 126 บาท ได้คุกกี้กี่ชิ้น

3 นัชชาต้องการปลูกต้นเฟื่องฟ้าตลอดแนวรั้วยาว 12 เมตร โดยปลูกต้นแรกที่มุมรั้วด้านหนึ่ง


และให้มีระยะห่างระหว่างต้น 0.5 เมตร นัชชาต้องปลูกต้นเฟื่องฟ้าทั้งหมดกี่ต้น

แบบฝึกหัด 3.7

114 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 115

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 3 | ทศนิยม

เฉลยหน้า 115

1 วิธีคิด เนื่องจาก ความจุของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก = พื้นที่ฐาน × ความสูง


0

จึงหาความสูงของถังทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก โดยนำาความจุของถัง หารด้วย พื้นที่ฐาน


1 2
3
4

วิธีทำ� ถังทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากมีความจุ 6.75 ลูกบาศก์เมตร


5
6
7

มีพื้นที่ฐาน 4.5 ตารางเมตร


10 9 8 7 6 5 4 3 2 1 0 6 5 4 3 2 1 0

ดังนั้น ถังนี้สูง 6.75 ÷ 4.5 = 1.5 เมตร


ตอบ ๑.๕ เมตร

2 วิธีคิด หาจำานวนคุกกี้ โดยนำาจำานวนเงินที่ซื้อคุกกี้ หารด้วย ราคาคุกกี้ 1 ชิ้น

วิธีทำ� ปิ่นซื้อคุกกี้ 126 บาท


คุกกี้ราคาชิ้นละ 5.25 บาท
ดังนั้น ปิ่นได้คุกกี้ 126 ÷ 5.25 = 24 ชิ้น
ตอบ ๒๔ ชิ้น

3 วิธีคิด หาจำานวนต้นเฟื่องฟ้าทั้งหมด โดยนำาความยาวของแนวรั้ว หารด้วย ระยะห่าง


ระหว่างต้นเฟื่องฟ้า แล้วรวมกับจำานวนต้นเฟื่องฟ้าที่มุมรั้วอีก 1 ต้น

วิธีทำ� นัชชาต้องการปลูกต้นเฟื่องฟ้าตลอดแนวรั้วยาว 12 เมตร


ต้นแรกปลูกที่มุมรั้วด้านหนึ่ง และมีระยะห่างระหว่างต้น 0.5 เมตร
แสดงว่า ถัดจากต้นแรก ต้องปลูกต้นเฟื่องฟ้าอีก 12 ÷ 0.5 = 24 ต้น
ดังนั้น นัชชาต้องปลูกต้นเฟื่องฟ้าทั้งหมด 1 + 24 = 25 ต้น
ตอบ ๒๕ ต้น

104 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 3 | ทศนิยม

2. การสอนการแก้โจทย์ปัญหา 3 ขั้นตอน หน้า 116-117


หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6

ครูอาจจัดกิจกรรมในทำ�นองเดียวกันกับหน้า 112-114 บทที่ 3 | ทศนิยม

จากนั้นร่วมกันพิจารณาตัวอย่าง 118 แล้วร่วมกันทำ�กิจกรรม พิจารณาสถานการณ์ต่อไปนี้

และให้ทำ�แบบฝึกหัด 3.8 เป็นรายบุคคล แพรมีแปลงไม้ดอกรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีขนาดเท่ากัน 5 แปลง ซึ่งไม่อยู่ติดกัน แพรนำาเชือกยาว


32 เมตร ล้อมแปลงไม้ดอกทั้งห้าแปลง แต่ละแปลงมีพื้นที่กี่ตารางเมตร

สิ่งที่โจทย์ถาม พื้นที่ของแปลงไม้ดอก 1 แปลง

สิ่งที่โจทย์บอก แพรใช้เชือกยาว 32 เมตร ล้อมแปลงไม้ดอกรูปสีเ่ หลีย่ มจัตรุ สั


ทีม
่ ข
ี นาดเท่ากัน 5 แปลง ซึง่ ไม่อยูต
่ ด
ิ กัน

ถ้าต้องการหาพื้นที่ของแปลงไม้ดอก 1 แปลง ต้องรู้อะไรก่อน

ต้องรู้ความยาวด้านของแปลงไม้ดอก

จะหาความยาวด้านของแปลงไม้ดอกได้จากอะไร
และหาได้อย่างไร

หาได้จากความยาวรอบรูปของแปลงไม้ดอก 1 แปลง ซึ่งหาได้โดย


นำาความยาวของเชือกที่ใช้ทั้งหมด หารด้วย จำานวนแปลงไม้ดอก
จะได้ 32 ÷ 5 = 6.4 เมตร
เนื่องจาก แปลงไม้ดอกเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสมีความยาวรอบรูป 6.4 เมตร
แสดงว่า แปลงไม้ดอกมีความยาวด้านละ 6.4 ÷ 4 = 1.6 เมตร

116 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 3 | ทศนิยม บทที่ 3 | ทศนิยม

หาพื้นที่ของแปลงไม้ดอก 1 แปลง ได้อย่างไร และได้คำาตอบเท่าใด มดซื้อแตงโม 1.25 กิโลกรัม ราคากิโลกรัมละ 22 บาท และส้ม 1.5 กิโลกรัม
ราคากิโลกรัมละ 64 บาท มดต้องจ่ายเงินทั้งหมดเท่าใด

วิธีคิด หาจำานวนเงินที่ต้องจ่ายค่าแตงโมและส้ม โดยนำาน้ำาหนักของผลไม้แต่ละชนิด


หาได้จาก พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส = ความยาวด้าน × ความยาวด้าน คูณกับราคาของผลไม้ชนิดนั้น 1 กิโลกรัม แล้วนำามารวมกัน

ดังนั้น แปลงไม้ดอกแต่ละแปลงมีพื้นที่ 1.6 × 1.6 = 2.56 ตารางเมตร


วิธีทำา มดซื้อแตงโม 1.25 กิโลกรัม

ราคากิโลกรัมละ 22 บาท

มดซื้อแตงโมเป็นเงิน 1.25 × 22 = 27.50 บาท

มดซื้อส้ม 1.5 กิโลกรัม


2.56 ตร.ม. เป็นคำาตอบที่สมเหตุสมผลหรือไม่ ราคากิโลกรัมละ 64 บาท
มีวิธีพิจารณาอย่างไร มดซื้อส้มเป็นเงิน 1.5 × 64 = 96 บาท

ดังนั้น มดต้องจ่ายเงินทั้งหมด 27.50 + 96 = 123.50 บาท

แปลงไม้ดอก 5 แปลง แต่ละแปลงมีพื้นที่ 2.56 ตร.ม. ตอบ ๑๒๓.๕๐ บาท

ซึ่ง 2.56 ตร.ม. มากกว่า 1 ตร.ม. แต่น้อยกว่า 4 ตร.ม.


ถ้าแต่ละแปลงมีพื้นที่ 1 ตร.ม. จะมีความยาวด้านละ 1 ม.
และมีความยาวรอบรูปแปลงละ 4 × 1 = 4 ม.
แสดงวิธีหาคำาตอบ
แสดงว่า แปลงไม้ดอก 5 แปลง ต้องใช้เชือกยาว 5 × 4 = 20 ม.
1 สนามหญ้ารูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ามีด้านหนึ่งยาว 4.2 เมตร และมีพื้นที่ 23.52 ตารางเมตร
ถ้าแต่ละแปลงมีพื้นที่ 4 ตร.ม. จะมีความยาวด้านละ 2 ม.
ต่ายต้องการทำารั้วรอบสนามหญ้า โดยเว้นช่องสำาหรับเข้า – ออก กว้าง 2.75 เมตร
และมีความยาวรอบรูปแปลงละ 4 × 2 = 8 ม.
ต่ายต้องทำารั้วยาวกี่เมตร
แสดงว่า แปลงไม้ดอก 5 แปลง ต้องใช้เชือกยาว 5 × 8 = 40 ม.
2 ออมสินนำาน้ำามะพร้าว 20 ลิตร บรรจุขวด ขวดละ 0.25 ลิตร แล้วขายขวดละ 15 บาท
เชือกที่แพรใช้ยาว 32 ม. ซึ่งยาวกว่า 20 ม. แต่สั้นกว่า 40 ม. และขายหมด ถ้าออมสินลงทุนไป 505.50 บาท จะได้กำาไรเท่าใด
ดังนั้น 2.56 ตร.ม. เป็นคำาตอบที่สมเหตุสมผล
3 รถตู้โดยสารประจำาทางคันหนึ่งวิ่งจากอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิไปสถานีขนส่งจังหวัดสมุทรสงคราม
เป็นระยะทาง 82.4 กิโลเมตร ถ้ารถตู้คันนี้วิ่งไป-กลับ 3 รอบ และน้ำามัน 1 ลิตร ใช้วิ่งได้ระยะทาง
เฉลี่ย 9.6 กิโลเมตร รถคันนี้ใช้น้ำามันกี่ลิตร

แบบฝึกหัด 3.8

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 117 118 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 105
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 3 | ทศนิยม

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 3 | ทศนิยม บทที่ 3 | ทศนิยม

เฉลยหน้า 118 เฉลยหน้า 118

1 วิธีคิด หาความยาวของรั้วที่ต้องทำา โดยนำาพื้นที่ของสนามหญ้า หารด้วยความยาวด้านที่กำาหนด 3 วิธีคิด หาปริมาณน้ำามันที่รถคันนี้ใช้ โดยนำาจำานวนเที่ยวทั้งหมด คูณกับระยะทางที่รถวิ่ง 1 เที่ยว


จะได้ความยาวของด้านที่เหลือ จากนั้นหาความยาวรอบสนามหญ้า แล้วลบด้วย แล้วหารด้วยระยะทางที่รถวิ่งโดยใช้น้ำามัน 1 ลิตร
ความกว้างของช่องสำาหรับเข้า - ออก
วิธีทำ� รถตู้โดยสารวิ่ง 1 เที่ยว เป็นระยะทาง 82.4 กิโลเมตร
วิธีทำ� สนามหญ้ ารูปารูสีป่เหลี
สนามหญ้ ่ยมผื
สี่เหลี นผ้นามีผ้ดามี้านหนึ
่ยมผื ่งยาว
ด้านหนึ 4.24.2
่งยาว เมตร
เมตรและมี พื้นพทีื้น่ 23.52
และมี ตารางเมตร
ที่ 23.52 ตารางเมตร
รถตู้วิ่งไป - กลับ 3 รอบ คิดเป็น 3×2 = 6 เที่ยว
เนื่อเนืงจาก พื้นพืที้น่ขทีองรู
่องจาก ปสีป่เหลี
่ของรู ่ยมผื
สี่เหลี นผ้นา ผ้=า =ความกว้
่ยมผื าง า×ง ความยาว
ความกว้ × ความยาว
รถตู้วิ่งได้ระยะทาง 6 × 82.4 = 494.4 กิโลเมตร
ความยาว = พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ÷ ความกว้าง
น้ำามัน 1 ลิตร รถใช้วิ่งได้ระยะทางเฉลี่ย 9.6 กิโลเมตร
จะได้ว่า สนามหญ้ามีความยาว 23.52 ÷ 4.2 = 5.6 เมตร
ดังนั้น รถคันนี้ใช้น้ำามัน 494.4 ÷ 9.6 = 51.5 ลิตร
และมีความยาวรอบสนามหญ้า 2 × (4.2 + 5.6) = 19.6 เมตร ตอบ ๕๑.๕ ลิตร
ต่ายทำารั้วรอบสนามโดยเว้นช่องสำาหรับเข้า - ออก กว้าง 2.75 เมตร
ดังนั้น ต่ายต้องทำารั้วยาว 19.6 − 2.75 = 16.85 เมตร
ตอบ ๑๖.๘๕ เมตร

2 วิธีคิด หากำ
หากำ าไรจากการขายน้
าไรจากการขายน้ ำามะพร้
ำามะพร้ าว าเริ
ว ่มเริจากหาจำ
่มจากหาจำ านวนขวดของน้
านวนขวดของน้ ำามะพร้
ำามะพร้ าว าโดยนำ
ว โดยนำ
า า
ปริปริ มาณน้
มาณน้ ำามะพร้
ำามะพร้ าวทัาวทั ้งหมด
้งหมด หารด้
หารด้ วยปริ
วยปริ มาณน้
มาณน้ ำามะพร้
ำามะพร้ าว า1ว ขวด
1 ขวดแล้แล้
วคูณวคูกัณบกับ
ราคาขาย
ราคาขาย 1 ขวดจากนั
1 ขวด จากนั ้นลบด้
้นลบด้ วยทุ
วยทุ น น

วิธีทำ� ออมสินนำาน้ำามะพร้าวทั้งหมด 20 ลิตร


บรรจุขวด ขวดละ 0.25 ลิตร
ได้น้ำามะพร้าว 20 ÷ 0.25 = 80 ขวด
ขายขวดละ 15 บาท
ขายได้เงิน 80 × 15 = 1,200 บาท
ออมสินลงทุนไป 505.50 บาท
ดังนั้น ออมสินได้กำาไร 1,200 − 505.50 = 694.50 บาท
ตอบ ๖๙๔.๕๐ บาท

106 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 3 | ทศนิยม

3. เพื่อตรวจสอบความเข้าใจและสรุปความรู้ที่ได้ ให้นักเรียน
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6

ทำ�กิจกรรมหน้า 119 เป็นรายบุคคล บทที่ 3 | ทศนิยม

ตรวจสอบความเข้าใจ

หมายเหตุ การตรวจสอบความถูกต้องของคำ�ตอบจากโจทย์- ตอบคำาถามโดยใช้ข้อมูลที่กำาหนด

ปัญหา ควรนำ�คำ�ตอบที่ได้ตรวจสอบกับโจทย์ปัญหานั้น บริษท


ั ทินประภา จำากัด (มหาชน) ให้บริการเกีย่ วกับการสือ
่ สารโทรคมนาคม โดยคิดค่าบริการดังนี้

ถ้าสอดคล้องกับโจทย์ปัญหา แสดงว่าเป็นคำ�ตอบที่ถูกต้อง วัน เวลา ค่าบริการ

8.00 – 18.00 น. นาทีละ 0.75 บาท


จันทร์–ศุกร์
18.00 – 8.00 น. นาทีละ 1.25 บาท

เสาร์–อาทิตย์ ตลอดทั้งวัน นาทีละ 1.25 บาท

หมายเหตุ คิดค่าบริการเมื่อเริ่มสนทนา โดยเศษของนาที คิดเป็น 1 นาที


เช่น ใช้บริการ 7 นาที 12 วินาที คิดเป็น 8 นาที

1 ถ้าวิมลใช้บริการในวันพุธ เวลา 9.05–9.12 น. วิมลเสียค่าบริการเท่าใด 5.25 บาท

2 ถ้ายุวดีใช้บริการในวันศุกร์ เวลา 17.58–18.14 น. ยุวดีเสียค่าบริการเท่าใด 19 บาท

3 ถ้าชัยชนะใช้บริการเฉพาะวันเสาร์–วันอาทิตย์ และเสียค่าบริการทั้งสิ้น 750 บาท


ชัยชนะใช้บริการมากที่สุดกี่นาที 600 นาที

สิ่งที่ได้เรียนรู้

บอกลำาดับขั้นการหาคำาตอบของโจทย์ปัญหา

“แม่ค้ามีน้ำามะพร้าวในโหล 3.5 ลิตร ขายให้ลูกค้าไปแล้ว 0.75 ลิตร ส่วนที่เหลือนำามาตักใส่แก้ว


9 ใบ ใบละ 250 มิลลิลิตร แม่ค้าเหลือน้ำามะพร้าวในโหลอีกกี่ลิตร”

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 119

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 3 | ทศนิยม

เฉลยหน้า 119

สิ่งที่ได้เรียนรู้

ขั้นที่ 1 หาปริมาณน้ำามะพร้าวที่เหลือหลังจากขายให้ลูกค้า โดยนำาปริมาณน้ำามะพร้าวทั้งหมด


ลบด้วยปริมาณน้ำามะพร้าวที่ขายให้ลูกค้า จะได้ 3.5 − 0.75 = 2.75 ลิตร

ขั้นที่ 2 หาปริมาณน้ำามะพร้าวที่ตักใส่แก้ว โดยนำาจำานวนแก้ว คูณกับปริมาณน้ำามะพร้าวในแต่ละแก้ว


จะได้ 9 × 250 = 2,250 มิลลิลิตร หรือ 2.25 ลิตร

ขั้นที่ 3 หาปริมาณน้ำามะพร้าวที่เหลือ โดยนำาปริมาณน้ำามะพร้าวที่เหลือจากขั้นที่ 1 ลบด้วย


ปริมาณน้ำามะพร้าวที่ตักใส่แก้วในขั้นที่ 2 จะได้ 2.75 − 2.25 = 0.5 ลิตร

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 107
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 3 | ทศนิยม

ร่วมคิดร่วมทำ�

ร่วมคิดร่วมทำ� เป็นกิจกรรมกลุ่มที่มุ่งให้นักเรียนนำ�ความรู้ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 3 | ทศนิยม

เกี่ยวกับทศนิยมและเรื่องอื่น ๆ ที่เรียนมาแล้วไปใช้ในการ
ร่วมคิดร่วมทำา
แก้ปัญหา โดยครูอาจแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 2-3 คน
ช่วยกันปฏิบัติกิจกรรม แล้วนำ�เสนอผลงาน ครูและนักเรียน
ในชั้นร่วมกันอภิปราย แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาวะอ้วน

อ�วนระดับ 2
มากกว�า 30
หรือผอม

ค่าดัชนีมวลกาย (BMI : Body Mass Index) ของคนเอเชีย

25.0 - 29.9
อ�วนระดับ 1
23.0 - 24.9
น้ำหนักเกิน
18.5 - 22.9
ปกติ
น�อยกว�า 18.5
ผอม
120 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 3 | ทศนิยม

สำานักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข อธิบายการประเมินภาวะอ้วนหรือผอม


ของตนเองด้วยการชั่งน้ำาหนัก วัดส่วนสูง และคำานวณค่าดัชนีมวลกาย ซึ่งค่าดัชนีมวลกาย
(Body Mass Index) หรือที่นิยมเรียกว่า BMI เป็นค่าที่ใช้เป็นมาตรฐานในการประเมินภาวะ
อ้วนหรือผอมในผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 20 ปีขึ้นไป ซึ่ง BMI คำานวณได้จาก
น้ำาหนักเป็นกิโลกรัม ÷ (ส่วนสูงเป็นเมตร × ส่วนสูงเป็นเมตร)

ถ้ากรกมลมีอายุ 22 ปี สูง 150 เซนติเมตร และหนัก 63.9 กิโลกรัม

ส่วนสุมิตรามีอายุ 24 ปี สูง 170 เซนติเมตร และหนัก 57.8 กิโลกรัม

BMI ของกรกมลและสุมิตราเป็นเท่าใด และมีภาวะอ้วนหรือผอมเป็นอย่างไร

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 121

108 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 3 | ทศนิยม

ตัวอย่างข้อสอบ บทที่ 3 ทศนิยม

จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 1 นักเรียนสามารถหาผลหารของทศนิยมที่ตัวหารและผลหารเป็นทศนิยมไม่เกิน 3 ตำ�แหน่ง

1. แสดงวิธีทำ�

1) 4 ÷ 0.08 2) 1.215 ÷ 0.003


3) 0.615 ÷ 0.15 4) 1.64 ÷ 1.6
5) 1.701 ÷ 2.7 (ตอบเป็นทศนิยม 1 ตำ�แหน่ง) 6) 1.945 ÷ 0.04 (ตอบเป็นทศนิยม 2 ตำ�แหน่ง)

2. เลือกคำ�ตอบ

1) ผลหารของ 4.9 ÷ 0.07 เท่ากับผลหารในข้อใด


ก. 6.3 ÷ 0.9 ข. 0.21 ÷ 0.03
ค. 0.28 ÷ 0.004 ง. 49 ÷ 0.007
2) ผลหารในข้อใดมากที่สุด
ก. 1.35 ÷ 1.5 ข. 4.96 ÷ 0.8
ค. 0.185 ÷ 0.37 ง. 0.05 ÷ 0.004
3) ผลหารในข้อใดน้อยที่สุด
ก. 5.1 ÷ 0.3 ข. 0.4 ÷ 0.002
ค. 3.5 ÷ 0.05 ง. 0.06 ÷ 0.012

จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 2 นักเรียนสามารถแสดงวิธห
ี าคำ�ตอบของโจทย์ปญ
ั หาการบวก การลบ การคูณ และการหาร
ทศนิยม 3 ขั้นตอน

แสดงวิธีหาคำ�ตอบ

1. สหกรณ์โคนมแห่งหนึ่งมีนมรสจืด 525.85 ลิตร ซึ่งปริมาณนมรสจืดน้อยกว่านมรสหวานอยู่ 149.15 ลิตร


ถ้านำ�นมมาบรรจุขวด ขวดละ 0.45 ลิตร และขายไปขวดละ 26.50 บาท สหกรณ์โคนมจะขายนมรสหวาน
ได้ทั้งหมดกี่บาท

2. รถยนต์ 2 คัน วิ่งด้วยความเร็วเฉลี่ยเท่ากัน ถ้ารถคันที่ 1 วิ่งได้ระยะทาง 120.75 กิโลเมตร ใช้น้ำ�มัน 10.5 ลิตร
รถคันที่ 2 วิ่งได้ระยะทาง 118 กิโลเมตร ใช้น้ำ�มัน 9.44 ลิตร น้ำ�มัน 1 ลิตร รถยนต์คันใดวิ่งได้ระยะทางเฉลี่ย
มากกว่า และมากกว่ากันเท่าใด

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 109
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 3 | ทศนิยม

เฉลยตัวอย่างข้อสอบ บทที่ 3 ทศนิยม

จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 1

1. 1) 50

2) 405

3) 4.1

4) 1.025
5) 0.6
6) 48.63

2. 1) ค.

2) ง.

3) ง.

จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 2

1. 39,750 บาท

2. รถยนต์คันที่ 2 วิ่งได้ระยะทางเฉลี่ยมากกว่า และมากกว่าอยู่ 1 กิโลเมตร

110 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

บทที่
4 ร้อยละและอัตราส่วน
จุดประสงค์การเรียนรู้ และสาระสำ�คัญ

จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระสำ�คัญ
นักเรียนสามารถ

1. แก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับร้อยละ 2-3 ขั้นตอน การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับร้อยละ เริ่มจาก ทำ�ความเข้าใจปัญหา


วางแผนแก้ปัญหา ดำ�เนินการตามแผน และตรวจสอบ

2. เขียนอัตราส่วนแสดงการเปรียบเทียบปริมาณ • ความสัมพันธ์ที่แสดงการเปรียบเทียบปริมาณตั้งแต่
2 ปริมาณ 2 ปริมาณขึ้นไป ซึ่งอาจมีหน่วยเดียวกันหรือหน่วยต่างกัน
เรียกว่า อัตราส่วน
• การเขียนแสดงการเปรียบเทียบปริมาณในรูปอัตราส่วน
- ถ้ามีหน่วยเดียวกัน จะไม่นิยมเขียนหน่วยกำ�กับไว้
- ถ้ามีหน่วยต่างกัน จะเขียนหน่วยกำ�กับไว้

3. หาอัตราส่วนที่เท่ากับอัตราส่วนที่กำ�หนด การหาอัตราส่วนที่เท่ากับอัตราส่วนที่กำ�หนด อาจทำ�ได้โดย


- คูณแต่ละจำ�นวนในอัตราส่วน ด้วยจำ�นวนนับ
จำ�นวนเดียวกันที่มากกว่า 1
- หารแต่ละจำ�นวนในอัตราส่วน ด้วยจำ�นวนนับ
จำ�นวนเดียวกันที่มากกว่า 1 ได้ลงตัว
4. แก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วนและมาตราส่วน การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วนและมาตราส่วน เริ่มจาก
ทำ�ความเข้าใจปัญหา วางแผนแก้ปัญหา ดำ�เนินการตามแผน
และตรวจสอบ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 111
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

ตารางวิเคราะห์เนื้อหากับทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และเวลาที่ใช้ในการจัดกิจกรรม

เวลา ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
หัวข้อ เนื้อหา
(ชั่วโมง) j k l m n
เตรียมความพร้อม 1 - - - - -

4.1 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับร้อยละ 7   -  -

4.2 อัตราส่วนและมาตราส่วน 4 -  -  -

4.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วนและมาตราส่วน 7   -  -

ร่วมคิดร่วมทำ� 1   -  -

ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์

j การแก้ปัญหา k การสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์
l การเชื่อมโยง m การให้เหตุผล n การคิดสร้างสรรค์

คำ�ใหม่
อัตราส่วน มาตราส่วน

ความรู้หรือทักษะพื้นฐาน
การคูณจำ�นวนนับกับเศษส่วน เศษส่วนที่เท่ากัน บัญญัติไตรยางศ์ ร้อยละของจำ�นวนนับ

สื่อการเรียนรู้
เครื่องคิดเลข

แหล่งเรียนรู้
1. หนังสือเรียน หน้า 122-167
2. แบบฝึกหัด หน้า 110-129

เวลาที่ใช้จัดการเรียนรู้
20 ชั่วโมง

112 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

แนวการจัดการเรียนรู้
การเตรียมความพร้อม

บทที่ หวานน้อย

4 ร้อยละและอัตราส่วน
น้ำาเต้าหู้

น้ำาเชื่อม
เรียนจบบทนี้แล้ว นักเรียนสามารถ น้ำาเต้าหู้แบบหวานปกติ กับ แบบหวานน้อย

แก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับร้อยละ 2-3 ขั้นตอน น้ำาเต้าหู้ 9 ส่วน ต่อ น้ำาเชื่อม 1 ส่วน แต่ละแบบมีน้ำาเชื่อมกี่เปอร์เซ็นต์

เขียนอัตราส่วนแสดงการเปรียบเทียบปริมาณ 2 ปริมาณ
หาอัตราส่วนที่เท่ากับอัตราส่วนที่กำาหนด หวานปกติ

แก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วนและมาตราส่วน
น้ำาเต้าหู้

น้ำาเชื่อม
หวานน้อย

น้ำาเต้าหู้ 8 ส่วน ต่อ น้ำาเชื่อม 2 ส่วน


ต้องการน้ำาเต้าหู้
หวานปกติ
แบบไหนคะ

หวานน้อย

1. ครูใช้สถานการณ์หน้าเปิดบทนำ�สนทนา เพื่อกระตุ้นความสนใจเกี่ยวกับการหาร้อยละหรือเปอร์เซ็นต์ โดยให้นักเรียน


ช่วยกันตอบคำ�ถาม ซึ่งคำ�ตอบของนักเรียนอาจแตกต่างกัน ครูควรให้นักเรียนมีโอกาสร่วมกันอภิปราย แสดงความคิดเห็น
เกี่ยวกับคำ�ตอบเหล่านั้น โดยครูไม่จำ�เป็นต้องเฉลย ควรให้นักเรียนเป็นผู้หาคำ�ตอบเองหลังจากเรียนเรื่องการหาร้อยละ
หรือเปอร์เซ็นต์แล้ว

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 113
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

2. เตรียมความพร้อม เป็นการตรวจสอบความรูพ ้ น
้ื ฐาน
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6

ทีจ่ �ำ เป็นสำ�หรับการเรียนบทนี้ ถ้าพบว่านักเรียนยังมีความรู้ บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

พืน ้ ฐานไม่เพียงพอ ควรทบทวนก่อน แล้วให้ท�ำ แบบฝึกหัด 4.1 เตรียมความพร้อม

เป็นรายบุคคล 1 หาผลคูณ

3 4 8
1) 6 × 9 2) × 10 8 3) ×5 4
2 5 10
3 9 1 21
4) 100 × 75 5) 18 × 13 6) × 170 119
4 12 2 30

2 หาจำานวนที่แทนด้วย

2 8 3 24 4 36
1) = 2) = 3) =
5 20 4 3 27
32

42 6 7 28 9 72
4) = 5) = 6) =
63 9 9 36 12 96

3 หาคำาตอบ

1) สี 4 ลิตร ใช้ทาผนังได้ 36 ตารางเมตร ถ้าต้องการทาสีผนัง 198 ตารางเมตร


จะต้องใช้สีกี่ลิตร 22 ลิตร

2) แก้วน้ำา 2 โหล ราคา 1,560 บาท แม่ซื้อแก้วน้ำา 5 โหล ต้องจ่ายเงินกี่บาท 3,900 บาท

3) ร้อยละ 60 ของลูกอม 1,300 เม็ด คิดเป็นกี่เม็ด 780 เม็ด

4) 25% ของน้ำามัน 48 ลิตร คิดเป็นกี่ลิตร 12 ลิตร

5) ร้านค้าติดราคาขายกางเกงตัวละ 1,250 บาท ลดราคา 30% ร้านค้าลดราคากางเกง


ตัวละกี่บาท 375 ลิตร

6) กรซื้อรองเท้าราคา 1,840 บาท ขายต่อให้เพื่อนขาดทุนร้อยละ 20 กรขายรองเท้า


ราคาเท่าใด 1,472 บาท

7) ทุนสินค้าชิ้นละ 60 บาท ถ้าร้านค้าต้องการขายให้ได้กำาไร 40 เปอร์เซ็นต์ ร้านค้าจะได้กำาไร


จากการขายสินค้านี้ชิ้นละเท่าใด และขายชิ้นละเท่าใด ได้กำาไรชิ้นละ 24 บาท และขายชิ้นละ 84 บาท

แบบฝึกหัด 4.1

124 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

114 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

1.1
4.1 การอ่าปนัญการเขี
โจทย์ หาเกี่ยยวกั
นจำบ�ร้นวนนั
อยละบที่มากกว่า 100,000

จุดประสงค์การเรียนรู้ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

4.1
นักเรียนสามารถแก้โจทย์ปญ
ั หาเกีย่ วกับร้อยละ 2-3 ขัน
้ ตอน โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับร้อยละ 7
การหาร้อยละหรือเปอร์เซ็นต์

สื่อการเรียนรู้ พิจารณาการหาร้อยละหรือเปอร์เซ็นต์

แนวการจัดการเรียนรู้
การสอนโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับร้อยละ ควรแบ่งเนื้อหา จากรูป มีสว่ นทีร่ ะบายสี 4 ส่วน จาก 10 ส่วน เท่า ๆ กัน

ตามลำ�ดับการเรียนรู้ดังนี้ จะแสดงส่วนทีร่ ะบายสีในรูปร้อยละได้อย่างไร

แบ่งรูปเป็น 100 ส่วน เท่า ๆ กัน แล้วพิจารณาส่วนทีร่ ะบายสี


• การหาร้อยละหรือเปอร์เซ็นต์
• ร้อยละเกี่ยวกับการซื้อขาย
โดยอาจจัดกิจกรรมดังนี้

1. ครูทบทวนความรู้เกี่ยวกับการหาร้อยละหรือเปอร์เซ็นต์ 10 ส่วน เท่าๆ กัน 100 ส่วน เท่าๆ กัน

โดยพิจารณาจากความหมายของร้อยละหรือเปอร์เซ็นต์ จากรูป มีสว่ นทีร่ ะบายสี 40 ส่วน จาก 100 ส่วน เท่า ๆ กัน

เพื่อเป็นพื้นฐานสำ�หรับการเรียนเรื่องโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ กล่าวได้วา่ มีสว่ นทีร่ ะบายสี ร้อยละ 40 หรือ 40 เปอร์เซ็นต์

ร้อยละ ครูอาจจัดกิจกรรมโดยใช้การถาม–ตอบ ประกอบ


สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 125
การอธิบายหน้า 125-126 ทั้งนี้ครูควรยกตัวอย่าง
สถานการณ์อื่นเพิ่มเติม ให้นักเรียนหาร้อยละหรือเปอร์เซ็นต์
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

จากสถานการณ์ที่กำ�หนด พิจารณาข้อความต่อไปนี้

ชุมนุมคณิตคิดสนุกเปิดรับสมัครสมาชิก 100 คน ถ้ามีนก


ั เรียนมาสมัคร 60 คน
นักเรียนทีม
่ าสมัครคิดเป็นร้อยละเท่าใดของจำานวนสมาชิกทีเ่ ปิดรับ

เปิดรับสมัครสมาชิก 100 คน ถ้ามีนก


ั เรียนมาสมัคร 60 คน
แสดงว่า จำานวนนักเรียนทีม
่ าสมัครคิดเป็นร้อยละ 60

ชุมนุมคณิตคิดสนุกเปิดรับสมัครสมาชิก 100 คน ถ้ามีนก


ั เรียนมาสมัคร 100 คน
นักเรียนทีม
่ าสมัครคิดเป็นร้อยละเท่าใดของจำานวนสมาชิกทีเ่ ปิดรับ

เปิดรับสมัครสมาชิก 100 คน ถ้ามีนก


ั เรียนมาสมัคร 100 คน
แสดงว่า จำานวนนักเรียนทีม
่ าสมัครคิดเป็นร้อยละ 100

ชุมนุมคณิตคิดสนุกเปิดรับสมัครสมาชิก 100 คน ถ้ามีนก


ั เรียนมาสมัคร 120 คน
นักเรียนทีม
่ าสมัครคิดเป็นร้อยละเท่าใดของจำานวนสมาชิกทีเ่ ปิดรับ

เปิดรับสมัครสมาชิก 100 คน ถ้ามีนก


ั เรียนมาสมัคร 120 คน
แสดงว่า จำานวนนักเรียนทีม
่ าสมัครคิดเป็นร้อยละ 120

ชุมนุมคณิต
คิดสนุก

126 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 115
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

2. การสอนโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับการหาร้อยละหรือเปอร์เซ็นต์
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6

ควรเริ่มจากโจทย์ปัญหา 1 ขั้นตอน ครูอาจจัดกิจกรรม บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

โดยนำ�สนทนาเกี่ยวกับสถานการณ์หน้า 127 ซึ่งเป็นการหา พิจารณาสถานการณ์ต่อไปนี้

จำ�นวนของของสิ่งหนึ่ง เมื่อเทียบกับจำ�นวนทั้งหมดเป็น 100 มีดินสอ 25 แท่ง เป็นดินสอสีแดง 12 แท่ง ดินสอสีแดงคิดเป็นร้อยละเท่าใดของดินสอทั้งหมด

ให้นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์โจทย์ปัญหา ทำ�ความเข้าใจในสิ่ง สิ่งที่โจทย์ถาม ร้อยละของจำานวนดินสอสีแดง เมื่อเทียบกับจำานวนดินสอทั้งหมด

ที่โจทย์ถาม และสิ่งที่โจทย์บอกให้ชัดเจน ครูใช้การถาม-ตอบ สิ่งที่โจทย์บอก มีดน


ิ สอ 25 แท่ง เป็นดินสอสีแดง 12 แท่ง

ประกอบการอธิบาย โดยเน้นความหมายของร้อยละ เพื่อนำ� “จำานวนดินสอสีแดงคิดเป็นร้อยละเท่าใดของจำานวนดินสอทั้งหมด”


หมายความว่าอย่างไร
ไปสู่การหาคำ�ตอบอย่างเป็นขั้นตอน จากนั้นครูแนะนำ�ให้
ถ้ามีดินสอทั้งหมด 100 แท่ง จะเป็นดินสอสีแดงกี่แท่ง
นักเรียนเรียบเรียงความสัมพันธ์ระหว่างจำ�นวนที่โจทย์กำ�หนด
กับสิ่งที่โจทย์ต้องการ เพื่อเชื่อมโยงไปสูก
่ ารหาคำ�ตอบโดยการ
จะหาคำาตอบโดยใช้บัญญัติไตรยางศ์ได้อย่างไร

ใช้บญั ญัตไิ ตรยางศ์ ซึง่ ควรจะได้วา่ ดินสอทั้งหมด 25 แท่ง เป็นดินสอสีแดง 12 แท่ง


12
“มีดินสอทั้งหมด 25 แท่งเป็นดินสอสีแดง 12 แท่ง
ถ้ามีดินสอทั้งหมด 1 แท่ง เป็นดินสอสีแดง แท่ง
25
12
ถ้ามีดินสอทั้งหมด 100 แท่ง เป็นดินสอสีแดง 100 × = 48 แท่ง
25
ถ้ามีดินสอทั้งหมด 100 แท่ง จะเป็นดินสอสีแดงกี่แท่ง” ดังนั้น ดินสอสีแดงคิดเป็นร้อยละ 48 ของดินสอทั้งหมด

จากนั้น ร่วมกันเขียนแสดงวิธีแก้ปัญหาโดยใช้
บัญญัติไตรยางศ์ พร้อมให้นักเรียนตรวจสอบความถูกต้อง ตรวจสอบได้อย่างไรว่า ร้อยละ 48 เป็นคำาตอบที่ถูกต้อง

ของคำ�ตอบโดยใช้เครื่องคิดเลข ต้องหาว่า ถ้ามีดินสอสีแดงร้อยละ 48 ของดินสอทั้งหมด คิดเป็นดินสอกี่แท่ง

สำ�หรับหน้า 128 เป็นการหาร้อยละของของสิ่งหนึ่ง ซึ่งหาได้จาก มีดินสอสีแดงร้อยละ 48 ของดินสอ 25 แท่ง


48
คิดเป็น × 25 = 12 แท่ง พบว่าสอดคล้องกับโจทย์
เมื่อเทียบกับอีกสิ่งหนึ่ง ครูอาจจัดกิจกรรมในทำ�นอง- 100
แสดงว่า ร้อยละ 48 เป็นคำาตอบที่ถูกต้อง

เดียวกันกับการสอนหน้า 127 โดยควรเน้นย้ำ�ให้นักเรียน


สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 127
อธิบายความหมายของคำ�ถามในโจทย์ก่อน แล้วเรียบเรียง
โจทย์ใหม่ เพื่อให้เข้าใจง่ายขึ้น ซึ่งควรจะได้ว่า
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6

“ร้านมีขนมปังสังขยา 60 กล่อง ลูกค้าสั่งซื้อ 90 กล่อง บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

ถ้าร้านมีขนมปังสังขยา 100 กล่อง ลูกค้าจะสั่งซื้อกี่กล่อง” พิจารณาสถานการณ์ต่อไปนี้

ร้านยาใจทำาขนมปังสังขยาไว้ 60 กล่อง มีลูกค้าสั่งซื้อ 90 กล่อง ขนมปังสังขยาที่ลูกค้าสั่งซื้อ


คิดเป็นกี่เปอร์เซ็นต์ของขนมปังสังขยาที่ทำาไว้

สิ่งที่โจทย์ถาม เปอร์เซ็นต์ของจำานวนขนมปังสังขยาที่ลูกค้าสั่งซื้อ เมื่อเทียบกับ


จำานวนขนมปังสังขยาที่ทำาไว้

สิ่งที่โจทย์บอก ทำาขนมปังสังขยาไว้ 60 กล่อง ลูกค้าสัง่ ซือ


้ 90 กล่อง

“จำานวนขนมปังสังขยาที่ลูกค้าสั่งซื้อคิดเป็นกี่เปอร์เซ็นต์ เมื่อเทียบกับ
จำานวนขนมปังสังขยาที่ทำาไว้” หมายความว่าอย่างไร

หมายความว่า ถ้าทำาขนมปังสังขยา 100 กล่อง ลูกค้าสั่งซื้อกี่กล่อง

จะหาคำาตอบโดยใช้บัญญัติไตรยางศ์ได้อย่างไร

ทางร้านมีขนมปังสังขยา 60 กล่อง ลูกค้าสั่งซื้อ 90 กล่อง


90
ถ้าทางร้านมีขนมปังสังขยา 1 กล่อง ลูกค้าสั่งซื้อ กล่อง
60
90
ถ้าทางร้านมีขนมปังสังขยา 100 กล่อง ลูกค้าสั่งซื้อ 100 × = 150 กล่อง
60
ดังนั้น ขนมปังสังขยาที่ลูกค้าสั่งซื้อคิดเป็น 150% ของขนมปังสังขยาที่ทำาไว้

ตรวจสอบได้อย่างไรว่า 150% เป็นคำาตอบที่ถูกต้อง

ต้องหาว่า ขนมปังสังขยาที่ลูกค้าสั่งซื้อ 150% ของขนมปังสังขยาที่ทำาไว้ คิดเป็นกี่กล่อง


ซึ่งหาได้จาก ลูกค้าสั่งซื้อขนมปังสังขยา 150% ของขนมปังสังขยา 60 กล่อง
150
คิดเป็น × 60 = 90 กล่อง พบว่าสอดคล้องกับโจทย์
100
แสดงว่า 150% เป็นคำาตอบที่ถูกต้อง

128 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

116 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

3. ครูใช้การถาม-ตอบ ประกอบการอธิบายตัวอย่างหน้า
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6

129-130 พร้อมให้นักเรียนตรวจสอบความถูกต้อง บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

ของคำ�ตอบโดยใช้เครื่องคิดเลข แล้วร่วมกันทำ�กิจกรรม
1
พ่อค้ามีมะพร้าว 2,500 ผล ขายไป 750 ผล พ่อค้าขายมะพร้าวไปร้อยละเท่าใด

หน้า 130 และให้ทำ�แบบฝึกหัด 4.2 เป็นรายบุคคล ของมะพร้าวทั้งหมด

วิธีคิด หาจำานวนมะพร้าวที่ขายไป เมื่อเทียบกับจำานวนมะพร้าวทั้งหมด 100 ผล

วิธีทำา มีมะพร้าว 2,500 ผล ขายไป 750 ผล


750
ถ้ามีมะพร้าว 1 ผล ขายไป ผล
2500
750
ถ้ามีมะพร้าว 100 ผล ขายไป 100 × = 30 ผล
2500
ดังนั้น พ่อค้าขายมะพร้าวไปร้อยละ 30 ของมะพร้าวทั้งหมด

ตอบ ร้อยละ ๓๐

ตรวจสอบได้อย่างไรว่า ร้อยละ 30 เป็นคำาตอบที่ถูกต้อง

ต้องหาว่า เมื่อขายมะพร้าวไปร้อยละ 30 ของมะพร้าวทั้งหมด คิดเป็นมะพร้าวกี่ผล


ซึ่งหาได้จาก ขายมะพร้าวร้อยละ 30 ของมะพร้าว 2,500 ผล
30
คิดเป็น × 2,500 = 750 ผล พบว่าสอดคล้องกับโจทย์
100
แสดงว่า ร้อยละ 30 เป็นคำาตอบที่ถูกต้อง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 129

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

2
ข้อสอบฉบับหนึ่งมีคะแนนเต็ม 80 คะแนน ต้นกล้าได้ 60 คะแนน แก้วตาได้ 42 คะแนน
คะแนนของแก้วตาคิดเป็นกี่เปอร์เซ็นต์ของคะแนนของต้นกล้า

วิธีคิด หาคะแนนของแก้วตา เมื่อเทียบกับคะแนนของต้นกล้า 100 คะแนน

วิธีทำา ต้นกล้าสอบได้ 60 คะแนน แก้วตาสอบได้ 42 คะแนน


42
ถ้าต้นกล้าสอบได้ 1 คะแนน แก้วตาสอบได้ คะแนน
60
42
ถ้าต้นกล้าสอบได้ 100 คะแนน แก้วตาสอบได้ 100 × = 70 คะแนน
60
ดังนั้น คะแนนของแก้วตาคิดเป็น 70% ของคะแนนของต้นกล้า

ตอบ ๗๐% ของคะแนนของต้นกล้า

ตรวจสอบได้อย่างไรว่า 70% เป็นคำาตอบที่ถูกต้อง

ต้องหาว่า คะแนนของแก้วตาคิดเป็น 70% ของคะแนนของต้นกล้า คิดเป็นกี่คะแนน


70
ซึ่งหาได้จาก 70% ของ 60 คะแนน คิดเป็น 60 × = 42 คะแนน
100
พบว่าสอดคล้องกับโจทย์ แสดงว่า 70% เป็นคำาตอบที่ถูกต้อง

แสดงวิธีหาคำาตอบ

1 โรงงานแห่งหนึ่งมีพนักงาน 140 คน เป็นพนักงานชาย 42 คน พนักงานชายคิดเป็นร้อยละเท่าใด


ของพนักงานทั้งหมด

2 พ่อขับรถใช้น้ำามันไป 24 ลิตร จากน้ำามันทั้งหมดที่มีอยู่ในถัง 60 ลิตร พ่อใช้น้ำามันคิดเป็นกี่เปอร์เซ็นต์


ของน้ำามันทั้งหมด

3 ลุงเลี้ยงไก่ตัวผู้ 18 ตัว ไก่ตัวเมีย 120 ตัว เป็ดตัวเมีย 40 ตัว และเป็ดตัวผู้ 8 ตัว


1) ไก่ตัวผู้คิดเป็นกี่เปอร์เซ็นต์ของไก่ตัวเมีย
2) เป็ดตัวเมียคิดเป็นร้อยละเท่าใดของเป็ดตัวผู้
แบบฝึกหัด 4.2

130 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 117
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

เฉลยหน้า 130 เฉลยหน้า 130

1 วิธีคิด หาจำานวนพนั
หาจำานวนพนั กงานชาย
กงานชาย เมื่อเทียเมื
บกั่อเที
บจำยาบกั บจำานวนพนั
นวนพนั กงานทัก้งหมด
งานทั100
้งหมดคน
100 คน 2) วิธีคิด หาจำานวนเป็ดตัวเมีย เมื่อเทียบกับจำานวนเป็ดตัวผู้ 100 ตัว

วิธีทำ� พนักงานทั้งหมด 140 คน เป็นพนักงานชาย 42 คน วิธีทำ� ลุงเลี้ยงเป็ดตัวผู้ 8 ตัว เลี้ยงเป็ดตัวเมีย 40 ตัว


42 40
ถ้ามีพนักงานทั้งหมด 1 คน เป็นพนักงานชาย คน ถ้าลุงเลี้ยงเป็ดตัวผู้ 1 ตัว เลี้ยงเป็ดตัวเมีย ตัว
140 8
42 40
ถ้ามีพนักงานทั้งหมด 100 คน เป็นพนักงานชาย 100 × = 30 คน ถ้าลุงเลี้ยงเป็ดตัวผู้ 100 ตัว เลี้ยงเป็ดตัวเมีย 100 × = 500 ตัว
140 8
ดังนั้น พนักงานชายคิดเป็นร้อยละ 30 ของพนักงานทั้งหมด ดังนั้น เป็ดตัวเมียคิดเป็นร้อยละ 500 ของเป็ดตัวผู้

ตอบ ร้อยละร้๓๐ ของพนั


อยละ กงานทัก้งหมด
๓๐ ของพนั งานทั้งหมด ตอบ ร้อยละ ๕๐๐ ของเป็ดตัวผู้

2 วิธีคิด หาปริมหาปริ
าณน้ำามมัาณน้
นที่ใำาช้มัไปนทีเมื่ใช้่อไเที
ปยเมื
บกั่อเที
บปริยบกั บปริำามมัาณน้
มาณน้ นทั้งำาหมด
มันทั100
้งหมดลิต100
ร ลิตร

วิธีทำ� มีน้ำามันในถังอยู่ 60 ลิตร ใช้ไป 24 ลิตร


24
ถ้ามีน้ำามันในถังอยู่ 1 ลิตร ใช้ไป ลิตร
60
24
ถ้ามีน้ำามันในถังอยู่ 100 ลิตร ใช้ไป 100 × = 40 ลิตร
60
ดังนั้น พ่อใช้น้ำามันไป 40% ของน้ำามันทั้งหมด

ตอบ ๔๐% ของน้


๔๐%ำามั นทั้งำาหมด
ของน้ มันทั้งหมด

3
1) วิธีคิด หาจำานวนไก่
หาจำานวนไก่
ตัวผู้ เมืต่อัวเที
ผู้ยเมื
บกั่อเที
บจำยาบกั บจำานวนไก่
นวนไก่ ตัวเมีย ต100
ัวเมียตัว100 ตัว

วิธีทำ� ลุงเลี้ยงไก่ตัวเมีย 120 ตัว เลี้ยงไก่ตัวผู้ 18 ตัว


18
ถ้าลุงเลี้ยงไก่ตัวเมีย 1 ตัว เลี้ยงไก่ตัวผู้ ตัว
120
18
ถ้าลุงเลี้ยงไก่ตัวเมีย 100 ตัว เลี้ยงไก่ตัวผู้ 100 × = 15 ตัว
120
ดังนั้น ไก่ตัวผู้คิดเป็น 15% ของไก่ตัวเมีย

ตอบ ๑๕% ของไก่


๑๕% ตของไก่
ัวเมีย ตัวเมีย

4. การสอนโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับการหาร้อยละหรือเปอร์เซ็นต์ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

ที่มากกว่า 1 ขั้นตอน ครูอาจจัดกิจกรรมในทำ�นองเดียวกันกับ


การสอนโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับการหาร้อยละหรือเปอร์เซ็นต์
พิจารณาสถานการณ์ต่อไปนี้

1 ขั้นตอน ซึ่งลักษณะของสถานการณ์ในหน้า 131-136


นักเรียน 200 คน เป็นชาย 126 คน นักเรียนหญิงคิดเป็นร้อยละเท่าใดของนักเรียนทั้งหมด

จะเป็นการหาส่วนที่เหลือ ส่วนที่เพิ่มขึ้นหรือลดลง สิ่งที่โจทย์ถาม ร้อยละของจำานวนนักเรียนหญิง เมื่อเทียบกับจำานวนนักเรียนทั้งหมด

หรือหาทั้งหมดก่อน แล้วจึงหาร้อยละหรือเปอร์เซ็นต์
สิ่งที่โจทย์บอก นักเรียน 200 คน เป็นชาย 126 คน

โดยมีรายละเอียดดังนี้ “จำานวนนักเรียนหญิงคิดเป็นร้อยละเท่าใด เมื่อเทียบกับ


จำานวนนักเรียนทั้งหมด” หมายความว่าอย่างไร
- สถานการณ์หน้า 131 เป็นการหาจำ�นวนของส่วน
ที่เหลือก่อน แล้วจึงหาจำ�นวนของส่วนที่เหลือ หมายความว่า ถ้ามีนักเรียนทั้งหมด 100 คน เป็นหญิงกี่คน

โดยเทียบกับจำ�นวนทั้งหมดเป็น 100
ถ้านักเรียนทั้งหมด 200 คน เป็นชาย 126 คน เป็นหญิงกี่คน
ส่วนหน้า 132 เป็นการแสดงวิธีหาคำ�ตอบอีกวิธีหนึ่ง
โดยหาร้อยละของส่วนที่กำ�หนดก่อน แล้วจึงหา เป็นหญิง 200 – 126 = 74 คน

ร้อยละของส่วนที่เหลือ
จะหาคำาตอบโดยใช้บัญญัติไตรยางศ์ได้อย่างไร

- สถานการณ์หน้า 133-134 เป็นการหาจำ�นวน


ของส่วนที่ลดลงก่อน แล้วจึงหาร้อยละของส่วนที่ลดลง นักเรียนทั้งหมด 200 คน เป็นหญิง 74 คน
74
ถ้ามีนักเรียนทั้งหมด 1 คน เป็นหญิง คน
200
74
ถ้ามีนักเรียนทั้งหมด 100 คน เป็นหญิง 100 × = 37 คน
200
ดังนั้น นักเรียนหญิงคิดเป็นร้อยละ 37 ของนักเรียนทั้งหมด

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 131

118 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

- สถานการณ์หน้า 135-136 เป็นการกำ�หนด


หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6

จำ�นวนของส่วนต่าง ๆ แล้วหาจำ�นวนทั้งหมดก่อน บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

จากนั้นจึงหาจำ�นวนของส่วนต่าง ๆ เทียบกับจำ�นวน
มีวิธีหาคำาตอบแบบอื่นอีกหรือไม่ และหาได้อย่างไร
ทั้งหมดเป็น 100
ทัง้ นีค
้ รูควรเน้นย้�ำ ให้นก
ั เรียนตรวจสอบความถูกต้องของคำ�ตอบ
สามารถหาคำาตอบได้โดยหาร้อยละของจำานวนนักเรียนชาย แล้วจึงหา

ทุกครัง้ ร้อยละของจำานวนนักเรียนหญิง ดังนี้


นักเรียนทั้งหมด 200 คน เป็นชาย 126 คน
จากนัน ้ ร่วมกันพิจารณาตัวอย่างหน้า 137-138 แล้วร่วมกัน ถ้ามีนักเรียนทั้งหมด 1 คน เป็นชาย
126
คน
200

ทำ�กิจกรรมหน้า 139 และให้ท�ำ แบบฝึกหัด 4.3 เป็นรายบุคคล ถ้ามีนักเรียนทั้งหมด 100 คน เป็นชาย 100 ×
126
200
= 63 คน
จะได้ว่า นักเรียนทั้งหมด 100 คน เป็นชาย 63 คน
เป็นหญิง 100 – 63 = 37 คน
ดังนั้น นักเรียนหญิงคิดเป็นร้อยละ 37 ของนักเรียนทั้งหมด

ตรวจสอบได้อย่างไรว่า ร้อยละ 37 เป็นคำาตอบที่ถูกต้อง

ต้องหาว่า ถ้ามีนักเรียนหญิงร้อยละ 37 ของนักเรียนทั้งหมด จะมีนักเรียนชายกี่คน

ซึ่งหาได้จาก มีนักเรียนหญิงร้อยละ 37 ของนักเรียน 200 คน

37
คิดเป็น × 200 = 74 คน
100
จะได้ว่า มีนักเรียนชาย 200 – 74 = 126 คน พบว่าสอดคล้องกับโจทย์

แสดงว่า ร้อยละ 37 เป็นคำาตอบที่ถูกต้อง

132 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

พิจารณาสถานการณ์ต่อไปนี้
จะหาคำาตอบโดยใช้บัญญัติไตรยางศ์ได้อย่างไร
เมื่อวานแม่ค้าขายน้ำาหวานได้ 180 แก้ว วันนี้ขายได้ 135 แก้ว วันนี้แม่ค้าขายน้ำาหวานลดลง
จากเมื่อวานร้อยละเท่าใด

เมื่อวานขายน้ำาหวานได้ 180 แก้ว วันนี้ขายลดลง 45 แก้ว


สิ่งที่โจทย์ถาม ร้อยละของจำานวนน้ำาหวานเป็นแก้วที่วันนี้ขายได้ลดลง
เมื่อเทียบกับจำานวนน้ำาหวานเป็นแก้วที่ขายได้เมื่อวาน 45
ถ้าเมื่อวานขายน้ำาหวานได้ 1 แก้ว วันนี้ขายลดลง แก้ว
180
45
ถ้าเมื่อวานขายน้ำาหวานได้ 100 แก้ว วันนี้ขายลดลง 100 × = 25 แก้ว
180
สิ่งที่โจทย์บอก เมือ
่ วานแม่คา้ ขายน้าำ หวานได้ 180 แก้ว วันนีข
้ ายได้ 135 แก้ว
ดังนั้น วันนี้แม่ค้าขายน้ำาหวานลดลงจากเมื่อวานร้อยละ 25

“จำานวนน้ำาหวานเป็นแก้วที่วันนี้ขายได้ลดลง คิดเป็นร้อยละเท่าใด
เมื่อเทียบกับจำานวนน้ำาหวานเป็นแก้วที่ขายได้เมื่อวาน” หมายความว่าอย่างไร

หมายความว่า ถ้าเมื่อวานขายน้ำาหวานได้ 100 แก้ว


ตรวจสอบได้อย่างไรว่า ร้อยละ 25 เป็นคำาตอบที่ถูกต้อง
วันนี้ขายได้ลดลงจากเมื่อวานกี่แก้ว

ต้องหาว่า ถ้าวันนี้ขายลดลงจากเมื่อวานร้อยละ 25 วันนี้จะขายได้กี่แก้ว


หาจำานวนน้ำาหวานเป็นแก้วที่วันนี้ขายได้ลดลงจากเมื่อวาน ได้อย่างไร
25
ซึ่งหาได้จาก ร้อยละ 25 ของ 180 แก้ว คิดเป็น × 180 = 45 แก้ว
100

เมื่อวานขายน้ำาหวานได้ 180 แก้ว วันนี้ขายได้ 135 แก้ว จะได้ว่า วันนี้ขายได้ลดลงจากเมื่อวาน 45 แก้ว แสดงว่า วันนี้ขายได้ 180 − 45 = 135 แก้ว

วันนี้ขายได้ลดลงจากเมื่อวาน 180 – 135 = 45 แก้ว


พบว่าสอดคล้องกับโจทย์ แสดงว่า ร้อยละ 25 เป็นคำาตอบที่ถูกต้อง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 133 134 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 119
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

พิจารณาสถานการณ์ต่อไปนี้
จะหาคำาตอบโดยใช้บัญญัติไตรยางศ์ได้อย่างไร
ทิวทำางานประจำาที่บริษัทแห่งหนึ่ง เขาออมเงิน เดือนละ 1,800 บาท เงินเดือนที่เหลือทั้งหมด
13,200 บาท เป็นค่าใช้จ่ายในครอบครัว ทิวออมเงินคิดเป็นกี่เปอร์เซ็นต์ของเงินเดือนที่ได้รับ

สิ่งที่โจทย์ถาม เปอร์เซ็นต์ของเงินออม เมื่อเทียบกับเงินเดือนที่ได้รับ ทิวได้รับเงินเดือน 15,000 บาท เก็บออมไว้ 1,800 บาท


1800
ถ้าทิวได้รับเงินเดือน 1 บาท เก็บออมไว้ บาท
15000
สิ่งที่โจทย์บอก ทิวออมเงิน เดือนละ 1,800 บาท เงินเดือนทีเ่ หลือทัง้ หมด 13,200 บาท 1800
ถ้าทิวได้รับเงินเดือน 100 บาท เก็บออมไว้ 100 × = 12 บาท
เป็นค่าใช้จา่ ยในครอบครัว 15000
ดังนั้น ทิวออมเงิน 12% ของเงินเดือนที่ได้รับ

“เงินออมคิดเป็นกี่เปอร์เซ็นต์ เมื่อเทียบกับเงินเดือนที่ได้รับ”
หมายความว่าอย่างไร

ตรวจสอบได้อย่างไรว่า 12% เป็นคำาตอบที่ถูกต้อง


หมายความว่า ถ้าทิวได้รับเงินเดือน 100 บาท ออมเงินกี่บาท

หาเงินเดือนของทิวได้อย่างไร และได้คำาตอบเท่าใด ต้องหาว่า ถ้าทิวออมเงินไว้ 12% ของเงินเดือนที่ได้รับ คิดเป็นเงินกี่บาท


12
ซึ่งหาได้จาก 12% ของ 15,000 บาท คิดเป็น × 15,000 = 1,800 บาท
100
นำาเงินที่ออม รวมกับเงินค่าใช้จ่ายในครอบครัว จะได้ว่า ทิวออมเงินไว้ 1,800 บาท พบว่าสอดคล้องกับโจทย์
จะได้ 1,800 + 13,200 = 15,000 บาท แสดงว่า 12% เป็นคำาตอบที่ถูกต้อง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 135 136 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

1 2

ปีที่แล้วฝนตก 560 มิลลิเมตร ปีนี้ฝนตก 1,316 มิลลิเมตร ปริมาณน้ำาฝนของปีนี้ พ่อปล่อยลูกปลาในบ่อ 2,100 ตัว เป็นลูกปลานิล 1,250 ตัว ที่เหลือเป็นลูกปลาทับทิม

เพิ่มขึ้นจากปีที่แล้วร้อยละเท่าใด จำานวนลูกปลาทับทิมคิดเป็นกี่เปอร์เซ็นต์ของจำานวนลูกปลานิล

วิธีคิด 1. หาปริมาณน้ำาฝนที่เพิ่มขึ้น โดยนำาปริมาณน้ำาฝนของปีนี้ ลบด้วย วิธีคิด 1. หาจำานวนลูกปลาทับทิม โดยนำาจำานวนลูกปลาทั้งหมด ลบด้วย จำานวนลูกปลานิล


ปริมาณน้ำาฝนของปีที่แล้ว 2. หาจำานวนลูกปลาทับทิม โดยเทียบกับจำานวนลูกปลานิล 100 ตัว
2. หาปริมาณน้ำาฝนที่เพิ่มขึ้น โดยเทียบกับปริมาณน้ำาฝนของปีที่แล้ว 100 มิลลิเมตร

วิธีทำา ปีที่แล้วฝนตก 560 มม. ปีนี้ปริมาณน้ำาฝนเพิ่มขึ้น 1,316 – 560 = 756 มม. ปลานิล
ปลาทับทิม
756 วิธีทำา พ่อปล่อยลูกปลาในบ่อ 2,100 ตัว เป็นลูกปลานิล 1,250 ตัว
ถ้าปีที่แล้วฝนตก 1 มม. ปีนี้ปริมาณน้ำาฝนเพิ่มขึ้น มม.
560
756 แสดงว่า เป็นลูกปลาทับทิม 2,100 – 1,250 = 850 ตัว
ถ้าปีที่แล้วฝนตก 100 มม. ปีนี้ปริมาณน้ำาฝนเพิ่มขึ้น 100 × = 135 มม.
560
ดังนั้น ปริมาณน้ำาฝนของปีนี้เพิ่มขึ้นจากปีที่แล้วร้อยละ 135 ในบ่อมีลูกปลานิล 1,250 ตัว มีลูกปลาทับทิม 850 ตัว
850
ตอบ เพิ่มขึ้นจากปีที่แล้วร้อยละ ๑๓๕ ถ้าในบ่อมีลูกปลานิล 1 ตัว จะมีลูกปลาทับทิม ตัว
1250
850
ถ้าในบ่อมีลูกปลานิล 100 ตัว จะมีลูกปลาทับทิม 100 × = 68 ตัว
1250
ดังนั้น จำานวนลูกปลาทับทิมคิดเป็น 68% ของจำานวนลูกปลานิล

ตอบ ๖๘% ของจำานวนลูกปลานิล


ตรวจสอบได้อย่างไรว่า ร้อยละ 135 เป็นคำาตอบที่ถูกต้อง

ตรวจสอบได้อย่างไรว่า 68% เป็นคำาตอบที่ถูกต้อง


ต้องหาว่า ปริมาณน้ำาฝนในปีนี้คิดเป็นกี่มิลลิเมตร

135 ต้องหาว่า ถ้าจำานวนลูกปลาทับทิมคิดเป็น 68% ของจำานวนลูกปลานิล


ซึ่งหาได้จาก ร้อยละ 135 ของ 560 มม. คิดเป็น × 560 = 756 มม.
100
จะมีลูกปลาทั้งหมดกี่ตัว
จะได้ว่า ปีนี้ฝนตก 560 + 756 = 1,316 มม. พบว่าสอดคล้องกับโจทย์
ซึ่งหาได้จาก จำานวนลูกปลาทับทิมมี 68% ของจำานวนลูกปลานิล 1,250 ตัว
แสดงว่า ร้อยละ 135 เป็นคำาตอบที่ถูกต้อง 68
คิดเป็น × 1,250 = 850 ตัว
100
จะได้ว่า พ่อปล่อยลูกปลาทั้งหมด 1,250 + 850 = 2,100 ตัว
พบว่าสอดคล้องกับโจทย์ แสดงว่า 68% เป็นคำาตอบที่ถูกต้อง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 137 138 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

120 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

5. ให้นก
ั เรียนช่วยกันตอบคำ�ถามในหน้าเปิดบทอีกครัง้
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6

ครูตรวจสอบความถูกต้อง จากนัน ้ ให้นกั เรียนทำ�กิจกรรม บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

ตรวจสอบความเข้าใจหน้า 139 เป็นรายบุคคล แสดงวิธีหาคำาตอบ

1 เดือนมิถุนายนสหกรณ์โรงเรียนขายไอศกรีมได้ 1,200 ถ้วย เดือนกรกฎาคมขายได้ 1,104 ถ้วย


เดือนกรกฎาคมสหกรณ์โรงเรียนขายไอศกรีมลดลงจากเดือนมิถุนายนกี่เปอร์เซ็นต์

2 ปีที่แล้วพ่อได้รับเงินเดือน เดือนละ 25,600 บาท ปีนี้ได้รับเงินเดือน เดือนละ 26,880 บาท


ปีนี้พ่อได้รับเงินเดือนเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้วร้อยละเท่าใด

3 แม่จ่ายเงินซื้อของใช้ 3,200 บาท เป็นค่าของใช้ในครัว 2,000 บาท ที่เหลือเป็นค่าของใช้


ในห้องน้ำา ค่าของใช้ในห้องน้ำาคิดเป็นร้อยละเท่าใดของค่าของใช้ในครัว

4 เมื่อวานป้าแก้วขายก๋วยเตี๋ยวได้ 80 ชาม วันนี้ขายได้มากกว่าเมื่อวาน 112 ชาม


ก๋วยเตี๋ยวที่ป้าแก้วขายได้ในวันนี้คิดเป็นร้อยละเท่าใดของเมื่อวาน

5 ลุงบุญทำานาได้ข้าวเหนียว 1,292 ถัง ข้าวเจ้า 1,900 ถัง ลุงบุญทำานาได้ข้าวเหนียวน้อยกว่า


ข้าวเจ้ากี่เปอร์เซ็นต์

แบบฝึกหัด 4.3

ตรวจสอบความเข้าใจ

แสดงวิธีหาคำาตอบ

1 เดือนที่แล้วพ่อเสียค่าไฟฟ้า 1,480 บาท เดือนนี้เสียค่าไฟฟ้า 962 บาท เดือนนี้พ่อเสียค่าไฟฟ้า


คิดเป็นกี่เปอร์เซ็นต์ของเดือนที่แล้ว

2 เมื่อ 3 ปีที่แล้ว ออมสินสูง 150 เซนติเมตร ปัจจุบันสูงขึ้น 18 เซนติเมตร


ความสูงในปัจจุบันของออมสิน คิดเป็นร้อยละเท่าใด เมื่อเทียบกับความสูงเมื่อ 3 ปีที่แล้ว

3 ในถุงมีลูกปัดทั้งหมด 945 เม็ด เป็นสีส้ม 420 เม็ด ที่เหลือเป็นสีเขียว


ลูกปัดสีเขียวคิดเป็นกี่เปอร์เซ็นต์ของลูกปัดสีส้ม

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 139

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

เฉลยหน้า 139 เฉลยหน้า 139

1 ตัวอย่าง 3 วิธีคิด 1. หาค่าของใช้ในห้องน้ำา โดยนำาจำานวนเงินที่แม่จ่ายค่าของใช้ ลบด้วยค่าของใช้ในครัว


วิธีคิด 1. หาจำา1.นวนไอศกรี
หาจำานวนไอศกรี มทีล่ขดลง
มที่ขายได้ ายได้โดยนำ
ลดลงาจำโดยนำ าจำานวนไอศกรี
านวนไอศกรี มทีใ่ขนเดื
มที่ขายได้ ายได้ ในเดื
อนมิ ถุนอายน
นมิถุนายน 2. หาค่าของใช้ในห้องน้ำา โดยเทียบกับค่าของใช้ในครัว 100 บาท
ลบด้วยจำลบด้ วยจำานวนไอศกรี
านวนไอศกรี มทีใ่ขนเดื
มที่ขายได้ ายได้ ในเดือนกรกฎาคม
อนกรกฎาคม
วิธีทำ� แม่จ่ายเงินซื้อของใช้ 3,200 บาท เป็นค่าของใช้ในครัว 2,000 บาท
2. หาจำา2.นวนไอศกรี
หาจำานวนไอศกรี มทีล่ขดลงในเดื
มที่ขายได้ ายได้ลดลงในเดื อนกรกฎาคม
อนกรกฎาคม โดยเทียโดยเที
บกับจำยานวนไอศกรี
บกับจำานวนไอศกรี มที่ขายได้
มที่ขายได้
ในเดื
ในเดือนมิ ถุนอายน
นมิถ100
ุนายนถ้ว100
ย ถ้วย แสดงว่า เป็นค่าของใช้ในห้องน้ำา 3,200 − 2,000 = 1,200 บาท

วิธีทำ� เดือนมิถเดืุนอายนขายไอศกรี
นมิถุนายนขายไอศกรี มได้ 1,200
มได้ 1,200 ถ้วย เดืถ้อวนกรกฎาคมขายได้
ย เดือนกรกฎาคมขายได้
1,104 1,104
ถ้วย ถ้วย ค่าของใช้ในครัว 2,000 บาท ค่าของใช้ในห้องน้ำา 1,200 บาท
1200
แสดงว่าแสดงว่ า เดือนกรกฎาคมขายได้
เดือนกรกฎาคมขายได้ ลดลง 1,200
ลดลง 1,200 − 1,104
− 1,104 = 96 =ถ้วย96 ถ้วย ถ้าค่าของใช้ในครัว 1 บาท ค่าของใช้ในห้องน้ำา บาท
2000
1200
เดือนมิถุนายนขายได้ 1,200 ถ้วย เดือนกรกฎาคมขายได้ลดลง 96 ถ้วย ถ้าค่าของใช้ในครัว 100 บาท ค่าของใช้ในห้องน้ำา 100 × = 60 บาท
2000
ถ้าเดือนมิถุนายนขายได้ 1 ถ้วย เดือนกรกฎาคมขายได้ลดลง 96 ถ้วย ดังนั้น ค่าของใช้ในห้องน้ำาคิดเป็นร้อยละ 60 ของค่าของใช้ในครัว
1200
96
ถ้าเดือนมิถุนายนขายได้ 100 ถ้วย เดือนกรกฎาคมขายได้ลดลง 100 × = 8 ถ้วย ตอบ ร้อยละ ๖๐ ของค่าของใช้ในครอบครัว
1200
ดังนั้น เดือนกรกฎาคมสหกรณ์โรงเรียนขายไอศกรีมลดลงจากเดือนมิถุนายน 8%

ตอบ ๘%
4 ตัวอย่าง
วิธีคิด 1. หาจำานวนก๋วยเตี๋ยวที่ขายได้ในวันนี้ โดยนำาจำานวนก๋วยเตี๋ยวที่ขายได้เมื่อวาน รวมกับ
2 ตัวอย่าง จำานวนก๋วยเตี๋ยวที่ขายได้มากกว่าเมื่อวาน
วิธีคิด 1. หาเงิ1.
นเดืหาเงิ
อนทีน่เเดื
พิ่มอขึนที
้น ่เพิโดยนำ
่มขึ้นาเงิโดยนำ
นเดือานปี
เงินนเดืี้ ลบด้
อนปีวนยเงิ
ี้ ลบด้
นเดืวอยเงิ
นปีนทเดืี่แอล้นปี
ว ที่แล้ว 2. หาจำานวนก๋วยเตี๋ยวที่ขายได้ในวันนี้ โดยเทียบกับจำานวนก๋วยเตี๋ยวที่ขายได้เมื่อวาน

2. หาเงินเดือนที่เพิ่มขึ้นของปีนี้ โดยเทียบกับเงินเดือนปีที่แล้ว 100 บาท 100 ชาม

วิธีทำ� ปีที่แล้วพ่อได้รับเงินเดือน เดือนละ 25,600 บาท ปีนี้ได้รับเงินเดือน เดือนละ 26,880 บาท วิธีทำ� เมื่อวานป้าแก้วขายก๋วยเตี๋ยวได้ 80 ชาม วันนี้ขายได้มากกว่าเมื่อวาน 112 ชาม

แสดงว่าแสดงว่
ปีนี้พ่อาได้
ปีรนับี้พเงิ่อนได้เดืรับ เงินเดื
อนเพิ ่มขึอ้นนเพิ26,880
่มขึ้น 26,880 − 25,600
− 25,600 = 1,280
= 1,280 บาท บาท แสดงว่า วันนี้ป้าแก้วขายก๋วยเตี๋ยวได้ 80 + 112 = 192 ชาม

ปีที่แล้วได้เงินเดือน เดือนละ 25,600 บาท ปีนี้ได้เพิ่มขึ้น 1,280 บาท เมื่อวานขายได้ 80 ชาม วันนี้ขายได้ 192 ชาม
192
1280 บาท ถ้าเมื่อวานขายได้ 1 ชาม วันนี้ขายได้ ชาม
ถ้าปีที่แล้วได้เงินเดือน เดือนละ 1 บาท ปีนี้ได้เพิ่มขึ้น 80
25600 192
1280 ถ้าเมื่อวานขายได้ 100 ชาม วันนี้ขายได้ 100 × = 240 ชาม
ถ้าปีที่แล้วได้เงินเดือน เดือนละ 100 บาท ปีนี้ได้เพิ่มขึ้น 100 × = 5 บาท 80
25600
ดังนั้น ก๋วยเตี๋ยวที่ป้าแก้วขายได้ในวันนี้คิดเป็นร้อยละ 240 ของเมื่อวาน
ดังนั้น ปีนี้พ่อได้รับเงินเดือนเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้วร้อยละ 5
ตอบ ร้อยละ ๒๔๐ ของเมื่อวาน
ตอบ ร้อยละ ร้๕อยละ ๕

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 121
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

เฉลยหน้า 139 เฉลยหน้า 139

5 ตัวอย่าง 2 ตัวอย่าง
วิธีคิด 1. หาปริ
1.มหาปริ
าณข้ามวเหนี
าณข้ยาวที ่น้อยยกว่
วเหนี วที่นาข้้อายกว่
วเจ้าาข้าโดยนำ
วเจ้าาปริ มาณข้
โดยนำ าปริามวเจ้
าณข้า ลบด้
าวเจ้วายปริ
ลบด้มวาณข้
ยปริามวเหนี
าณข้ยาววเหนียว วิธีคิด 1. หาความสูงในปัจจุบัน โดยนำาความสูงเมื่อ 3 ปีที่แล้ว รวมกับความสูงที่เพิ่มขึ้นในปัจจุบัน
2. หาปริ
2.มหาปริ
าณข้ามวเหนี
าณข้ยาวที ่น้อยยกว่
วเหนี วที่นาข้้อายกว่
วเจ้าาข้าโดยเที
วเจ้า ยโดยเที
บกับปริ มาณข้
ยบกั บปริามวเจ้
าณข้า 100
าวเจ้าถัง100 ถัง 2. หาความสูงในปัจจุบัน โดยเทียบกับความสูงเมื่อ 3 ปีที่แล้ว 100 เซนติเมตร

วิธีทำ� ลุงบุญทำลุางนาได้
บุญทำขา้านาได้
วเหนีขย้าววเหนี
1,292 ถัง ข้าวเจ้
ยว 1,292 ถัง าข้1,900 ถัง
าวเจ้า 1,900 ถัง วิธีทำ� เมื่อ 3 ปีที่แล้ว ออมสินสูง 150 เซนติเมตร ปัจจุบันสูงขึ้น 18 เซนติเมตร
แสดงว่า ได้ข้าวเหนียวน้อยกว่าข้าวเจ้า 1,900 − 1,292 = 608 ถัง แสดงว่า ปัจจุบันออมสินสูง 150 + 18 = 168 เซนติเมตร
ทำานาได้ข้าวเจ้า 1,900 ถัง ได้ข้าวเหนียวน้อยกว่าข้าวเจ้า 608 ถัง
เมื่อ 3 ปีที่แล้ว สูง 150 เซนติเมตร ปัจจุบันสูง 168 เซนติเมตร
608 168
ถ้าทำานาได้ข้าวเจ้า 1 ถัง ได้ข้าวเหนียวน้อยกว่าข้าวเจ้า ถัง ถ้าเมื่อ 3 ปีที่แล้ว สูง 1 เซนติเมตร ปัจจุบันสูง เซนติเมตร
1900 150
608 168
ถ้าทำานาได้ข้าวเจ้า 100 ถัง ได้ข้าวเหนียวน้อยกว่าข้าวเจ้า 100 × = 32 ถัง ถ้าเมื่อ 3 ปีที่แล้ว สูง 100 เซนติเมตร ปัจจุบันสูง 100 ×
1900 = 112 เซนติเมตร
150
ดังนั้น ลุงบุญทำานาได้ข้าวเหนียวน้อยกว่าข้าวเจ้า 32% ดังนั้น ความสูงในปัจจุบันของออมสิน คิดเป็นร้อยละ 112 เมื่อเทียบกับความสูงเมื่อ 3 ปีที่แล้ว
ตอบ ๓๒% ตอบ ร้อยละ ๑๑๒

ตรวจสอบคว�มเข้�ใจ
3 วิธีคิด 1. หาจำานวนลูกปัดสีเขียว โดยนำาจำานวนลูกปัดทั้งหมด ลบด้วยจำานวนลูกปัดสีส้ม
1 วิธีคิด หาค่าไฟฟ้
หาค่าของเดื
าไฟฟ้าอของเดื
นนี้ เมือ่อนนี
เที้ยเมื
บกั บค่ยาบกั
่อเที ไฟฟ้บค่าของเดื
าไฟฟ้าอของเดื
นที่แล้อวนที
100่แล้วบาท
100 บาท
2. หาจำานวนลูกปัดสีเขียว โดยเทียบกับจำานวนลูกปัดสีส้ม 100 เม็ด
วิธีทำ� เดือนที่แล้วเสียค่าไฟฟ้า 1,480 บาท เดือนนี้เสียค่าไฟฟ้า 962 บาท
962 วิธีทำ� ในถุงมีลูกปัดทั้งหมด 945 เม็ด เป็นสีส้ม 420 เม็ด
ถ้าเดือนที่แล้วเสียค่าไฟฟ้า 1 บาท เดือนนี้เสียค่าไฟฟ้า บาท
1480 แสดงว่า เป็นลูกปัดสีเขียว 945 − 420 = 525 เม็ด
962
ถ้าเดือนที่แล้วเสียค่าไฟฟ้า 100 บาท เดือนนี้เสียค่าไฟฟ้า 100 × = 65 บาท
1480 ในถุงมีลูกปัดสีส้ม 420 เม็ด มีลูกปัดสีเขียว 525 เม็ด
ดังนั้น เดือนนี้พ่อเสียค่าไฟฟ้า 65% ของเดือนที่แล้ว 525
ถ้าในถุงมีลูกปัดสีส้ม 1 เม็ด มีลูกปัดสีเขียว เม็ด
420
ตอบ ๖๕% 525
ถ้าในถุงมีลูกปัดสีส้ม 100 เม็ด มีลูกปัดสีเขียว 100 × = 125 เม็ด
420
ดังนั้น มีลูกปัดสีเขียว 125% ของลูกปัดสีส้ม

ตอบ ๑๒๕%

6. การสอนโจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับการซื้อขาย ครูควร หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

ทบทวนความหมายของ กำ�ไร ขาดทุน และลดราคาที่กำ�หนด ร้อยละเกี่ยวกับการซื้อขาย

เป็นร้อยละหรือเปอร์เซ็นต์ก่อน โดยอาจยกตัวอย่างแล้วให้ พิจารณาสถานการณ์ต่อไปนี้

นักเรียนตอบคำ�ถาม เช่น ถ้าทุนของสินค้าชิน


้ หนึง่ เป็น 868 บาท ร้านค้าขายได้ 1,085 บาท
ร้านค้าได้กาำ ไรกีเ่ ปอร์เซ็นต์

- กำ�ไรร้อยละ 10 หมายความว่าอย่างไร ร้านค้าขายสินค้าได้กาำ ไร 1,085 – 868 = 217 บาท


การหากำาไรเป็นเปอร์เซ็นต์
เป็นการหากำาไรเมื่อเทียบกับ

(กำ�ไรร้อยละ 10 หมายความว่า ทุน 100 บาท ทุน 868 บาท ขายได้กาำ ไร


217
217 บาท ทุน 100 บาท

ถ้าทุน 1 บาท ขายได้กาำ ไร บาท


ขายได้กำ�ไร 10 บาท ขายไป 100 + 10 = 110 บาท) ถ้าทุน 100 บาท ขายได้กาำ ไร 100 ×
217
868
= 25 บาท
868
ดังนัน
้ ร้านค้าขายสินค้าได้กาำ ไร 25 เปอร์เซ็นต์
- ขาดทุน 25% หมายความว่าอย่างไร
ถ้าทุนของสินค้าชิน
้ หนึง่ เป็น 800 บาท ร้านค้าขายได้ 688 บาท
(ขาดทุน 25% หมายความว่า ทุน 100 บาท ร้านค้าขาดทุนกีเ่ ปอร์เซ็นต์
การหาการขาดทุนเป็นร้อยละ

ขายขาดทุน 25 บาท ขายไป 100 – 25 = 75 บาท) ร้านค้าขายสินค้าขาดทุน 800 – 688 = 112 บาท เป็นการหาการขาดทุนเมื่อ

ทุน 800 บาท ขายขาดทุน 112 บาท เทียบกับทุน 100 บาท


112
- ลดราคา 32% ของราคาที่ติดไว้ หมายความว่าอย่างไร ถ้าทุน 1 บาท ขายขาดทุน
800
บาท
112
ถ้าทุน 100 บาท ขายขาดทุน 100 × = 14 บาท
(ลดราคา 32% ของราคาที่ติดไว้ หมายความว่า ดังนัน
800
้ ร้านค้าขายสินค้าขาดทุน 14 เปอร์เซ็นต์

ติดราคาสินค้า 100 บาท ลดราคา 32 บาท ร้านค้าติดราคาสินค้า 950 บาท ขายให้ลก


ู ค้า 760 บาท
การหาการลดราคาเป็นร้อยละ

ขายไป 100 – 32 = 68 บาท)


ร้านค้าลดราคากีเ่ ปอร์เซ็นต์
เป็นการหาส่วนลดเมื่อเทียบกับ

ร้านค้าลดราคาสินค้า 950 – 760 = 190 บาท ราคาที่ติดไว้ 100 บาท

ร้านค้าติดราคาสินค้า 950 บาท ลดราคา 190 บาท


190
ถ้าร้านค้าติดราคาสินค้า 1 บาท ลดราคา บาท
950
190
ถ้าร้านค้าติดราคาสินค้า 100 บาท ลดราคา 100 × = 20 บาท
950
ดังนัน
้ ร้านค้าลดราคาสินค้า 20 เปอร์เซ็นต์

140 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

122 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

จากนั้น แนะนำ�การหากำ�ไร ขาดทุน และลดราคา


หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6

เป็นร้อยละหรือเปอร์เซ็นต์ โดยใช้สถานการณ์หน้า 140 บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

ครูให้นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ และบอกความหมายของ แสดงวิธีหาคำาตอบ

1 ร้านค้าลงทุนซื้อเสื้อตัวหนึ่งราคา 720 บาท ขายไป 972 บาท


คำ�ถามในแต่ละสถานการณ์ เช่น ร้านค้าขายเสื้อตัวนี้ได้กำาไรร้อยละเท่าใด

- ร้านค้าได้กำ�ไรกี่เปอร์เซ็นต์ หมายความว่าอย่างไร
(ถ้าทุนของสินค้า 100 บาท ร้านค้าขายได้กำ�ไรกี่บาท)
- ร้านค้าขาดทุนกี่เปอร์เซ็นต์ หมายความว่าอย่างไร 2 ออมสินขายหมวกให้ขุน 900 บาท ถ้าออมสินซื้อหมวกใบนี้ราคา 1,200 บาท
ออมสินขาดทุนกี่เปอร์เซ็นต์

(ถ้าทุนของสินค้า 100 บาท ร้านค้าขายขาดทุนกี่บาท)


- ร้านค้าลดราคากี่เปอร์เซ็นต์ หมายความว่าอย่างไร
(ถ้าร้านค้าติดราคา 100 บาท ลดราคากี่บาท)
แล้วใช้การถาม-ตอบ ประกอบการอธิบายเพื่อนำ�ไปสู่ 3 ร้านค้าติดราคานาฬิกาไว้ 8,900 บาท แต่ขายให้ลูกค้า 6,230 บาท ร้านค้าลดราคากี่เปอร์เซ็นต์

การหาคำ�ตอบโดยใช้บัญญัติไตรยางศ์ และร่วมกันสรุป
8,900 บาท
เกี่ยวกับความหมายของกำ�ไร ขาดทุน และการลดราคา 6,230 บาท

เป็นร้อยละ หรือเปอร์เซ็นต์ ซึ่งควรจะได้ว่า ร้านค้าติดราคากระเป๋าไว้ 4,500 บาท แต่ขายให้ลูกค้า 3,960 บาท ร้านค้าลดราคาร้อยละเท่าใด
4

• การหากำ�ไรเป็นร้อยละหรือเปอร์เซ็นต์ เป็นการหากำ�ไร
เมื่อเทียบกับทุน 100 บาท SALE 4,500 บาท
3,960 บาท

• การหาการขาดทุนเป็นร้อยละหรือเปอร์เซ็นต์ แบบฝึกหัด 4.4

เป็นการหาการขาดทุน เมื่อเทียบกับทุน 100 บาท สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 141

• การหาการลดราคาเป็นร้อยละหรือเปอร์เซ็นต์
เป็นการหาส่วนลด เมือ
่ เทียบกับราคาทีต
่ ด
ิ ไว้ 100 บาท
จากนั้นร่วมกันทำ�กิจกรรมหน้า 141 แล้วให้ทำ�
แบบฝึกหัด 4.4 เป็นรายบุคคล

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 123
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

เฉลยหน้า 141 เฉลยหน้า 141

1 ตัวอย่าง 4 ตัวอย่าง
ร้านค้า้อขายเสื
วิธีทำ� ร้านค้าขายเสื ้อได้972
ได้กำาไร กำาไร−972
720−=720
252= บาท
252 บาท วิธีทำ� ร้านค้าลดราคากระเป๋า 4,500 − 3,960 = 540 บาท

ทุน 720 บาท ขายได้กำาไร 252 บาท ร้านค้าติดราคากระเป๋า 4,500 บาท ลดราคา 540 บาท
252 540
ถ้าทุน 1 บาท ขายได้กำาไร บาท ถ้าร้านค้าติดราคากระเป๋า 1 บาท ลดราคา บาท
720 4500
252 540
ถ้าทุน 100 บาท ขายได้กำาไร 100 × = 35 บาท ถ้าร้านค้าติดราคากระเป๋า 100 บาท ลดราคา 100 × = 12 บาท
720 4500
ดังนั้น ร้านค้าขายเสื้อตัวนี้ได้กำาไรร้อยละ 35
ดังนั้น ร้านค้าลดราคากระเป๋าร้อยละ 12
ตอบ ร้อยละร้๓๕
อยละ ๓๕
ตอบ ร้อยละ ๑๒

2 ตัวอย่าง
วิธีทำ� ออมสินออมสิ นขายหมวกขาดทุ
ขายหมวกขาดทุ น 1,200น 1,200
− 900−=900
300= บาท
300 บาท

ทุน 1,200 บาท ขายขาดทุน 300 บาท


300
ถ้าทุน 1 บาท ขายขาดทุน บาท
1200
300
ถ้าทุน 100 บาท ขายขาดทุน 100 × = 25 บาท
1200
ดังนั้น ออมสินขายหมวกขาดทุน 25%

ตอบ ๒๕% ๒๕%

3 ตัวอย่าง
ร้านค้าลดราคานาฬิ
วิธีทำ� ร้านค้าลดราคานาฬิ กา 8,900
กา 8,900 − 6,230
− 6,230 = 2,670
= 2,670 บาท บาท

ร้านค้าลดราคานาฬิกา 8,900 บาท ลดราคา 2,670 บาท


2670
ถ้าร้านค้าลดราคานาฬิกา 1 บาท ลดราคา บาท
8900
2670
ถ้าร้านค้าลดราคานาฬิกา 100 บาท ลดราคา 100 × = 30 บาท
8900
ดังนั้น ร้านค้าลดราคานาฬิกา 30%

ตอบ ๓๐% ๓๐%

7. การสอนโจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับการหาทุน หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

หรือราคาซื้อ เมื่อกำ�หนดกำ�ไรหรือขาดทุนเป็นร้อยละ พิจารณาสถานการณ์ต่อไปนี้

หรือเปอร์เซ็นต์ ครูอาจจัดกิจกรรมโดยนำ�สนทนาเกี่ยวกับ ร้านค้าขายรองเท้าคู่หนึ่งราคา 1,560 บาท ได้กำาไร 30%

สถานการณ์หน้า 142 ให้นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์โจทย์


ร้านค้าซื้อรองเท้าคู่นี้มาราคาเท่าใด

ทำ�ความเข้าใจในสิง่ ทีโ่ จทย์ถาม และสิง่ ทีโ่ จทย์บอกให้ชด


ั เจน
ร้านค้าขายรองเท้าได้กำาไร 30% หมายความว่าอย่างไร

จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันอธิบายความหมายของกำ�ไร ถ้าทุนของรองเท้า 100 บาท ขายได้กำาไร 30 บาท


ร้านค้าขายรองเท้าราคา 100 + 30 = 130 บาท

30% ให้สอดคล้องกับสิ่งที่โจทย์ถาม แล้วแนะนำ�ให้นักเรียน


หาราคารองเท้าที่ซื้อมาได้อย่างไร

เรียบเรียงโจทย์ใหม่ เพื่อเชื่อมโยงไปสู่การหาคำ�ตอบโดยใช้
บัญญัติไตรยางศ์ โดยแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ราคาขาย หาได้โดยใช้บัญญัติไตรยางศ์ ดังนี้

ถ้าขายรองเท้าราคา 130 บาท จากทุน 100 บาท


กับ ทุน ซึ่งควรจะได้ว่า ถ้าขายรองเท้าราคา 1 บาท จากทุน
100
บาท
130

“ถ้าขายรองเท้าราคา 130 บาท จากทุน 100 บาท ถ้าขายรองเท้าราคา 1,560 บาท จากทุน 1,560 ×
100
130
= 1,200 บาท

ดังนั้น ร้านค้าซื้อรองเท้ามาราคา 1,200 บาท


ขายรองเท้าราคา 1,560 บาท จากทุนกี่บาท”
จากนั้นร่วมกันเขียนแสดงวิธีแก้ปัญหาโดยใช้
บัญญัติไตรยางศ์ พร้อมให้นักเรียนตรวจสอบความถูกต้อง
ตรวจสอบได้อย่างไรว่า 1,200 บาท เป็นคำาตอบที่ถูกต้อง

ของคำ�ตอบโดยใช้เครื่องคิดเลข ต้องหาว่า ถ้าทุนของรองเท้าเป็น 1,200 บาท ต้องขายเท่าใด จึงจะได้กำาไร 30%


30
ซึ่งหาได้จาก กำาไร 30% ของ 1,200 บาท คิดเป็น × 1,200 = 360 บาท
100
จะได้ว่า ร้านค้าขายรองเท้าราคา 1,200 + 360 = 1,560 บาท

พบว่าสอดคล้องกับโจทย์ แสดงว่า 1,200 บาท เป็นคำาตอบที่ถูกต้อง

142 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

124 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

8. การสอนโจทย์ปญ ั หาร้อยละเกีย่ วกับการหาราคาทีต ่ ดิ ไว้


หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6

เมือ ่ กำ�หนด การลดราคาเป็นร้อยละหรือเปอร์เซ็นต์ หน้า 143 บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

ครูอาจจัดกิจกรรมทำ�นองเดียวกันกับการสอน หน้า 142 พิจารณาสถานการณ์ต่อไปนี้

โดยควรให้นก ั เรียนบอกความหมายของการลดราคา 20%


ร้านค้าประกาศลดราคากระเป๋า 20% จอยซื้อกระเป๋าราคา 992 บาท
ร้านค้าติดราคาขายกระเป๋าใบนี้เท่าใด

ให้สอดคล้องกับสิง่ ทีโ่ จทย์ถามก่อน แล้วให้นก ั เรียนเรียบเรียง


ลดราคา 20% หมายความว่าอย่างไร

โจทย์ใหม่ เพือ่ เชือ่ มโยงไปสูก่ ารหาคำ�ตอบโดยใช้บญ ั ญัตไิ ตรยางศ์


ถ้าติดราคากระเป๋า 100 บาท ลดราคาให้ 20 บาท
โดยแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ราคาขาย กับ ราคาทีต ่ ดิ ไว้ ขายกระเป๋าราคา 100 − 20 = 80 บาท

ซึง่ ควรจะได้วา่ หาราคากระเป๋าที่ร้านค้าติดไว้ได้อย่างไร

“ถ้าจอยซือ ้ กระเป๋า 80 บาท ร้านค้าติดราคาไว้ 100 บาท


หาได้โดยใช้บัญญัติไตรยางศ์ ดังนี้

จอยซือ ้ กระเป๋า 992 บาท ร้านค้าจะติดราคากีบ ่ าท” ถ้าจอยซื้อกระเป๋าราคา 80 บาท จากราคาที่ติดไว้ 100 บาท
100
ถ้าจอยซื้อกระเป๋าราคา 1 บาท จากราคาที่ติดไว้ บาท
80
100
จอยซื้อกระเป๋าราคา 992 บาท จากราคาที่ติดไว้ 992 × = 1,240 บาท
80
ดังนั้น ร้านค้าติดราคากระเป๋าใบนี้ไว้ 1,240 บาท

ตรวจสอบได้อย่างไรว่า 1,240 บาท เป็นคำาตอบที่ถูกต้อง

ต้องหาว่า ถ้าร้านค้าลดราคากระเป๋า 20% จากราคาที่ติดไว้ 1,240 บาท

จอยซื้อกระเป๋าในราคาเท่าใด
20
ซึ่งหาได้จาก ลดราคา 20% ของ 1,240 บาท คิดเป็น × 1,240 = 248 บาท
100
จะได้ว่า จอยซื้อกระเป๋าในราคา 1,240 – 248 = 992 บาท

พบว่าสอดคล้องกับโจทย์ แสดงว่า 1,240 บาท เป็นคำาตอบที่ถูกต้อง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 143

9. ครูใช้การถาม-ตอบประกอบการอธิบายตัวอย่าง หน้า 144


หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6

ซึง่ ครูควรเน้นย้�ำ ให้นก


ั เรียนบอกความหมายของกำ�ไร ขาดทุน บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

หรือลดราคาก่อน เพือ ่ ช่วยให้วางแผนแก้ปญ


ั หาได้งา่ ยขึน

ภีมม์ขายเก้าอี้ให้ต้าราคา 2,660 บาท ขาดทุน 24%
จากนัน ้ ร่วมกันทำ�กิจกรรมหน้า 145 และให้ท�ำ แบบฝึกหัด 4.5 ภีมม์ซื้อเก้าอี้ตัวนี้มาราคาเท่าใด

เป็นรายบุคคล วิธีคิด หาราคาขายโดยเทียบกับทุน 100 บาท แล้วหาทุนของเก้าอี้


เมื่อขายไปในราคา 2,660 บาท

วิธีทำา ทุนของเก้าอี้ 100 บาท ขายขาดทุน 24 บาท

แสดงว่าขายเก้าอี้ราคา 100 − 24 = 76 บาท

ถ้าขายเก้าอี้ราคา 76 บาท จากทุน 100 บาท


100
ถ้าขายเก้าอี้ราคา 1 บาท จากทุน บาท
76
100
ขายเก้าอี้ราคา 2,660 บาท จากทุน 2,660 × = 3,500 บาท
76
ดังนั้น ภีมม์ซื้อเก้าอี้ตัวนี้มาราคา 3,500 บาท

ตอบ ๓,๕๐๐ บาท

ตรวจสอบได้อย่างไรว่า 3,500 บาท เป็นคำาตอบที่ถูกต้อง

ต้องหาว่า ถ้าทุนของเก้าอี้เป็น 3,500 บาท ขายขาดทุน 24% จะขายราคาเท่าใด


24
ซึ่งหาได้จาก ขาดทุน 24% ของ 3,500 บาท คิดเป็น × 3,500 = 840 บาท
100
จะได้ว่า ภีมม์ขายเก้าอี้ราคา 3,500 – 840 = 2,660 บาท พบว่าสอดคล้องกับโจทย์

แสดงว่า 3,500 บาท เป็นคำาตอบที่ถูกต้อง

144 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 125
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

10. เพือ
่ ตรวจสอบความเข้าใจและสรุปความรูท
้ ไ่ี ด้ ให้นก
ั เรียน
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6

ทำ�กิจกรรมหน้า 145 เป็นรายบุคคล บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

แสดงวิธีหาคำาตอบ

1 ร้านค้าขายชุดรับแขกราคา 4,500 บาท ได้กำาไร 25% ร้านค้าซื้อชุดรับแขกชุดนี้ราคาเท่าใด

2 ร้านเครื่องเขียนติดป้ายลดราคาดินสอสี 30% บอสซื้อดินสอสี 1 กล่อง ราคา 238 บาท


ร้านเครื่องเขียนติดราคาดินสอสีกล่องนี้เท่าใด

3 บูมขายลำาโพงคู่หนึ่งให้ป้างราคา 3,400 บาท ขาดทุน 20% บูมซื้อลำาโพงคู่นี้ราคาเท่าใด

แบบฝึกหัด 4.5

ตรวจสอบความเข้าใจ

แสดงวิธีหาคำาตอบ

1 ร้านค้าติดราคาโทรทัศน์ 15,400 บาท ลดราคาเหลือ 10,010 บาท ร้านค้าลดราคาโทรทัศน์


ร้อยละเท่าใด
2 ขุนซื้อหมวกมาราคา 1,250 บาท ขายให้เพื่อน 850 บาท ขุนขายหมวกขาดทุนกี่เปอร์เซ็นต์
3 ร้านค้าขายพัดลมราคา 800 บาท ถ้าร้านค้าซื้อพัดลมมาราคา 640 บาท ร้านค้าได้กำาไร
กี่เปอร์เซ็นต์
4 เอกขายภาพวาดสีน้ำามันราคา 5,940 บาท ได้กำาไร 65% เอกซื้อภาพวาดนี้ราคาเท่าใด
5 ร้านค้าติดป้ายลดราคาตู้เสื้อผ้า 25% แม่ซื้อตู้เสื้อผ้าราคา 6,450 บาท ร้านค้าติดราคาขาย
ตู้เสื้อผ้าเท่าใด
6 ออมสินขายเสื้อยืดให้ใบบัวราคา 270 บาท โดยขายขาดทุน 40% ออมสินซื้อเสื้อยืดตัวนี้
ราคาเท่าใด

สิ่งที่ได้เรียนรู้

บอกลำาดับขั้นการหาคำาตอบของโจทย์ปัญหา

ร้านค้าขายเตียงหลังหนึ่งให้ลูกค้าราคา 2,800 บาท ซึ่งเป็นราคาที่ลดให้ 20%

1 ร้านค้าติดราคาเตียงไว้เท่าใด

2 ราคาเตียงที่ขายไปนี้ ร้านค้ายังคงได้กำาไร 20% ร้านค้าซื้อเตียงหลังนี้มาราคาเท่าใด

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 145

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

เฉลยหน้า 145 เฉลยหน้า 145

1 ตัวอย่าง 3 ตัวอย่าง
วิธีคิด หาราคาขายจากความหมายของกำ าไร 25%
หาราคาขายจากความหมายของกำ แล้วจึงหาทุ
าไร 25% แล้วจึนงของชุ
หาทุนดของชุ
รับแขกเมื
ดรับ่อแขกเมื
ขายไปในราคา
่อขายไปในราคา วิธีคิด หาราคาขายลำาโพงจากความหมายของขาดทุน 20% แล้วจึงหาราคาที่บูมซื้อลำาโพง
4,500 4,500
บาท บาท เมื่อขายไปในราคา 3,400 บาท

วิธีทำ� ถ้าร้านค้ถ้าซืร้า้อนค้
ชุดารัซืบ้อแขก
ชุดรั100
บแขกบาท
100ขายได้
บาท กขายได้
ำาไร 25
กำาบาท
ไร 25 บาท วิธีทำ� ถ้าบูมซื้อลำาโพงมา 100 บาท ขายขาดทุน 20 บาท
แสดงว่าแสดงว่
ขายชุาดขายชุ
รับแขกราคา 100 +100
ดรับแขกราคา 25 = 125= บาท
+ 25 125 บาท แสดงว่า บูมขายลำาโพงราคา 100 − 20 = 80 บาท

ถ้าร้านค้าขายชุดรับแขกราคา 125 บาท ซื้อมา 100 บาท ถ้าบูมขายลำาโพงราคา 80 บาท ซื้อมา 100 บาท
100
100 ถ้าบูมขายลำาโพงราคา 1 บาท ซื้อมา บาท
ถ้าร้านค้าขายชุดรับแขกราคา 1 บาท ซื้อมา บาท 80
125 100
100 บูมขายลำาโพงราคา 3,400 บาท ซื้อมา 3,400 × = 4,250 บาท
ร้านค้าขายชุดรับแขกราคา 4,500 บาท ซื้อมา 4,500 × = 3,600 บาท 80
125 ดังนั้น บูมซื้อลำาโพงคู่นี้ราคา 4,250 บาท
ดังนั้น ร้านค้าซื้อชุดรับแขกนี้ราคา 3,600 บาท
ตอบ ๔,๒๕๐ บาท
ตอบ ๓,๖๐๐๓,๖๐๐
บาท บาท

ตรวจสอบคว�มเข้�ใจ

2 ตัวอย่าง 1 วิธีทำ� ร้านค้าลดราคาโทรทัศน์ 15,400 − 10,010 = 5,390 บาท


วิธีคิด หาราคาขายจากความหมายของลดราคา 30% 30%
หาราคาขายจากความหมายของลดราคา แล้วหาราคาดิ นสอสีทนี่ตสอสี
แล้วหาราคาดิ ิดไว้ที่ติดไว้ ร้านค้าติดราคาโทรทัศน์ 15,400 บาท ลดราคา 5,390 บาท
เมื่อขายไปในราคา 238 บาท
เมื่อขายไปในราคา 238 บาท 5390
ถ้าร้านค้าติดราคาโทรทัศน์ 1 บาท ลดราคา บาท
15400
5390
วิธีทำ� ถ้าติดราคาดิ
ถ้าติดนราคาดิ
สอสี 100
นสอสีบาท
100ลดราคาให้ 30 บาท30 บาท
บาท ลดราคาให้ ถ้าร้านค้าติดราคาโทรทัศน์ 100 บาท ลดราคา 100 × = 35 บาท
15400
แสดงว่าแสดงว่
ขายดิานขายดิ
สอสีรนาคา
สอสี100
ราคา−100
30 = 70 =บาท
− 30 70 บาท ดังนั้น ร้านค้าลดราคาโทรทัศน์ร้อยละ 35

ถ้าบอสซื้อดินสอสีราคา 70 บาท จากราคาที่ติดไว้ 100 บาท ตอบ ร้อยละ ๓๕


100
ถ้าบอสซื้อดินสอสีราคา 1 บาท จากราคาที่ติดไว้ บาท 2 ตัวอย่าง
70
100 วิธีทำ� ขุนขายหมวกขาดทุน 1,250 − 850 = 400 บาท
บอสซื้อดินสอสีราคา 238 บาท จากราคาที่ติดไว้ 238 × = 340 บาท
70
ทุน 1,250 บาท ขายขาดทุน 400 บาท
ดังนั้น ร้านเครื่องเขียนติดราคาดินสอสีกล่องนี้ 340 บาท 400
ถ้าทุน 1 บาท ขายขาดทุน บาท
ตอบ ๓๔๐ บาท
๓๔๐ บาท 1250
400
ถ้าทุน 100 บาท ขายขาดทุน 100 × = 32 บาท
1250
ดังนั้น ขุนขายหมวกขาดทุน 32%

ตอบ ๓๒%

126 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

เฉลยหน้า 145 เฉลยหน้า 145

3 ตัวอย่าง 6 ตัวอย่าง
วิธีทำ� ร้านค้าขายพั
ร้านค้าดขายพั
ลมได้กดำาลมได้ กำาไร− 800
ไร 800 640 −=640
160= บาท
160 บาท วิธีทำ� ถ้าออมสินซื้อเสื้อยืด 100 บาท ขายขาดทุน 40 บาท

ร้านค้าซื้อมา 640 บาท ขายได้กำาไร 160 บาท แสดงว่า ออมสินขายเสื้อยืดราคา 100 − 40 = 60 บาท
160 ถ้าออมสินขายเสื้อยืดราคา 60 บาท จากที่ซื้อมา 100 บาท
ถ้าร้านค้าซื้อมา 1 บาท ขายได้กำาไร บาท
640 100
160 ถ้าออมสินขายเสื้อยืดราคา 1 บาท จากที่ซื้อมา บาท
ถ้าร้านค้าซื้อมา 100 บาท ขายได้กำาไร 100 × = 25 บาท 60
640 100
ออมสินขายเสื้อยืดราคา 270 บาท จากที่ซื้อมา 270 × = 450 บาท
ดังนั้น ร้านค้าขายพัดลมได้กำาไร 25% 60
ดังนั้น ออมสินซื้อเสื้อยืดตัวนี้ราคา 450 บาท
ตอบ ๒๕% ๒๕%
ตอบ ๔๕๐ บาท

4 ตัวอย่าง
สิ่งที่ได้เรียนรู้
ถ้าทุนของภาพวาดสี
วิธีทำ� ถ้าทุนของภาพวาดสี น้ำามันบาท
น้ำามัน 100 100เอกขายได้
บาท เอกขายได้ กำาบาท
กำาไร 65 ไร 65 บาท
1 ตัวอย่าง
แสดงว่าแสดงว่ า เอกขายภาพวาดสี
เอกขายภาพวาดสี น้ำามัน100
น้ำามันราคา ราคา+ 100
65 =+ 65
165= บาท
165 บาท
ขั้นที่ 1 หาราคาขายจากความหมายของการลดราคา 20% ซึ่งจะได้ว่า ถ้าติดราคาเตียงไว้
ถ้าเอกขายภาพวาดสีน้ำามันราคา 165 บาท ซื้อมา 100 บาท 100 บาท ลดราคาให้ 20 บาท แสดงว่า ขายเตียงราคา 100 − 20 = 80 บาท
100
ถ้าเอกขายภาพวาดสีน้ำามันราคา 1 บาท ซื้อมา บาท ขั้นที่ 2 หาราคาเตียงที่ติดไว้ เมื่อขายไปในราคา 2,800 บาท
165
100 ถ้าลูกค้าซื้อเตียงราคา 80 บาท ร้านค้าต้องติดราคาไว้ 100 บาท
เอกขายภาพวาดสีน้ำามันราคา 5,940 บาท ซื้อมา 5,940 × = 3,600 บาท
165 100
ถ้าลูกค้าซื้อเตียงราคา 1 บาท ร้านค้าต้องติดราคาไว้ บาท
ดังนั้น เอกซื้อภาพวาดนี้ราคา 3,600 บาท 80
100
ลูกค้าซื้อเตียงราคา 2,800 บาท ร้านค้าต้องติดราคาไว้ 2,800 × = 3,500 บาท
ตอบ ๓,๖๐๐๓,๖๐๐
บาท บาท 80
ดังนั้น ร้านค้าติดราคาเตียงไว้ 3,500 บาท

5 ตัวอย่าง 2 ตัวอย่าง
วิธีทำ� ถ้าร้านค้ถ้าติร้ด
านค้ าติด้เราคาตู
ราคาตู สื้อผ้า ้เ100
สื้อผ้าบาท
100ลดราคาให้
บาท ลดราคาให้
25 บาท25 บาท ขั้นที่ 1 หาราคาขายจากความหมายของกำาไร 20% ซึ่งจะได้ว่า ถ้าทุนของเตียง 100 บาท

แสดงว่าแสดงว่
ร้านค้าาขายตู
ร้านค้้เาสืขายตู ้เสื้อผ้า100
้อผ้าราคา ราคา− 100
25 =− 25
75 =บาท
75 บาท ขายได้กำาไร 20 บาท แสดงว่า ขายเตียงราคา 100 + 20 = 120 บาท
ขั้นที่ 2 หาทุนของเตียงเมื่อขายไปในราคา 2,800 บาท
ถ้าแม่ซื้อตู้เสื้อผ้าราคา 75 บาท ร้านค้าติดราคาไว้ 100 บาท
100 ถ้าขายเตียงราคา 120 บาท จากทุน 100 บาท
ถ้าแม่ซื้อตู้เสื้อผ้าราคา 1 บาท ร้านค้าติดราคาไว้ บาท
75 100
100 ถ้าขายเตียงราคา 1 บาท จากทุน บาท
แม่ซื้อตู้เสื้อผ้าราคา 6,450 บาท ร้านค้าติดราคาไว้ 6,450 × = 8,600 บาท 120
75 100
ขายเตียงราคา 2,800 บาท จากทุน 2,800 × บาท
ดังนั้น ร้านค้าติดราคาขายตู้เสื้อผ้า 8,600 บาท 120
ดังนั้น ร้านค้าซื้อเตียงหลังนี้มาราคาประมาณ 2,333 บาท
ตอบ ๘,๖๐๐๘,๖๐๐
บาท บาท

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 127
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

1.1
4.2 การอ่
อั ตราส่
านวนและมาตราส่
การเขียนจำ�นวนนั
วน บที่มากกว่า 100,000

จุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนสามารถ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

4.2
1. เขียนอัตราส่วนแสดงการเปรียบเทียบปริมาณ อัตราส่วนและมาตราส่วน

2 ปริมาณ อัตราส่วน

2. หาอัตราส่วนที่เท่ากับอัตราส่วนที่กำ�หนด พิจารณาสถานการณ์ต่อไปนี้

ในชีวต
ิ จริงเราจะพบการเปรียบเทียบปริมาณ 2 ปริมาณ

สื่อการเรียนรู้ ในสถานการณ์ตา่ ง ๆ

แผนที่ แผนผัง
ต้นกล้าทำาน้ำาเชื่อม โดยใช้น้ำาตาลทราย 2 ถ้วย ผสมกับ น้ำา 1 ถ้วย

แนวการจัดการเรียนรู้
น้ำาตาลทราย น้ำา

การสอนอัตราส่วนและมาตราส่วน ควรแบ่งเนื้อหา
ตามลำ�ดับการเรียนรู้ดังนี้
ความสัมพันธ์ทแ่ี สดงการเปรียบเทียบปริมาณตัง้ แต่ 2 ปริมาณขึน
้ ไป
ซึง่ อาจมีหน่วยเดียวกันหรือหน่วยต่างกันก็ได้ เรียกว่า “อัตราส่วน”

• อัตราส่วน
จากข้อความ “ต้นกล้าทำาน้ำาเชื่อม โดยใช้น้ำาตาลทราย 2 ถ้วย ผสมกับ น้ำา 1 ถ้วย”
เขียนในรูปอัตราส่วนของปริมาณน้ำาตาลทราย ต่อ ปริมาณน้ำา เป็น 2 : 1 อ่านว่า สองต่อหนึ่ง
• อัตราส่วนที่เท่ากัน หรือ อัตราส่วนของปริมาณน้ำา ต่อ ปริมาณน้ำาตาลทราย เป็น 1 : 2 อ่านว่า หนึ่งต่อสอง

• มาตราส่วน
การเปรียบเทียบปริมาณที่แสดงในรูปอัตราส่วน
โดยอาจจัดกิจกรรมดังนี้ ถ้ามีหน่วยเดียวกัน จะไม่นิยมเขียนหน่วยกำากับไว้

1. การสอนอัตราส่วน ครูควรใช้สถานการณ์สั้น ๆ ที่เกิดขึ้น


146 |
ในชีวิตจริงมานำ�สนทนา เพื่อทำ�ให้การเรียนรู้เรื่องอัตราส่วน
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

เป็นไปอย่างมีความหมาย ซึ่งครูอาจใช้สถานการณ์หน้า หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

146-148 ประกอบการอธิบาย และในระดับชั้นนี้เป็นการ


อธิบายความหมายและการเขียนอัตราส่วนแสดงการ แม่ทำาน้ำากะทิสำาหรับใส่ขนมลอดช่อง ใช้กะทิ 5 ถ้วย ผสมกับน้ำาตาลปี๊บ 4 ถ้วย

เปรียบเทียบปริมาณ 2 ปริมาณ ที่มีหน่วยเดียวกัน และ กะทิ

หน่วยต่างกัน ทั้งนี้ครูควรยกตัวอย่างสถานการณ์อื่นเพิ่มเติม
ให้นักเรียนบอกอัตราส่วนจากสถานการณ์ที่กำ�หนด หรือให้ น้ำาตาลปี๊บ

นักเรียนยกตัวอย่างสถานการณ์ที่ใช้อัตราส่วน แล้วร่วมกัน
อภิปรายเพื่อนำ�ไปสู่ข้อสรุปว่า การเปรียบเทียบปริมาณ อัตราส่วนของปริมาณกะทิ ต่อ ปริมาณน้าำ ตาลปีบ
๊ เป็น 5 : 4

ที่แสดงในรูปอัตราส่วน ถ้ามีหน่วยเดียวกัน จะไม่นิยมเขียน


หรือ อัตราส่วนของปริมาณน้าำ ตาลปีบ
๊ ต่อ ปริมาณกะทิ เป็น 4 : 5

หน่วยกำ�กับไว้ ถ้ามีหน่วยต่างกัน จะเขียนหน่วยกำ�กับไว้


จากนั้นร่วมกันพิจารณาตัวอย่างและร่วมกันทำ�กิจกรรมหน้า แก้วตาหุงข้าว โดยใช้ข้าวสาร 2 ถ้วย กับ น้ำา 3 ถ้วย

149 แล้วให้ทำ�แบบฝึกหัด 4.6 เป็นรายบุคคล

ข้าวสาร น้ำา

อัตราส่วนของปริมาณข้าวสาร ต่อ ปริมาณน้าำ เป็น 2 : 3

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 147

128 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

ไข่ไก่ 6 ฟอง ราคา 30 บาท เขียนอัตราส่วนจากข้อความต่อไปนี้

30 บาท 1 ครู 1 คน ดูแลนักเรียน 20 คน


ตอบ อัตราส่วนของจำานวนครู ต่อ จำานวนนักเรียน เป็น ๑ : ๒๐
หรือ อัตราส่วนของจำานวนนักเรียน ต่อ จำานวนครูเป็น ๒๐ : ๑
อัตราส่วนของจำานวนไข่ไก่เป็นฟอง ต่อ ราคาเป็นบาท เป็น 6 : 30
หรือ อัตราส่วนของจำานวนไข่ไก่ ต่อ ราคา เป็น 6 ฟอง : 30 บาท 2 นักกีฬาคนหนึ่งวิ่ง 100 เมตร ใช้เวลา 9 วินาที
ตอบ อัตราส่วนของระยะทางเป็นเมตร ต่อ เวลาเป็นวินาที เป็น ๑๐๐ : ๙
หรือ อัตราส่วนของระยะทาง ต่อ เวลา เป็น ๑๐๐ เมตร : ๙ วินาที

3 วันที่ 22 พฤษภาคม 2562 ธนาคารกำาหนดให้เงินไทย 28 บาท แลกเป็นเงินญี่ปุ่นได้ 100 เยน


ตอบ อัตราส่วนของเงินไทยเป็นบาท ต่อ เงินญี่ปุ่นเป็นเยน เป็น ๒๘ : ๑๐๐
การเปรียบเทียบปริมาณที่แสดงในรูปอัตราส่วน
หรือ อัตราส่วนของเงินไทย ต่อ เงินญี่ปุ่น เป็น ๒๘ บาท : ๑๐๐ เยน
ถ้ามีหน่วยต่างกัน จะเขียนหน่วยกำากับไว้
4 โดยเฉลี่ยในเวลา 1 นาที หัวใจของมนุษย์เต้น 72 ครั้ง
ตอบ อัตราส่วนของเวลาเป็นนาที ต่อ การเต้นของหัวใจเป็นครั้ง เป็น ๑ : ๗๒
หรือ อัตราส่วนของเวลา ต่อ การเต้นของหัวใจ เป็น ๑ นาที : ๗๒ ครั้ง

รถบัสคันหนึ่งแล่นได้ระยะทาง 80 กิโลเมตร ใช้เวลา 1 ชั่วโมง


เขียนอัตราส่วนจากข้อความต่อไปนี้

1 พ่อชงกาแฟดำา ใช้กาแฟ 2 ช้อน ผสมกับน้ำาตาล 1 ช้อน

2 พนักงานบริษัททำางาน 5 วัน หยุด 2 วัน

อัตราส่วนของระยะทางเป็นกิโลเมตร ต่อ เวลาเป็นชัว่ โมง เป็น 80 : 1 3 จัดโต๊ะอาหารใช้โต๊ะ 2 ตัว กับเก้าอี้ 8 ตัว


หรือ อัตราส่วนของระยะทาง ต่อ เวลา เป็น 80 กิโลเมตร : 1 ชัว่ โมง
4 ห้องพัก 1 ห้อง พักได้ 2 คน

5 รถยนต์แล่นได้ระยะทาง 25 กิโลเมตร ใช้น้ำามันเชื้อเพลิง 3 ลิตร


อัตราส่วนของระยะทางต่อ 1 หน่วยเวลา เรียกว่า อัตราเร็ว
6 ในเวลา 1 ชั่วโมง เสือชีตาห์วิ่งได้ระยะทาง 120 กิโลเมตร
เช่น รถคันหนึ่งแล่นด้วยอัตราเร็ว 90 กิโลเมตรต่อชั่วโมง

แบบฝึกหัด 4.6

148 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 149

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

เฉลยหน้า 149

1 อัตราส่วนของปริมาณกาแฟ ต่อ ปริมาณน้ำาตาล เป็น 2 : 1


หรือ อัตราส่วนของปริมาณน้ำาตาล ต่อ ปริมาณกาแฟ เป็น 1 : 2

2 อัตราส่วนของวันทำางาน ต่อ วันหยุด เป็น 5 : 2


หรือ อัตราส่วนของวันหยุด ต่อ วันทำางาน เป็น 2 : 5

3 อัตราส่วนของจำานวนโต๊ะ ต่อ จำานวนเก้าอี้ เป็น 2 : 8


หรือ อัตราส่วนของจำานวนเก้าอี้ ต่อ จำานวนโต๊ะ เป็น 8 : 2

4 อัตราส่วนของจำานวนห้องพักเป็นห้อง ต่อ จำานวนผู้เข้าพักเป็นคน เป็น 1 : 2


หรือ อัตราส่วนของจำานวนผู้เข้าพักเป็นคน ต่อ จำานวนห้องพักเป็นห้อง เป็น 2 : 1
หรือ อัตราส่วนของจำานวนห้องพัก ต่อ จำานวนผู้เข้าพัก เป็น 1 ห้อง : 2 คน
หรือ อัตราส่วนของจำานวนผู้เข้าพัก ต่อ จำานวนห้องพัก เป็น 2 คน : 1 ห้อง

5 อัตราส่วนของระยะทางเป็นกิโลเมตร ต่อ ปริมาณน้ำามันเชื้อเพลิงเป็นลิตร เป็น 25 : 3


หรือ อัตราส่วนของปริมาณน้ำามันเชื้อเพลิงเป็นลิตร ต่อ ระยะทางเป็นกิโลเมตร เป็น 3 : 25
หรือ อัตราส่วนของระยะทาง ต่อ ปริมาณน้ำามันเชื้อเพลิง เป็น 25 กิโลเมตร : 3 ลิตร
หรือ อัตราส่วนของปริมาณน้ำามันเชื้อเพลิง ต่อ ระยะทาง เป็น 3 ลิตร : 25 กิโลเมตร

6 อัตราส่วนของเวลาเป็นชั่วโมง ต่อ ระยะทางเป็นกิโลเมตร เป็น 1 : 120


หรือ อัตราส่วนของระยะทางเป็นกิโลเมตร ต่อ เวลาเป็นชั่วโมง เป็น 120 : 1
หรือ อัตราส่วนของเวลา ต่อ ระยะทาง เป็น 1 ชั่วโมง : 120 กิโลเมตร
หรือ อัตราส่วนของระยะทาง ต่อ เวลา เป็น 120 กิโลเมตร : 1 ชั่วโมง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 129
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

2. การสอนอัตราส่วนที่เท่ากัน ครูอาจจัดกิจกรรมโดย
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6

ให้นักเรียนพิจารณาสถานการณ์การทำ�กาวแป้งเปียก บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

อัตราส่วนที่เท่ากัน
หน้า 150-151 แล้วร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับความสัมพันธ์
พิจารณาสถานการณ์ต่อไปนี้
ระหว่างปริมาณน้ำ�กับปริมาณแป้งมันสำ�ปะหลังที่แต่ละคนใช้ มิน แพรว เจน และขวัญ ทำากาวแป้งเปียกสำาหรับติดกระดาษ โดยใช้นาำ้ กับแป้งมันสำาปะหลังผสมกัน ดังนี้

เพื่อนำ�ไปสู่อัตราส่วนที่เท่ากัน มินใช้อัตราส่วนของน้ำาต่อแป้งมันสำาปะหลัง เป็น 3 : 1

จากนั้น ครูแนะนำ�การหาอัตราส่วนที่เท่ากับอัตราส่วน น้ำา แป้งมันสำาปะหลัง

ทีก่ �ำ หนด โดยใช้การถาม-ตอบ ประกอบการอธิบาย หน้า 152


แสดงว่า ปริมาณน้ำาที่ใช้เป็น 3 ÷ 1 = 3 เท่าของปริมาณแป้งมันสำาปะหลัง
แล้วให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับความสัมพันธ์
แพรวใช้อัตราส่วนของน้ำาต่อแป้งมันสำาปะหลัง เป็น 6 : 2
ระหว่างอัตราส่วนที่เท่ากัน 2 อัตราส่วน เพื่อนำ�ไปสู่ข้อสรุป น้ำา แป้งมันสำาปะหลัง

ที่ว่า การหาอัตราส่วนที่เท่ากับอัตราส่วนที่กำ�หนดให้
อาจทำ�ได้โดย
2×3 2×1
• คูณแต่ละจำ�นวนในอัตราส่วน ด้วยจำ�นวนนับ แสดงว่า ปริมาณน้ำาที่ใช้เป็น 6 ÷ 2 = 3 เท่าของปริมาณแป้งมันสำาปะหลัง

จำ�นวนเดียวกันที่มากกว่า 1 เจนใช้อัตราส่วนของน้ำาต่อแป้งมันสำาปะหลัง เป็น 9 : 3

น้ำา แป้งมันสำาปะหลัง
• หารแต่ละจำ�นวนในอัตราส่วน ด้วยจำ�นวนนับ
จำ�นวนเดียวกันที่มากกว่า 1 ได้ลงตัว

3×3 3×1
แสดงว่า ปริมาณน้ำาที่ใช้เป็น 9 ÷ 3 = 3 เท่าของปริมาณแป้งมันสำาปะหลัง

150 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

จากอัตราส่วนของน้ำาต่อแป้งมันสำาปะหลัง
ขวัญใช้อัตราส่วนของน้ำาต่อแป้งมันสำาปะหลัง เป็น 21 : 7

น้ำา แป้งมันสำาปะหลัง 3:1 = 6:2 = 9:3 = 21 : 7


×2

สังเกตได้ว่า 3:1 = 6:2 คิดจาก 3 : 1 = 6 : 2


×3 ×2
3:1 = 9:3 คิดจาก 3 : 1 = 9 : 3
×7 ×3
และ 3 : 1 = 21 : 7 คิดจาก 3 : 1 = 21 : 7

×7
พบว่า การหาอัตราส่วนที่เท่ากับอัตราส่วนที่กำาหนดให้ อาจทำาได้โดยคูณแต่ละจำานวนในอัตราส่วน

ด้วยจำานวนนับจำานวนเดียวกันที่มากกว่า 1

÷2

เนื่องจาก 6:2 = 3:1 ซึ่งอาจคิดจาก 6 : 2 = 3 : 1


7×3 7×1 ÷3 ÷2
9:3 = 3:1 ซึ่งอาจคิดจาก 9 : 3 = 3 : 1
แสดงว่า ปริมาณน้ำาที่ใช้เป็น 21 ÷ 7 = 3 เท่าของปริมาณแป้งมันสำาปะหลัง
÷7 ÷3
จากการทำากาวแป้งเปียกของทั้งสี่คน พบว่า ปริมาณน้ำาที่ใช้เป็น 3 เท่าของปริมาณแป้งมันสำาปะหลัง 21 : 7 = 3:1 ซึ่งอาจคิดจาก 21 : 7 = 3 : 1
แสดงว่า อัตราส่วนของน้ำาต่อแป้งมันสำาปะหลังทุกอัตราส่วนเท่ากัน ÷7
เขียนแทนด้วย 3:1 = 6:2 = 9:3 = 21 : 7
พบว่า การหาอัตราส่วนที่เท่ากับอัตราส่วนที่กำาหนดให้ อาจทำาได้โดยหารแต่ละจำานวนในอัตราส่วน

ด้วยจำานวนนับจำานวนเดียวกันที่มากกว่า 1 ได้ลงตัว

วิธีทำากาวแป้งเปียก ละลายแป้งมันสำาปะหลังในน้ำา คนให้เข้ากัน แล้วนำาไปตั้งไฟ คนจนแป้งสุก

การหาอัตราส่วนที่เท่ากับอัตราส่วนที่กำาหนดให้ อาจทำาได้โดย

คูณแต่ละจำานวนในอัตราส่วน ด้วยจำานวนนับจำานวนเดียวกันที่มากกว่า 1

หารแต่ละจำานวนในอัตราส่วน ด้วยจำานวนนับจำานวนเดียวกันที่มากกว่า 1 ได้ลงตัว

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 151 152 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

130 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

3. ครูใช้การถาม-ตอบ ประกอบการอธิบายตัวอย่าง
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6

หน้า 153 ครูอาจกำ�หนดอัตราส่วนอื่นเพิ่มเติม แล้วให้ บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

นักเรียนหาอัตราส่วนที่เท่ากับอัตราส่วนที่ครูกำ�หนด
หาอัตราส่วนที่เท่ากับอัตราส่วน 90 : 50 อีก 4 อัตราส่วน
จากนั้นร่วมกันทำ�กิจกรรม และให้ทำ�แบบฝึกหัด 4.7 วิธีทำา จาก 90 : 50 = (90 ÷ 5) : (50 ÷ 5)

เป็นรายบุคคล = 18 : 10

จาก 90 : 50 = (90 ÷ 10) : (50 ÷ 10)

= 9:5

หมายเหตุ การสอนอัตราส่วน ครูอาจจัดกิจกรรมโดย จาก 90 : 50 = (90 × 2) : (50 × 2)

แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม แล้วให้นักเรียนปฏิบัติจริง เช่น = 180 : 100

จาก 90 : 50 = (90 × 4) : (50 × 4)


การทำ�น้ำ�เชื่อม การทำ�กาวแป้งเปียก โดยใช้อัตราส่วน = 360 : 200

ของส่วนผสมที่ต่างกัน แล้วร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับผลที่ได้ ดังนั้น อัตราส่วนที่เท่ากับอัตราส่วน 90 : 50 ได้แก่ 9 : 5, 18 : 10, 180 : 100 และ 360 : 200

ตอบ 9 : 5, 18 : 10, 180 : 100 และ 360 : 200


จากการใช้อัตราส่วนที่แตกต่างกัน
จากนั้นให้ทุกกลุ่มใช้อัตราส่วนของส่วนผสมที่เท่ากัน ปฏิบัติกิจกรรม

แต่ปริมาณต่างกัน แล้วร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับผลที่ได้ 1 หาจำานวนที่แทนด้วย

1) 5 : 9 = 45 : 81 2) 120 : 48 = 60 : 24

3) 81 : 36 = 27 : 12 4) 15 : 13 = 105 : 91

2 หาอัตราส่วนที่เท่ากับอัตราส่วนที่กำาหนด อีก 4 อัตราส่วน

ตัวอย่าง 1) 7 : 15 14 : 30, 21 : 45, 28 : 60 2) 48 : 12 4 : 1, 12 : 3, 24 : 6 และ 96 : 24


และ 70 : 150
3) 8 : 20 16 : 40, 4 : 10, 2 : 5 และ 24 : 60 4) 80 : 36 40 : 18, 20 : 9, 160 : 72 และ 400 : 180

แบบฝึกหัด 4.7

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 153

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 131
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

4. การสอนมาตราส่วน ครูอาจจัดกิจกรรมโดยใช้แผนที่
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6

หรือแผนผังที่มีมาตราส่วนเขียนกำ�กับไว้ หรืออาจใช้ บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

มาตราส่วน
สถานการณ์ หน้า 154 แนะนำ�ให้นักเรียนรู้จักคำ�ว่า
“มาตราส่วน” และร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับความหมาย อัตราส่วนที่แสดงการเปรียบเทียบระหว่าง
แผนที่ประเทศไทย
ความยาวในภาพหรือแผนที่ กับความยาวจริง
ของมาตราส่วนที่กำ�หนดไว้ในแผนที่ เพื่อนำ�ไปสู่ข้อสรุปที่ว่า เรียกว่า มาตราส่วน โดยความยาวอาจมี

อัตราส่วนที่แสดงการเปรียบเทียบระหว่างความยาว
หน่วยเดียวกัน หรือ หน่วยต่างกัน ก็ได้

พิจารณามาตราส่วนต่อไปนี้
ในภาพหรือแผนที่ กับความยาวจริง เรียกว่า มาตราส่วน มาตราส่วน 1 : 6,200,000

โดยความยาวอาจมี หน่วยเดียวกัน หรือ หน่วยต่างกันก็ได้


ภาคเหนือ

ภาคกลาง

ภาคตะวันออก

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

ภาคตะวันตก

จากนั้นครูนำ�สนทนาเกี่ยวกับการใช้มาตราส่วนในชีวิตจริง
ภาคใต�

เช่น การย่อภาพ หรือการขยายภาพ โดยครูอาจนำ�ตัวอย่าง


มาตราส�วน 1 : 6,200,000

ภาพ หน้า 155 ประกอบการอธิบาย และร่วมกันอภิปราย แผนทีใ่ ช้มาตราส่วน 1 : 6,200,000 หมายความว่าอย่างไร

เกี่ยวกับขนาดของภาพที่ได้จากการคัดลอกภาพโดยใช้ ความยาวในแผนที่ 1 หน่วย แทนความยาวจริง 6,200,000 หน่วย

มาตราส่วนต่าง ๆ ทั้งนี้ครูอาจจัดกิจกรรมเพิ่มเติมโดยกำ�หนด ความยาวในแผนที่ ต่อ ความยาวจริง เป็น 1 : 6,200,000 หมายความว่า

ภาพ และมาตราส่วนอื่น ๆ เช่น มาตราส่วน 1 : 4 แล้วให้ ถ้าความยาวในแผนที่ 1 ซม. แทนความยาวจริง 6,200,000 ซม.

นักเรียนช่วยกันบอกว่าภาพที่ได้จากการคัดลอกโดยใช้
แต่เนื่องจากความยาว 100 ซม. เท่ากับ 1 ม. และ 1,000 ม. เท่ากับ 1 กม.

จะได้ว่า ความยาว 100,000 ซม. เท่ากับ 1 กม.

มาตราส่วนที่กำ�หนดจะมีขนาดเป็นกี่เท่าของภาพเดิม ดังนั้น ความยาว 6,200,000 ซม. เท่ากับ 62 กม.

จึงอาจเขียนมาตราส่วน 1 : 6,200,000 ได้เป็น 1 ซม. : 62 กม.

ซึ่งหมายถึง ความยาวในแผนที่ 1 ซม. แทนความยาวจริง 62 กม.

154 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

การคัดลอกภาพโดยใช้มาตราส่วน จะทำาให้ได้ภาพที่มีขนาดเท่าเดิม ใหญ่กว่าเดิม หรือ เล็กกว่าเดิม


เช่น ภาพของอาร์คิมีดิส ถ้าใช้มาตราส่วน 1 : 1 จะได้ภาพที่มีขนาดเท่าเดิม ดังนี้

ถ้าใช้มาตราส่วน 1 : 2 จะได้ภาพที่มีขนาดเป็น 2 เท่าของภาพเดิม

1
ถ้าใช้มาตราส่วน 2 : 1 จะได้ภาพที่มีขนาดเป็น เท่าของภาพเดิม
2

อาร์คิมีดีส (Archimedes) เกิดเมื่อ 287 ปีก่อนคริสต์ศักราช เป็นนักคณิตศาสตร์ นักดาราศาสตร์


นักปรัชญา นักฟิสิกส์ และวิศวกรชาวกรีก ผลงานด้านคณิตศาสตร์ที่สำาคัญ เช่น คำานวณหาค่าของ π
10 1 22
ว่าอยู่ระหว่าง 3 กับ 3 ซึ่งเทียบกับค่าประมาณของ π ที่ใช้ในปัจจุบันคือ และค้นพบวิธี
71 7 7
หาพื้นที่ของวงกลมซึ่งหาจาก π × r × r โดยที่ r เป็นความยาวของรัศมีของวงกลมนั้น และวลีดังที่ผู้คนทั่วโลก

รู้จักกันดี คือ “ยูเรก้า”

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 155

132 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

5. หน้า 156 เป็นการหาความยาวจริงจากมาตราส่วน


หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6

ทีก
่ �ำ หนด ครูอาจให้นก ั เรียนหาความกว้างและความยาวจริง บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

ของทีด ่ น
ิ จากแผนผัง โดยใช้การถาม-ตอบประกอบการอธิบาย พิจารณาแผนผังต่อไปนี้

แล้วให้นก ั เรียนสังเกตวิธห
ี าความยาวจริง ซึง่ จะพบว่า N
8 ซม.

ความยาวจริงหาได้โดยนำ�ความยาวทีว่ ด ั ได้จากแผนผัง

ถนนพรายมณี
2 ซม.

คูณกับแต่ละจำ�นวนในมาตราส่วน
มาตราส่วน 1 : 4,000

ในแผนผัง ที่ดินมีความกว้าง ความยาวเท่าใด และใช้มาตราส่วนเท่าใด


หมายเหตุ ในกรณีทม่ี าตราส่วนในแผนผังหรือแผนทีไ่ ม่ระบุ
หน่วย ครูควรแนะนำ�ให้นกั เรียนเลือกใช้หน่วยความยาว ในแผนผัง ที่ดินกว้าง 2 ซม. ยาว 8 ซม.
และใช้มาตราส่วน 1 : 4,000
ทีเ่ หมาะสม
หาความกว้าง และความยาวจริงได้อย่างไร และผลลัพธ์เป็นเท่าใด

ความยาวในแผนผัง ต่อ ความยาวจริง เป็น 1 : 4,000


เนื่องจากในแผนผัง ที่ดินกว้าง 2 ซม.
จะได้ 1 : 4,000 = 2 × 1 : 2 × 4,000
= 2 : 8,000
แสดงว่า ที่ดินกว้าง 8,000 ซม. หรือ 8,000 ÷ 100 = 80 ม. 100 ซม. = 1 ม.

เนื่องจากในแผนผัง ที่ดินยาว 8 ซม.


จะได้ 1 : 4,000 = 8 × 1 : 8 × 4,000
= 8 : 32,000
แสดงว่า ที่ดินยาว 32,000 ซม. หรือ 32,000 ÷ 100 = 320 ม.
ดังนั้นที่ดินแปลงนี้ กว้าง 80 ม. ยาว 320 ม.

156 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

6. ครูใช้การถาม-ตอบ ประกอบการอธิบายตัวอย่างหน้า 157


หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6

ครูอาจจัดกิจกรรมเพิม
่ เติมโดยเตรียมแผนผัง หรือแผนที่ บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

พร้อมกำ�หนดมาตราส่วน ให้นก ั เรียนวัดความยาวในแผนผัง


มาตราส่วน 1 ซม. : 2 ม.
หรือแผนที่ แล้วหาความยาวจริง จากนัน ้ ร่วมกันทำ�กิจกรรม
3 ซม.
และให้ท�ำ แบบฝึกหัด 4.8 เป็นรายบุคคล
จากภาพ บ้านหลังนี้สูงกี่เมตร

วิธีทำา จากภาพ บ้านสูง 3 ซม. และใช้มาตราส่วน 1 ซม. : 2 ม.

จะได้ 1 ซม. : 2 ม. = 3 × 1 ซม. : 3 × 2 ม.

= 3 ซม. : 6 ม.

ดังนั้น บ้านหลังนี้สูง 6 เมตร

ตอบ ๖ เมตร

แสดงวิธีหาคำาตอบ

1 มาตราส่วน 1 : 150

3.5 ซม.

จากภาพ บ้านหลังนี้กว้างกี่เมตร
2 แผนผังบ้านของหยก มาตราส่วน 1 : 50,000

ถนนวงศ์สว่างศิริ

บ้านของหยก 8 ซม. โรงเรียน

จากแผนผัง ระยะทางจากบ้านของหยกถึงโรงเรียนคิดเป็นกี่กิโลเมตร

3 แผนผังแสดงตำาแหน่งของโรงเรียนแห่งหนึ่งใช้มาตราส่วน 1 ซม. : 4 กม. ถ้าในแผนผังโรงเรียน


อยู่ห่างจากสวนพฤกษศาสตร์ 3.2 เซนติเมตร สวนพฤกษศาสตร์อยู่ห่างจากโรงเรียนกี่กิโลเมตร

แบบฝึกหัด 4.8

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 157

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 133
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

เฉลยหน้า 157

อัตราส่วนของปริมาณกาแฟ ต่อ ปริมาณน้ำาตาล เป็น 2 : 1 1 วิธีทำ� จากภาพ บ้านกว้าง 3.5 เซนติเมตร ซึ่งใช้มาตราส่วน 1 : 150
หรือ อัตราส่วนของปริมาณน้ำาตาล ต่อ ปริมาณกาแฟ เป็น 1 : 2 จะได้ 1 : 150 = 3.5 × 1 : 3.5 × 150
= 3.5 : 525
อัตราส่วนของวันทำางาน ต่อ วันหยุด เป็น 5 : 2 ดังนั้น บ้านหลังนี้กว้าง 525 เซนติเมตร หรือ 525 ÷ 100 = 5.25 เมตร
หรือ อัตราส่วนของวันหยุด ต่อ วันทำางาน เป็น 2 : 5 ตอบ ๕.๒๕ เมตร

อัตราส่วนของจำานวนโต๊ะ ต่อ จำานวนเก้าอี้ เป็น 2 : 8


2 วิธีทำ� จากแผนผัง ระยะทางจากบ้านของหยกถึงโรงเรียนยาว 8 เซนติเมตร
หรือ อัตราส่วนของจำานวนเก้าอี้ ต่อ จำานวนโต๊ะ เป็น 8 : 2
ซึ่งใช้มาตราส่วน 1 : 50,000
จะได้ 1 : 50,000 = 8 × 1 : 8 × 50,000
อัตราส่วนของจำานวนห้องพักเป็นห้อง ต่อ จำานวนผู้เข้าพักเป็นคน เป็น 1 : 2
= 8 : 400,000
หรือ อัตราส่วนของจำานวนผู้เข้าพักเป็นคน ต่อ จำานวนห้องพักเป็นห้อง เป็น 2 : 1
ดังนั้น ระยะทางจากบ้านของหยกถึงโรงเรียนยาว 400,000 เซนติเมตร
หรือ อัตราส่วนของจำานวนห้องพัก ต่อ จำานวนผู้เข้าพัก เป็น 1 ห้อง : 2 คน
หรือ 400,000 ÷ 100 = 4,000 เมตร
หรือ อัตราส่วนของจำานวนผู้เข้าพัก ต่อ จำานวนห้องพัก เป็น 2 คน : 1 ห้อง
หรือ 4,000 ÷ 1,000 = 4 กิโลเมตร
ตอบ ๔ กิโลเมตร
อัตราส่วนของระยะทางเป็นกิโลเมตร ต่อ ปริมาณน้ำามันเชื้อเพลิงเป็นลิตร เป็น 25 : 3
หรือ อัตราส่วนของปริมาณน้ำามันเชื้อเพลิงเป็นลิตร ต่อ ระยะทางเป็นกิโลเมตร เป็น 3 : 25
3 วิธีทำ� ในแผนผัง โรงเรียนอยู่ห่างจากสวนพฤษศาสตร์ 3.2 เซนติเมตร
หรือ อัตราส่วนของระยะทาง ต่อ ปริมาณน้ำามันเชื้อเพลิง เป็น 25 กิโลเมตร : 3 ลิตร
ซึ่งใช้มาตราส่วน 1 ซม. : 4 กม.
หรือ อัตราส่วนของปริมาณน้ำามันเชื้อเพลิง ต่อ ระยะทาง เป็น 3 ลิตร : 25 กิโลเมตร
จะได้ 1 ซม. : 4 กม. = 3.2 × 1 ซม. : 3.2 × 4 กม.
= 3.2 ซม. : 12.8 กม.
อัตราส่วนของเวลาเป็นชั่วโมง ต่อ ระยะทางเป็นกิโลเมตร เป็น 1 : 120
ดังนั้น สวนพฤษศาสตร์อยู่ห่างจากโรงเรียน 12.8 กิโลเมตร
หรือ อัตราส่วนของระยะทางเป็นกิโลเมตร ต่อ เวลาเป็นชั่วโมง เป็น 120 : 1
ตอบ ๑๒.๘ กิโลเมตร
หรือ อัตราส่วนของเวลา ต่อ ระยะทาง เป็น 1 ชั่วโมง : 120 กิโลเมตร
หรือ อัตราส่วนของระยะทาง ต่อ เวลา เป็น 120 กิโลเมตร : 1 ชั่วโมง

7. เพือ
่ ตรวจสอบความเข้าใจและสรุปความรูท
้ ไ่ี ด้ ให้นก
ั เรียน
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6

ทำ�กิจกรรมหน้า 158 เป็นรายบุคคล บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

ตรวจสอบความเข้าใจ

แสดงวิธีหาคำาตอบ

1 แผนผังแสดงตำาแหน่งบ้านของออมสินและแก้วตา

ถนนเลียบนที

บ้านของออมสิน 2.4 ซม. บ้านของแก้วตา

มาตราส่วน 1 ซม. : 5 กม.

บ้านของทั้งสองคนอยู่ห่างกันกี่กิโลเมตร

2 ถ้าแผนที่แผ่นหนึ่งใช้มาตราส่วน 1 : 2,000,000 และระยะห่างระหว่างอำาเภอหนึ่ง


กับอีกอำาเภอหนึ่งในแผนที่เป็น 1.2 เซนติเมตร อำาเภอทั้งสองนี้อยู่ห่างกันกี่กิโลเมตร

สิ่งที่ได้เรียนรู้

แสดงวิธีหาความกว้างและความยาวของห้องนี้

มาตราส่วน 1 : 80

158 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

134 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

เฉลยหน้า 158

ตรวจสอบคว�มเข้�ใจ

1 วิธีทำ� จากแผนผัง บ้านของออมสินอยู่ห่างจากบ้านของแก้วตา 2.4 เซนติเมตร


ซึ่งใช้มาตราส่วน 1 ซม. : 5 กม.
จะได้ 1 ซม. : 5 กม. = 2.4 × 1 ซม. : 2.4 × 5 กม.
= 2.4 ซม. : 12 กม.
ดังนั้น บ้านของทั้งสองคนอยู่ห่างกัน 12 กิโลเมตร
ตอบ ๑๒ กิโลเมตร

2 วิธีทำ� จากแผนที่ ระยะห่างระหว่างอำาเภอหนึ่งกับอีกอำาเภอหนึ่งเป็น 1.2 เซนติเมตร


ซึ่งใช้มาตราส่วน 1 : 2,000,000
จะได้ 1 : 2,000,000 = 1.2 × 1 : 1.2 × 2,000,000
= 1.2 : 2,400,000
ดังนั้น อำาเภอทั้งสองนี้อยู่ห่างกัน 2,400,000 เซนติเมตร
หรือ 2,400,000 ÷ 100 = 24,000 เมตร
หรือ 24,000 ÷ 1,000 = 24 กิโลเมตร
ตอบ ๒๔ กิโลเมตร

สิ่งที่ได้เรียนรู้
จากภาพ วัดความกว้างและความยาวของห้องได้ กว้าง 7.5 เซนติเมตร ยาว 8.1 เซนติเมตร
ซึ่งใช้มาตราส่วน 1 : 80
หาความกว้างของห้อง
จะได้ 1 : 80 = 7.5 × 1 : 7.5 × 80
= 7.5 : 600
แสดงว่า ห้องนี้กว้าง 600 เซนติเมตร หรือ 600 ÷ 100 = 6 เมตร
หาความยาวของห้อง
จะได้ 1 : 80 = 8.1 × 1 : 8.1 × 80
= 8.1 : 648
แสดงว่า ห้องนี้ยาว 648 เซนติเมตร หรือ 648 ÷ 100 = 6.48 เมตร
ดังนั้น ห้องนี้กว้าง 6 เมตร และยาว 6.48 เมตร

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 135
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

1.1
4.3 การอ่าปนัญการเขี
โจทย์ หาเกี่ยยวกั
นจำบ�อันวนนั
ตราส่บ
วนและมาตราส่
ที่มากกว่า 100,000
วน

จุดประสงค์การเรียนรู้ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

นักเรียนสามารถแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วนและ 4.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วนและมาตราส่วน 7


มาตราส่วน โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน

พิจารณาสถานการณ์ต่อไปนี้

สื่อการเรียนรู้
การปูพน
้ื ด้วยกระเบือ
้ งสีดาำ กับกระเบือ
้ งสีขาว
อัตราส่วนของจำานวนกระเบือ
้ งสีดาำ ต่อ จำานวนกระเบือ
้ งสีขาวเป็น 8 : 17

แนวการจัดการเรียนรู้
ถ้าใช้กระเบือ
้ งสีดาำ 400 แผ่น จะต้องใช้กระเบือ
้ งสีขาวกีแ่ ผ่น

การสอนการแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วนและ จาก จำานวนกระเบื้องสีดำา ต่อ จำานวนกระเบื้องสีขาว เป็น 8 : 17

มาตราส่วน ควรแบ่งเนื้อหาตามลำ�ดับการเรียนรู้ดังนี้ และเนื่องจาก 400 ÷ 8 = 50

จะได้ 8 : 17 = (8 × 50) : (17 × 50)

• โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน = 400 : 850

ดังนั้น ถ้าใช้กระเบื้องสีดำา 400 แผ่น จะต้องใช้กระเบื้องสีขาว 850 แผ่น

• โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับมาตราส่วน ถ้าใช้กระเบือ
้ งสีขาว 340 แผ่น จะต้องใช้กระเบือ
้ งสีดาำ กีแ่ ผ่น

โดยอาจจัดกิจกรรมดังนี้ จาก จำานวนกระเบื้องสีดำา ต่อ จำานวนกระเบื้องสีขาว เป็น 8 : 17

และเนื่องจาก 340 ÷ 17 = 20
1. การสอนการแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน ครูควร
จะได้ 8 : 17 = (8 × 20) : (17 × 20)

เริ่มจากการทบทวนการหาอัตราส่วนที่เท่ากับอัตราส่วน = 160 : 340

ที่กำ�หนด จากนั้นครูใช้สถานการณ์ปัญหา หน้า 159-160 ดังนั้น ถ้าใช้กระเบื้องสีขาว 340 แผ่น จะต้องใช้กระเบื้องสีดำา 160 แผ่น

นำ�สนทนา โดยใช้การถาม-ตอบ เพื่อฝึกให้นักเรียนคิดอย่าง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 159

เป็นระบบ และย้ำ�ให้นักเรียนใช้ความสัมพันธ์ระหว่างการคูณ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6

กับการหาร เพื่อหาจำ�นวนที่จะนำ�มาคูณ เพื่อให้ได้อัตราส่วน


บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

ที่เท่ากัน พร้อมทั้งแนะนำ�ให้ตรวจสอบความถูกต้องของ พิจารณาสถานการณ์ต่อไปนี้

คำ�ตอบทุกครั้ง จากนั้นครูใช้การถาม-ตอบ ประกอบการ


นายทุนสร้างห้องเช่ามีอัตราส่วนของจำานวนประตู ต่อ จำานวนหน้าต่าง เป็น 2 : 3
ถ้านายทุนสั่งซื้อประตู 56 บาน จะต้องสั่งซื้อหน้าต่างกี่บาน ถึงจะพอดี

อธิบายตัวอย่างหน้า 161 และร่วมกันทำ�กิจกรรมหน้า 162 สิ่งที่โจทย์ถาม จำานวนหน้าต่างที่นายทุนต้องสั่งซื้อ

แล้วทำ�แบบฝึกหัด 4.9 เป็นรายบุคคล สิ่งที่โจทย์บอก • นายทุนสร้างห้องเช่ามีอต ั ราส่วนของจำานวนประตู ต่อจำานวนหน้าต่าง


เป็น 2 : 3
• นายทุนสัง่ ซือ
้ ประตู 56 บาน

หาจำานวนหน้าต่างที่ต้องสั่งซื้อได้อย่างไร

จาก จำานวนประตู ต่อ จำานวนหน้าต่าง เป็น 2 : 3


และเนื่องจาก 56 ÷ 2 = 28
จะได้ 2 : 3 = (2 × 28) : (3 × 28)
= 56 : 84
ดังนั้น ถ้าสั่งซื้อประตู 56 บาน จะต้องสั่งซื้อหน้าต่าง 84 บาน

ตรวจสอบได้อย่างไรว่าหน้าต่าง 84 บาน เป็นคำาตอบที่ถูกต้อง

ต้องหาว่า 56 : 84 = 2 : 3 หรือไม่
เนื่องจาก 56 ÷ 2 = 28
จะได้ 56 : 84 = (56 ÷ 28) : (84 ÷ 28)
= 2:3 พบว่าสอดคล้องกับโจทย์
แสดงว่า หน้าต่าง 84 บาน เป็นคำาตอบที่ถูกต้อง

160 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

136 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

แสดงวิธีหาคำาตอบ
รถยนต์คันหนึ่งใช้น้ำามัน 2 ลิตร วิ่งได้ระยะทางเฉลี่ย 27 กิโลเมตร ถ้าระยะทาง 243 กิโลเมตร
1 แม่ค้าคนหนึ่งหุงข้าว พบว่าข้าวสาร 1 กิโลกรัม หุงเป็นข้าวสวยได้ 12 ถ้วยทุกครั้ง
รถยนต์คันนี้ต้องใช้น้ำามันกี่ลิตร และถ้าน้ำามันราคาลิตรละ 24.94 บาท คิดเป็นค่าน้ำามันกี่บาท
ถ้ามีลูกค้าสั่งข้าวสวย 180 ถ้วย แม่ค้าต้องใช้ข้าวสารกี่กิโลกรัม

วิธีคิด หาปริมาณน้ำามันที่ใช้ จากอัตราส่วนของปริมาณน้ำามันที่ใช้ ต่อ ระยะทางที่วิ่งได้ ซึ่งเท่ากับ 2 ร้านขายเครื่องด่ืมร้านหนึ่งจัดรายการส่งเสริมการขาย โดยถ้าลูกค้าแต่ละคน ซื้อเครื่องดื่มครบ 15 แก้ว
2 ลิตร : 27 กิโลเมตร แล้วจึงหาค่าน้ำามันที่ใช้ โดยนำาปริมาณน้ำามันที่ใช้ คูณกับ จะได้แถมชานม 2 แก้วเสมอ นพเป็นลูกค้าประจำาของร้านนี้ ได้แถมชานมไปทั้งหมด 14 แก้ว
ราคาน้ำามัน 1 ลิตร นพซื้อเครื่องดื่มจากร้านนี้ทั้งหมดกี่แก้ว

3 ในการทัศนศึกษาของโรงเรียนแห่งหนึ่ง ได้แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละเท่า ๆ กัน


วิธีทำา จากอัตราส่วนของ ปริมาณน้ำามัน ต่อ ระยะทาง = 2 ลิตร : 27 กิโลเมตร
และให้แต่ละกลุ่มมีพี่เลี้ยงประจำากลุ่ม โดยจำานวนพี่เลี้ยง ต่อ จำานวนนักเรียน เป็น 2 : 9
เนื่องจาก 243 ÷ 27 = 9
ถ้ามีนักเรียนไปทัศนศึกษา 108 คน และจัดได้ 6 กลุ่ม จะต้องจัดพี่เลี้ยงกลุ่มละกี่คน
จะได้ 2 ลิตร : 27 กิโลเมตร = 2 × 9 ลิตร : 27 × 9 กิโลเมตร
4 ในการปูพื้นด้วยกระเบื้องให้มีลักษณะดังรูป ใช้จำานวนกระเบื้องแผ่นใหญ่ ต่อ จำานวนกระเบื้องแผ่นเล็ก
= 18 ลิตร : 243 กิโลเมตร
เป็น 1 : 4 ถ้าในการปูพื้นใช้กระเบื้องแผ่นเล็ก 1,200 แผ่น และกระเบื้องแผ่นใหญ่ 1 กล่อง
จะได้ว่า ระยะทาง 243 กิโลเมตร ใช้น้ำามัน 18 ลิตร มี 25 แผ่น จะต้องซื้อกระเบื้องแผ่นใหญ่อย่างน้อยกี่กล่อง
และน้ำามันราคาลิตรละ 24.94 บาท

ดังนั้น น้ำามัน 18 ลิตร คิดเป็นเงิน 18 × 24.94 = 448.92 บาท

ตอบ ใช้น้ำามัน ๑๘ ลิตร คิดเป็นเงิน ๔๔๘.๙๒ บาท

ตรวจสอบได้อย่างไรว่า ใช้น้ำามัน 18 ล. คิดเป็นเงิน 448.92 บาท


เป็นคำาตอบที่ถูกต้อง

ต้องหาว่า เงิน 448.92 บาท ซื้อน้ำามันได้กี่ลิตร ซึ่งหาได้จาก 448.92 ÷ 24.94 = 18 ล.


และต้องหาว่า น้ำามัน 18 ล. รถวิ่งได้ระยะทางกี่กิโลเมตร
ซึ่งหาได้จาก น้ำามัน 2 ล. วิ่งได้ระยะทาง 27 กม.
27
น้ำามัน 1 ล. วิ่งได้ระยะทาง กม.
2
27
ดังนั้น น้ำามัน 18 ล. วิ่งได้ระยะทาง 18 × = 243 กม. พบว่าสอดคล้องกับโจทย์
2
แสดงว่า ใช้น้ำามัน 18 ล. คิดเป็นเงิน 448.92 บาท เป็นคำาตอบที่ถูกต้อง
แบบฝึกหัด 4.9

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 161 162 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

เฉลยหน้า 162 เฉลยหน้า 162

1 วิธีคิด หาปริมาณข้าวสาร จากอัตราส่วนของปริมาณข้าวสาร ต่อ จำานวนข้าวสวยที่ได้ 3 วิธีคิด หาจำานวนพี่เลี้ยงของนักเรียน 108 คน จากอัตราส่วนของจำานวนพี่เลี้ยง ต่อ จำานวนนักเรียน
ซึ่งเท่ากับ 1 กิโลกรัม : 12 ถ้วย ซึ่งเท่ากับ 2 : 9 แล้วจึงหาจำานวนพี่เลี้ยงในแต่ละกลุ่ม โดยนำาจำานวนพี่เลี้ยง หารด้วยจำานวนกลุ่ม

วิธีทำ� จากอัตราส่วนของปริมาณข้าวสาร ต่อ จำานวนข้าวสวยที่ได้ = 1 กิโลกรัม : 12 ถ้วย


วิธีทำ� อัตราส่วนของจำานวนพี่เลี้ยง ต่อ จำานวนนักเรียน = 2 : 9
และเนื่องจาก 180 ÷ 12 = 15
และเนื่องจาก 108 ÷ 9 = 12
จะได้ 1 กิโลกรัม : 12 ถ้วย = 1 × 15 กิโลกรัม : 12 × 15 ถ้วย
จะได้ 2 : 9 = (2 × 12) : (9 × 12)
= 15 กิโลกรัม : 180 ถ้วย
= 24 : 108
จะได้ว่า ข้าวสวย 180 ถ้วย ต้องใช้ข้าวสาร 15 กิโลกรัม
จะได้ว่า ถ้ามีนักเรียนไปทัศนศึกษา 108 คน จะมีพี่เลี้ยง 24 คน
ดังนั้น แม่ค้าต้องใช้ข้าวสาร 15 กิโลกรัม
ดังนั้น เมื่อจัดเป็น 6 กลุ่ม จะต้องจัดพี่เลี้ยงกลุ่มละ 24 ÷ 6 = 4 คน
ตอบ ๑๕ กิโลกรัม
ตอบ ๔ คน

หรือ วิธีคิด หาจำานวนนักเรียนในแต่ละกลุ่ม แล้วจึงหาจำานวนพี่เลี้ยงในแต่ละกลุ่ม โดยใช้


2 วิธีคิด หาจำานวนเครื่องดื่มที่ซื้อ จากอัตราส่วนของจำานวนเครื่องดื่มที่ซื้อ ต่อ จำานวนชานมที่แถม
อัตราส่วนของจำานวนพี่เลี้ยง ต่อ จำานวนนักเรียน ซึ่งเท่ากับ 2 : 9
ซึ่งเท่ากับ 15 : 2

วิธีทำ� จากอัตราส่วนของจำานวนเครื่องดื่มที่ซื้อ ต่อ จำานวนชานมที่แถม = 15 : 2 วิธีทำ� มีนักเรียน 108 คน จัดเป็นกลุ่มได้ 6 กลุ่ม


และเนื่องจาก 14 ÷ 2 = 7 จะได้ว่า มีนักเรียนกลุ่มละ 108 ÷ 6 = 18 คน
จะได้ 15 : 2 = (15 × 7) : (2 × 7) จากอัตราส่วนของจำานวนพี่เลี้ยง ต่อ จำานวนนักเรียน = 2 : 9
= 105 : 14 และเนื่องจาก 18 ÷ 9 = 2
จะได้ว่า นพได้แถมชานม 14 แก้ว นพต้องซื้อเครื่องดื่ม 105 แก้ว จะได้ 2 : 9 = (2 × 2) : (9 × 2)
ดังนั้น นพซื้อเครื่องดื่มจากร้านนี้ทั้งหมด 105 แก้ว = 4 : 18
ตอบ ๑๐๕ แก้ว ดังนั้น จะต้องจัดพี่เลี้ยงกลุ่มละ 4 คน
ตอบ ๔ คน

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 137
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

เฉลยหน้า 162

4 วิธีคิด หาจำานวนกระเบื้องแผ่นใหญ่ที่ต้องใช้ จากอัตราส่วนของจำานวนกระเบื้องแผ่นใหญ่


ต่อ จำานวนกระเบื้องแผ่นเล็ก ซึ่งเท่ากับ 1 : 4 แล้วจึงหาจำานวนกระเบื้องที่ต้องซื้อ
เป็นกล่อง โดยนำาจำานวนกระเบื้องแผ่นใหญ่ที่ต้องใช้ หารด้วย จำานวนกระเบื้อง
อัตราส่วนของจำานวนพี่เลี้ยง ต่อ จำานวนนักเรียน = 2 : 9 แผ่นใหญ่ 1 กล่อง

วิธีทำ� จากอัตราส่วนของจำานวนกระเบื้องแผ่นใหญ่ ต่อ จำานวนกระเบื้องแผ่นเล็ก = 1 : 4


และเนื่องจาก 1,200 ÷ 4 = 300
จะได้ว่า ถ้ามีนักเรียนไปทัศนศึกษา 108 คน จะมีพี่เลี้ยง 24 คน จะได้ 1 : 4 = (1 × 300) : (4 × 300)
ดังนั้น เมื่อจัดเป็น 6 กลุ่ม จะต้องจัดพี่เลี้ยงกลุ่มละ 24 ÷ 6 = 4 คน = 300 : 1,200
๔ คน จะได้ว่า ถ้าใช้กระเบื้องแผ่นเล็ก 1,200 แผ่น ต้องใช้กระเบื้องแผ่นใหญ่ 300 แผ่น
และกระเบื้องแผ่นใหญ่ 1 กล่อง มี 25 แผ่น
ดังนั้น ต้องซื้อกระเบื้องแผ่นใหญ่อย่างน้อย 300 ÷ 25 = 12 กล่อง
ตอบ ๑๒ กล่อง

มีนักเรียน 108 คน จัดเป็นกลุ่มได้ 6 กลุ่ม


จะได้ว่า มีนักเรียนกลุ่มละ 108 ÷ 6 = 18 คน
จากอัตราส่วนของจำานวนพี่เลี้ยง ต่อ จำานวนนักเรียน = 2 : 9
และเนื่องจาก 18 ÷ 9 = 2

ดังนั้น จะต้องจัดพี่เลี้ยงกลุ่มละ 4 คน
๔ คน

2. การสอนการแก้โจทย์ปญ ั หาเกีย่ วกับมาตราส่วน ครูอาจ


หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6

จัดกิจกรรมในทำ�นองเดียวกันกับการสอนการแก้โจทย์ปญ ั หา บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

เกีย่ วกับอัตราส่วน โดยใช้สถานการณ์ปญ ั หา หน้า 163 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับมาตราส่วน

ประกอบการอธิบาย จากนัน ้ ครูใช้การถาม-ตอบ ประกอบ พิจารณาสถานการณ์ต่อไปนี้ บ้าน มาตราส่วน 1 ซม. : 800 ม.


3

ก้อยขี่จักรยานจากบ้านไปโรงเรียน
ซม

การอธิบายตัวอย่างหน้า 164 และร่วมกันทำ�กิจกรรมหน้า 165


.

คิดเป็นระยะทางกี่กิโลเมตร
ตลาด 4 ซม. โรงเรียน
แล้วทำ�แบบฝึกหัด 4.10 เป็นรายบุคคล
สิ่งที่โจทย์ถาม ระยะทางที่ก้อยขี่จักรยานจากบ้านไปโรงเรียนเป็นกิโลเมตร

สิ่งที่โจทย์บอก แผนผังแสดงเส้นทางระหว่างบ้านกับโรงเรียน ใช้มาตราส่วน 1 ซม. : 800 ม.

หาระยะทางจากบ้านไปโรงเรียนได้อย่างไร และได้คำาตอบเท่าใด

หาได้โดยนำาระยะทางจากบ้านไปตลาด รวมกับระยะทางจากตลาดไปโรงเรียน
ในแผนผัง ระยะทางจากบ้านถึงตลาด 3 ซม. และจากตลาดถึงโรงเรียน 4 ซม.
แสดงว่า ระยะทางจากบ้านถึงโรงเรียน 3 + 4 = 7 ซม.
เนื่องจาก แผนผังใช้มาตราส่วน 1 ซม. : 800 ม.
จะได้ 1 ซม. : 800 ม. = 7 × 1 ซม. : 7 × 800 ม.
= 7 ซม. : 5,600 ม.
ดังนั้น ก้อยขี่จักรยานจากบ้านไปโรงเรียนเป็นระยะทาง 5,600 ม. หรือ 5.6 กม.

ตรวจสอบได้อย่างไรว่า 5.6 กม. เป็นคำาตอบที่ถูกต้อง

ต้องหาว่า ในแผนผัง บ้านอยู่ห่างจากโรงเรียนเท่าใด ซึ่งหาได้จาก


ระยะทางจริง 800 ม. ระยะทางในแผนผัง 1 ซม.
1
ถ้าระยะทางจริง 1 ม. ระยะทางในแผนผัง ซม.
800
1
ถ้าระยะทางจริง 5.6 กม. หรือ 5,600 ม. ระยะทางในแผนผัง 5,600 × = 7 ซม.
800
พบว่าสอดคล้องกับโจทย์ แสดงว่า 5.6 กม. เป็นคำาตอบที่ถูกต้อง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 163

138 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

แสดงวิธีหาคำาตอบ

บริษัทสวนสวยรับจ้างดูแลสวนสุขภาพของชุมชนแห่งหนึ่ง ถ้าในแต่ละเดือนบริษัทคิดค่าดูแลสวน
1 แผนผังสวนสาธารณะแห่งหนึ่งใช้มาตราส่วน 1 : 10,000 ถ้าขุนวิ่งออกกำาลังกายรอบสวนสาธารณะ
ตารางเมตรละ 25 บาท บริษัทนี้จะได้รับค่าดูแลสวนเดือนละเท่าใด 1 รอบ ด้วยความเร็วเฉลี่ยนาทีละ 50 เมตร ขุนจะใช้เวลาวิ่งกี่นาที
มาตราส่วน 1 ซม. : 4 ม.

15 ซม.
5
ซม
.
5 ซม.

7 ซม.
7 ซม

ม.
.

3ซ
.
15 ซม. ซม
10
3 ซม
.
วิธีคิด หาพื้นที่ของสวน โดยใช้ความกว้างและความยาวจริงจากมาตราส่วน 1 ซม. : 4 ม.
แล้วจึงหาค่าดูแลสวน โดยนำาพื้นที่ของสวนคูณกับค่าดูแลสวน 1 ตารางเมตร
2 แผนผังของหมู่บ้านแห่งหนึ่งใช้มาตราส่วน 1 ซม. : 160 ม. ถ้าต้นกล้าขี่จักรยานออกจากบ้าน
วิธีทำา จากแผนผัง สวนกว้าง 5 ซม. ยาว 15 ซม. และใช้มาตราส่วน 1 ซม. : 4 ม.
ไปรับใบบัวที่บ้าน แล้วขี่จักรยานไปที่สนามเด็กเล่นด้วยกัน จากนั้นขี่กลับตามเส้นทางเดิม
หาความกว้างของสวน
ต้นกล้าขี่จักรยานได้ระยะทางกี่กิโลเมตร
จะได้ 1 ซม. : 4 ม. = 5 × 1 ซม. : 5 × 4 ม.
= 5 ซม. : 20 ม.
แสดงว่า สวนนี้มีความกว้าง 20 ม. 7 ซม.
หาความยาวของสวน สนามเด็กเล่น
จะได้ 1 ซม. : 4 ม. = 15 × 1 ซม. : 15 × 4 ม.
บ้านของใบบัว
= 15 ซม. : 60 ม. ม.
4ซ
แสดงว่า สวนนี้มีความยาว 60 ม. ราคา

เนื่องจาก พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า = ความกว้าง × ความยาว 6 ซม.


ตลาด บ้านของต้นกล้า
จะได้ สวนนี้มีพื้นที่ 20 × 60 = 1,200 ตร.ม.
ดังนั้น บริษัทจะได้รับค่าดูแลสวนเดือนละ 1,200 × 25 = 30,000 บาท
ตอบ ๓๐,๐๐๐ บาท

อย่าลืมตรวจสอบความถูกต้องของคำาตอบ

แบบฝึกหัด 4.10

164 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 165

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

เฉลยหน้า 165

1 วิธีคิด หาระยะทางจริงที่ขุนวิ่งรอบสวนสาธารณะ จากแผนผังที่ใช้มาตราส่วน 1 : 10,000


แล้วจึงหาเวลาที่ใช้วิ่ง โดยนำาความยาวรอบสวนสาธารณะ หารด้วยระยะทางที่วิ่งได้
ในเวลา 1 นาที

วิธีทำ� จากแผนผัง มีความยาวรอบสวนสาธารณะ


15 + 5 + 3 + 7 + 10 + 3 + 7 = 50 ซม. และใช้มาตราส่วน 1 : 10,000
จะได้ 1 : 10,000 = 50 × 1 : 50 × 10,000
= 50 : 500,000
แสดงว่า สวนสาธารณะมีระยะทางโดยรอบ 500,000 ซม.
หรือ 500,000 ÷ 100 = 5,000 ม.
ดังนั้น ถ้าขุนวิ่งออกกำาลังกายรอบสวนสาธารณะ 1 รอบ ด้วยความเร็วเฉลี่ยนาทีละ 50 ม.
ขุนจะใช้เวลาวิ่ง 5,000 ÷ 50 = 100 นาที
ตอบ ๑๐๐ นาที

2 วิธีคิด หาระยะทางจริงที่ต้นกล้าขี่จักรยานไป - กลับจากบ้านถึงสนามเด็กเล่น จากแผนผัง


ที่ใช้มาตราส่วน 1 ซม. : 160 ม. แล้วจึงเปลี่ยนหน่วยเป็นกิโลเมตร

วิธีทำ� จากแผนผัง ระยะทางระหว่างบ้านของต้นกล้ากับสนามเด็กเล่นยาว 6 + 4 + 7 = 17 ซม.


ระยะทางไป - กลับ ยาว 2 × 17 = 34 ซม.
และใช้มาตราส่วน 1 ซม. : 160 ม.
จะได้ 1 ซม. : 160 ม. = 34 × 1 ซม. : 34 × 160 ม.
= 34 ซม. : 5,440 ม.
แสดงว่า ระยะทางไป - กลับระหว่างบ้านของต้นกล้ากับสนามเด็กเล่นยาว 5,440 ม.
หรือ 5,440 ÷ 1,000 = 5.440 กม.
ดังนั้น ต้นกล้าขี่จักรยานได้ระยะทาง 5.44 กิโลเมตร

ตอบ ๕.๔๔ กิโลเมตร

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 139
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

3. เพื่อตรวจสอบความเข้าใจและสรุปความรู้ที่ได้ ให้นักเรียน
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6

ทำ�กิจกรรมหน้า 166 เป็นรายบุคคล บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

ตรวจสอบความเข้าใจ

แสดงวิธีหาคำาตอบ

1 อัตราส่วนระหว่างความกว้าง กับ ความยาว ของธงชาติไทยเป็น 2 : 3 ถ้าธงชาติไทยผืนหนึ่งยาว


120 เซนติเมตร ธงชาติผืนนี้มีพื้นที่เท่าใด

2 ผู้รับเหมาคนหนึ่งเขียนแบบสำาหรับสร้างถนนคอนกรีตในหมู่บ้าน โดยใช้มาตราส่วน 1 ซม. : 2 กม.


ถ้าในแบบ ถนนคอนกรีตมีความยาว 6.5 เซนติเมตร ผู้รับเหมาต้องสร้างถนนเป็นระยะทางเท่าใด

สิ่งที่ได้เรียนรู้

บอกลำาดับขั้นการหาคำาตอบของโจทย์ปัญหา

1 ต้นกล้าเลี้ยงปลา 10 ตัว เป็นปลาทอง 7 ตัว ที่เหลือเป็นปลาเทวดา


ส่วนขุนเลี้ยงปลาทองและปลาเทวดาคิดเป็นอัตราส่วนเดียวกันกับที่ต้นกล้าเลี้ยง
ถ้าขุนเลี้ยงปลาทอง 14 ตัว ขุนเลี้ยงปลาเทวดากี่ตัว

2 แผนผังแสดงเส้นทางการเดินรถของรถไฟฟ้าสายสุขุมวิท จากสถานีเคหะสมุทรปราการถึง
สถานีห้าแยกลาดพร้าวใช้มาตราส่วน 1 ซม. : 3 กม. ถ้าเส้นทางการเดินรถในแผนผังยาว
12.2 ซม. ระยะทางจากสถานีเคหะสมุทรปราการถึงสถานีห้าแยกลาดพร้าวเป็นกี่กิโลเมตร

166 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

เฉลยหน้า 166 เฉลยหน้า 166

ตรวจสอบคว�มเข้�ใจ สิ่งที่ได้เรียนรู้
1 วิธีคิด หาความกว้างของธงชาติ จากอัตราส่วนของความกว้าง ต่อ ความยาว ซึ่งเท่ากับ 2 : 3 1 ขั้นที่ 1 หาจำานวนปลาเทวดาที่ต้นกล้าเลี้ยง โดยนำาจำานวนปลาทั้งหมด ลบด้วย
แล้วจึงหาพื้นที่ของธงชาติ จากสูตรพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า จำานวนปลาทอง ซึ่งจะได้ว่า ต้นกล้าเลี้ยงปลาเทวดา 10 − 7 = 3 ตัว
ขั้นที่ 2 หาอัตราส่วนจำานวนปลาทอง ต่อ จำานวนปลาเทวดา ที่ต้นกล้าเลี้ยง ซึ่งเท่ากับ 7 : 3
วิธีทำ� จากอัตราส่วนของความกว้าง ต่อ ความยาว = 2 : 3
ขั้นที่ 3 หาจำานวนปลาเทวดาที่ขุนเลี้ยง จากอัตราส่วนของ
และเนื่องจาก 120 ÷ 3 = 40
จะได้ 2 : 3 = (2 × 40) : (3 × 40) จำานวนปลาทอง ต่อ จำานวนปลาเทวดา = 7 : 3

= 80 : 120 เนื่องจาก 14 ÷ 7 = 2
จะได้ว่า ธงชาติยาว 120 เซนติเมตร และกว้าง 80 เซนติเมตร จะได้ 7 : 3 = (7 × 2) : (3 × 2)

เนื่องจาก พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า = ความกว้าง × ความยาว = 14 : 6


50 ม. ดังนั้น ธงชาติผืนนี้มีพื้นที่ 80 × 120 = 9,600 ตารางเซนติเมตร ดังนั้น ถ้าขุนเลี้ยงปลาทอง 14 ตัว ขุนจะเลี้ยงปลาเทวดา 6 ตัว

ตอบ ๙,๖๐๐ ตารางเซนติเมตร

2 หาระยะทางจริงจากมาตราส่วน 1 ซม. : 3 กม. ซึ่งเส้นทางการเดินรถในแผนผังยาว 12.2 ซม.


2 วิธีคิด หาระยะทางจริงของถนนที่ต้องสร้าง โดยใช้มาตราส่วน 1 ซม. : 2 กม.
จะได้ 1 ซม. : 3 กม. = 12.2 × 1 ซม. : 12.2 × 3 กม.

วิธีทำ� จากแบบ ถนนคอนกรีตมีความยาว 6.5 ซม. และใช้มาตราส่วน 1 ซม. : 2 กม. = 12.2 ซม. : 36.6 กม.

จะได้ 1 ซม. : 2 กม. = 6.5 × 1 ซม. : 6.5 × 2 กม. ดังนั้น ระยะทางจากสถานีเคหะสมุทรปราการถึงสถานีห้าแยกลาดพร้าวเป็น 36.6 กิโลเมตร
17 ซม.
= 6.5 ซม. : 13 กม.
ดังนั้น ผู้รับเหมาต้องสร้างถนนเป็นระยะทาง 13 กิโลเมตร
ตอบ ๑๓ กิโลเมตร

140 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

ร่วมคิดร่วมทำ�

ร่วมคิดร่วมทำ�เป็นกิจกรรมกลุ่มที่มุ่งให้นักเรียนนำ�ความรู้
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6

เกี่ยวกับร้อยละ อัตราส่วน และเรื่องอื่น ๆ ที่เรียนมาแล้วไปใช้ บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

ในการแก้ปัญหาผ่านกิจกรรม โดยครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม ร่วมคิดร่วมทำา

กลุ่มละ 2-3 คน ช่วยกันปฏิบัติกิจกรรม โดยสามารถ แบ่งกลุม


่ กลุม
่ ละ 2-3 คน แล้วช่วยกันออกแบบสวนสาธารณะรูปสีเ่ หลีย่ มมุมฉากทีม
่ ค
ี วามกว้าง 200 เมตร
และมีอต
ั ราส่วนของความกว้าง ต่อ ความยาว เป็น 2 : 5 โดยมีบริเวณทีเ่ ป็นสระน้าำ 20,000 ตารางเมตร
ดาวน์โหลดกระดาษตารางสำ�หรับใช้ในการปฏิบัติกิจกรรมได้ สนามเด็กเล่น 4,000 ตารางเมตร ลานออกกำาลังกาย 17,000 ตารางเมตร ลานจอดรถ 13,000 ตารางเมตร
และสวนไม้ดอก-ไม้ประดับ 15,000 ตารางเมตร แล้วตอบคำาถาม
จาก QR code แล้วนำ�เสนอผลงาน ครูและเพื่อนในชั้น
ร่วมกันอภิปราย แสดงความคิดเห็นในประเด็นต่าง ๆ เช่น
วิธีแบ่งพื้นที่เป็นบริเวณต่าง ๆ วิธีหาร้อยละของพื้นที่แต่ละ
บริเวณ

พื้นที่แต่ละบริเวณคิดเป็นร้อยละเท่าใดของพื้นที่ทั้งหมด
กระดาษตาราง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 167

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 141
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

ตัวอย่างข้อสอบ บทที่ 4 ร้อยละและอัตราส่วน

จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 1 นักเรียนสามารถแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับร้อยละ 2-3 ขั้นตอน

แสดงวิธีหาคำ�ตอบ

1. ในเวลา 1 ชั่วโมง เครื่องจักร A ผลิตชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ได้ 183 ชิ้น ซึ่งผลิตได้มากกว่าเครื่องจักร B 33 ชิ้น


เครื่องจักร A ผลิตชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ได้คิดเป็นร้อยละเท่าใดของเครื่องจักร B

2. ขุนตั้งใจไว้ว่า ใน 1 ปี จะเก็บธนบัตรใบละห้าสิบบาทให้ได้ 20,000 บาท เมื่อครบ 1 ปี พบว่า ขุนเก็บธนบัตรใบละ


ห้าสิบบาทได้ 384 ใบ ขุนเก็บธนบัตรได้ตามที่ตั้งใจไว้หรือไม่ ถ้าไม่ได้ตามที่ตั้งใจ เขาเก็บได้มากกว่าหรือน้อยกว่า
ที่ตั้งใจไว้กี่เปอร์เซ็นต์

3. ห้างสรรพสินค้าแห่งหนึ่ง จัดรายการส่งเสริมการขายโดยลดราคาพัดลมไอน้ำ�จาก 1,850 บาท เหลือ 1,628 บาท

1) ห้างสรรพสินค้าลดราคาพัดลมไอน้ำ�กี่เปอร์เซ็นต์
2) จากราคาพัดลมไอน้ำ�ที่ลดแล้ว ห้างสรรพสินค้ายังได้กำ�ไร 10% ห้างสรรพสินค้าซื้อพัดลมไอน้ำ�มาราคาเท่าใด
4. เจนซื้อตู้เย็นมาจากร้านรุ่งเรือง ได้รับส่วนลด 1,999 บาท ต่อมาเจนขายให้ตั้ม 13,800 บาท ซึ่งทำ�ให้เจนขาดทุน
ร้อยละ 8 ร้านรุ่งเรืองติดราคาตู้เย็นไว้กี่บาท

5. ร้านค้าลดราคาอาหารแช่แข็งทุกชนิด 16% ถ้าแม่ซื้อเนื้อหมูแช่แข็ง 3 ถุง จ่ายเงินไป 504 บาท ร้านค้าติดราคา


เนื้อหมูแช่แข็งไว้ถุงละกี่บาท

จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 2 นักเรียนสามารถเขียนอัตราส่วนแสดงการเปรียบเทียบปริมาณ 2 ปริมาณ

เขียนอัตราส่วนจากข้อความต่อไปนี้

1. ร้านค้าขายข้าวเกรียบ 3 ห่อ ราคา 100 บาท

2. แป้นใช้น้ำ�ยาซักผ้าขาว 20 มิลลิลิตร ผสมกับน้ำ� 3 ลิตร

3. ห้องเรียนห้องหนึ่ง มีครูประจำ�ชั้น 2 คน ดูแลนักเรียน 55 คน

4. ซื้อนม 4 แพ็ค แถมกระเป๋าผ้า 1 ใบ

5. ข้าวคลุกกะปิ 1 จาน ให้พลังงาน 410 กิโลแคลอรี่

142 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 3 นักเรียนสามารถหาอัตราส่วนที่เท่ากับอัตราส่วนที่กำ�หนดให้

เลือกคำ�ตอบ

1. อัตราส่วนในข้อใดเท่ากับ 9 : 24

ก. 27 : 48 ข. 18 : 33 ค. 3 : 18 ง. 3 : 8

2. อัตราส่วนในข้อใดไม่เท่ากับ 84 : 48

ก. 168 : 96 ข. 28 : 12 ค. 21 : 12 ง. 14 : 8

3. อัตราส่วนในข้อใดทีไ่ ม่เท่ากับอัตราส่วนในข้ออื่น

ก. 5 : 11 ข. 15 : 33 ค. 45 : 88 ง. 60 : 132

จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 4 นักเรียนสามารถแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วนและมาตราส่วน

แสดงวิธีหาคำ�ตอบ

1. การตัดเย็บชุดสำ�เร็จรูปแบบหนึ่ง มีอัตราส่วนของผ้าที่ใช้ ต่อ จำ�นวนชุดที่ตัดได้ เป็น 3 เมตร : 2 ชุด


ถ้ามุกรับจ้างตัดเย็บชุดนี้ โดยรับผ้ามา 75 เมตร และได้ค่าจ้างชุดละ 37 บาท มุกจะได้ค่าจ้างทั้งหมดกี่บาท

2. ลุงอินเลี้ยงไก่พันธุ์เนื้อ 110 ตัว ไก่พันธุ์ไข่ 275 ตัว ส่วนลุงมั่นเลี้ยงไก่พันธุ์เนื้อและไก่พันธุ์ไข่คิดเป็นอัตราส่วน


1
เดียวกันกับทีล่ งุ อินเลีย้ ง ถ้าลุงมัน
่ มีจ�ำ นวนไก่พน
ั ธุไ์ ข่เป็น ของจำ�นวนไก่พน
ั ธุเ์ นือ
้ ของลุงอิน ลุงมัน
่ เลีย้ งไก่ทง้ั หมดกีต
่ วั
2
3. แผนผังสนามแห่งหนึ่ง มีลักษณะดังรูป
6 ซม.
มาตราส่วน 1 : 50
3 ซม.

ถ้าต้องการปลูกหญ้าให้เต็มสนาม โดยใช้แผ่นหญ้ารูปสี่เหลี่ยมมุมฉากที่แต่ละแผ่นมีพื้นที่ 0.5 ตารางเมตร


จะต้องใช้แผ่นหญ้าอย่างน้อยกี่แผ่น

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 143
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

4. แผนผังของทางเดินรอบสระน้ำ�สาธารณะแห่งหนึ่ง ใช้มาตราส่วน 1 ซม. : 100 ม. ถ้าป้องต้องการ


วิ่งสะสมระยะทางให้ได้ 48 กิโลเมตร ในเวลา 10 วัน โดยการวิ่งไปตามทางเดินรอบสระน้ำ�นี้ เฉลี่ยแล้ว
ป้องต้องวิ่งวันละกี่รอบ

4 ซม.
.
ซม
2.3

2 ซม
.
3ซ 3 ซม.
ม. ม.
1. 7ซ

144 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

เฉลยตัวอย่างข้อสอบ บทที่ 4 ร้อยละและอัตราส่วน

จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 1

1. ร้อยละ 122

2. ขุนเก็บธนบัตรไม่ได้ตามที่ตั้งใจ โดยเก็บได้น้อยกว่าที่ตั้งใจไว้ 4%

3. 1) 12%

2) 1,480 บาท
4. 16,999 บาท

5. 200 บาท

จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 2

1. อัตราส่วนของจำ�นวนข้าวเกรียบเป็นห่อ ต่อ ราคาเป็นบาท เป็น 3 : 100


หรือ อัตราส่วนของราคาเป็นบาท ต่อ จำ�นวนข้าวเกรียบเป็นห่อ เป็น 100 : 3
หรือ อัตราส่วนของจำ�นวนข้าวเกรียบ ต่อ ราคา เป็น 3 ห่อ : 100 บาท
หรือ อัตราส่วนของราคา ต่อ จำ�นวนข้าวเกรียบ เป็น 100 บาท : 3 ห่อ
2. อัตราส่วนของปริมาณน้ำ�ยาซักผ้าขาวเป็นมิลลิลิตร ต่อ ปริมาณน้ำ�เป็นลิตร เป็น 20 : 3
หรือ อัตราส่วนของปริมาณน้ำ�เป็นลิตร ต่อ ปริมาณน้ำ�ยาซักผ้าขาวเป็นมิลลิลิตร เป็น 3 : 20
หรือ อัตราส่วนของปริมาณน้ำ�ยาซักผ้าขาว ต่อ ปริมาณน้ำ� เป็น 20 มิลลิลิตร : 3 ลิตร
หรือ อัตราส่วนของปริมาณน้ำ� ต่อ ปริมาณน้ำ�ยาซักผ้าขาว เป็น 3 ลิตร : 20 มิลลิลิตร
3. อัตราส่วนของจำ�นวนครูประจำ�ชั้น ต่อ จำ�นวนนักเรียน เป็น 2 : 55
หรือ อัตราส่วนของจำ�นวนนักเรียน ต่อ จำ�นวนครูประจำ�ชั้น เป็น 55 : 2
4. อัตราส่วนของจำ�นวนนมที่ซื้อเป็นแพ็ค ต่อ จำ�นวนกระเป๋าผ้าที่แถมเป็นใบ เป็น 4 : 1
หรือ อัตราส่วนของจำ�นวนกระเป๋าผ้าที่แถมเป็นใบ ต่อ จำ�นวนนมที่ซื้อเป็นแพ็ค เป็น 1 : 4
หรือ อัตราส่วนของจำ�นวนนมที่ซื้อ ต่อ จำ�นวนกระเป๋าผ้าที่แถม เป็น 4 แพ็ค : 1 ใบ
หรือ อัตราส่วนของจำ�นวนกระเป๋าผ้าที่แถม ต่อ จำ�นวนนมที่ซื้อ เป็น 1 ใบ : 4 แพ็ค
5. อัตราส่วนของจำ�นวนข้าวคลุกกะปิเป็นจาน ต่อ ปริมาณพลังงานที่ได้รับเป็นแคลอรี่ เป็น 1 : 410
หรือ อัตราส่วนของปริมาณพลังงานที่ได้รับเป็นแคลอรี่ ต่อ จำ�นวนข้าวคลุกกะปิเป็นจาน เป็น 410 : 1
หรือ อัตราส่วนของจำ�นวนข้าวคลุกกะปิ ต่อ ปริมาณพลังงานที่ได้รับ เป็น 1 จาน : 410 แคลอรี่
หรือ อัตราส่วนของปริมาณพลังงานที่ได้รับ ต่อ จำ�นวนข้าวคลุกกะปิ เป็น 410 แคลอรี่ : 1 จาน

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 145
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 3

1. ง.

2. ข.

3. ค.

จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 4

1. 1,850 บาท

2. 77 ตัว

3. 54 แผ่น

4. 3 รอบ

146 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 5 | แบบรูป

บทที่
5 แบบรูป
จุดประสงค์การเรียนรู้ และสาระสำ�คัญ

จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระสำ�คัญ
นักเรียนสามารถ

แก้ปัญหาเกี่ยวกับแบบรูป • แบบรูปเป็นความสัมพันธ์ที่แสดงลักษณะสำ�คัญร่วมกัน
ของชุดของจำ�นวน รูปเรขาคณิต หรืออื่น ๆ

• การแก้ปัญหาเกี่ยวกับแบบรูป เริ่มจากทำ�ความเข้าใจปัญหา
หาจำ�นวนหรือสิ่งที่มีความสัมพันธ์กันเป็นแบบรูป พิจารณา
ความสัมพันธ์ในแบบรูป เพื่อนำ�ไปสู่สิ่งที่โจทย์ต้องการ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 147
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 5 | แบบรูป

ตารางวิเคราะห์เนื้อหากับทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และเวลาที่ใช้ในการจัดกิจกรรม

เวลา ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
หัวข้อ เนื้อหา
(ชั่วโมง) j k l m n
เตรียมความพร้อม 1 - - - - -

5.1 แบบรูปและความสัมพันธ์ 3 -    -

5.2 การแก้ปัญหาเกี่ยวกับแบบรูป 4   -  -

ร่วมคิดร่วมทำ� 1   -  

ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์

j การแก้ปัญหา k การสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์
l การเชื่อมโยง m การให้เหตุผล n การคิดสร้างสรรค์

คำ�ใหม่

ความรู้หรือทักษะพื้นฐาน

1. แบบรูปของจำ�นวนนับ
2. แบบรูปของรูปเรขาคณิตและรูปอื่น ๆ

สื่อการเรียนรู้
-

แหล่งเรียนรู้
1. หนังสือเรียน หน้า 168-189
2. แบบฝึกหัด หน้า 130-147

เวลาที่ใช้จัดการเรียนรู้
9 ชั่วโมง

148 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 5 | แบบรูป

แนวการจัดการเรียนรู้
การเตรียมความพร้อม

บทที่ 25

5 แบบรูป 24
23
22
21
20
19
เรียนจบบทนี้แล้ว นักเรียนสามารถ แทนดอกพุด
18
17
แก้ปัญหาเกี่ยวกับแบบรูป 16
15
14
13
12

แทนกลีบกุหลาบ 11
10
9
8
7
6
5
แทนดอกเบญจมาศน้ำา 4
3
2
ชั้นที่ 1

ถ้าจะร้อยมาลัยแบนลายนี้ 30 ชั้น
ต้องใช้ดอกไม้แต่ละชนิดอย่างละเท่าใด
กลีบกุหลาบ 90 กลีบ
ดอกพุด 104 ดอก
ดอกเบญจมาศน้ำา 14 ดอก

1. ครูใช้สถานการณ์หน้าเปิดบทนำ�สนทนาเกี่ยวกับมาลัยชนิดต่าง ๆ ของไทย และประโยชน์ใช้สอย จากนั้นให้นักเรียนสังเกต


วิธีร้อยดอกไม้เพื่อให้เกิดลวดลายของมาลัยแบนดังภาพ ว่าแต่ละชั้นใช้ดอกไม้อะไรบ้าง อย่างละเท่าใด แล้วใช้คำ�ถาม
หน้าเปิดบท “ถ้าจะร้อยมาลัยแบนลายนี้ 30 ชั้น ต้องใช้ดอกไม้แต่ละชนิดอย่างละเท่าใด” นักเรียนอาจหาคำ�ตอบได้จาก
การวาดรูปหรืออาจหาคำ�ตอบไม่ได้ ซึ่งครูแนะนำ�ว่า เราสามารถคิดคำ�นวณได้โดยใช้แบบรูป และเมื่อนักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับ
แบบรูปแล้ว ให้กลับมาตอบคำ�ถามนี้อีกครั้ง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 149
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 5 | แบบรูป

2. กิจกรรมเตรียมความพร้อมหน้า 170 เป็นการตรวจสอบ


หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6

ความรู้พื้นฐานของนักเรียนเกี่ยวกับแบบรูป ถ้าพบนักเรียน บทที่ 5 | แบบรูป

ทีไ่ ม่สามารถบอกความสัมพันธ์ของจำ�นวนหรือรูปทีก
่ �ำ หนดให้ได้ เตรียมความพร้อม

ครูควรทบทวนก่อน โดยใช้การถาม-ตอบประกอบการอธิบาย 1 พิจารณาแบบรูปที่กำาหนด แล้วบอกจำานวนถัดไปอีก 3 จำานวน

จากนัน ้ ให้ท�ำ แบบฝึกหัด 5.1 เป็นรายบุคคล


1) 3 9 15 21 ... 27 33 39
+6 +6 +6
2) 121 113 105 97 ... 89 81 73
−8 −8 −8
3) 576 288 144 72 ... 36 18 9
÷2 ÷2 ÷2
4) 900,000 895,000 890,000 885,000 ... 880,000 875,000 870,000
−5,000 −5,000 −5,000
5) 10 1,000 100,000 10,000,000 ...
×100 ×100 ×100
1,000,000,000 100,000,000,000 10,000,000,000,000
2 เลือกรูปถัดไปของแบบรูปที่กำาหนด

1) ...

ก. ข. ค. ง.

2) ...

ก. ข. ค. ง.

3)
...

ก. ข. ค. ง.

4) ...

ก. ข. ค. ง.

แบบฝึกหัด 5.1

170 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

150 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 5 | แบบรูป

1.1
5.1 การอ่าปนและความสั
แบบรู การเขียนจำม�พั
นวนนั
นธ์ บที่มากกว่า 100,000

จุดประสงค์การเรียนรู้ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 5 | แบบรูป

5.1
นักเรียนสามารถบอกความสัมพันธ์ของจำ�นวน แบบรูปและความสัมพันธ์

หรือรูปเรขาคณิตในแบบรูป พิจารณาแบบรูปต่อไปนี้

1 2 4 7 11 16 22 ...

สื่อการเรียนรู้ จำานวนในแบบรูปมีความสัมพันธ์กันอย่างไร

จำานวนในแบบรูปมีความสัมพันธ์แบบเพิ่มขึ้น
-
เพิม
่ ขึน
้ อย่างไร

1 2 4 7 11 16 22
แนวการจัดการเรียนรู้
1,000,000,000 100,000,000,000 10,000,000,000,000
+1 +2 +3 +4 +5 +6

จำานวนทีอ
่ ยูถ
่ ด
ั จาก 22 เป็นจำานวนใด เพราะเหตุใด
1. การสอนการหาความสัมพันธ์ในแบบรูป หน้า 171-172
29 เพราะ เพิม
่ จาก 22 อีก 7 เป็น 22 + 7 = 29
ครูอาจจัดกิจกรรมโดยใช้การถาม-ตอบประกอบการอธิบาย
1,000 995 985 970 950 925 ...
ความสัมพันธ์ของจำ�นวนในแบบรูป โดยพิจารณาจาก
จำานวนในแบบรูปมีความสัมพันธ์กน
ั อย่างไร
จำ�นวน 2 จำ�นวนที่อยู่ติดกันว่าเพิ่มขึ้นหรือลดลงอย่างไร
จำานวนในแบบรูปมีความสัมพันธ์แบบลดลง

จากนั้นครูแนะนำ�จำ�นวนฟีโบนัชชี ซึ่งได้แก่ ลดลงอย่างไร

0, 1, 1, 2, 3, 5, 8, 13, 21, … 1,000 995 985 970 950 925

ครูควรยกตัวอย่างจำ�นวนฟีโบนัชชีในธรรมชาติ เช่น −5 −10 −15 −20 −25

จำ�นวนกลีบดอกไม้เกือบทุกชนิดในธรรมชาติจะเท่ากับ จำานวนทีอ
่ ยูถ
่ ด
ั จาก 925 เป็นจำานวนใด เพราะเหตุใด

จำ�นวนที่ปรากฏในจำ�นวนฟีโบนัชชี เช่น 895 เพราะ ลดลงจาก 925 อีก 30 เป็น 925 − 30 = 895

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 171

ดอกหน้าวัว มีกลีบดอก 1 กลีบ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 5 | แบบรูป

พิจารณาแบบรูปต่อไปนี้

0 1 1 2 3 5 8 13 21 ...

ดอกโป๊ยเซียน มีกลีบดอก 2 กลีบ จำานวนในแบบรูปมีความสัมพันธ์กน


ั อย่างไร

จำานวนในแบบรูปมีความสัมพันธ์แบบเพิม
่ ขึน

เพิม
่ ขึน
้ อย่างไร

ดอกบุหงาเซิง มีกลีบดอก 3 กลีบ เนือ


่ งจาก 2 จำานวนแรกได้แก่ 0 และ 1
ตัง้ แต่จาำ นวนที่ 3 เป็นต้นไป หาได้จาก ผลบวกของจำานวน 2 จำานวนก่อนหน้าทีอ
่ ยูต
่ ด
ิ กัน
ดังนี้
0 1 1 2 3 5 8 13 21

0+1 1+1 1+2 2+3 3+5 5+8 8 + 13

ดอกแก้ว มีกลีบดอก 5 กลีบ จำานวนทีอ


่ ยูถ
่ ด
ั จาก 21 เป็นจำานวนใด เพราะเหตุใด

34 เพราะเกิดจากนำา 2 จำานวนก่อนหน้าทีอ
่ ยูต
่ ด
ิ กันมาบวกกัน เป็น 13 + 21 = 34

ดอกดาวกระจาย มีกลีบดอก 8 กลีบ


จำานวนฟีโบนัชชี หรือ เลขฟีโบนัชชี
คือ จำานวนที่เรียงลำาดับกันดังต่อไปนี้
0, 1, 1, 2, 3, 5, 8, 13, 21, 34, …
สังเกตได้ว่า 2 จำานวนแรกคือ 0 และ 1 จำานวนถัดไป
เท่ากับผลบวกของจำานวน 2 จำานวนก่อนหน้าที่อยู่ติดกัน
ซึ่งคิดค้นโดย นักคณิตศาสตร์ชาวอิตาลี
ดอกบัวตอง มีกลีบดอก 13 กลีบ ชื่อ เลโอนาร์โด ฟีโบนัชชี (Leonardo Fibonacci)
เรียบเรียงจาก : http://stemforlife.ipst.ac.th

172 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 151
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 5 | แบบรูป

ครูใช้การถาม-ตอบประกอบการอธิบายตัวอย่างหน้า 173
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6

และร่วมกันทำ�กิจกรรมหน้า 174 แล้วทำ�แบบฝึกหัด 5.2 บทที่ 5 | แบบรูป

เป็นรายบุคคล 1
พิจารณาแบบรูปต่อไปนี้
1 2 4 8 16 32 ...
จำานวนที่อยู่ถัดจาก 32 คือจำานวนใด

วิธีคิด จำานวนในแบบรูปมีความสัมพันธ์แบบเพิ่มขึ้น ดังนี้


1 2 4 8 16 32

×2 ×2 ×2 ×2 ×2
จากแบบรูป จะได้ว่าจำานวนที่อยู่ทางขวาจะเป็น 2 เท่าของจำานวนที่อยู่ติดกันทางซ้าย
ดังนั้น จำานวนที่อยู่ถัดจาก 32 คือ 2 × 32 = 64

ตอบ ๖๔

2
พิจารณาแบบรูปต่อไปนี้
1 4 9 16 25 36 ...
จำานวนที่อยู่ถัดจาก 36 คือจำานวนใด

วิธีคิด 1 จำานวนในแบบรูปมีความสัมพันธ์แบบเพิ่มขึ้น ดังนี้


1 4 9 16 25 36

1×1 2×2 3×3 4×4 5×5 6×6

จากแบบรูป จะได้ว่าจำานวนที่อยู่ถัดจาก 36 เป็น จำานวนที่ 7 ซึ่งหาได้จาก 7 × 7


ดังนั้น จำานวนที่อยู่ถัดจาก 36 คือ 7 × 7 = 49

วิธีคิด 2 จำานวนในแบบรูปมีความสัมพันธ์แบบเพิ่มขึ้น ดังนี้


1 4 9 16 25 36

+3 +5 +7 +9 +11

จากแบบรูป จะได้ว่าจำานวนที่อยู่ถัดจาก 36 จะเพิ่มจาก 36 อีก 13


ดังนั้น จำานวนที่อยู่ถัดจาก 36 คือ 36 + 13 = 49

ตอบ ๔๙

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 173

152 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 5 | แบบรูป

2. เพื่อตรวจสอบความเข้าใจ ให้นักเรียนทำ�กิจกรรม
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6

หน้า 174 เป็นรายบุคคล บทที่ 5 | แบบรูป

ระบุจำานวนใน

1 7 8 11 16 23 32 43 56 71 88
+1 +3 +5 +7 +9 +11 +13 +15 +17

2 9 16 30 51 79 114 156
+7 +14 +21 +28 +35 +42
1×7 2×7 3×7 4×7 5×7 6×7
3 253 248 238 223 203 178 148 113
−5 −10 −15 −20 −25 −30 −35

4 2 4 16 96 768 7,680 92,160


×2 ×4 ×6 ×8 ×10 ×12
1×2 2×2 3×2 4×2 5×2 6×2
5 1 3 15 105 945 10,395 135,135
×3 ×5 ×7 ×9 ×11 ×13

6 62,370 20,790 4,158 594 66 6


÷3 ÷5 ÷7 ÷9 ÷11

แบบฝึกหัด 5.2

ตรวจสอบความเข้าใจ

ระบุจำานวนใน

1 15 22 37 15 22 37 15 22 37 15

2 9 12 17 24 33 44 57 72 89
+3 +5 +7 +9 +11 +13 +15 +17
3 596 586 566 536 496 446 386 316 236
−10 −20 −30 −40 −50 −60 −70 −80
4 651 +3 654 +6 660 +9 669+12 681+15 696+18 714+21 735+24 759
1×3 2×3 3×3 4×3 5×3 6×3 7×3 8×3
5 732 +2 734 +4 738 +6 744 +8 752 +10 762+12 774+14 788
1×2 2×2 3×2 4×2 5×2 6×2 7×2
6 1,427−2 1,425 −4 1,421−8 1,413−16 1,397−32 1,365−64 1,301
−128
1,173
−256
917−512405
2 2×2 4×2 8×2 16×2 32×2 64×2 128×2 256×2
7 1 3 18 162 1,944 29,160 524,880 11,022,480
×3 ×6 ×9 ×12 ×15 ×18 ×21
1×3 2×3 3×3 4×3 5×3 6×3 7×3
8 79,833,600 39,916,800 13,305,600 3,326,400 665,280 110,880 15,840
÷2 ÷3 ÷4 ÷5 ÷6 ÷7

174 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 153
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 5 | แบบรูป

3. ครูนำ�สถานการณ์หน้า 175 ให้นักเรียนร่วมกันพิจารณา


หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6

วิธีการจัดเรียงแก้ว โดยแนะนำ�ให้นักเรียนเขียนตัวเลขแสดง บทที่ 5 | แบบรูป

จำ�นวนแก้วในแต่ละรูปเพื่อช่วยในการสังเกตความสัมพันธ์ พิจารณาการจัดเรียงแก้วต่อไปนี้

ที่เกิดขึ้น จากนั้นร่วมกันวิเคราะห์ความสัมพันธ์โดยใช้การ
ถาม-ตอบประกอบการอธิบาย เพื่อนำ�ไปสู่การหาคำ�ตอบว่า
รูปที่ 7 จะมีแก้วทัง้ หมดกีใ่ บ และเพือ
่ เป็นการตรวจสอบ
รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3 รูปที่ 4
ความเข้าใจของนักเรียน ครูอาจตั้งคำ�ถามเพิ่มเติมให้นักเรียน
หาจำ�นวนแก้วของรูปอื่น ๆ พร้อมแสดงวิธีคิด เช่น รูปที่ 15 แต่ละรูปมีแก้วกีใ่ บ

จะมีแก้วทั้งหมดกี่ใบ คิดได้อย่างไร รูปที่ 1 มีแก้ว 1 ใบ รูปที่ 2 มีแก้ว 3 ใบ


รูปที่ 3 มีแก้ว 6 ใบ และรูปที่ 4 มีแก้ว 10 ใบ
สำ�หรับสถานการณ์หน้า 176-177 อาจจัดกิจกรรม
ถ้าเรียงแก้วในลักษณะนี้ รูปที่ 5 จะมีแก้วกี่ใบ
ทำ�นองเดียวกันกับหน้า 175 โดยให้นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์
ความสัมพันธ์ โดยใช้การถาม-ตอบ ประกอบการอธิบาย รูปที่ 5 จะเรียงแก้วได้ดังนี้

เพื่อนำ�ไปสู่การหาคำ�ตอบ และเพื่อเป็นการตรวจสอบ ซึ่งจำานวนแก้วในแต่ละรูปหาได้จาก


การนำาจำานวนแก้วในแต่ละชั้นมารวมกัน
ความเข้าใจของนักเรียน ครูอาจตั้งคำ�ถามเพิ่มเติม ให้นักเรียน รูปที่ 1 มีแก้ว 1 ใบ

หาจำ�นวน ของรูปอื่น ๆ พร้อมแสดงวิธีคิด เช่น รูปที่ 20 รูปที่ 2 มีแก้ว 1 + 2 = 3 ใบ


รูปที่ 3 มีแก้ว 1 + 2 + 3 = 6 ใบ
จะมี ทั้งหมดกี่รูป คิดได้อย่างไร รูปที่ 4 มีแก้ว 1 + 2 + 3 + 4 = 10 ใบ

จากนั้นครูใช้การถาม-ตอบประกอบการอธิบายตัวอย่าง
ดังนัน
้ รูปที่ 5 มีแก้ว 1 + 2 + 3 + 4 + 5 = 15 ใบ

หน้า 178-180 และร่วมกันทำ�กิจกรรมหน้า 181 แล้วให้ทำ� รูปที่ 7 จะมีแก้วทัง้ หมดกีใ่ บ คิดได้อย่างไร

แบบฝึกหัด 5.3 เป็นรายบุคคล ซึ่งข้อ 1 - 3 ครูควร


สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 175
ให้นักเรียนนำ�เสนอวิธีคิด เพื่อให้นักเรียนได้เห็นวิธีคิด
ที่หลากหลาย ส่วนข้อ 4 ให้ครูเลือกนักเรียนที่มีวิธีคิด
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6

ต่างกันมานำ�เสนอหน้าชั้นเรียน บทที่ 5 | แบบรูป

พิจารณาการเรียง ต่อไปนี้

รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3 รูปที่ 4

แต่ละรูปมี กีร่ ป

รูปที่ 1 มี 1 รูป รูปที่ 2 มี 4 รูป


รูปที่ 3 มี 9 รูป และรูปที่ 4 มี 16 รูป

จากการสังเกต พบว่า
รูปที่ 1 มี 1 แถว แถวละ 1 รูป มี ทั้งหมด 1 × 1 = 1 รูป
รูปที่ 2 มี 2 แถว แถวละ 2 รูป มี ทั้งหมด 2 × 2 = 4 รูป
รูปที่ 3 มี 3 แถว แถวละ 3 รูป มี ทั้งหมด 3 × 3 = 9 รูป
รูปที่ 4 มี 4 แถว แถวละ 4 รูป มี ทั้งหมด 4 × 4 = 16 รูป

แสดงว่า รูปที่ 5 จะมี 5 แถว แถวละ 5 รูป


มี ทัง้ หมด 5 × 5 = 25 รูป ใช่ไหมครับ

ถูกต้องครับ แล้วรูปที่ 10 จะมี กีร่ ป


ู คิดได้อย่างไร

รูปที่ 10 จะมี 10 แถว แถวละ 10 รูป


มี ทั้งหมด 10 × 10 = 100 รูป

176 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

154 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 5 | แบบรูป

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 5 | แบบรูป บทที่ 5 | แบบรูป

1
อาจพิจารณาการนับจำานวน อีกวิธห
ี นึง่ ดังนี้
พิจารณาจำานวน และ ในแบบรูป

รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3 รูปที่ 4

จากการสังเกต พบว่า
รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3 รูปที่ 4
รูปที่ 1 มี 1 รูป

รูปที่ 2 มี เพิ่มขึ้นจากรูปที่ 1 อีก 3 รูป มี ทั้งหมด 1 + 3 = 4 รูป


รูปที่ 5 จะมี และ อย่างละกีร่ ป

รูปที่ 3 มี เพิ่มขึ้นจากรูปที่ 2 อีก 5 รูป มี ทั้งหมด 1 + 3 + 5 = 9 รูป

รูปที่ 4 มี เพิ่มขึ้นจากรูปที่ 3 อีก 7 รูป มี ทั้งหมด 1 + 3 + 5 + 7 = 16 รูป วิธีคิด หาจำานวน และ ได้ดังนี้

รูปที่
จำานวน จำานวน

1 มี 1 แถว 1 รูป มี 2 แถว 1 + 2 = 3 รูป


แสดงว่า รูปที่ 5 จะมี ่ จากรูปที่ 4 อีก 9 รูป
เพิม
2 มี 2 แถว 1 + 2 = 3 รูป มี 3 แถว 1 + 2 + 3 = 6 รูป
มี ทัง้ หมด 1 + 3 + 5 + 7 + 9 = 25 รูป ใช่ไหมครับ
3 มี 3 แถว 1 + 2 + 3 = 6 รูป มี 4 แถว 1 + 2 + 3 + 4 = 10 รูป

4 มี 4 แถว 1 + 2 + 3 + 4 = 10 รูป มี 5 แถว 1 + 2 + 3 + 4 + 5 = 15 รูป


ถูกต้องครับ แล้วรูปที่ 10 จะมี กี่รูป คิดได้อย่างไร
จากความสัมพันธ์ของจำานวนรูปสามเหลีย่ มในรูปที่ 1 ถึง รูปที่ 4 จะได้วา่

รูปที่ 5 มี 5 แถว จำานวน 1 + 2 + 3 + 4 + 5 = 15 รูป


รูปที่ 10 จะมี 10 แถว แถวละ 10 รูป
รูมีปที่ 10 ทัจะมี
้งหมด 10ทัx้งหมด
10 = 100 รูป และ มี 6 แถว จำานวน 1 + 2 + 3 + 4 + 5 + 6 = 21 รูป
1 + 3 + 5 + 7 + 9 + 11 + 13 + 15 + 17 + 19 = 100 รูป
ดังนัน
้ รูปที่ 5 มี 15 รูป และ มี 21 รูป

ตอบ ๑๕ รูป และ ๒๑ รูป

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 177 178 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 5 | แบบรูป บทที่ 5 | แบบรูป

2 3

พิจารณาจำานวนก้านไม้ขด
ี ในแบบรูป พิจารณาจำานวน ในแบบรูป

รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3 รูปที่ 4 รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3 รูปที่ 4

รูปที่ 10 จะมีกา้ นไม้ขด


ี ทัง้ หมดกีก
่ า้ น
รูปที่ 8 จะมี ทั้งหมดกี่ลูก
วิธีคิด จำานวนก้านไม้ขีดทั้งหมดในแต่ละรูป หาได้โดย นำาจำานวนก้านไม้ขีดในแนวตั้ง
และจำานวนก้านไม้ขีดในแนวนอนมารวมกัน ดังนี้ วิธีคิด จำานวน ในแต่ละรูป หาได้โดย นำาจำานวนลูกบาศก์ในแต่ละชั้นมารวมกัน ดังนี้
รูปที่ 1 มี 1 ชั้น มี 1 × 1 = 1 ลูก
จำานวนก้านไม้ขีด รวม 1 ลูก
รูปที่
แนวตั้ง แนวนอน รวม (ก้าน) รูปที่ 2 มี 2 ชั้น ชั้นที่ 1 มี 1 × 1 = 1 ลูก ชั้นที่ 2 มี 2 × 2 = 4 ลูก

2 แถว แถวละ 1 ก้าน 2 แถว แถวละ 1 ก้าน รวม 1 + 4 = 5 ลูก


1 2+2 = 4
2 × 1 = 2 ก้าน 2 × 1 = 2 ก้าน รูปที่ 3 มี 3 ชั้น ชั้นที่ 1 มี 1 × 1 = 1 ลูก ชั้นที่ 2 มี 2 × 2 = 4 ลูก
3 แถว แถวละ 2 ก้าน 3 แถว แถวละ 2 ก้าน ชั้นที่ 3 มี 3 × 3 = 9 ลูก
2 6 + 6 = 12
3 × 2 = 6 ก้าน 3 × 2 = 6 ก้าน รวม 1 + 4 + 9 = 14 ลูก
4 แถว แถวละ 3 ก้าน 4 แถว แถวละ 3 ก้าน รูปที่ 4 มี 4 ชั้น ชั้นที่ 1 มี 1 × 1 = 1 ลูก ชั้นที่ 2 มี 2 × 2 = 4 ลูก
3 12 + 12 = 24
4 × 3 = 12 ก้าน 4 × 3 = 12 ก้าน
ชั้นที่ 3 มี 3 × 3 = 9 ลูก ชั้นที่ 4 มี 4 × 4 = 16 ลูก
5 แถว แถวละ 4 ก้าน 5 แถว แถวละ 4 ก้าน
4 20 + 20 = 40 รวม 1 + 4 + 9 + 16 = 30 ลูก
5 × 4 = 20 ก้าน 5 × 4 = 20 ก้าน
จากความสัมพันธ์ของจำานวน จากรูปที่ 1 ถึง รูปที่ 4 จะได้ว่า
จากความสัมพันธ์ของจำานวนก้านไม้ขีดจากรูปที่ 1 ถึง รูปที่ 4 จะได้ว่า
รูปที่ 8 จะมี 8 ชั้น รวมทั้งหมด (1 × 1) + (2 × 2) + (3 × 3) + (4 × 4) + (5 × 5)
รูปที่ 10 มีก้านไม้ขีดในแนวตั้ง 11 แถว แถวละ 10 ก้าน รวมเป็น 11 × 10 = 110 ก้าน
+ (6 × 6) + (7 × 7) + (8 × 8) = 1 + 4 + 9 + 16 + 25 + 36 + 49 + 64 ลูก
และ มีก้านไม้ขีดในแนวนอน 11 แถว แถวละ 10 ก้าน รวมเป็น 11 × 10 = 110 ก้าน
= 204 ลูก
ดังนั้น รูปที่ 10 มีก้านไม้ขีดทั้งหมด 110 + 110 = 220 ก้าน
ดังนั้น รูปที่ 8 มี ทั้งหมด 204 ลูก
ตอบ ๒๒๐ ก้าน ตอบ ๒๐๔ ลูก

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 179 180 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 155
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 5 | แบบรูป

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 5 | แบบรูป บทที่ 5 | แบบรูป

เฉลยหน้า 181
แสดงวิธีคิดและหาคำาตอบ

1 ตัวอย่าง
1 พิจารณาจำานวน ในแบบรูป
วิธีคิด จำานวน ในแต่ละรูป หาได้ดังนี้

รวมกับ

รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3 รูปที่ 4 รูปที่ 1 4×1 4×1

รวมมี (4 × 1) + (4 × 1) = 4 + 4 = 8 รูป
รูปที่ 10 มี กี่รูป

2 พิจารณาจำานวนเส้นทแยงมุมของรูปหลายเหลี่ยมต่อไปนี้
รวมกับ

รูปที่ 2 4×2 4×1

รวมมี (4 × 2) + (4 × 1) = 8 + 4 = 12 รูป
รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3 รูปที่ 4

รูปแปดเหลี่ยมมีเส้นทแยงมุมทั้งหมดกี่เส้น
รวมกับ

3 พิจารณาจำานวนรูปสามเหลี่ยมที่เกิดจากการลากเส้นทแยงมุม จากจุดยอดมุมของมุม 1 มุม


ไปยังมุมที่อยู่ตรงข้ามของรูปหลายเหลี่ยมต่อไปนี้ รูปที่ 3 4×3 4×1

รวมมี (4 × 3) + (4 × 1) = 12 + 4 = 16 รูป

รวมกับ

รูปสิบสองเหลี่ยมแบ่งเป็นรูปสามเหลี่ยมได้ทั้งหมดกี่รูป
รูปที่ 4 4×4 4×1
แบบฝึกหัด 5.3 รวมมี (4 × 4) + (4 × 1) = 16 + 4 = 20 รูป

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 181

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 5 | แบบรูป บทที่ 5 | แบบรูป

เฉลยหน้า 181 เฉลยหน้า 181

จากรูปจะได้ความสัมพันธ์ดังนี้ 3 ตัวอย่าง
วิธีคิด จำานวนรูปสามเหลี่ยมที่เกิดจากการลากเส้นทแยงมุม จากจุดยอดมุมของมุม 1 มุม
รูปที่ 1 มี (4 × 1) + (4 × 1) = 4 + 4 = 8 รูป
ไปยังมุมที่อยู่ตรงข้าม หาได้ดังนี้
รูปที่ 2 มี (4 × 2) + (4 × 1) = 8 + 4 = 12 รูป

รูปที่ 3 มี (4 × 3) + (4 × 1) = 12 + 4 = 16 รูป ชนิดของรูปหลายเหลี่ยม จำานวนรูปสามเหลี่ยม (รูป) จำานวนเส้นทแยงมุม (เส้น)

รูปที่ 4 มี (4 × 4) + (4 × 1) = 16 + 4 = 20 รูป รูปสามเหลี่ยม 1 0


รูปสี่เหลี่ยม 4−2 = 2 1
ดังนั้น รูปที่ 10 มี (4 × 10) + (4 × 1) = 40 + 4 = 44 รูป
รูปห้าเหลี่ยม 5−2 = 3 2
ตอบ ๔๔ รูป รูปหกเหลี่ยม 6−2 = 4 3
รูปเจ็ดเหลี่ยม 7−2 = 5 4

2 ตัวอย่าง
จากความสัมพันธ์ของจำานวนรูปสามเหลี่ยมที่เกิดจากการลากเส้นทแยงมุม จะได้ว่า
วิธีคิด จำานวนเส้นทแยงมุมของแต่ละรูป หาได้ดังนี้
3 2 รูปสิบสองเหลี่ยม แบ่งเป็นรูปสามเหลี่ยมได้ทั้งหมด 12 − 2 = 10 รูป
2
1 1 ดังนั้น รูปสิบสองเหลี่ยมแบ่งเป็นรูปสามเหลี่ยมได้ทั้งหมด 10 รูป
2 1 3 1 ตอบ ๑๐ รูป

รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3 รูปที่ 4

รูปที่ ชนิดของรูปหลายเหลี่ยม จำานวนเส้นทแยงมุม (เส้น)


1 รูปสามเหลี่ยม 0
2 รูปสี่เหลี่ยม 1+1 = 2
3 รูปห้าเหลี่ยม 2+2+1 = 5
4 รูปหกเหลี่ยม 3+3+2+1 = 9

จากความสัมพันธ์ของจำานวนเส้นทแยงมุมในรูปที่ 1 ถึงรูปที่ 4 จะได้ว่า


รูปที่ 6 เป็นรูปแปดเหลี่ยม มีเส้นทแยงมุมทั้งหมด 5 + 5 + 4 + 3 + 2 + 1 = 20 เส้น
ดังนั้น รูปแปดเหลี่ยมมีเส้นทแยงมุมทั้งหมด 20 เส้น
ตอบ ๒๐ เส้น

156 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 5 | แบบรูป

4. เพื่อตรวจสอบความเข้าใจและสรุปความรู้ที่ได้ ให้นักเรียน
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6

ทำ�กิจกรรมหน้า 182 เป็นรายบุคคล บทที่ 5 | แบบรูป

ตรวจสอบความเข้าใจ

แสดงวิธีคิดและหาคำาตอบ

1 พิจารณาจำานวน ในแบบรูป

รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3 รูปที่ 4

รูปที่ 15 มี กี่รูป

2 พิจารณาจำานวน และ ในแบบรูป

รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3 รูปที่ 4 รูปที่ 5

รูปที่ 12 มี และ อย่างละกี่รูป

สิ่งที่ได้เรียนรู้

พิจารณาจำานวน และ ในแบบรูป

4 10 18 28

รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3 รูปที่ 4

จำานวนที่แสดงในรูปที่ 6 คือจำานวนใด มีวิธีคิดอย่างไร

182 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 5 | แบบรูป บทที่ 5 | แบบรูป

เฉลยหน้า 182 เฉลยหน้า 182

ตรวจสอบความเข้าใจ 2 ตัวอย่าง
1 ตัวอย่าง วิธีคิด จำานวน และ ในแต่ละรูป หาได้ดังนี้
1 2 3 4 5
วิธีคิด จำานวน ในแต่ละรูป หาได้ดังนี้
1 2 3 4 4
4 1 2 3 3 3
1 2 2 2 2
1
มี ทั้งหมด (1 × 4) + 2 = 6 รูป 1 1 1 1

รูปที่ 1
รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3 รูปที่ 4 รูปที่ 5
4

2 รูปที่ จำานวนรูปสี่เหลี่ยมทั้งหมด (รูป) จำานวน (รูป) จำานวน (รูป)


มี ทั้งหมด (2 × 4) + 2 = 10 รูป 1 1 1 0
2 1+2+1 1+1 = 2 2
รูปที่ 2
3 1+2+3+2+1 1+3+1 = 5 2+2 = 4
4
4 1+2+3+4+3+2+1 1+3+3+1 = 8 2+4+2 = 8
5 1 + 2 + 3 + 4 + 5 + 4 + 3 + 2 +1 1 + 3 + 5 + 3 + 1 = 13 2 + 4 + 4 + 2 = 12
3
มี ทั้งหมด (3 × 4) + 2 = 14 รูป
จากความสัมพันธ์ของจำานวน และ ในรูปที่ 1 ถึงรูปที่ 5 จะได้ว่า

รูปที่ 3 รูปที่ 12 มีรูปสี่เหลี่ยมทั้งหมด 1 + 2 + 3 + 4 + 5 + 6 + 7 + 8 + 9 + 10 + 11 + 12 + 11


+ 10 + 9 + 8 + 7 + 6 + 5 + 4 + 3 + 2 + 1 รูป
4
เป็น 1 + 3 + 5 + 7 + 9 + 11 + 11 + 9 + 7 + 5 + 3 + 1 = 72 รูป

และเป็น 2 + 4 + 6 + 8 + 10 + 12 + 10 + 8 + 6 + 4 + 2 = 72 รูป
4
มี ทั้งหมด (4 × 4) + 2 = 18 รูป ดังนั้น รูปที่ 12 มี 72 รูป และมี 72 รูป

ตอบ ๗๒ รูป และ ๗๒ รูป


รูปที่ 4

จากความสัมพันธ์ของจำานวน ในรูปที่ 1 ถึงรูปที่ 4 จะได้ว่า

รูปที่ 15 มี (15 × 4) + 2 = 62 รูป

ดังนั้น รูปที่ 15 มี 62 รูป


ตอบ ๖๒ รูป

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 157
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 5 | แบบรูป

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 5 | แบบรูป

เฉลยหน้า 182

สิ่งที่ได้เรียนรู้
จำานวนที่แสดงในรูปที่ 6 คือ 54 มีตัวอย่างวิธีคิดดังนี้
วิธีคิด 1

4 10 18 28

รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3 รูปที่ 4

เนื่องจากจำานวนที่แสดงในรูปที่ 1 ถึง รูปที่ 4 เป็นจำานวนของ ของแต่ละรูป จึงพิจารณาความสัมพันธ์


ของจำานวน ในแต่ละรูป ซึ่งพบว่า ที่เรียงตามแนวทแยงแบ่ง เป็น 2 กลุ่มที่มีจำานวนเท่ากัน
ซึ่งหาจำานวน ของแต่ละรูปได้ดังนี้

รูปที่ จำานวน (รูป)


1 2 × (1 + 1) = 4
2 2 × (2 + 2 + 1) = 10
3 2 × (3 + 3 + 2 + 1) = 18
+ 12 + 11 4 2 × (4 + 4 + 3 + 2 + 1) = 28

ดังนั้น รูปที่ 6 มี 2 × (6 + 6 + 5 + 4 + 3 + 2 + 1) = 54 รูป

วิธีคิด 2

รูปที่ จำานวน และ (รูป) จำานวน (รูป) จำานวน (รูป)


1 3×3 = 9 3+2 = 5 9−5 = 4
2 4 × 4 = 16 4+2 = 6 16 − 6 = 10
3 5 × 5 = 25 5+2 = 7 25 − 7 = 18
4 6 × 6 = 36 6+2 = 8 36 − 8 = 28

จากความสัมพันธ์ของจำานวน และ ในรูปที่ 1 ถึงรูปที่ 4 จะได้ว่า

รูปที่ 6 มี และ รวม 8 × 8 = 64 รูป เป็น 8 + 2 = 10 รูป

ดังนั้น รูปที่ 6 มี 64 − 10 = 54 รูป

158 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 5 | แบบรูป

1.1
5.2 การอ่าน
การแก้ ปัญ
การเขี
หาเกีย่ยนจำ
วกั�บนวนนั
แบบรูบปที่มากกว่า 100,000

จุดประสงค์การเรียนรู้ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 5 | แบบรูป

5.2
นักเรียนสามารถแก้ปัญหาเกี่ยวกับแบบรูป การแก้ปัญหาเกี่ยวกับแบบรูป

สื่อการเรียนรู้
พิจารณาสถานการณ์ต่อไปนี้

ในการสร้างบัตรตัวเลข 20 ใบ โดยเขียนตัวเลข 1 ถึง 20 และติดรูปลอกบนบัตรแต่ละใบ ดังนี้


ใบที่ 1 เขียนเลข 1 และติดรูปลอก 1 รูป
2 11 1132
- ใบที่ 2 เขียนเลข 2 และติดรูปลอก 2 รูป 3 1
45 14
ใบที่ 3 เขียนเลข 3 และติดรูปลอก 3 รูป 15
20
แนวการจัดการเรียนรู้
และทำาแบบนี้ไปเรื่อย ๆ จนครบ 20 ใบ จะใช้รูปลอกทั้งหมดกี่รูป

หาจำานวนรูปลอกทัง้ หมด ได้อย่างไร


การสอนการแก้ปัญหาเกี่ยวกับแบบรูป ครูอาจจัดกิจกรรม
จำานวนรูปลอกทีใ่ ช้ตด
ิ ในบัตรตัวเลขแต่ละใบคือ 1, 2, 3, …, 20 รูป

ดังนี้ ดังนัน
้ จำานวนรูปลอกทัง้ หมดทีใ่ ช้ เท่ากับผลบวกของจำานวนนับตัง้ แต่ 1 ถึง 20

1. ครูนำ�สถานการณ์ปัญหาหน้า 183-185 ให้นักเรียนร่วมกัน มีวธิ ห


ี าผลบวกของจำานวนนับตัง้ แต่ 1 ถึง 20 อย่างไร

พิจารณา โดยครูควรเขียนภาพประกอบสถานการณ์ปัญหา วิธีหาผลบวกของจำานวนนับตั้งแต่ 1 ถึง 20 อาจทำาได้โดยหาผลบวกของจำานวนนับทีละคู่

เพราะจะช่วยให้นักเรียนเข้าใจสถานการณ์ปัญหา และหา ที่มีผลบวกเท่ากัน ดังนี้

1 + 2 + 3 + ... + 10 + 11 + ... + 18 + 19 + 20
ความสัมพันธ์ได้ง่ายขึ้น แล้วใช้การถาม-ตอบประกอบ 21

การอธิบาย และร่วมกันวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่าง
21
21
21

จำ�นวนทีเ่ กิดขึน
้ เพือ่ นำ�ไปสูก่ ารหาคำ�ตอบ ทัง้ นีค ้ รูควรเขียนแสดง 21

จำานวนนับตั้งแต่ 1 ถึง 20 มี 20 จำานวน จับคู่หาผลบวกได้ทั้งหมด 10 คู่


ความสัมพันธ์ของจำ�นวนให้เห็นการดำ�เนินการอย่างชัดเจน ซึ่งแต่ละคู่มีผลบวกเป็น 21 จะได้ว่า 1 + 2 + 3 + 4 + 5 + … + 16 + 17 + 18 + 19 + 20
= 10 × 21 = 210

โดยแสดงทีละจำ�นวน ซึ่งอาจเขียนในรูปของตารางก็ได้ ดังนั้น จะใช้รูปลอกทั้งหมด 210 รูป

จากนั้นใช้การถาม-ตอบประกอบการอธิบายตัวอย่าง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 183

หน้า 186-187 และร่วมกันทำ�กิจกรรมหน้า 187-188


หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6

ซึง่ ครูควรจัดเป็นกิจกรรมกลุม ่ กลุม่ ละ 3-4 คน แล้วให้นก ั เรียน บทที่ 5 | แบบรูป

นำ�เสนอวิธีคิด แล้วให้ทำ�แบบฝึกหัด 5.4 เป็นรายบุคคล พิจารณาสถานการณ์ต่อไปนี้

สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวชนิดหนึ่ง มีการแบ่งเซลล์เพื่อสืบพันธุ์ดังนี้
สำ�หรับโจทย์ทม ่ี วี ธิ ค
ี ด
ิ ทีม
่ ากกว่า 1 วิธี ครูควรนำ�มาให้นกั เรียน เซลล์เริ่มต้น

ร่วมกันอภิปรายเพื่อให้เห็นวิธีคิดที่หลากหลาย เช่น ครั้งที่ 1

ครั้งที่ 2

ครั้งที่ 3

ถ้าสิ่งมีชีวิตชนิดนี้แบ่งเซลล์ไปเรื่อย ๆ การแบ่งเซลล์ครั้งที่ 10 จะได้ทั้งหมดกี่เซลล์

หาจำานวนเซลล์ทั้งหมดในครั้งที่ 10 ได้อย่างไร

เนื่องจากเซลล์เริ่มต้น 1 เซลล์ แบ่งได้ 2 เซลล์ จึงหาจำานวนเซลล์ที่ได้จากการแบ่งเซลล์แต่ละครั้งได้ดังนี้

จำานวนเซลล์ (เซลล์)
ครั้งที่
เซลล์เริ่มต้น เซลล์ทั้งหมด

1 1 1×2 = 2

2 2 2×2 = 4

3 4 4×2 = 8 หรือ 2 × 2 × 2 = 8

4 8 8 × 2 = 16 หรือ 2 × 2 × 2 × 2 = 16

5 16 16 × 2 = 32 หรือ 2 × 2 × 2 × 2 × 2 = 32

6 32 32 × 2 = 64 หรือ 2 × 2 × 2 × 2 × 2 × 2 = 64

7 64 64 × 2 = 128 หรือ 2 × 2 × 2 × 2 × 2 × 2 × 2 = 128

8 128 128 × 2 = 256 หรือ 2 × 2 × 2 × 2 × 2 × 2 × 2 × 2 = 256

9 256 256 × 2 = 512 หรือ 2 × 2 × 2 × 2 × 2 × 2 × 2 × 2 × 2 = 512

10 512 512 × 2 = 1,024 หรือ 2 × 2 × 2 × 2 × 2 × 2 × 2 × 2 × 2 × 2 = 1,024

ดังนั้น การแบ่งเซลล์ครั้งที่ 10 ได้เซลล์ทั้งหมด 1,024 เซลล์

184 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 159
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 5 | แบบรูป

1 ต้นออกแบบลวดลายการปูพื้นห้องด้วยกระเบื้อง ชั้นที่ 5
รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ซึ่งยาวด้านละ 20 เซนติเมตร โดยใช้กระเบื้อง 2 สี
ชั้นที่ 3
ปูสลับกันเป็นชั้น ๆ ดังรูป ถ้าพื้นห้องเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส
ชั้นที่ 1
ยาวด้านละ 3 เมตร ต้นต้องใช้กระเบื้องสีละกี่แผ่น

ชั้นที่ 2 ชั้นที่ 4 ชั้นที่ 6

วิธีคิด 1 พื้นห้องเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสยาวด้านละ 3 เมตร หรือ 300 เซนติเมตร

แสดงว่า จะต้องปูกระเบื้องทั้งหมด 300 ÷ 20 = 15 ชั้น และจำ�นวนกระเบื้องในแต่ละชั้น หาได้ดังนี้

จำ�นวน (แผ่น)
ชั้นที่
สีเหลือง สีเขียว

1 1 -

2 - 2+1 = 3

3 3+2 = 5 -

4 - 4+3 = 7

5 5+4 = 9 -

6 - 6 + 5 = 11

จะได้ว่า ถ้าปูกระเบื้อง 15 ชั้น จะปูกระเบื้องสีเหลืองในชั้นที่ 1, 3, 5, 7, 9, 11, 13 และ 15

โดยชั้นที่ 7 มี 7 + 6 = 13 แผ่น ชั้นที่ 9 มี 9 + 8 = 17 แผ่น ชั้นที่ 11 มี 11 + 10 = 21 แผ่น

ชั้นที่ 13 มี 13 + 12 = 25 แผ่น และชั้นที่ 15 มี 15 + 14 = 29 แผ่น

ดังนั้น ใช้กระเบื้องสีเหลืองทั้งหมด 1 + 5 + 9 + 13 + 17 + 21 + 25 + 29 = 120 แผ่น

และจะปูกระเบื้องสีเขียวในชั้นที่ 2, 4, 6, 8, 10, 12 และ 14 โดยชั้นที่ 8 มี 8 + 7 = 15 แผ่น

ชั้นที่ 10 มี 10 + 9 = 19 แผ่น ชั้นที่ 12 มี 12 + 11 = 23 แผ่น และชั้นที่ 14 มี 14 + 13 = 27 แผ่น

ดังนั้น ใช้กระเบื้องสีเขียวทั้งหมด 3 + 7 + 11 + 15 + 19 + 23 + 27 = 105 แผ่น

ตอบ กระเบื้องสีเหลือง ๑๒๐ แผ่น และกระเบื้องสีเขียว ๑๐๕ แผ่น

160 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 5 | แบบรูป

วิธีคิด 2 พื้นห้องเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสยาวด้านละ 3 เมตร หรือ 300 เซนติเมตร ปูพื้นห้องด้วยกระเบื้องรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส


ซึ่งยาวด้านละ 20 เซนติเมตร ได้ด้านละ 300 ÷ 20 = 15 แผ่น
ดังนั้นต้องปูกระเบื้อง 15 ชั้น และจำ�นวนกระเบื้องสีเขียวและสีเหลืองในแต่ละชั้น หาได้ดังนี้

ชั้นที่ 5

ชั้นที่ 3

ชั้นที่ 1

ชั้นที่ 2 ชั้นที่ 4 ชั้นที่ 6

จำ�นวน (แผ่น)
ชั้นที่
สีเหลือง สีเขียว
1 1 -
2 - (2 × 1) + 1 = 3
3 (2 × 2) + 1 = 5
4 - (2 × 3) + 1 = 7
5 (2 × 4) + 1 = 9 -
6 - (2 × 5) + 1 = 11

จากความสัมพันธ์ของจำ�นวนกระเบื้องในชั้นที่ 1 ถึง ชั้นที่ 6 จะได้ว่า


ถ้าปูกระเบื้อง 15 ชั้น จะปูกระเบื้องสีเหลืองในชั้นที่ 1, 3, 5, 7, 9, 11, 13 และ 15
โดย ชั้นที่ 7 ปู (2 × 6) + 1 = 13 แผ่น
ชั้นที่ 9 ปู (2 × 8) + 1 = 17 แผ่น
ชั้นที่ 11 ปู (2 × 10) + 1 = 21 แผ่น
ชั้นที่ 13 ป (2 × 12) + 1 = 25 แผ่น
ชั้นที่ 15 ปู (2 × 14) + 1 = 29 แผ่น
รวมกระเบื้องสีเหลืองทั้งหมด 1 + 5 + 9 + 13 + 17 + 21 + 25 + 29 = 120 แผ่น
และปูกระเบื้องสีเขียวในชั้นที่ 2, 4, 6, 8, 10, 12 และ 14
โดย ชั้นที่ 8 ปู (2 × 7) + 1 = 15 แผ่น
ชั้นที่ 10 ปู (2 × 9) + 1 = 19 แผ่น
ชั้นที่ 12 ปู (2 × 11) + 1 = 23 แผ่น
ชั้นที่ 14 ปู (2 × 13) + 1 = 27 แผ่น
รวมกระเบื้องสีเขียวทั้งหมด 3 + 7 + 11 + 15 + 19 + 23 + 27 = 105 แผ่น
ดังนั้น ต้นต้องใช้กระเบื้องสีเหลือง 120 แผ่น และกระเบื้องสีเขียว 105 แผ่น
ตอบ กระเบื้องสีเหลือง ๑๒๐ แผ่น และกระเบื้องสีเขียว ๑๐๕ แผ่น

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 161
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 5 | แบบรูป

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 5 | แบบรูป บทที่ 5 | แบบรูป

1
พิจารณาสถานการณ์ต่อไปนี้
ต้นมะม่วงในสวนของรุ่ง มีระยะห่างระหว่างต้นมะม่วง 2 ต้นที่อยู่ใกล้กันมากที่สุดเป็น 10 เมตร
ในงานเลี้ยงสังสรรค์มีคนมาร่วมงาน 7 คน ถ้าทุกคนที่มาร่วมงานมีการจับมือทักทายกัน และกำาหนด แทนตำาแหน่งของต้นมะม่วง ดังรูป
ในงานเลี้ยงสังสรรค์นี้มีการจับมือทักทายกันทั้งหมดกี่ครั้ง

10 ม.
3 10 ม.

รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3 รูปที่ 4


1 2
ถ้ารุ่งมีบริเวณที่ปลูกต้นมะม่วงเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีความยาวด้านละ 100 เมตร
1 2
ในสวนของรุ่งจะมีต้นมะม่วงกี่ต้น
คน 2 คน คน 3 คน
จับมือกัน 1 ครั้ง จับมือกัน 2 + 1 = 3 ครั้ง วิธีคิด จำานวนต้นมะม่วงในแต่ละรูป หาได้ดังนี้

ความยาวด้าน จำานวนต้นมะม่วง จำานวนต้นมะม่วงทั้งหมด


5 รูปที่ จำานวนแถว
(เมตร) ในแต่ละแถว (ต้น) (ต้น)
1 10 (10 ÷ 10) + 1 = 2 2 2×2 = 4
4 3
2 20 (20 ÷ 10) + 1 = 3 3 3×3 = 9
4 3
3 30 (30 ÷ 10) + 1 = 4 4 4 × 4 = 16

4 40 (40 ÷ 10) + 1 = 5 5 5 × 5 = 25

1 2 จากความสัมพันธ์ของจำานวนแถวและจำานวนต้นมะม่วงในแต่ละแถว จะได้ว่า
1 2 บริเวณที่ปลูกต้นมะม่วงเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีความยาวด้านละ 100 เมตร
คน 4 คน คน 5 คน
จะปลูกต้นมะม่วงได้ (100 ÷ 10) + 1 = 11 แถว โดยแต่ละแถวมีต้นมะม่วง 11 ต้น
จับมือกัน 3 + 2 + 1 = 6 ครั้ง จับมือกัน 4 + 3 + 2 + 1 = 10 ครั้ง
ดังนั้น ในสวนของรุ่งมีต้นมะม่วงทั้งหมด 11 × 11 = 121 ต้น
จากภาพ คน 2 คน จับมือทักทายกัน 1 ครัง้ ตอบ ๑๒๑ ต้น
คน 3 คน จับมือทักทายกัน 2 + 1 = 3 ครัง้
คน 4 คน จับมือทักทายกัน 3 + 2 + 1 = 6 ครัง้
คน 5 คน จับมือทักทายกัน 4 + 3 + 2 + 1 = 10 ครัง้
แสดงว่า คน 6 คน จับมือทักทายกัน 5 + 4 + 3 + 2 + 1 = 15 ครัง้
ดังนัน
้ คน 7 คน จับมือทักทายกัน 6 + 5 + 4 + 3 + 2 + 1 = 21 ครัง้

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 185 186 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 5 | แบบรูป บทที่ 5 | แบบรูป

2 เฉลยหน้า 187

การจัดวางโต๊ะและเก้าอี้สำาหรับการประชุมครั้งหนึ่งมีลักษณะดังรูป
1 ตัวอย่าง
เมื่อกำาหนด แทนเก้าอี้ และ แทนโต๊ะ
วิธีคิด จำานวนลูกปัดสีแดงและลูกปัดสีฟ้าที่ใบบัวใช้ หาได้ดังนี้
4
3 รูป
3 3
2 รูป 2 รูป
รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3 รูปที่ 4 2 2 2
1 รูป (มี 3 เม็ด) 1 รูป 1 รูป
1 1 1 1
ถ้าจุ๋มจัดโต๊ะ 20 ตัว จะต้องจัดเก้าอี้กี่ตัว
1 ชั้น 2 ชั้น 3 ชั้น 4 ชั้น

วิธีคิด จำานวนเก้าอี้ทั้งหมด หาได้จากจำานวนเก้าอี้ที่อยู่ข้างโต๊ะทุกตัว ตัวละ 4 ตัว


จำานวนลูกปัด (เม็ด)
รวมกับจำานวนเก้าอี้ที่อยู่หัวโต๊ะอีก 2 ตัว จำานวนชั้น
สีแดง สีฟ้า รวม
จำานวนโต๊ะ จำานวนเก้าอี้ จำานวนเก้าอี้ จำานวนเก้าอี้ทั้งหมด 1 1 0 1+0 = 1
รูปที่
(ตัว) ที่ข้างโต๊ะ (ตัว) ที่หัวโต๊ะ (ตัว) (ตัว)
2 1+2 = 3 1×3 = 3 3+3 = 6
1 1 1×4 = 4 2 (1 × 4) + 2 = 6
3 1+2+3 = 6 (1 + 2) × 3 = 3 × 3 = 9 6 + 9 = 15
2 2 2×4 = 8 2 (2 × 4) + 2 = 10 4 1 + 2 + 3 + 4 = 10 (1 + 2 + 3) × 3 = 6 × 3 = 18 10 + 18 = 28
3 3 3 × 4 = 12 2 (3 × 4) + 2 = 14

4 4 4 × 4 = 16 2 (4 × 4) + 2 = 18 จากความสัมพันธ์ของจำานวนลูกปัดสีแดงและสีฟ้าชั้นที่ 1 ถึงชั้นที่ 4 จะได้ว่า


ชั้นที่ 15 มีลูกปัดสีแดง 1 + 2 + 3 + 4 + 5 + 6 + 7 + 8 + 9 + 10 + 11 + 12 + 13
จากตารางจะได้ว่า ถ้าจัดโต๊ะ 20 ตัว จะต้องจัดเก้าอี้ที่ข้างโต๊ะ 20 × 4 = 80 ตัว รวมกับ
+ 14 + 15 = 120 เม็ด
เก้าอี้ที่หัวโต๊ะอีก 2 ตัว
มีลูกปัดสีฟ้า (1 + 2 + 3 + 4 + 5 + 6 + 7 + 8 + 9 + 10 + 11 + 12 + 13
ดังนั้น จุ๋มต้องจัดเก้าอี้ทั้งหมด 80 + 2 = 82 ตัว
ตอบ ๘๒ ตัว + 14) × 3 = 315 เม็ด
ดังนั้น ถ้าใบบัวร้อยลูกปัด 15 ชั้น จะใช้ลูกปัดทั้งหมด 120 + 315 = 435 เม็ด
ตอบ ๔๓๕ เม็ด
แสดงวิธีคิดและหาคำาตอบ

1 ใบบัวร้อยลูกปัด 2 สี มีลักษณะดังรูป

1 ชั้น 2 ชั้น 3 ชั้น 4 ชั้น

ถ้าใบบัวร้อยลูกปัด 15 ชั้น จะใช้ลูกปัดทั้งหมดกี่เม็ด

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 187

162 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 5 | แบบรูป

2. เพื่อตรวจสอบความเข้าใจและสรุปความรู้ที่ได้ ให้นักเรียน
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6

ทำ�กิจกรรมหน้า 188 เป็นรายบุคคล บทที่ 5 | แบบรูป

2 บริษัทขายเครื่องกรองน้ำาแห่งหนึ่งมีการสร้างแรงจูงใจให้สมาชิกแต่ละคนหาสมาชิกใหม่ โดยบริษัท
จะมอบเครื่องกรองน้ำาให้สมาชิก 1 เครื่อง เมื่อสมาชิกผู้นั้นหาสมาชิกใหม่ได้ครบ 5 คน
และในการสมัครสมาชิก บริษัทจะได้รับค่าสมัครคนละ 2,000 บาท ถ้าสมาชิกรุ่นแรก 1 คน
หาสมาชิกได้ครบ 5 คน และสมาชิกแต่ละคนหาสมาชิกรุ่นต่อไปได้ครบทุกรุ่น ดังแผนภาพ

สมาชิกรุ่นที่ 1

สมาชิกรุ่นที่ 2

สมาชิกรุ่นที่ 3

จำานวนเงินค่าสมัครทั้งหมดที่บริษัทได้รับจากสมาชิกรุ่นแรก 1 คน ถึงสมาชิกรุ่นที่ 5 เป็นเท่าใด


และบริษัทมอบเครื่องกรองน้ำาให้สมาชิกทั้งหมดกี่เครื่อง

แบบฝึกหัด 5.4

ตรวจสอบความเข้าใจ

แสดงวิธีคิดและหาคำาตอบ
1 ป้ามาลีจะจัดสวนหน้าบ้าน โดยจัดกระถางต้นสร้อยไก่สีแดงกับสีเหลืองสลับกันเป็นชั้น ๆ ดังรูป
ถ้าป้ามาลีต้องการจัดกระถางต้นสร้อยไก่ 9 ชั้น ต้องใช้ต้นสร้อยไก่สีละกี่กระถาง

ต้นสร้อยไก่
1 ชั้น 2 ชั้น 3 ชั้น 4 ชั้น

2 การแข่งขันเซปักตระกร้อของโรงเรียนแห่งหนึ่ง เป็นการแข่งขันแบบพบกันหมด
ถ้ามีนักเรียนเข้าร่วมแข่งขัน 12 ทีม จะมีการแข่งขันกันทั้งหมดกี่ครั้ง

สิ่งที่ได้เรียนรู้

อธิบายขั้นตอนการแก้โจทย์ปัญหา พร้อมหาคำาตอบโดยใช้แบบรูป
กนกเริ่มทำางาน และวางแผนเก็บเงินดังนี้
ปีที่ 1 เดือนละ 200 บาท ปีที่ 2 เดือนละ 400 บาท
ปีที่ 3 เดือนละ 600 บาท ปีที่ 4 เดือนละ 800 บาท และเป็นเช่นนี้ไปเรื่อย ๆ
ปีที่ 20 กนกเก็บเงินได้เท่าใด

188 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 5 | แบบรูป บทที่ 5 | แบบรูป

เฉลยหน้า 188 เฉลยหน้า 188

2 ตัวอย่าง วิธีคิด 2 จำานวนสมาชิกรุ่นที่ 1 ถึงรุ่นที่ 5 หาได้ดังนี้


วิธีคิด 1 จำานวนสมาชิกรุ่นที่ 1 ถึง รุ่นที่ 5 หาได้ดังนี้ สมาชิกรุ่นแรก 1 คน หาสมาชิกรุ่นที่ 2 ได้ 5 คน
จำานวนสมาชิกรุ่นที่ 1 มี 1 คน แสดงว่า รุ่นที่ 2 มีสมาชิก 5 คน และแต่ละคนหาสมาชิกรุ่นที่ 3 ได้ 5 คน
จำานวนสมาชิกรุ่นที่ 2 สมาชิกรุ่นที่ 1 มี 1 คน หาสมาชิกได้ 5 คน แสดงว่า รุ่นที่ 3 มีสมาชิก 5 × 5 = 25 คน และแต่ละคนหาสมาชิกรุ่นที่ 4 ได้ 5 คน
ดังนั้น สมาชิกรุ่นที่ 2 มี 1 × 5 = 5 คน แสดงว่า รุ่นที่ 4 มีสมาชิก 25 × 5 = 125 คน และแต่ละคนหาสมาชิกรุ่นที่ 5 ได้ 5 คน
จำานวนสมาชิกรุ่นที่ 3 สมาชิกรุ่นที่ 2 มี 5 คน แต่ละคนหาสมาชิกได้ 5 คน แสดงว่า รุ่นที่ 5 มีสมาชิก 125 × 5 = 625 คน
ดังนั้น สมาชิกรุ่นที่ 3 มี 5 × 5 = 25 คน ดังนั้น สมาชิกรุ่นแรก 1 คน ถึงรุ่นที่ 5 มีสมาชิกทั้งหมด
จำานวนสมาชิกรุ่นที่ 4 สมาชิกรุ่นที่ 3 มี 25 คน แต่ละคนหาสมาชิกได้ 5 คน 1 + 5 + 25 + 125 + 625 = 781 คน
ดังนั้น สมาชิกรุ่นที่ 4 มี 25 × 5 = 125 คน
เนื่องจาก บริษัทเก็บค่าสมัครจากสมาชิกคนละ 2,000 บาท
จำานวนสมาชิกรุ่นที่ 5 สมาชิกรุ่นที่ 4 มี 125 คน แต่ละคนหาสมาชิกได้ 5 คน
ดังนั้น บริษัทได้รับค่าสมัครจากสมาชิกรุ่นที่ 1 ถึงรุ่นที่ 5
ดังนั้น สมาชิกรุ่นที่ 5 มี 125 × 5 = 625 คน
จำานวน 781 × 2,000 = 1,562,000 บาท
ดังนั้น สมาชิกรุ่นที่ 1 ถึง รุ่นที่ 5 มีทั้งหมด 1 + 5 + 25 + 125 + 625 = 781 คน
สมาชิกที่หาสมาชิกรุ่นถัดไปได้ครบ 5 คน ได้แก่ สมาชิกรุ่นที่ 1, 2, 3 และ 4
แสดงว่า บริษัทได้รับเงินค่าสมัครทั้งหมด 781 × 2,000 = 1,562,000 บาท
จำานวน 1 + 5 + 25 + 125 = 156 คน
และบริษัทมอบเครื่องกรองน้ำาให้สมาชิกแต่ละรุ่น ดังนี้
ดังนั้น บริษัทมอบเครื่องกรองน้ำาให้สมาชิกทั้งหมด 156 เครื่อง
สมาชิกรุ่นที่ 1 มี 1 คน หาสมาชิกได้ครบ 5 คน
ตอบ ๑๕๖ เครื่อง
แสดงว่า สมาชิกรุ่นที่ 1 ได้รับเครื่องกรองน้ำา 1 เครื่อง
+ 13
สมาชิกรุ่นที่ 2 มี 5 คน แต่ละคนหาสมาชิกได้ครบ 5 คน ตรวจสอบความเข้าใจ
แสดงว่า สมาชิกรุ่นที่ 2 ได้รับเครื่องกรองน้ำาคนละ 1 เครื่อง 1 ตัวอย่าง
รวม 5 เครื่อง วิธีคิด จำานวนกระถางต้นสร้อยไก่สีเหลืองและต้นสร้อยไก่สีแดง หาได้ดังนี้
สมาชิกรุ่นที่ 3 มี 25 คน แต่ละคนหาสมาชิกได้ครบ 5 คน
จำานวนกระถางต้นสร้อยไก่ (กระถาง)
แสดงว่า สมาชิกรุ่นที่ 3 ได้รับเครื่องกรองน้ำาคนละ 1 เครื่อง ชั้นที่ รูป วิธีคิด
สีเหลือง สีแดง
รวม 25 เครื่อง
1 1 − −
สมาชิกรุ่นที่ 4 มี 125 คน แต่ละคนหาสมาชิกได้ครบ 5 คน
แสดงว่า สมาชิกรุ่นที่ 4 ได้รับเครื่องกรองน้ำาคนละ 1 เครื่อง 2 − 3×2 = 6 มี 3 ด้าน ด้านละ 2 กระถาง
รวม 125 เครื่อง
มี 3 ด้าน ด้านละ 3 กระถาง
ดังนั้น บริษัทมอบเครื่องกรองน้ำาให้สมาชิกทั้งหมด 1 + 5 + 25 + 125 = 156 เครื่อง 3 (3 × 3) + (3 × 1) = 12 − รวมกับที่เหลือ 3 ด้าน ด้านละ
1 กระถาง
ตอบ ๑๕๖ เครื่อง

มี 3 ด้าน ด้านละ 4 กระถาง


4 − (3 × 4) + (3 × 2) = 18 รวมกับที่เหลือ 3 ด้าน ด้านละ
2 กระถาง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 163
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 5 | แบบรูป

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6


บทที่ 5 | แบบรูป บทที่ 5 | แบบรูป

เฉลยหน้า 188 เฉลยหน้า 188

จากความสัมพันธ์ของจำานวนกระถางต้นสร้อยไก่สีเหลืองและต้นสร้อยไก่สีแดง จะได้ว่า สิ่งที่ได้เรียนรู้


ชั้นที่ 5 มีต้นสร้อยไก่สีเหลือง (3 × 5) + (3 × 3) = 24 กระถาง ขั้นที่ 1 หาความสัมพันธ์ของจำานวนเงินเก็บในแต่ละเดือนของปีที่ 1 ถึง ปีที่ 4 ดังนี้
ชั้นที่ 6 มีต้นสร้อยไก่สีแดง (3 × 6) + (3 × 4) = 30 กระถาง
ปีที่ เงินเก็บในแต่ละเดือน (บาท)
5 คน ชั้นที่ 7 มีต้นสร้อยไก่สีเหลือง (3 × 7) + (3 × 5) = 36 กระถาง
1 200
ได้ 5 คน ชั้นที่ 8 มีต้นสร้อยไก่สีแดง (3 × 8) + (3 × 6) = 42 กระถาง
2 200 + 200 = 2 × 200 = 400
ชั้นที่ 9 มีต้นสร้อยไก่สีเหลือง (3 × 9) + (3 × 7) = 48 กระถาง
3 200 + 200 + 200 = 3 × 200 = 600
ดังนั้น ถ้าป้ามาลีต้องการจัดกระถางต้นสร้อยไก่ 9 ชั้น
4 200 + 200 + 200 + 200 = 4 × 200 = 800
ต้องใช้ต้นสร้อยไก่สีเหลือง 1 + 12 + 24 + 36 + 48 = 121 กระถาง
และต้นสร้อยไก่สีแดง 6 + 18 + 30 + 42 = 96 กระถาง
ขั้นที่ 2 หาจำานวนเงินเก็บในแต่ละปี ตั้งแต่ปีที่ 1 ถึง ปีที่ 4 ดังนี้
ตอบ ต้นสร้อยไก่สีเหลือง ๑๒๑ กระถาง และต้นสร้อยไก่สีแดง ๙๖ กระถาง

ปีที่ เงินเก็บ (บาท)


2 ตัวอย่าง 1 12 × 200 = 2,400
วิธีคิด 2 12 × (2 × 200) = 12 × 400 = 4,800
1 2 นักเรียนเข้าร่วมแข่งขัน 2 ทีม จะแข่งขันทั้งหมด 1 ครั้ง 3 12 × (3 × 200) = 12 × 600 = 7,200
4 12 × (4 × 200) = 12 × 800 = 9,600
3

ขั้นที่ 3 หาจำานวนเงินเก็บของปีที่ 20 ดังนี้


นักเรียนเข้าร่วมแข่งขัน 3 ทีม จะแข่งขันทั้งหมด 1 + 2 = 3 ครั้ง
1 2 12 × (20 × 200) = 12 × 4,000 = 48,000 บาท
ดังนั้น ปีที่ 20 กนกเก็บเงินได้ 48,000 บาท
4 3

นักเรียนเข้าร่วมแข่งขัน 4 ทีม จะแข่งขันทั้งหมด 1 + 2 + 3 = 6 ครั้ง


1 2

5 3
นักเรียนเข้าร่วมแข่งขัน 5 ทีม จะแข่งขันทั้งหมด 1 + 2 + 3 + 4 = 10 ครั้ง
1 2

ดังนั้น ถ้ามีนักเรียนเข้าร่วมแข่งขัน 12 ทีม จะมีการแข่งขันกันทั้งหมด


1 + 2 + 3 + 4 + 5 + 6 + 7 + 8 + 9 + 10 + 11 = 66 ครั้ง
ตอบ ๖๖ ครั้ง

164 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 5 | แบบรูป

ร่วมคิดร่วมทำ�

ร่วมคิดร่วมทำ�เป็นกิจกรรมที่มุ่งเน้นให้นักเรียนใช้ความรู้
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6

และทักษะเกีย่ วกับการแก้ปญ ั หาเกีย่ วกับแบบรูปและเรือ ่ งอืน


่ ๆ บทที่ 5 | แบบรูป

ที่เรียนแล้วมาแก้ปัญหาผ่านกิจกรรม โดยควรให้นักเรียน ร่วมคิดร่วมทำา

ทำ�เป็นกลุ่ม กลุ่มละ 3-4 คน แล้วนำ�สนอวิธีคิด การจัดเรียงส้มซ้อนกันเป็นชั้น ๆ ดังรูปที่ 1

รูปที่ 1

โดยส้มที่อยู่ชั้นบนจะอยู่ระหว่างช่องว่างระหว่างส้มที่เรียงอยู่ชั้นล่าง ดังรูปที่ 2

รูปที่ 2

ซึ่ง ถ้าจัด 1 ชั้น ใช้ส้ม 1 ผล


ถ้าจัด 2 ชั้น ใช้ส้ม 1 + (2 × 2) = 5 ผล
ถ้าจัด 3 ชั้น ใช้ส้ม 1 + (2 × 2) + (3 × 3) = 14 ผล

จงแสดงวิธีคิดเพื่อหาว่า

1 ถ้าต้องการจัดส้ม 12 ชั้น จะใช้ส้มกี่ผล 650 ผล

2 ถ้ามีส้ม 1,200 ผล จะเรียงได้มากที่สุดกี่ชั้น ชั้นล่างสุดใช้ส้มกี่ผล และเหลือส้มกี่ผล


จะจัดเรียงได้มากที่สุด 14 ชั้น ชั้นล่างสุดใช้ส้ม 196 ผล และเหลือส้ม 185 ผล

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 189

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 165
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 5 | แบบรูป

ตัวอย่างข้อสอบ บทที่ 5 แบบรูป

จุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนสามารถแก้ปัญหาเกี่ยวกับแบบรูป

แสดงวิธีหาคำ�ตอบ

1. พอเพียงนำ�แผ่นกระดาษรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสสีแดงมาเรียงกันดังรูป

รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3 รูปที่ 4

รูปที่ 10 จะต้องใช้กระดาษสีแดงกี่แผ่น

2. แผ่นกระเบื้องรูปห้าเหลี่ยมด้านเท่ามุมเท่าที่ยาวด้านละ 1 หน่วย ดอนนำ�มาเรียงต่อกันดังรูป

รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3 รูปที่ 4

ถ้าดอนวางแผ่นกระเบื้องต่อกันลักษณะเช่นนี้ 12 แผ่น จะมีความยาวรอบรูปกี่หน่วย

166 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 5 | แบบรูป

3. ร้านขายวัสดุก่อสร้างร้านหนึ่ง จัดเรียงท่อน้ำ�ดังรูป

ถ้าทางร้านมีท่อน้ำ� 190 ท่อน จะเรียงท่อน้ำ�ได้ทั้งหมดกี่ชั้น

4. การจัดเก้าอี้ในห้องประชุมแห่งหนึ่ง แถวที่ 1 มี 4 ตัว แถวที่ 2 มี 8 ตัว แถวที่ 3 มี 16 ตัว แถวที่ 4 มี 32 ตัว


ถ้าจัดเก้าอี้ในลักษณะนี้ 6 แถว ต้องใช้เก้าอี้กี่ตัว

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 167
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บทที่ 5 | แบบรูป

เฉลยตัวอย่างข้อสอบ บทที่ 5 แบบรูป

1. 121 แผ่น

2. 38 หน่วย

3. 19 ชั้น

4. 252 ตัว

168 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เฉลยแบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน

สารบัญเฉลยแบบฝึกหัด

บทที่่�
ห.ร.ม. และ ค.ร.น. (หน้า 170)
1
บทที่่�
เศษส่วน (หน้า 190)
2
บทที่่�
ทศนิยม (หน้า 217)
3
บทที่่�
ร้อยละและอัตราส่วน (หน้า 228)
4
บทที่่�
แบบรูป (หน้า 238)
5
170 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

แบบฝึกหัด 3 เขียน ใน หน้�ข้อที่ถูกต้อง และ เขียน ใน หน้�ข้อที่ผิด พร้อมแสดงเหตุผล


บทที่ 1 ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
1) จำ�นวนนับที่ห�ร 30 ได้ลงตัว มีเพียง 2, 3, 5 และ 10 เท่�นั้น

ยังมีจำ�นวนนับอื่นที่ห�ร 30 ได้ลงตัว เช่น 1, 6, 15 หรือจำ�นวนนับที่ห�ร 30


เพร�ะ .............................................................................................................................
แบบฝึกหัด 1.1
ได้ลงตัว มีทั้งหมด 8 จำ�นวน ได้แก่ 1, 2, 3, 5, 6, 10, 15 และ 30
........................................................................................................................................
1 เติมตัวเลขแสดงจำ�นวนใน

1) 32 = 8 × 4 2) 45 = 15 × 3
2) 2, 3, 4, 6, 9 และ 12 ส�ม�รถห�ร 36, 84 และ 180 ได้ลงตัวทุกจำ�นวน
3) 108 = 9 × 12 4) 100 = 4 × 25
9 ห�ร 84 ไม่ลงตัว
เพร�ะ .............................................................................................................................
5) 90 = 6 × 15 6) 117 = 13 × 9
........................................................................................................................................

2 โยงเส้นจับคู่โจทย์กับผลลัพธ์
4 แสดงวิธีห�คำ�ตอบ
89 ห�รด้วย 7
8 3 เศษ 5
1) 1) ครูแบ่งนักเรียนในห้องเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 6 คน ได้ 12 กลุ่มพอดี นักเรียนในห้องมีกี่คน
วิธีทำา ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 6 คน
...............................................................................................................................................
32 ÷ 9
แบ่งได้ 12 กลุ่ม
...............................................................................................................................................
1 เศษ 2 10 เศษ 10
2) มีนักเรียนทั้งหมด 12 × 6 = 72 คน
...............................................................................................................................................
ดังนั้น นักเรียนในห้องมี 72 คน
...............................................................................................................................................
62 ห�รด้วย 6
ตอบ ๗๒ คน
...............................................................................................................................................
7 เศษ 12 12 เศษ 5
3)
2) เชือกย�ว 75 เมตร กิ๊บนำ�ม�ตัดเป็นเส้น ย�วเส้นละ 5 เมตร ได้ทั้งหมดกี่เส้น
วิธีทำา เชือกย�ว 75 เมตร
...............................................................................................................................................
50 ÷ 4
10 เศษ 19 4 กิ๊บนำ�ม�ตัดเป็นเส้น ย�วเส้นละ 5 เมตร
...............................................................................................................................................
4)
ตัดได้ 75 ÷ 5 = 15 เส้น
...............................................................................................................................................
ดังนั้น กิ๊บตัดเชือกได้ทั้งหมด 15 เส้น
...............................................................................................................................................
96 ห�รด้วย 12
ตอบ ๑๕ เส้น
...............................................................................................................................................
10 เศษ 2 12 เศษ 2
5)

2| สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี |3
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 171 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น. บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

แบบฝึกหัด 1.2
3) แต้วต้องก�รบรรจุสบู่เหลวใส่ขวด ขวดละ 150 มิลลิลิตร จำ�นวน 24 ขวด 1 ตอบคำ�ถ�ม
แต้วต้องเตรียมสบู่เหลวอย่�งน้อยกี่มิลลิลิตร
วิธีทำา แต้วบรรจุสบู่เหลวใส่ขวด ขวดละ 150 มิลลิลิตร
..................................................................................................................................................
1) 14 เป็นตัวประกอบของ 28 หรือไม่ เพร�ะเหตุใด
ต้องก�รสบู่เหลว 24 ขวด
..................................................................................................................................................
เป็น เพร�ะ 14 ห�ร 28 ได้ลงตัว
.......................................................................................................................................................
ต้องใช้สบู่เหลว 24 × 150 = 3,600 มิลลิลิตร
..................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
ดังนั้น แต้วต้องเตรียมสบู่เหลวอย่�งน้อย 3,600 มิลลิลิตร
..................................................................................................................................................
ตอบ ๓,๖๐๐ มิลลิลิตร
..................................................................................................................................................

2) 8 และ 48 เป็นตัวประกอบของ 48 หรือไม่ เพร�ะเหตุใด


4) น้ำ�ผลไม้ 100 กล่อง จัดเป็นแพ็ค แพ็คละ 4 กล่อง ได้กี่แพ็ค
เป็น เพร�ะ 8 และ 48 ห�ร 48 ได้ลงตัว
.......................................................................................................................................................
วิธีทำา น้ำ�ผลไม้ 100 กล่อง
..................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
จัดเป็นแพ็ค แพ็คละ 4 กล่อง
..................................................................................................................................................
จัดได้ 100 ÷ 4 = 25 แพ็ค
..................................................................................................................................................
ดังนั้น จัดน้ำ�ผลไม้ได้ 25 แพ็ค
..................................................................................................................................................
ตอบ ๒๕ แพ็ค
..................................................................................................................................................
3) 2, 3, 4, 6 และ 8 เป็นตัวประกอบของ 16 หรือไม่ เพร�ะเหตุใด
ไม่ เนื่องจ�ก 2, 4 และ 8 เป็นตัวประกอบของ 16 เพร�ะ 2, 4 และ 8 ห�ร 16 ได้ลงตัว
.......................................................................................................................................................

5) ป้�ต๋อยทำ�ขนมตะโก้ 54 ชิ้น จัดใส่กล่อง กล่องละเท่� ๆ กัน ได้ 18 กล่อง แต่ 3 และ 6 ไม่เป็นตัวประกอบของ 16 เพร�ะ 3 และ 6 ห�ร 16 ไม่ลงตัว
.......................................................................................................................................................
แต่ละกล่องมีขนมตะโก้กี่ชิ้น
วิธีทำา ป้�ต๋อยทำ�ขนมตะโก้ 54 ชิ้น
..................................................................................................................................................
จัดใส่กล่อง กล่องละเท่� ๆ กัน ได้ 18 กล่อง
..................................................................................................................................................
แต่ละกล่องมีขนมตะโก้ 54 ÷ 18 = 3 ชิ้น
..................................................................................................................................................
4) จำ�นวนนับตั้งแต่ 20 ถึง 50 จำ�นวนใดบ้�งที่มี 7 เป็นตัวประกอบ
ดังนั้น แต่ละกล่องมีขนมตะโก้ 3 ชิ้น
.................................................................................................................................................. 21, 28, 35, 42 และ 49
.......................................................................................................................................................
ตอบ ๓ ชิ้น
..................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................

4| สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี |5
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 172 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น. บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

2 ห�ตัวประกอบทั้งหมดของจำ�นวนที่กำ�หนด

1, 2, 3, 4, 5, 6, 10,
1, 2, 11 และ 22
12, 15, 20, 30 และ 60

22 60
1 และ 37 1, 2, 4, 17, 34 และ 68

37 68

1, 2, 3, 4, 6, 8, 9, 12, 18,
1, 3, 13 และ 39
24, 36 และ 72

39 72
1, 2, 23 และ 46 1, 3, 5, 15, 25 และ 75

46 75

1, 2, 3, 6, 9, 18, 27 และ 54 1, 3, 9, 27 และ 81

1, 2, 3, 4, 6, 8, 12, 16,
59 1 และ 59 96
24, 32, 48 และ 96

54 81

6| สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี |7
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 173 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น. บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

แบบฝึกหัด 1.3 2 ระบุว่�จำ�นวนนับที่กำ�หนดเป็นจำ�นวนเฉพ�ะหรือไม่ โดยเขียน ลงในต�ร�ง พร้อมแสดงเหตุผล

1 เติมคำ�ตอบ พร้อมเขียน ใน จำานวนเฉพาะ


ข้อ จำานวนนับ เหตุผล
เป็น ไม่เป็น

1) 19 มีตัวประกอบเพียง 2 จำ�นวน คือ 1 และ 19

1 และ 17
1) ตัวประกอบทั้งหมดของ 17 ได้แก่ .....................................................................................
2) 21 มีตัวประกอบ 4 จำ�นวน ได้แก่ 1, 3, 7 และ 21
17 เป็นจำ�นวนเฉพ�ะ ไม่เป็นจำ�นวนเฉพ�ะ

มีตัวประกอบเพียง 2 จำ�นวน คือ 1 และ 17


เพร�ะ ................................................................................................................................
3) 59 มีตัวประกอบเพียง 2 จำ�นวน คือ 1 และ 59

4) 73 มีตัวประกอบเพียง 2 จำ�นวน คือ 1 และ 73


1, 2, 13 และ 26
2) ตัวประกอบทั้งหมดของ 26 ได้แก่ .....................................................................................

26 เป็นจำ�นวนเฉพ�ะ ไม่เป็นจำ�นวนเฉพ�ะ
5) 87 มีตัวประกอบ 4 จำ�นวน ได้แก่ 1, 3, 29 และ 87
มีตัวประกอบม�กกว่� 2 จำ�นวน
เพร�ะ ................................................................................................................................

3 จำ�นวนนับตั้งแต่ 1 ถึง 100 มีจำ�นวนเฉพ�ะกี่จำ�นวน ได้แก่จำ�นวนใดบ้�ง

1, 3, 11 และ 33
3) ตัวประกอบทั้งหมดของ 33 ได้แก่ ..................................................................................... มี 25 จำ�นวน ได้แก่ 2, 3, 5, 7, 11, 13, 17, 19, 23, 29, 31, 37, 41, 43, 47,
....................................................................................................................................................
33 เป็นจำ�นวนเฉพ�ะ ไม่เป็นจำ�นวนเฉพ�ะ
53, 59, 61, 67, 71, 73, 79, 83, 89 และ 97
.....................................................................................................................................................
มีตัวประกอบม�กกว่� 2 จำ�นวน
เพร�ะ ................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................

.....................................................................................................................................................

1 และ 89
4) ตัวประกอบทั้งหมดของ 89 ได้แก่ ..................................................................................... .....................................................................................................................................................
89 เป็นจำ�นวนเฉพ�ะ ไม่เป็นจำ�นวนเฉพ�ะ
.....................................................................................................................................................
มีตัวประกอบเพียง 2 จำ�นวน คือ 1 และ 89
เพร�ะ ................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................

8| สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี |9
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 174 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น. บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

แบบฝึกหัด 1.4 2 เติมคำ�ตอบ

1 ข้อคว�มต่อไปนี้ ถูกหรือผิด เพร�ะเหตุใด 29


1) ตัวประกอบเฉพ�ะของ 29 ได้แก่ .......................................................................................

1) 11 เป็นตัวประกอบเฉพ�ะของ 88
5 และ 11
2) ตัวประกอบเฉพ�ะของ 55 ได้แก่ ........................................................................................
ถูก เพร�ะ 11 เป็นตัวประกอบของ 88 และ 11 เป็นจำ�นวนเฉพ�ะ
.....................................................................................................................................................

.....................................................................................................................................................

2 และ 31
3) ตัวประกอบเฉพ�ะของ 62 ได้แก่ .......................................................................................

2) 57 เป็นตัวประกอบเฉพ�ะของ 57
ผิด เพร�ะ 57 เป็นตัวประกอบของ 57 แต่ 57 ไม่เป็นจำ�นวนเฉพ�ะ
..................................................................................................................................................... 2 และ 19
4) ตัวประกอบเฉพ�ะของ 76 ได้แก่ ......................................................................................

.....................................................................................................................................................

2 และ 5
5) ตัวประกอบเฉพ�ะของ 100 ได้แก่ ....................................................................................

3) 3 และ 23 เป็นตัวประกอบเฉพ�ะของ 69
3 เติมคำ�ตอบข้อละ 2 จำ�นวน
ถูก เพร�ะ 3 และ 23 เป็นตัวประกอบของ 69 และ 3 กับ 23 เป็นจำ�นวนเฉพ�ะ
.....................................................................................................................................................

.....................................................................................................................................................
6 12 (ซึ่งเป็นพหุคูณของ 6)
1) จำ�นวนนับที่มี 2 และ 3 เป็นตัวประกอบเฉพ�ะ เช่น ................................................................

4) 35 เป็นตัวประกอบเฉพ�ะที่ม�กที่สุดของ 70 15 30 (ซึ่งเป็นพหุคูณของ 15)


2) จำ�นวนนับที่มี 3 และ 5 เป็นตัวประกอบเฉพ�ะ เช่น ................................................................
ผิด เพร�ะ 35 เป็นตัวประกอบของ 70 แต่ 35 ไม่เป็นจำ�นวนเฉพ�ะ
.....................................................................................................................................................

.....................................................................................................................................................
35 70 (ซึ่งเป็นพหุคูณของ 35)
3) จำ�นวนนับที่มี 5 และ 7 เป็นตัวประกอบเฉพ�ะ เช่น ................................................................

5) จำ�นวนเฉพ�ะทุกจำ�นวนมีตัวประกอบเฉพ�ะเพียงสองจำ�นวน คือ 1 กับ ตัวมันเอง 70 140 (ซึ่งเป็นพหุคูณของ 70)


4) จำ�นวนนับที่มี 2, 5 และ 7 เป็นตัวประกอบเฉพ�ะ เช่น ..........................................................
ผิด เพร�ะ 1 ไม่เป็นจำ�นวนเฉพ�ะ
.....................................................................................................................................................

.....................................................................................................................................................
66 132 (ซึ่งเป็นพหุคูณของ 66)
5) จำ�นวนนับที่มี 2, 3 และ 11 เป็นตัวประกอบเฉพ�ะ เช่น ..........................................................

10 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 11
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 175 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น. บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

แบบฝึกหัด 1.5 2 แสดงก�รแยกตัวประกอบของจำ�นวนนับโดยใช้ก�รคูณ

1 ก�รแยกตัวประกอบของจำ�นวนนับต่อไปนี้ถูกต้องหรือไม่ เพร�ะเหตุใด 1) 18 ตัวอย่�ง 2) 26

1) 12 = 2 × 6 18 = 2 × 9
......................................................................... 26 = 2 × 13
.........................................................................

= 2×3×3
......................................................................... ดังนั้น 26 = 2 × 13
.........................................................................
ไม่ถูกต้อง เพร�ะ 6 ไม่เป็นตัวประกอบเฉพ�ะของ 12
.....................................................................................................................................................
ดังนั้น 18 = 2 × 3 × 3
......................................................................... .........................................................................

2) 28 = 1 × 2 × 2 × 7 ......................................................................... .........................................................................

ไม่ถูกต้อง เพร�ะ 1 ไม่เป็นตัวประกอบเฉพ�ะของ 28


..................................................................................................................................................... ......................................................................... .........................................................................

3) 42 = 2 × 3 × 7 3) 32 ตัวอย่�ง 4) 42 ตัวอย่�ง

32 = 4 × 8
......................................................................... 42 = 6 × 7
.........................................................................
ถูกต้อง เพร�ะ 2, 3 และ 7 เป็นตัวประกอบเฉพ�ะของ 42
.....................................................................................................................................................
= 2×2×2×4
......................................................................... = 2×3×7
.........................................................................

4) 87 = 3 × 29 = 2×2×2×2×2
......................................................................... ดังนั้น 42 = 2 × 3 × 7
.........................................................................

ถูกต้อง เพร�ะ 3 และ 29 เป็นตัวประกอบเฉพ�ะของ 87


..................................................................................................................................................... ดังนั้น 32 = 2 × 2 × 2 × 2 × 2
......................................................................... .........................................................................

......................................................................... .........................................................................

5) 135 = 3 × 3 × 3 × 5
ถูกต้อง เพร�ะ 3 และ 5 เป็นตัวประกอบเฉพ�ะของ 135
..................................................................................................................................................... 5) 88 ตัวอย่�ง 6) 124 ตัวอย่�ง

88 = 8 × 11
......................................................................... 124 = 4 × 31
.........................................................................

6) 180 = 2 × 2 × 5 × 9 = 2 × 4 × 11
......................................................................... = 2 × 2 × 31
.........................................................................

ไม่ถูกต้อง เพร�ะ 9 ไม่เป็นตัวประกอบเฉพ�ะของ 180


..................................................................................................................................................... = 2 × 2 × 2 × 11
......................................................................... ดังนั้น 124 = 2 × 2 × 31
.........................................................................

ดังนั้น 88 = 2 × 2 × 2 × 11
......................................................................... .........................................................................

7) 182 = 2 × 91 ......................................................................... .........................................................................


ไม่ถูกต้อง เพร�ะ 91 ไม่เป็นตัวประกอบเฉพ�ะของ 182
.....................................................................................................................................................

12 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 13
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 176 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น. บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

3 แสดงก�รแยกตัวประกอบของจำ�นวนนับโดยใช้ก�รห�ร 4 เขียนจำ�นวนนับที่กำ�หนดในรูปก�รแยกตัวประกอบ
ตัวอย่�ง
1) 20 2) 48
2 20
......................................................................... 3 48
.........................................................................
2 16 72 171
2 10
......................................................................... 2 8
.........................................................................
2 4
5
......................................................................... 2
.........................................................................
ดังนั้น 20 = 2 × 2 × 5
......................................................................... ดังนั้น 48 = 2 × 2 × 2 × 2 × 3
.........................................................................

......................................................................... ......................................................................... 72 = 2 × 2 × 2 × 3 × 3 171 = 3 × 3 × 19

3) 56 4) 63
2 56
......................................................................... 7 63
.........................................................................
2 28
......................................................................... 3 9
.........................................................................
2 14
192
......................................................................... 3
.........................................................................
7
......................................................................... ดังนั้น 63 = 3 × 3 × 7
.........................................................................
ดังนั้น 56 = 2 × 2 × 2 × 7
......................................................................... .........................................................................

5) 75 6) 102
192 = 2 × 2 × 2 × 2 × 2 × 2 × 3
5 75
......................................................................... 2 102
.........................................................................
5 15
......................................................................... 3 51
.........................................................................
3
......................................................................... 17
......................................................................... 104
ดังนั้น 75 = 3 × 5 × 5
......................................................................... ดังนั้น 102 = 2 × 3 × 17
.........................................................................
168
......................................................................... .........................................................................

7) 147 8) 156
104 = 2 × 2 × 2 × 13
7 147
......................................................................... 3 156
.........................................................................
7 21
......................................................................... 2 52
......................................................................... 168 = 2 × 2 × 2 × 3 × 7

3
......................................................................... 2 26
.........................................................................
ดังนั้น 147 = 3 × 7 × 7
......................................................................... 13
.........................................................................

......................................................................... ดังนั้น 156 = 2 × 2 × 3 × 13


.........................................................................

14 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 15
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 177 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น. บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

แบบฝึกหัด 1.6 4 48 และ 64

วิธีทำา จำ�นวนนับที่ห�ร 48 ได้ลงตัว ได้แก่ 1, 2, 3, 4, 6, 8, 12, 16, 24 และ 48


................................................................................................................................................
หา ห.ร.ม. ของจำานวนที่กำาหนด โดยการหาตัวหารร่วม
จำ�นวนนับที่ห�ร 64 ได้ลงตัว ได้แก่ 1, 2, 4, 8, 16, 32 และ 64
................................................................................................................................................
1 15 และ 50 ตัวห�รร่วมของ 48 และ 64 ได้แก่ 1, 2, 4, 8 และ 16
................................................................................................................................................

วิธีทำา จำ�นวนนับที่ห�ร 15 ได้ลงตัว ได้แก่ 1, 3, 5 และ 15


................................................................................................................................................ ตัวห�รร่วมที่ม�กที่สุดของ 48 และ 64 คือ 16
................................................................................................................................................

จำ�นวนนับที่ห�ร 50 ได้ลงตัว ได้แก่ 1, 2, 5, 10, 25 และ 50


................................................................................................................................................ ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 48 และ 64 คือ 16
................................................................................................................................................

ตัวห�รร่วมของ 15 และ 50 ได้แก่ 1 และ 5


................................................................................................................................................ ตอบ ๑๖
................................................................................................................................................

ตัวห�รร่วมที่ม�กที่สุดของ 15 และ 50 คือ 5


................................................................................................................................................
ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 15 และ 50 คือ 5
................................................................................................................................................
ตอบ ๕ 5 6, 12 และ 18

วิธีทำา จำ�นวนนับที่ห�ร 6 ได้ลงตัว ได้แก่ 1, 2, 3 และ 6


................................................................................................................................................
2 27 และ 72
จำ�นวนนับที่ห�ร 12 ได้ลงตัว ได้แก่ 1, 2, 3, 4, 6 และ 12
................................................................................................................................................
วิธีทำา จำ�นวนนับที่ห�ร 27 ได้ลงตัว ได้แก่ 1, 3, 9 และ 27
................................................................................................................................................ จำ�นวนนับที่ห�ร 18 ได้ลงตัว ได้แก่ 1, 2, 3, 6, 9 และ 18
................................................................................................................................................
จำ�นวนนับที่ห�ร 72 ได้ลงตัว ได้แก่ 1, 2, 3, 4, 6, 8, 9, 12, 18, 24, 36 และ 72
................................................................................................................................................ ตัวห�รร่วมของ 6, 12 และ 18 ได้แก่ 1, 2, 3 และ 6
................................................................................................................................................
ตัวห�รร่วมของ 27 และ 72 ได้แก่ 1, 3 และ 9
................................................................................................................................................ ตัวห�รร่วมที่ม�กที่สุดของ 6, 12 และ 18 คือ 6
................................................................................................................................................
ตัวห�รร่วมที่ม�กที่สุดของ 27 และ 72 คือ 9
................................................................................................................................................ ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 6, 12 และ 18 คือ 6
................................................................................................................................................
ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 27 และ 72 คือ 9
................................................................................................................................................ ตอบ ๖
ตอบ ๙

6 14, 28 และ 25
3 26 และ 39
วิธีทำา จำ�นวนนับที่ห�ร 14 ได้ลงตัว ได้แก่ 1, 2, 7 และ 14
................................................................................................................................................
วิธีทำา จำ�นวนนับที่ห�ร 26 ได้ลงตัว ได้แก่ 1, 2, 13 และ 26
................................................................................................................................................ จำ�นวนนับที่ห�ร 28 ได้ลงตัว ได้แก่ 1, 2, 4, 7, 14 และ 28
................................................................................................................................................
จำ�นวนนับที่ห�ร 39 ได้ลงตัว ได้แก่ 1, 3, 13 และ 39
................................................................................................................................................ จำ�นวนนับที่ห�ร 25 ได้ลงตัว ได้แก่ 1, 5 และ 25
................................................................................................................................................
ตัวห�รร่วมของ 26 และ 39 ได้แก่ 1 และ 13
................................................................................................................................................ ตัวห�รร่วมของ 14, 28 และ 25 ได้แก่ 1
................................................................................................................................................
ตัวห�รร่วมที่ม�กที่สุดของ 26 และ 39 คือ 13
................................................................................................................................................ ตัวห�รร่วมที่ม�กที่สุดของ 14, 28 และ 25 คือ 1
................................................................................................................................................
ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 26 และ 39 คือ 13
................................................................................................................................................ ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 14, 28 และ 25 คือ 1
................................................................................................................................................
ตอบ ๑๓ ตอบ ๑

16 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 17
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 178 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น. บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

7 16, 44 และ 36 แบบฝึกหัด 1.7

วิธีทำา จำ�นวนนับที่ห�ร 16 ได้ลงตัว ได้แก่ 1, 2, 4, 8 และ 16


................................................................................................................................................ หา ห.ร.ม. ของจำานวนที่กำาหนด โดยการแยกตัวประกอบ

จำ�นวนนับที่ห�ร 44 ได้ลงตัว ได้แก่ 1, 2, 4, 11, 22 และ 44


................................................................................................................................................
จำ�นวนนับที่ห�ร 36 ได้ลงตัว ได้แก่ 1, 2, 3, 4, 6, 9, 12, 18 และ 36 1 18 และ 27
................................................................................................................................................
ตัวห�รร่วมของ 16, 44 และ 36 ได้แก่ 1, 2 และ 4
................................................................................................................................................ วิ.................................................................................................................................................
ธีทำา 18 = 2 × 3 × 3

ตัวห�รร่วมที่ม�กที่สุดของ 16, 44 และ 36 คือ 4


................................................................................................................................................ 27 = 3 × 3 × 3
.................................................................................................................................................
ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 16, 44 และ 36 คือ 4
................................................................................................................................................ ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 18 และ 27 คือ 3 × 3 = 9
.................................................................................................................................................
ตอบ ๔
ตอบ ๙
.................................................................................................................................................

8 20, 30 และ 40

วิธีทำา จำ�นวนนับที่ห�ร 20 ได้ลงตัว ได้แก่ 1, 2, 4, 5, 10 และ 20


................................................................................................................................................ 2 30 และ 45
จำ�นวนนับที่ห�ร 30 ได้ลงตัว ได้แก่ 1, 2, 3, 5, 6, 10, 15 และ 30
................................................................................................................................................
วิ.................................................................................................................................................
ธีทำา 30 = 2 × 3 × 5
จำ�นวนนับที่ห�ร 40 ได้ลงตัว ได้แก่ 1, 2, 4, 5, 8, 10, 20 และ 40
................................................................................................................................................
45 = 3 × 3 × 5
.................................................................................................................................................
ตัวห�รร่วมของ 20, 30 และ 40 ได้แก่ 1, 2, 5 และ 10
................................................................................................................................................
ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 30 และ 45 คือ 3 × 5 = 15
.................................................................................................................................................
ตัวห�รร่วมที่ม�กที่สุดของ 20, 30 และ 40 คือ 10
................................................................................................................................................
ตอบ ๑๕
.................................................................................................................................................
ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 20, 30 และ 40 คือ 10
................................................................................................................................................
ตอบ ๑๐

9 24, 32 และ 88 3 56 และ 70

วิธีทำา จำ�นวนนับที่ห�ร 24 ได้ลงตัว ได้แก่ 1, 2, 3, 4, 6, 8, 12 และ 24


................................................................................................................................................ วิ.................................................................................................................................................
ธีทำา 56 = 2 × 2 × 2 × 7

จำ�นวนนับที่ห�ร 32 ได้ลงตัว ได้แก่ 1, 2, 4, 8, 16 และ 32


................................................................................................................................................ 70 = 2 × 5 × 7
.................................................................................................................................................

จำ�นวนนับที่ห�ร 88 ได้ลงตัว ได้แก่ 1, 2, 4, 8, 11, 22, 44 และ 88


................................................................................................................................................ ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 56 และ 70 คือ 2 × 7 = 14
.................................................................................................................................................

ตัวห�รร่วมของ 24, 32 และ 88 ได้แก่ 1, 2, 4 และ 8


................................................................................................................................................ ตอบ ๑๔
.................................................................................................................................................

ตัวห�รร่วมที่ม�กที่สุดของ 24, 32 และ 88 คือ 8


................................................................................................................................................
ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 24, 32 และ 88 คือ 8
................................................................................................................................................
ตอบ ๘

18 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 19
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 179 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น. บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

4 12, 16 และ 32 7 72, 80 และ 144

วิธีทำา 1212 == 22××22××33


................................................................................................................................................. วิธีทำา 72 = 2 × 2 × 2 × 3 × 3
.................................................................................................................................................
1616 == 22××22××22××22
................................................................................................................................................. 80 = 2 × 2 × 2 × 2 × 5
.................................................................................................................................................
3232 == 22××22××22××22××22
................................................................................................................................................. 144 = 2 × 2 × 2 × 2 × 3 × 3
.................................................................................................................................................
ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 12, 16 และ 32 คือ 2 × 2 = 4
................................................................................................................................................. ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 72, 80 และ 144 คือ 2 × 2 × 2 = 8
.................................................................................................................................................
ตอบ ๔
................................................................................................................................................. ตอบ ๘
.................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................

8 55, 110 และ 130


5 24, 36 และ 42
วิธีทำา 55 = 5 × 11
.................................................................................................................................................
วิธีทำา 2424 == 22××22××22××33
.................................................................................................................................................
110 = 2 × 5 × 11
.................................................................................................................................................
3636 == 22××22××33××33
.................................................................................................................................................
130 = 2 × 5 × 13
.................................................................................................................................................
4242 == 22××33××77
.................................................................................................................................................
ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 55, 110 และ 130 คือ 5
.................................................................................................................................................
ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 24, 36 และ 42 คือ 2 × 3 = 6
.................................................................................................................................................
ตอบ ๕
.................................................................................................................................................
ตอบ ๖
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................

9 132, 156 และ 180


6 63, 105 และ 147
วิธีทำา 132 = 2 × 2 × 3 × 11
.................................................................................................................................................
วิธีทำา 6363 == 33××33××77
.................................................................................................................................................
156 = 2 × 2 × 3 × 13
.................................................................................................................................................
105
105 == 33××55××77
.................................................................................................................................................
180 = 2 × 2 × 3 × 3 × 5
.................................................................................................................................................
147
147 == 33××77××77
.................................................................................................................................................
ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 132, 156 และ 180 คือ 2 × 2 × 3 = 12
.................................................................................................................................................
ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 63, 105 และ 147 คือ 3 × 7 = 21
.................................................................................................................................................
ตอบ ๑๒
.................................................................................................................................................
ตอบ ๒๑
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................

20 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 21
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 180 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น. บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

แบบฝึกหัด 1.8 4 30, 90 และ 165


ตัวอย่�ง
หา ห.ร.ม. ของจำานวนที่กำาหนด โดยการหาร
วิธีทำา 5 30 90 165
.................................................................................................................................................
3 6 18 33
.................................................................................................................................................
1 90 และ 81
ตัวอย่�ง 2 6 11
.................................................................................................................................................
วิธีทำา 9 90 81
................................................................................................................................................. ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 30, 90 และ 165 คือ 5 × 3 = 15
.................................................................................................................................................
10 9
................................................................................................................................................. ตอบ ๑๕
.................................................................................................................................................
ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 90 และ 81 คือ 9
................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................
ตอบ ๙
.................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................
5 180, 240 และ 330
ตัวอย่�ง
วิธีทำา 10 180 240 330
.................................................................................................................................................
2 36 และ 144
ตัวอย่�ง 3 18 24 33
.................................................................................................................................................
วิธีทำา 6 36 144
................................................................................................................................................. 6 8 11
.................................................................................................................................................
6 6 24
................................................................................................................................................. ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 180, 240 และ 330 คือ 10 × 3 = 30
.................................................................................................................................................
1 4
................................................................................................................................................. ตอบ ๓๐
.................................................................................................................................................
ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 36 และ 144 คือ 6 × 6 = 36
................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................
ตอบ ๓๖
.................................................................................................................................................

6 42, 168 และ 210


ตัวอย่�ง
3 9, 15 และ 24
วิธีทำา 6 42 168 210
.................................................................................................................................................
วิธีทำา 3 9 15 24
................................................................................................................................................. 7 7 28 35
.................................................................................................................................................
3 5 8
................................................................................................................................................. 1 4 5
.................................................................................................................................................
ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 9, 15 และ 24 คือ 3
................................................................................................................................................. ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 42, 168 และ 210 คือ 6 × 7 = 42
.................................................................................................................................................
ตอบ ๓
................................................................................................................................................. ตอบ ๔๒
.................................................................................................................................................
................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................

22 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 23
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 181 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น. บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

แบบฝึกหัด 1.9 4 12 และ 15

หา ค.ร.น. ของจำานวนที่กำาหนด โดยการหาผลคูณร่วม วิธีทำา จำ�นวนนับที่เป็นผลคูณของ 12 ได้แก่ 12, 24, 36, 48, 60, 72, 84, 96, 108, 120, ...
.................................................................................................................................................
จำ�นวนนับที่เป็นผลคูณของ 15 ได้แก่ 15, 30, 45, 60, 75, 90, 105, 120, ...
.................................................................................................................................................
1 4 และ 7 จำ�นวนนับที่เป็นผลคูณร่วมของ 12 และ 15 ได้แก่ 60, 120, ...
.................................................................................................................................................
วิธีทำา จำ�นวนนับที่เป็นผลคูณของ 4 ได้แก่ 4, 8, 12, 16, 20, 24, 28, 32, 36, 40, 44, 48, 52, 56, ...
................................................................................................................................................. ซึ่งผลคูณร่วมที่น้อยที่สุดของ 12 และ 15 คือ 60
.................................................................................................................................................
จำ�นวนนับที่เป็นผลคูณของ 7 ได้แก่ 7, 14, 21, 28, 35, 42, 49, 56, ...
................................................................................................................................................. ดังนั้น ค.ร.น. ของ 12 และ 15 คือ 60
.................................................................................................................................................
จำ�นวนนับที่เป็นผลคูณร่วมของ 4 และ 7 ได้แก่ 28, 56, ...
................................................................................................................................................. ตอบ ๖๐
.................................................................................................................................................
ซึ่งผลคูณร่วมที่น้อยที่สุดของ 4 และ 7 คือ 28
.................................................................................................................................................
ดังนั้น ค.ร.น. ของ 4 และ 7 คือ 28
.................................................................................................................................................
ตอบ ๒๘ 5 3, 5 และ 6

วิธีทำา จำ�นวนนับที่เป็นผลคูณของ 3 ได้แก่ 3, 6, 9, 12, 15, 18, 21, 24, 27, 30, 33, 36,
.................................................................................................................................................
2 6 และ 10 39, 42, 45, 48, 51, 54, 57, 60, ...
จำ�นวนนับที่เป็นผลคูณของ 5 ได้แก่ 5, 10, 15, 20, 25, 30, 35, 40, 45, 50, 55, 60, ...
.................................................................................................................................................
วิธีทำา จำ�นวนนับที่เป็นผลคูณของ 6 ได้แก่ 6, 12, 18, 24, 30, 36, 42, 48, 54, 60, ...
................................................................................................................................................. จำ�นวนนับที่เป็นผลคูณของ 6 ได้แก่ 6, 12, 18, 24, 30, 36, 42, 48, 54, 60, ...
.................................................................................................................................................
จำ�นวนนับที่เป็นผลคูณของ 10 ได้แก่ 10, 20, 30, 40, 50, 60, ...
................................................................................................................................................. จำ�นวนนับที่เป็นผลคูณร่วมของ 3, 5 และ 6 ได้แก่ 30, 60, ...
.................................................................................................................................................
จำ�นวนนับที่เป็นผลคูณร่วมของ 6 และ 10 ได้แก่ 30, 60, ...
................................................................................................................................................. ซึ่งผลคูณร่วมที่น้อยที่สุดของ 3, 5 และ 6 คือ 30
.................................................................................................................................................
ซึ่งผลคูณร่วมที่น้อยที่สุดของ 6 และ 10 คือ 30
................................................................................................................................................. ดังนั้น ค.ร.น. ของ 3, 5 และ 6 คือ 30
.................................................................................................................................................
ตอบ ๓๐
ดังนั้น ค.ร.น. ของ 6 และ 10 คือ 30
.................................................................................................................................................
ตอบ ๓๐

6 2, 7 และ 10
3 5 และ 9
วิธีทำา จำ�นวนนับที่เป็นผลคูณของ 2 ได้แก่ 2, 4, 6, 8, ..., 64, 66, 68, 70, ..., 136, 138, 140, ...
.................................................................................................................................................
วิธีทำา จำจำ��นวนนั
นวนนับบทีที่เป็่เป็นนผลคู
ผลคูณณของของ55ได้ได้แแก่ก่5,5,10, 10,15, 15,20, 20,25, 25,30, 30,35, 35,40, 40,45, 45,50, 50,55, 55,60,60,
................................................................................................................................................. จำ�นวนนับที่เป็นผลคูณของ 7 ได้แก่ 7, 14, 21, 28, ..., 70, 77, 84, 91, ..., 126, 133, 140, ...
65,70,
65, 70,75, 75,80, 80,85, 85,90, 90,...... .................................................................................................................................................
จำ�นวนนับที่เป็นผลคูณของ 9 ได้แก่ 9, 18, 27, 36, 45, 54, 63, 72, 81, 90, ...
................................................................................................................................................. จำ�นวนนับที่เป็นผลคูณของ 10 ได้แก่ 10, 20, 30, 40, 50, 60, 70, ..., 120, 130, 140, ...
.................................................................................................................................................
จำ�นวนนับที่เป็นผลคูณร่วมของ 5 และ 9 ได้แก่ 45, 90, ...
................................................................................................................................................. จำ�นวนนับที่เป็นผลคูณร่วมของ 2, 7 และ 10 ได้แก่ 70, 140, ...
.................................................................................................................................................
ซึ่งผลคูณร่วมที่น้อยที่สุดของ 5 และ 9 คือ 45
................................................................................................................................................. ซึ่งผลคูณร่วมที่น้อยที่สุดของ 2, 7 และ 10 คือ 70
.................................................................................................................................................
ดังนั้น ค.ร.น. ของ 5 และ 9 คือ 45
................................................................................................................................................. ดังนั้น ค.ร.น. ของ 2, 7 และ 10 คือ 70
.................................................................................................................................................
ตอบ ๔๕ ตอบ ๗๐

24 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 25
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 182 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น. บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

7 8, 9 และ 12 แบบฝึกหัด 1.10


หา ค.ร.น. ของจำานวนที่กำาหนด โดยการแยกตัวประกอบ
วิธีทำา จำจำ��นวนนั
นวนนับบทีที่เป็่เป็นนผลคู
ผลคูณณของ
ของ88ได้ได้แแก่ก่8,8,16, 16,24, 24,32, 32,40, 40,48, 48,56, 56,64, 64,72, 72,80, 80,88,88,96, 96,
.................................................................................................................................................
104,
104,112, 112,120, 120,128, 128,136, 136,144, 144,......
จำ�นวนนับที่เป็นผลคูณของ 9 ได้แก่ 9, 18, 27, 36, 45, 54, 63, 72, 81, 90, 99, 108,
................................................................................................................................................. 1 9 และ 15
117,
117,126, 126,135, 135,144, 144,......
จำจำ��นวนนั
นวนนับบทีที่เป็่เป็นนผลคู
ผลคูณณของ
ของ12 12ได้ได้แแก่ก่12,
12,24, 24,36, 36,48, 48,60, 60,72, 72,84, 84,96, 96,108,
108,120, 120,132,
................................................................................................................................................. 132,144,
144,...... วิธีทำา 9 = 3×3
..................................................................................................................................................
จำ�นวนนับที่เป็นผลคูณร่วมของ 8, 9 และ 12 ได้แก่ 72, 144, ...
................................................................................................................................................. 15 = 3 × 5
..................................................................................................................................................
ซึ่งผลคูณร่วมที่น้อยที่สุดของ 8, 9 และ 12 คือ 72
................................................................................................................................................. ดังนั้น ค.ร.น. ของ 9 และ 15 คือ 3 × 3 × 5 = 45
..................................................................................................................................................

ดังนั้น ค.ร.น. ของ 8, 9 และ 12 คือ 72 ตอบ ๔๕


..................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
ตอบ ๗๒ ..................................................................................................................................................

8 20, 25 และ 50

วิธีทำา จำจำ��นวนนั
นวนนับบทีที่เป็่เป็นนผลคู
ผลคูณณของของ20 20ได้ได้แแก่ก่20,
20,40, 40,60, 60,80, 80,100,100,120, 120,140, 140,160, 160,180, 180,200,
................................................................................................................................................. 200,......
2 10 และ 25
จำ�นวนนับที่เป็นผลคูณของ 25 ได้แก่ 25, 50, 75, 100, 125, 150, 175, 200, ...
................................................................................................................................................. วิธีทำา 10 = 2 × 5
..................................................................................................................................................
จำ�นวนนับที่เป็นผลคูณของ 50 ได้แก่ 50, 100, 150, 200, ...
................................................................................................................................................. 25 = 5 × 5
..................................................................................................................................................
จำ�นวนนับที่เป็นผลคูณร่วมของ 20, 25 และ 50 ได้แก่ 100, 200, ...
................................................................................................................................................. ดังนั้น ค.ร.น. ของ 10 และ 25 คือ 2 × 5 × 5 = 50
..................................................................................................................................................
ซึ่งผลคูณร่วมที่น้อยที่สุดของ 20, 25 และ 50 คือ 100
................................................................................................................................................. ตอบ ๕๐
..................................................................................................................................................

ดังนั้น ค.ร.น. ของ 20, 25 และ 50 คือ 100


................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................
ตอบ ๑๐๐

9 10, 15 และ 20
3 24 และ 60
วิธีทำา จำจำ��นวนนั
นวนนับบทีที่เป็่เป็นนผลคู
ผลคูณณของของ10 10ได้ได้แแก่ก่10,
10,20, 20,30, 30,40, 40,50, 50,60, 60,70, 70,80, 80,90,90,100,100,110, 110,120,
................................................................................................................................................. 120,......
วิธีทำา 24 = 2 × 2 × 2 × 3
..................................................................................................................................................
จำ�นวนนับที่เป็นผลคูณของ 15 ได้แก่ 15, 30, 45, 60, 75, 90, 105, 120, ...
.................................................................................................................................................
60 = 2 × 2 × 3 × 5
..................................................................................................................................................
จำ�นวนนับที่เป็นผลคูณของ 20 ได้แก่ 20, 40, 60, 80, 100, 120, ...
.................................................................................................................................................
ดังนั้น ค.ร.น. ของ 24 และ 60 คือ 2 × 2 × 2 × 3 × 5 = 120
..................................................................................................................................................
จำ�นวนนับที่เป็นผลคูณร่วมของ 10, 15 และ 20 ได้แก่ 60, 120, ...
................................................................................................................................................. ตอบ ๑๒๐
..................................................................................................................................................
ซึ่งผลคูณร่วมที่น้อยที่สุดของ 10, 15 และ 20 คือ 60
................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................
ดังนั้น ค.ร.น. ของ 10, 15 และ 20 คือ 60
.................................................................................................................................................
ตอบ ๖๐

26 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 27
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 183 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น. บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

4 49 และ 84 7 15, 30 และ 40

วิธีทำา 49 = 7 × 7
.................................................................................................................................................. วิธีทำา 15 = 3 × 5
..................................................................................................................................................

84 = 2 × 2 × 3 × 7
.................................................................................................................................................. 30 = 2 × 3 × 5
..................................................................................................................................................
ดังนั้น ค.ร.น. ของ 49 และ 84 คือ 2 × 2 × 3 × 7 × 7 = 588
.................................................................................................................................................. 40 = 2 × 2 × 2 × 5
..................................................................................................................................................
ตอบ ๕๘๘ ดังนั้น ค.ร.น. ของ 15, 30 และ 40 คือ 2 × 2 × 2 × 3 × 5 = 120
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................. ตอบ ๑๒๐
..................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................

5 6, 16 และ 24 8 27, 54 และ 162


วิธีทำา 6 = 2×3
.................................................................................................................................................. วิธีทำา 27 = 3 × 3 × 3
..................................................................................................................................................
16 = 2 × 2 × 2 × 2
.................................................................................................................................................. 54 = 2 × 3 × 3 × 3
..................................................................................................................................................
24 = 2 × 2 × 2 × 3
.................................................................................................................................................. 162 = 2 × 3 × 3 × 3 × 3
..................................................................................................................................................
ดังนั้น ค.ร.น. ของ 6, 16 และ 24 คือ 2 × 2 × 2 × 2 × 3 = 48
.................................................................................................................................................. ดังนั้น ค.ร.น. ของ 27, 54 และ 162 คือ 2 × 3 × 3 × 3 × 3 = 162
..................................................................................................................................................
ตอบ ๔๘
.................................................................................................................................................. ตอบ ๑๖๒
..................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................

6 12, 20 และ 28 9 45, 180 และ 720


วิธีทำา 12 = 2 × 2 × 3
.................................................................................................................................................. วิธีทำา 45 = 3 × 3 × 5
..................................................................................................................................................
20 = 2 × 2 × 5
.................................................................................................................................................. 180 = 2 × 2 × 3 × 3 × 5
..................................................................................................................................................
28 = 2 × 2 × 7
.................................................................................................................................................. 720 = 2 × 2 × 2 × 2 × 3 × 3 × 5
..................................................................................................................................................
ดังนั้น ค.ร.น. ของ 12, 20 และ 28 คือ 2 × 2 × 3 × 5 × 7 = 420
.................................................................................................................................................. ดังนั้น ค.ร.น. ของ 45, 180 และ 720 คือ 2 × 2 × 2 × 2 × 3 × 3 × 5 = 720
..................................................................................................................................................
ตอบ ๔๒๐
.................................................................................................................................................. ตอบ ๗๒๐
..................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................

28 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 29
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 184 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น. บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

แบบฝึกหัด 1.11
4) 14, 28 และ 35
1 ห� ค.ร.น. ของจำ�นวนที่กำ�หนด โดยก�รห�ร วิธีทำา 7 14 28 35
.....................................................................................................................................................
2 2 4 5
.....................................................................................................................................................
1) 24 และ 30
ตัวอย่�ง
1 2 5
.....................................................................................................................................................
วิธีทำา 6 24 30
.....................................................................................................................................................
ดังนั้น ค.ร.น. ของ 14, 28 และ 35 คือ 7 × 2 × 1 × 2 × 5 = 140
.....................................................................................................................................................
4 5
.....................................................................................................................................................
ตอบ ๑๔๐
.....................................................................................................................................................
ดังนั้น ค.ร.น. ของ 24 และ 30 คือ 6 × 4 × 5 = 120
.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
ตอบ ๑๒๐
.....................................................................................................................................................

.....................................................................................................................................................

.....................................................................................................................................................
5) 20, 24 และ 50
วิธีทำา 2 20 24 50
.....................................................................................................................................................
2) 72 และ 60
ตัวอย่�ง
5 10 12 25
.....................................................................................................................................................
วิธีทำา 6 72 60
.....................................................................................................................................................
2 2 12 5
.....................................................................................................................................................
2 12 10
.....................................................................................................................................................
1 6 5
.....................................................................................................................................................
6 5
.....................................................................................................................................................
ดังนั้น ค.ร.น. ของ 20, 24 และ 50 คือ 2 × 5 × 2 × 1 × 6 × 5 = 600
.....................................................................................................................................................
ดังนั้น ค.ร.น. ของ 72 และ 60 คือ 6 × 2 × 6 × 5 = 360
.....................................................................................................................................................
ตอบ ๖๐๐
.....................................................................................................................................................
ตอบ ๓๖๐
.....................................................................................................................................................

.....................................................................................................................................................

6) 22, 88 และ 132


3) 32 และ 48 ตัวอย่�ง
ตัวอย่�ง วิธีทำา 2 22 88 132
.....................................................................................................................................................
วิ ธ ท
ี า
ำ 8 32 48
.....................................................................................................................................................
11 11 44 66
.....................................................................................................................................................
2 4 6
.....................................................................................................................................................
2 1 4 6
.....................................................................................................................................................
2 3
.....................................................................................................................................................
1 2 3
.....................................................................................................................................................
ดังนั้น ค.ร.น. ของ 32 และ 48 คือ 8 × 2 × 2 × 3 = 96
.....................................................................................................................................................
ดังนั้น ค.ร.น. ของ 22, 88 และ 132 คือ 2 × 11 × 2 × 1 × 2 × 3 = 264
.....................................................................................................................................................
ตอบ ๙๖
.....................................................................................................................................................
ตอบ ๒๖๔
.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................

30 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 31
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 185 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น. บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

7) 16, 27 และ 36 แบบฝึกหัด 1.12


ตัวอย่�ง
วิ ธ ท
ี า
ำ 9 16 27 36
..................................................................................................................................................... แสดงวิธีหาคำาตอบ
4 16 3 4
.....................................................................................................................................................
1 แก้วต�มีเหรียญหนึ่งบ�ท 132 เหรียญ เหรียญห้�บ�ท 154 เหรียญ และเหรียญสิบบ�ท
4 3 1
..................................................................................................................................................... 176 เหรียญ แก้วต�ต้องก�รจัดเงินเหรียญใส่ถุง ให้แต่ละถุงมีจำ�นวนเหรียญเท่� ๆ กัน
ดังนั้น ค.ร.น. ของ 16, 27 และ 36 คือ 9 × 4 × 4 × 3 × 1 = 432
..................................................................................................................................................... และเป็นเหรียญชนิดเดียวกัน โดยให้ได้จำ�นวนถุงน้อยที่สุด จะจัดได้ทั้งหมดกี่ถุง
ถุงละกี่เหรียญ
ตอบ ๔๓๒
.....................................................................................................................................................

.....................................................................................................................................................
วิธีคิด ต้องก�รให้ได้จำ�นวนถุงน้อยที่สุด จึงห�จำ�นวนเหรียญที่ม�กที่สุดในแต่ละถุง

โดยห� ห.ร.ม. ของ 132, 154 และ 176 แล้วห�จำ�นวนถุงที่ใส่เหรียญแต่ละชนิด

โดยนำ�จำ�นวนเหรียญแต่ละชนิดที่มีอยู่ ห�รด้วยจำ�นวนเหรียญที่ม�กที่สุดในแต่ละถุง
8) 15, 21 และ 31

วิธีทำา 3 15 21 31
.....................................................................................................................................................
5 7 31
.....................................................................................................................................................
ดังนั้น ค.ร.น. ของ 15, 21 และ 31 คือ 3 × 5 × 7 × 31 = 3,255
..................................................................................................................................................... วิธีทำา ห�จำ�นวนเหรียญที่ม�กที่สุด ที่จัดใส่ในแต่ละถุง
..................................................................................................................................................
ตอบ ๓,๒๕๕
..................................................................................................................................................... โดยห� ห.ร.ม. ของ 132, 154 และ 176
..................................................................................................................................................

..................................................................................................................................................... ตัวอย่�ง 2 132 154 176


..................................................................................................................................................

..................................................................................................................................................... 11 66 77 88
..................................................................................................................................................
6 7 8
..................................................................................................................................................
จะได้ ห.ร.ม. ของ 132, 154 และ 176 คือ 2 × 11 = 22
..................................................................................................................................................
แสดงว่� แก้วต�จัดเหรียญใส่ถุงได้ม�กที่สุดถุงละ 22 เหรียญ
..................................................................................................................................................
2 ข้อคว�มต่อไปนี้ถูกหรือผิด เพร�ะเหตุใด
โดย จัดเหรียญหนึ่งบ�ทได้ 132 ÷ 22 = 6 ถุง
..................................................................................................................................................
10 และ 12 เป็นจำ�นวนนับเพียงสองจำ�นวนเท่�นั้นที่มี ห.ร.ม. เป็น 2
จัดเหรียญห้�บ�ทได้ 154 ÷ 22 = 7 ถุง
..................................................................................................................................................
และมี ค.ร.น. เป็น 60
จัดเหรียญสิบบ�ทได้ 176 ÷ 22 = 8 ถุง
..................................................................................................................................................

ผิด เพร�ะ จ�กคว�มสัมพันธ์ระหว่�ง ห.ร.ม. กับ ค.ร.น. ของจำ�นวนนับ 2 จำ�นวน


..................................................................................................................................................... แสดงว่� จัดเหรียญใส่ถุงได้ทั้งหมด 6 + 7 + 8 = 21 ถุง
..................................................................................................................................................

จะได้ว่� 2 × 60 = 120 ซึ่งจำ�นวนนับ 2 จำ�นวนที่นำ�ม�คูณกันแล้วได้ผลคูณเป็น 120


..................................................................................................................................................... ดังนั้น แก้วต�จัดเหรียญใส่ถุงได้ทั้งหมด 21 ถุง ถุงละ 22 เหรียญ
..................................................................................................................................................

และมี ห.ร.ม. เป็น 2 และ ค.ร.น. เป็น 60 ยังมีจำ�นวนอื่นอีก เช่น 2 กับ 60


..................................................................................................................................................... ตอบ ๒๑ ถุง ถุงละ ๒๒ เหรียญ
..................................................................................................................................................

.....................................................................................................................................................

32 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 33
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 186 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น. บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

2 ป�ล์ม โอ๋ และบิว มีขนมปังคนละเท่� ๆ กัน ทั้งส�มคนนำ�ขนมปังส่วนของตนเองที่มีอยู่ทั้งหมด 3 กระเบื้องรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้�กว้�ง 24 เซนติเมตร ย�ว 36 เซนติเมตร ถ้�หน่องต้องก�รใช้กระเบื้อง
ไปแจกเด็ก โดยป�ล์มแจกได้ 20 คน โอ๋แจกได้ 25 คน และ บิวแจกได้ 30 คน ซึ่งเด็กแต่ละคน ขน�ดดังกล่�วนี้ปูให้เป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีพื้นที่น้อยที่สุด หน่องจะต้องใช้กระเบื้องทั้งหมดกี่แผ่น
ที่ได้รับขนมปังจ�กคนแจกคนเดียวกัน จะได้รับขนมปังเท่�กัน ป�ล์ม โอ๋ และบิวมีขนมปัง ตัวอย่�ง
อย่�งน้อยที่สุดคนละกี่ห่อ วิธีคิด ปูกระเบื้องรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้�ให้เป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีพื้นที่น้อยที่สุด แสดงว่� ต้องห�

คว�มย�วของด้�นของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่ย�วน้อยที่สุด โดยห� ค.ร.น. ของ 24 และ 36


วิธีคิด ห�จำ�นวนห่อของขนมปังที่น้อยที่สุดที่แต่ละคนมีเท่�กัน โดยห� ค.ร.น. ของ
แล้วจึงห�จำ�นวนกระเบื้อง โดยนำ�พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ห�รด้วยพื้นที่ของกระเบื้อง
20, 25 และ 30
รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้� 1 แผ่น

วิ..................................................................................................................................................
ธีทำา ห�คว�มย�วของด้�นของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีพื้นที่น้อยที่สุด
วิธีทำา ห�จำ�นวนห่อของขนมปังที่น้อยที่สุดที่แต่ละคนมีเท่�กัน
.................................................................................................................................................. โดยห� ค.ร.น. ของ 24 และ 36
..................................................................................................................................................
โดยห� ค.ร.น. ของ 20, 25 และ 30
.................................................................................................................................................. 6 24 36
..................................................................................................................................................
ตัวอย่�ง 20 = 2 × 2 × 5
.................................................................................................................................................. 2 4 6
..................................................................................................................................................
25 = 5 × 5
.................................................................................................................................................. 2 3
..................................................................................................................................................
30 = 2 × 3 × 5
.................................................................................................................................................. จะได้ ค.ร.น. ของ 24 และ 36 คือ 6 × 2 × 2 × 3 = 72
..................................................................................................................................................
จะได้ ค.ร.น. ของ 20, 25 และ 30 คือ 2 × 2 × 3 × 5 × 5 = 300
.................................................................................................................................................. แสดงว่� รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีพื้นที่น้อยที่สุด มีคว�มย�วด้�นละ 72 ซม.
..................................................................................................................................................
ดังนั้น ป�ล์ม โอ๋ และบิว มีขนมปังอย่�งน้อยที่สุดคนละ 300 ห่อ
.................................................................................................................................................. 72 ซม.
..................................................................................................................................................
ตอบ ๓๐๐ ห่อ
.................................................................................................................................................. 36 ซม.
..................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................. 24 ซม. 72 ซม.
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................. เนื่องจ�ก กระเบื้องรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้�มีพื้นที่ 24 × 36 = 864 ตร.ซม.
..................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................. และรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสมีพื้นที่ 72 × 72 = 5,184 ตร.ซม.
..................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................. ดังนั้น หน่องจะต้องใช้กระเบื้องทั้งหมด 5,184 ÷ 864 = 6 แผ่น
..................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................. ตอบ ๖ แผ่น
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................

34 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 35
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 187 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น. บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

4 ลุงใจมีที่ดินรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้�กว้�ง 28 เมตร และย�ว 40 เมตร ต้องก�รทำ�กำ�แพงล้อมที่ดิน 5 เพ็ญต้องก�รจัดเครื่องเขียนเป็นชุดซึ่งประกอบด้วยป�กก�หมึกสีแดง ป�กก�หมึกสีน้ำ�เงิน


3 ด้�น โดยเว้นด้�นกว้�งไว้ 1 ด้�น และปักเส�ที่มุมทั้งสี่ ให้เส�แต่ละต้นห่�งเท่� ๆ กัน และป�กก�ลบคำ�ผิด อย่�งละ 1 ด้�ม ให้ครบชุดพอดีโดยไม่มีป�กก�เหลือ
ลุงใจจะต้องปักเส�ให้ห่�งกันม�กที่สุดกี่เมตร และใช้เส�ทั้งหมดกี่ต้น ถ้�ป�กก�หมึกสีแดง 1 แพ็ค มี 50 ด้�ม ป�กก�หมึกสีน้ำ�เงิน 1 แพ็ค มี 12 ด้�ม
และป�กก�ลบคำ�ผิด 1 แพ็ค มี 6 ด้�ม เพ็ญจะต้องซื้อป�กก�ทั้งส�มชนิดอย่�งน้อยที่สุด
วิธีคิด ห�ระยะห่�งที่ม�กที่สุดระหว่�งเส�แต่ละต้น โดยห� ห.ร.ม. ของ อย่�งละกี่แพ็ค และจัดได้กี่ชุด
40 ม.
กำ�แพง 28 และ 40 แล้วจึงห�จำ�นวนเส�ที่ใช้ทั้งหมด โดยนำ�จำ�นวนเส�
กำ�แพง

28 ม. วิธีคิด ห�จำ�นวนป�กก�แต่ละชนิดที่เพ็ญซื้ออย่�งน้อยที่สุด โดยห� ค.ร.น. ของ 50, 12 และ 6


กำ�แพง ที่อยู่ด้�นย�ว รวมกับจำ�นวนเส�ที่อยู่ที่ด้�นกว้�ง 1 ด้�น
แล้วนำ�ม�ห�จำ�นวนชุด ซึ่งแต่ละชุดมีชนิดละ 1 ด้�ม โดยนำ�จำ�นวนป�กก�แต่ละชนิด

ที่ซื้อน้อยที่สุด ห�รด้วย 1 จ�กนั้นจึงห�จำ�นวนแพ็ค โดยนำ�จำ�นวนป�กก�แต่ละชนิดที่ซื้อ

ห�รด้วยจำ�นวนป�กก� 1 แพ็ค

วิธีทำา ห�ระยะห่�งที่ม�กที่สุดระหว่�งเส�แต่ละต้น
..................................................................................................................................................
โดยห� ห.ร.ม. ของ 28 และ 40
..................................................................................................................................................
วิธีทำา ห�จำ�นวนป�กก�แต่ละชนิดที่เพ็ญซื้อน้อยที่สุด ซึ่งซื้อเป็นจำ�นวนเท่�กัน
..................................................................................................................................................
ตัวอย่�ง 28 = 2 × 2 × 7
..................................................................................................................................................
โดยห� ค.ร.น. ของ 50, 12 และ 6
..................................................................................................................................................
40 = 2 × 2 × 2 × 5
..................................................................................................................................................
ตัวอย่�ง 50 = 2 × 5 × 5
..................................................................................................................................................
จะได้ ห.ร.ม. ของ 28 และ 40 คือ 2 × 2 = 4
..................................................................................................................................................
12 = 2 × 2 × 3
..................................................................................................................................................
แสดงว่� ลุงใจจะต้องปักเส�แต่ละต้นให้ห่�งกันม�กที่สุด 4 เมตร
..................................................................................................................................................
6 = 2×3
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
40 ม. จะได้ ค.ร.น. ของ 50, 12 และ 6 คือ 2 × 2 × 3 × 5 × 5 = 300
..................................................................................................................................................
4 ม.
..................................................................................................................................................
แสดงว่� เพ็ญซื้อป�กก�น้อยที่สุดชนิดละ 300 ด้�ม
..................................................................................................................................................
28 ม.
..................................................................................................................................................
และ นำ�ม�จัดเป็นชุด แต่ละชุดมีชนิดละ 1 ด้�ม จะจัดได้ 300 ÷ 1 = 300 ชุด
..................................................................................................................................................
4 ม. 4 ม. กำ�หนด แทนเส�
..................................................................................................................................................
โดย เพ็ญจะต้องซื้อป�กก�หมึกสีแดง 300 ÷ 50 = 6 แพ็ค
..................................................................................................................................................
เนื่องจ�ก ทำ�กำ�แพง 3 ด้�น ซึ่งกำ�แพงย�ว 40 + 28 + 40 = 108 เมตร
.................................................................................................................................................. ป�กก�หมึกสีน้ำ�เงิน 300 ÷ 12 = 25 แพ็ค
..................................................................................................................................................
และปักเส�แต่ละต้นห่�งกัน 4 เมตร
.................................................................................................................................................. ป�กก�ลบคำ�ผิด 300 ÷ 6 = 50 แพ็ค
..................................................................................................................................................
แสดงว่� กำ�แพง 3 ด้�น ใช้เส� 108 ÷ 4 = 27 ต้น
..................................................................................................................................................
ดังนั้น เพ็ญจะต้องซื้อป�กก�หมึกสีแดง 6 แพ็ค ป�กก�หมึกสีน้ำ�เงิน 25 แพ็ค
..................................................................................................................................................
และปักเส�แรกที่มุมกำ�แพง 1 ต้น แสดงว่� ใช้เส�ทั้งหมด 27 + 1 = 28 ต้น
..................................................................................................................................................
ป�กก�ลบคำ�ผิด 50 แพ็ค และจัดได้ทั้งหมด 300 ชุด
..................................................................................................................................................
ดังนั้น ลุงใจจะต้องปักเส�ให้ห่�งกันม�กที่สุด 4 เมตร และใช้เส�ทั้งหมด 28 ต้น
..................................................................................................................................................
ตอบ ป�กก�หมึกสีแดง ๖ แพ็ค ป�กก�หมึกสีน้ำ�เงิน ๒๕ แพ็ค ป�กก�ลบคำ�ผิด ๕๐ แพ็ค
..................................................................................................................................................
ตอบ ๔ เมตร และ ๒๘ ต้น
..................................................................................................................................................
และจัดได้ทั้งหมด ๓๐๐ ชุด
..................................................................................................................................................

36 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 37
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 188 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น. บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

6 เมย์ต้องก�รทำ�กล่องของขวัญที่มีลักษณะเป็นลูกบ�ศก์ให้มีขน�ดใหญ่ที่สุดเพื่อบรรจุ 7 นักเรียนห้องหนึ่งเป็นช�ย 18 คน และเป็นหญิง 27 คน ครูต้องก�รแบ่งนักเรียนทั้งหมด


ในลังทรงสี่เหลี่ยมมุมฉ�กที่กว้�ง 50 เซนติเมตร ย�ว 90 เซนติเมตร และสูง 60 เซนติเมตร เป็นทีมเพื่อแข่งขันตอบปัญห� โดยทุกทีมมีสม�ชิกทั้งสองเพศ และสม�ชิกเพศเดียวกัน
ให้เต็มลังพอดี เมย์ต้องทำ�กล่องของขวัญให้แต่ละด้�นย�วเท่�ใด และต้องทำ�ทั้งหมดกี่กล่อง มีจำ�นวนเท่�กัน ครูจะแบ่งนักเรียนได้ม�กที่สุดกี่ทีม แต่ละทีมมีช�ยกี่คนและหญิงกี่คน
ตัวอย่�ง
วิธีคิด ต้องก�รทำ�กล่องของขวัญที่มีลักษณะเป็นลูกบ�ศก์ให้มีขน�ดใหญ่ที่สุด แสดงว่� ต้องห� วิธีคิด ห�จำ�นวนทีมที่แบ่งได้ม�กที่สุด โดยห� ห.ร.ม. ของ 18 และ 27

คว�มย�วของด้�นที่ย�วที่สุดของกล่องของขวัญ โดยห� ห.ร.ม. ของ 50, 90 และ 60 จ�กนั้น แล้วจึงห�จำ�นวนนักเรียนช�ยและจำ�นวนนักเรียนหญิงในแต่ละทีม

ห�จำ�นวนกล่องของขวัญที่ต้องทำ�ทั้งหมด โดยนำ�คว�มสูง คว�มกว้�ง และคว�มย�ว โดยนำ�จำ�นวนนักเรียนช�ยและจำ�นวนนักเรียนหญิง ห�รด้วยจำ�นวนทีมที่แบ่งได้ม�กที่สุด

ของลั
ของลังทรงสี
งทรงสี่เหลี
่เหลี่ย่ยมมุ
มมุมมฉ�ก
ฉ�กห�รด้
ห�รด้ววยคว�มย�วของด้
ยคว�มย�วของด้��นของกล่
นของกล่อองของขวั
งของขวัญญ เพืเพื่อ่อได้ได้จจำ�ำ�นวนแถว
นวนแถว

จำจำ��นวนกล่
นวนกล่อองในแต่
งในแต่ลละแถว
ะแถว และจำ
และจำ��นวนชั
นวนชั้น้น แล้
แล้ววนำนำ��ทัทั้งหมดม�คู
้งหมดม�คูณณกักันน

วิธีทำา ห�คว�มย�วของด้�นที่ย�วที่สุดของกล่องของขวัญที่มีลักษณะเป็นลูกบ�ศก์
.................................................................................................................................................. วิธีทำา ห�จำ�นวนทีมที่แบ่งได้ม�กที่สุด โดยห� ห.ร.ม. ของ 18 และ 27
..................................................................................................................................................
โดยห� ห.ร.ม. ของ 50, 90 และ 60
.................................................................................................................................................. ตัวอย่�ง 18 = 2 × 3 × 3
..................................................................................................................................................
10 50 90 60
.................................................................................................................................................. 27 = 3 × 3 × 3
..................................................................................................................................................
5 9 6
.................................................................................................................................................. จะได้ ห.ร.ม. ของ 18 และ 27 คือ 3 × 3 = 9
..................................................................................................................................................
จะได้ ห.ร.ม. ของ 50, 90 และ 60 คือ 10
.................................................................................................................................................. แสดงว่� แบ่งนักเรียนได้ม�กที่สุด 9 ทีม
..................................................................................................................................................
แสดงว่� กล่องของขวัญมีคว�มย�วด้�นละ 10 ซม.
.................................................................................................................................................. โดยแต่ละทีมมีนักเรียนช�ย 18 ÷ 9 = 2 คน
..................................................................................................................................................
เนื่องจ�ก บรรจุกล่องของขวัญที่ย�วด้�นละ 10 ซม. ลงในลังทรงสี่เหลี่ยมมุมฉ�ก
.................................................................................................................................................. และมีนักเรียนหญิง 27 ÷ 9 = 3 คน
..................................................................................................................................................
ซึ่ง สูง 60 ซม. กว้�ง 50 ซม. และย�ว 90 ซม.
.................................................................................................................................................. ดังนั้น ครูจะแบ่งนักเรียนได้ม�กที่สุด 9 ทีม แต่ละทีมมีช�ย 2 คน และหญิง 3 คน
..................................................................................................................................................
จะได้ว่� ว�งกล่องซ้อนกันได้ 60 ÷ 10 = 6 ชั้น
.................................................................................................................................................. ตอบ ๙ ทีม โดยแต่ละทีมมีช�ย ๒ คน และหญิง ๓ คน
..................................................................................................................................................
แต่ละชั้นว�งได้ 50 ÷ 10 = 5 แถว
.................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................
แต่ละแถวว�งได้ 90 ÷ 10 = 9 กล่อง
.................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................
แสดงว่
แสดงว่�� บรรจุ บรรจุกกล่ล่อองของขวั
งของขวัญญได้ได้ 66××55××99 == 270 270กล่ กล่อองง
.................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................
ดัดังนั
งนั้น้น เมย์
เมย์ตต้อ้องทำ
งทำ��กล่
กล่อองของขวั
งของขวัญญให้ให้แแต่ต่ลละด้ะด้��นย�ว
นย�ว10 10ซม. ซม.
.................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................
และต้
และต้อองทำ งทำ��ทัทั้งหมด
้งหมด270
270กล่ กล่อองง
.................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................
60 ซม.
90 ซม.
.................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................
50 ซม.
ตอบ กล่องของขวัญย�วด้�นละ ๑๐ เซนติเมตร และต้องทำ�ทั้งหมด ๒๗๐ กล่อง
.................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................

38 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 39
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 189 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น. บทที่ 1 | ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

8 สน ต�ล และพิม เป็นพนักง�นส่งขนมของร้�น A ร้�น B และร้�น C ต�มลำ�ดับ 9 แม่ค้�มีคุกกี้รสเนย 30 ชิ้น และคุกกี้รสข้�วโอ๊ต 48 ชิ้น ต้องก�รแบ่งคุกกี้ทั้งหมดใส่ถุง
โดยสนส่งขนมทุก ๆ 4 วัน ต�ลส่งขนมทุก ๆ 3 วัน และพิมส่งขนมทุก ๆ 5 วัน โดยแต่ละถุงมีคุกกี้ทั้งสองรส และคุ้กกี้รสเดียวกันมีจำ�นวนเท่�กัน แม่ค้�จะแบ่งได้ม�กที่สุดกี่ถุง
ถ้�ทั้งส�มคนส่งขนมให้ร้�นพรนิภ�ในวันที่ 6 ธันว�คม 2562 ทั้งส�มคนนี้จะส่งขนม และแต่ละถุงมีคุกกี้อย่�งละกี่ชิ้น
ให้ร้�นพรนิภ�วันเดียวกันในครั้งต่อไปเมื่อใด
ตัวอย่�ง วิธีคิด ห�จำ�นวนถุงที่แบ่งได้ม�กที่สุด โดยห� ห.ร.ม. ของ 30 และ 48 แล้วจึงห�
วิธีคิด ห�จำ�นวนวันที่ทั้งส�มคนนี้จะส่งขนมในวันเดียวกันเป็นครั้งที่ 2 จำ�นวนคุกกี้แต่ละรสใน 1 ถุง โดยนำ�จำ�นวนคุกกี้แต่ละรส ห�รด้วยจำ�นวนถุงที่แบ่งได้ม�กที่สุด
โดยห� ค.ร.น. ของ 4, 3 และ 5 จ�กนั้นจึงเปลี่ยนจ�กจำ�นวนวันเป็นวันที่

โดยใช้ก�รนับต่อจ�กวันที่ 6 ธ.ค. 62 ให้ครบต�มจำ�นวนวันที่ห�ได้

วิธีทำา ห�จำ�นวนถุงที่แบ่งได้ม�กที่สุด โดยห� ห.ร.ม. ของ 30 และ 48


..................................................................................................................................................
วิธีทำา ห�จำ�นวนวันที่ทั้งส�มคนนี้จะส่งขนมในวันเดียวกันเป็นครั้งที่ 2
..................................................................................................................................................
ตัวอย่�ง 6 30 48
..................................................................................................................................................
โดยห� ค.ร.น. ของ 4, 3 และ 5 ซึ่งได้ 4 × 3 × 5 = 60
..................................................................................................................................................
5 8
..................................................................................................................................................
แสดงว่� อีก 60 วัน ทั้งส�มคนนี้จะส่งขนมในวันเดียวกันเป็นครั้งที่ 2
..................................................................................................................................................
จะได้ว่� ห.ร.ม. ของ 30 และ 48 คือ 6
..................................................................................................................................................
เนื่องจ�ก ครั้งแรกทั้งส�มคนนี้ส่งขนมในวันที่ 6 ธ.ค. 2562
..................................................................................................................................................
แสดงว่� แบ่งคุกกี้ได้ม�กที่สุด 6 ถุง
..................................................................................................................................................
จึงนับต่อจ�กวันที่ 6 ธ.ค. 2562 ไปอีก 60 วัน ดังนี้
..................................................................................................................................................
โดยแต่ละถุงมีคุกกี้รสเนย 30 ÷ 6 = 5 ชิ้น
..................................................................................................................................................
วันที่ 7 ธ.ค. 2562 - 31 ธ.ค. 2562 รวม 25 วัน
..................................................................................................................................................
และคุกกี้รสข้�วโอ๊ต 48 ÷ 6 = 8 ชิ้น
..................................................................................................................................................
วันที่ 1 ม.ค. 2563 - 31 ม.ค. 2563 รวม 31 วัน รวมทั้งหมด 60 วัน
..................................................................................................................................................
ดังนั้น แม่ค้�จะแบ่งได้ม�กที่สุด 6 ถุง และแต่ละถุงมีคุกกี้รสเนย 5 ชิ้น
..................................................................................................................................................
วันที่ 1 ก.พ. 2563 - 4 ก.พ. 2563 รวม 4 วัน
..................................................................................................................................................
และคุกกี้รสข้�วโอ๊ต 8 ชิ้น
..................................................................................................................................................
ดังนั้น ทั้งส�มคนนี้จะส่งขนมให้ร้�นพรนิภ�วันเดียวกันเป็นครั้งที่ 2
..................................................................................................................................................
ตอบ ๖ ถุง แต่ละถุงมีคุกกี้รสเนย ๕ ชิ้น และคุกกี้รสข้�วโอ๊ต ๘ ชิ้น
..................................................................................................................................................
ในวันที่ 4 ก.พ. 2563
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
ตอบ ๔ กุมภ�พันธ์ ๒๕๖๓
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................

40 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 41
190 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 2 | เศษส่วน

แบบฝึกหัด
บทที่ 2 เศษส่วน 2) 2
2
− 1
3
− 4
3 10 15

วิธีทำา 2 2 − 1 3 − 4 = 8 − 13 − 4
......................................................................................................................................................
แบบฝึกหัด 2.1 3 10 15 3 10 15
8 × 10 13 ×3 4 ×2
......................................................................................................................................................
= − −
3 × 10 10 × 3 15 × 2
1 เติมตัวเลขแสดงจำ�นวนใน
= 80 − 39 − 8
......................................................................................................................................................
30 30 30
2 18 18 6
1) = 2) = = 33
......................................................................................................................................................
7 63 24 30
8
= 11
......................................................................................................................................................
10
6 30 5 20 = 11
......................................................................................................................................................
3) = 4) = 10
9 45 7 28
ตอบ 1
......................................................................................................................................................
1
10
ตัวอย่�ง ......................................................................................................................................................
3 21 25 1
5) = หรือ 3 = 6 6) =
2 14 7 14 75 3
หรือ 3 = 1
42 14
2 แสดงวิธีทำ�และตอบในรูปอย่�งง่�ย

1 3 1 3 5
1) 1 − ( + ) 3) × 1 ÷ 11
3 5 6 5 7 14

วิธีทำา 1 1 − ( 3 + 1 ) = 4 − ( 3 + 1 )
...................................................................................................................................................... วิธีทำา 3 5 1 = 3 12 15
......................................................................................................................................................
× 1 ÷ 1 × ÷
3 5 6 3 5 6 5 7 14 5 7 14
4 3 × 6 1×5
......................................................................................................................................................
= 3 × 12 15
......................................................................................................................................................
=
− ( + ) ÷
3 5×6 6×5 5× 7 14
= 4 − (18 + 5 )
...................................................................................................................................................... 36 15
......................................................................................................................................................
= ÷
3 30 30 35 14
= 4 − 23
...................................................................................................................................................... = 36 × 14
......................................................................................................................................................
3 30 35 15
4 × 10 23
......................................................................................................................................................
= − = 24
......................................................................................................................................................
3 × 10 30 25
40 23
......................................................................................................................................................
= ตอบ 24
......................................................................................................................................................

30 30 25
= 17
...................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................
30
ตอบ 17
...................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................
30

42 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 43
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 191 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 2 | เศษส่วน บทที่ 2 | เศษส่วน

5 7
4) 4
2 1 1
÷ (1 ÷ 7 ) 6) + 41 × 1
3 6 2 8 8 11

วิธีทำา 4 2 ÷ (1 1 ÷ 7 1 ) = 14 ÷ ( 7 ÷ 15 )
...................................................................................................................................................... วิธีทำา 5 1 7 = 5 33 18
......................................................................................................................................................
3 6 2 3 6 2 + 4 × 1 + ×
8 8 11 8 8 11
14 7 2
......................................................................................................................................................
= 5 27
......................................................................................................................................................
÷ ( × ) = +
3 6 15 8 4
= 14 ÷ 7
...................................................................................................................................................... 5 27 ×2
......................................................................................................................................................
= +
3 45 8 4 ×2
14 45
......................................................................................................................................................
= × = 5 + 54
......................................................................................................................................................
3 7 8 8
= 30
...................................................................................................................................................... 59
......................................................................................................................................................
=
8
ตอบ 30
...................................................................................................................................................... = 73
......................................................................................................................................................
8
...................................................................................................................................................... ตอบ 3
......................................................................................................................................................
7
8
...................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................

1
5) 2 4 ÷ 2 − 2 7) 10 1 − 3 1 + 2
9 7 2 3 6
วิธีทำา 1 1 1 = 21 10 13
......................................................................................................................................................
วิธีทำา 4 2 = 22 ÷ 2 − 2
...................................................................................................................................................... 10 − 3 + 2 − +
2 ÷ 2 − 2 3 6 2 3 6
9 7 9 7
21 × 3 10 × 2
...................................................................................................................................................... + 13
......................................................................................................................................................
= −
2 ×3 3 ×2 6
= 22 × 1 − 2
...................................................................................................................................................... 63 20 13
......................................................................................................................................................
= − +
9 2 7 6 6 6
= 11 − 2
...................................................................................................................................................... = 56
......................................................................................................................................................
9 7 6
11 × 7
= − 2×9
...................................................................................................................................................... 28
......................................................................................................................................................
=
9 × 7 7×9 3
77 18
......................................................................................................................................................
= = 91
......................................................................................................................................................

63 63 3
59
......................................................................................................................................................
= ตอบ 1
......................................................................................................................................................
9
63 3
ตอบ 59
...................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................
63

44 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 45
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 192 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 2 | เศษส่วน บทที่ 2 | เศษส่วน

3 แสดงวิธีคิดและวิธีทำ�
8) 2 1 ÷ 3 × 9
7 4 16 3 2
1) ขวดแก้วมีน้ำ� ลิตร และขวดพล�สติกมีน้ำ� ลิตร ถ้�มีน�ต้องก�รดื่มน้ำ�จ�กขวดที่มี
5 3
วิธีทำา 1 3 9 = 15 3 9
......................................................................................................................................................
2 ÷ × ÷ × ปริม�ณน้ำ�ม�กที่สุด มีน�จะเลือกขวดใด และมีปริม�ณน้ำ�ม�กกว่�อีกขวดหนึ่งกี่ลิตร
7 4 16 7 4 16
= 15 × 4 × 9
......................................................................................................................................................
7 3 16 วิธีคิด
ขวดแก้ว
45
......................................................................................................................................................
=
28
ขวดพล�สติก
= 117
......................................................................................................................................................
28
ตอบ 17
......................................................................................................................................................
1 วิธีทำา ขวดแก้วมีน้ำ� 3 ลิตร ซึ่งคิดเป็น 3 × 3 = 9 ลิตร
......................................................................................................................................................
28 5 5×3 15
...................................................................................................................................................... ขวดพล�สติกมีน้ำ� 2 ลิตร ซึ่งคิดเป็น 2 × 5 = 10 ลิตร
......................................................................................................................................................
3 3×5 15
แสดงว่� ขวดพล�สติกมีปริม�ณน้ำ�ม�กกว่�ขวดแก้ว 10 9 = 1 ลิตร
......................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................... −
15 15 15
ดังนั้น มีน�จะเลือกดื่มน้ำ�จ�กขวดพล�สติก ซึ่งมีปริม�ณน้ำ�ม�กกว่�ขวดแก้ว 1 ลิตร
......................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................... 15
......................................................................................................................................................
ตอบ เลือกขวดพล�สติก และมีปริม�ณน้ำ�ม�กกว่�ขวดแก้ว 1 ลิตร
......................................................................................................................................................
15

1 1
1 3 1 2) แม่ซื้อแตงโม 2 ผล หนักรวมกัน 4 กิโลกรัม ถ้�ผลหนึ่งหนัก 2 กิโลกรัม
9) 3 − 2 ÷ 9 5 2
4 4 6
แตงโม 2 ผลนี้หนักต่�งกันกี่กิโลกรัม
วิธีทำา 1 3 1 = 13 11 55
......................................................................................................................................................
3 − 2 ÷ 9 − ÷
4 4 6 4 4 6 1
วิธีคิด 4 กก.
13 11 6
......................................................................................................................................................
= 5
− ×
4 4 55 1
13 3 ผลที่ 1 หนัก 2 กก. ผลที่ 2
......................................................................................................................................................
= − 2
4 10
13 × 5 3 ×2
......................................................................................................................................................
= วิธีทำา แม่ซื้อแตงโม 2 ผล หนักรวมกัน 1 กิโลกรัม
− ......................................................................................................................................................
4 × 5 10 × 2 4
5
= 65 − 6
...................................................................................................................................................... ถ้�แตงโมผลหนึ่งหนัก 1 กิโลกรัม
......................................................................................................................................................
2
20 20 2
1 1 = 21
59
......................................................................................................................................................
=
แสดงว่� แตงโมอีกผลหนึ่งหนัก − 5 = 17 กิโลกรัม
......................................................................................................................................................
4 − 2
20 5 2 5 2 10
ดังนั้น แตงโม 2 ผลนี้หนักต่�งกัน 1 17 = 5 17 กิโลกรัม
......................................................................................................................................................
= 2 19
...................................................................................................................................................... 2 −
2 10 2

10
20
19 = 4 กิโลกรัม
......................................................................................................................................................
ตอบ
......................................................................................................................................................
2 5
20 ตอบ 4 กิโลกรัม
......................................................................................................................................................
5

46 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 47
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 193 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 2 | เศษส่วน บทที่ 2 | เศษส่วน

4 แสดงวิธีห� ค.ร.น.
7
3) เกษตรกรมีที่ดิน 56 ไร่ ทำ�น�ข้�ว ของที่ดินที่มีอยู่ ส่วนที่เหลือทำ�บ่อเลี้ยงปล�
8
เกษตรกรใช้ที่ดินทำ�บ่อเลี้ยงปล�กี่ไร่ 1) 9 และ 16 2) 4 และ 6 ตัวอย่�ง
วิธีทำา เนื่องจ�กตัวห�รร่วมของ 9 และ 16
......................................................................... วิธีทำา 2 4 6
.........................................................................
56 ไร่
วิธีคิด
มีเพียงจำ�นวนเดียว คือ 1
......................................................................... 2 3
.........................................................................
ทำ�บ่อเลี้ยงปล�

7 ดังนั้น ค.ร.น. ของ 9 และ 16


......................................................................... ดังนั้น ค.ร.น. ของ 4 และ 6
.........................................................................
ทำ�น�ข้�ว ของที่ดิน
8
คือ 9 × 16 = 144
......................................................................... คือ 2 × 2 × 3 = 12
.........................................................................
วิธีทำา เกษตรกรมีท่ีดิน 56 ไร่
......................................................................................................................................................
ตอบ 144
......................................................................... ตอบ 12
.........................................................................
ทำ�น�ข้�ว 7 ของที่ดินที่มีอยู่ ซึ่งคิดเป็น 7 × 56 = 49 ไร่
......................................................................................................................................................
8 8 ......................................................................... .........................................................................
ดังนั้น เกษตรกรใช้ที่ดินทำ�บ่อเลี้ยงปล� 56 − 49 = 7 ไร่
......................................................................................................................................................
......................................................................... .........................................................................
ตอบ 7 ไร่
......................................................................................................................................................

...................................................................................................................................................... 3) 12 และ 25 4) 8, 12 และ 20 ตัวอย่�ง


วิธีทำา เนื่องจ�กตัวห�รร่วมของ 12 และ 25
......................................................................... วิธีทำา 4 8 12 20
.........................................................................
......................................................................................................................................................
มีเพียงจำ�นวนเดียว คือ 1
......................................................................... 2 3 5
.........................................................................
ดังนั้น ค.ร.น. ของ 12 และ 25
......................................................................... ดังนั้น ค.ร.น. ของ 8, 12 และ 20
.........................................................................
คือ 12 × 25 = 300
......................................................................... คือ 4 × 2 × 3 × 5 = 120
.........................................................................
7
4) เชือกย�ว 8 เมตร ลุงต้องก�รตัดเป็น 2 เส้น โดยให้เชือกเส้นหนึ่งย�วกว่�อีกเส้นหนึ่ง
10 ตอบ 300
......................................................................... ตอบ 120
.........................................................................
3
1 เมตร เชือกเส้นสั้นย�วกี่เมตร
4
7 ......................................................................... .........................................................................
8 ม.
วิธีคิด 10
......................................................................... .........................................................................
3
1 ม.
4
5) 16, 18 และ 24 ตัวอย่�ง 6) 10, 30 และ 50 ตัวอย่�ง
เส้นที่ 1 เส้นที่ 2
วิ ธ ท
ี า
ำ 2 16 18 24
......................................................................... วิธีทำา 10 10 30 50
.........................................................................
วิธีทำา เชือกย�ว 8 7 เมตร
......................................................................................................................................................
4 8 9 12
10 ......................................................................... 1 3 5
.........................................................................
ตัดให้เชือกเส้นหนึ่งย�วกว่�อีกเส้นหนึ่ง 3 เมตร
......................................................................................................................................................
1 3 2 9 3 ดังนั้น ค.ร.น. ของ 10, 30 และ 50
4 ......................................................................... .........................................................................
แสดงว่� ส่วนของเชือก 2 เส้น ที่ย�วเท่�กันย�ว 8 7 − 1 3 = 87 − 7 เมตร
......................................................................................................................................................
10 4 80 4 2 3 1
......................................................................... คือ 10 × 1 × 3 × 5 = 150
.........................................................................
= 139 เมตร
......................................................................................................................................................
20 ดังนั้น ค.ร.น. ของ 16, 18 และ 24
......................................................................... ตอบ 150
.........................................................................
จะได้ว่� ส่วนของเชือก 2 เส้น ที่ย�วเท่�กัน ย�วเส้นละ 139 ÷ 2 = 3 19 เมตร
......................................................................................................................................................
20 40 คือ 2 × 4 × 3 × 2 × 3 × 1 = 144
......................................................................... .........................................................................
ดังนั้น เชือกเส้นสั้นย�ว 3 19 เมตร
......................................................................................................................................................
40 ตอบ 144
......................................................................... .........................................................................
ตอบ 3 19 เมตร
40
48 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 49
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 194 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 2 | เศษส่วน บทที่ 2 | เศษส่วน

แบบฝึกหัด 2.2
17 กับ 25 ตัวอย่�ง
4
แสดงวิธีเปรียบเทียบเศษส่วนและจำานวนคละ 12 18
วิธีทำา ค.ร.น. ของ 12 และ 18 คือ 36
...........................................................................................................................................
1 2 กับ 7
17 = 17 × 3 = 51
...........................................................................................................................................
3 11
12 12 × 3 36
วิธีทำา ค.ร.น. ของ 3 และ 11 คือ 33
.......................................................................................................................................... 25 25 × 2 = 50
...........................................................................................................................................
=
18 18 × 2 36
2 = 2 × 11 = 22
.......................................................................................................................................... ซึ่ง 51 50 ดังนั้น 17 25
...........................................................................................................................................
< <
3 3 × 11 33 36 36 12 18
7 = 7 × 3 = 21
..........................................................................................................................................
11 33 ตอบ 17 < 25
...........................................................................................................................................
11 × 3 12 18
ซึ ง
่ 22 < 21 ดั ง นั ้น 2 7
..........................................................................................................................................
<
33 33 3 11
ตอบ 2 7
..........................................................................................................................................
<
32 กับ 13
3 11 5 ตัวอย่�ง
15 6
4 กับ 3 วิธีทำา ค.ร.น. ของ 15 และ 6 คือ 30
...........................................................................................................................................
2
15 10
32 = 32 × 2 = 64
...........................................................................................................................................
วิธีทำา ค.ร.น. ของ 15 และ 10 คือ 30
.......................................................................................................................................... 15 15 × 2 30
13 13 × 5 = 65
...........................................................................................................................................
=
4 = 4 ×2 = 8
.......................................................................................................................................... 6 6 ×5 30
15 15 × 2 30
3 ซึ่ง 64 < 65 ดังนั้น 32 < 13
...........................................................................................................................................
= 3 × 3 = 9
.......................................................................................................................................... 30 30 15 6
10 10 × 3 30
ตอบ 32 13
...........................................................................................................................................
ซึ่ง 8 < 9 ดังนั้น 4 < 3
.......................................................................................................................................... <
15 6
30 30 15 10
ตอบ 4 < 3
..........................................................................................................................................
15 10
6 3 7 กับ 18 ตัวอย่�ง
9 5
3 15 กับ 6 ตัวอย่�ง วิธีทำา เนื่องจ�ก 18 = 3 3 จึงเปรียบเทียบ 3 7 กับ 3 3
8 ...........................................................................................................................................
20 5 5 9 5
วิ ธ ท
ี า
ำ ค.ร.น. ของ 20 และ 8 คือ 40
.......................................................................................................................................... พบว่� 3 = 3 จึงเปรียบเทียบ 7 กับ 3
...........................................................................................................................................
9 5
15 = 15 × 2 = 30
.......................................................................................................................................... ค.ร.น. ของ 9 และ 5 คือ 45
...........................................................................................................................................
20 20 × 2 40
6 = 6 × 5 = 30
.......................................................................................................................................... 7 = 7 × 5 = 35 และ 3 = 3 × 9 = 27
...........................................................................................................................................
8 8×5 40 9 9×5 45 5 5×9 45
ซึ ง
่ 30 30 ดั ง นั ้น 15 6
..........................................................................................................................................
=
=
ซึ่ง 35 27 แสดงว่� 7 3 ดังนั้น 7 3 หรือ 7 18
...........................................................................................................................................
< < < <
40 40 20 8 45 45 9 3 3 3
5 9 5 9 5
ตอบ 15 6
..........................................................................................................................................
=
ตอบ 3 7 18
...........................................................................................................................................
<
20 8 9 5

50 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 51
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 195 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 2 | เศษส่วน บทที่ 2 | เศษส่วน

แบบฝึกหัด 2.3
7 59 กับ 5 1 ตัวอย่�ง
12 15 1 แสดงวิธีเรียงลำ�ดับจ�กน้อยไปม�ก
วิธีทำา เนื่องจ�ก 59 = 411 จึงเปรียบเทียบ 411 กับ 5 1
............................................................................................................................................
12 12 12 15 1) 4 , 5 และ 7 ตัวอย่�ง
พบว่ � 4 < 5 จะได้ 11 1 9 12 8
............................................................................................................................................
4 < 5
12 15
ธีทำา เนื่องจ�ก 4 กับ 5 น้อยกว่� 1 และ 7 ม�กกว่� 1
วิ……………………………………………………………………………………………………………………………………
ดังนั้น 59 < 1
............................................................................................................................................ 9 12 2 8 2
5
12 15
แสดงว่� 7 ม�กที่สุด จึงเปรียบเทียบ 4 กับ 5
……………………………………………………………………………………………………………………………………
ตอบ 59 < 5 1
............................................................................................................................................ 8 9 12
12 15
ซึ่ง ค.ร.น. ของ 9 และ 12 คือ 36
……………………………………………………………………………………………………………………………………
............................................................................................................................................
4 4×4 16 และ 5 5 ×3
……………………………………………………………………………………………………………………………………
= = = = 15
9 9×4 36 12 12 × 3 36
8 4 9 กับ 159 ตัวอย่�ง ซึ่ง 16 15 แสดงว่� 4 5 หรือ
……………………………………………………………………………………………………………………………………
< < 5
<
4
14 35 36 36 9 12 12 9
วิธีทำา เนื่องจ�ก 159 = 419 จึงเปรียบเทียบ 4 9 กับ 419
............................................................................................................................................ ดังนั้น เรียงลำ�ดับจ�กน้อยไปม�กได้ดังนี้ 5 , 4 , 7
……………………………………………………………………………………………………………………………………
35 35 14 35 12 9 8
พบว่� 4 = 4 จึงเปรียบเทียบ 9 กับ 19
............................................................................................................................................ ตอบ 5 , 4 , 7
……………………………………………………………………………………………………………………………………
14 35 12 9 8
ค.ร.น. ของ 14 และ 35 คื อ 70
............................................................................................................................................

9 = 9 × 5 = 45 และ 19 = 19 × 2 = 38
............................................................................................................................................
14 14 × 5 70 35 35 × 2 70
ซึ่ง 45 < 38 แสดงว่� 9 < 19 ดังนั้น 9
4
<
4
19 หรือ 9
4
< 159
............................................................................................................................................ 2) 311 , 37 และ 23 ตัวอย่�ง
70 70 14 35 14 35 14 35 15 10 6
ตอบ 9 159
............................................................................................................................................ ธีทำา เนื่องจ�ก 37 = 3 7 และ 23 = 3 5
<
4 วิ……………………………………………………………………………………………………………………………………
14 35 10 10 6 6
11
จึงเปรียบเทียบ 3 , 3 7 และ 3 5 พบว่� 3 เท่�กัน
……………………………………………………………………………………………………………………………………
9 10 9 กับ 1013 ตัวอย่�ง 15 10 6
16 24
เปรียบเทียบ 11 , 7 และ 5
……………………………………………………………………………………………………………………………………
วิธีทำา เนื่องจ�ก 10 = 10 จึงเปรียบเทียบ 9 กับ 13
............................................................................................................................................ 15 10 6
16 24
ซึ่ง ค.ร.น. ของ 15, 10 และ 6 คือ 30
……………………………………………………………………………………………………………………………………
ค.ร.น. ของ 16 และ 24 คือ 48
............................................................................................................................................
11 = 11 × 2 = 22 7 = 7 × 3 = 21
…………………………………………………………………………………………………………………………………… 5 = 5 × 5 = 25
9 = 9 × 3 = 27
............................................................................................................................................ 15 15 × 2 30 10 10 × 3 30 6 6×5 30
16 16 × 3 48 21 22 22 25
ซึ่ง และ แสดงว่�
…………………………………………………………………………………………………………………………………… 7 11 และ 11 5
< < < <
13 = 13 × 2 = 26
............................................................................................................................................ 30 30 30 30 10 15 15 6
24 24 × 2 48
ดังนั้น เรียงลำ�ดับจ�กน้อยไปม�กได้ดังนี้ 3 7 , 311 , 3 5 หรือ 37 , 311 , 23
……………………………………………………………………………………………………………………………………
ซึ่ง 27 < 26 แสดงว่� 9 < 13 ดังนั้น 9 < 13
............................................................................................................................................ 10 15 6 10 15 6
10 10
48 48 16 24 16 24
ตอบ 37 11
, 3 , 23
……………………………………………………………………………………………………………………………………
ตอบ 10 9 <
10
13
............................................................................................................................................ 10 15 6
16 24

52 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 53
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 196 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 2 | เศษส่วน บทที่ 2 | เศษส่วน

9 13 10 8 ตัวอย่�ง 2 แสดงวิธีเรียงลำ�ดับจ�กม�กไปน้อย
3) , , และ
14 35 21 5
วิธีทำา เนื่องจ�ก 9 , 13 และ 10 น้อยกว่� 1 และ 8 ม�กกว่� 1 11 9 13
…………………………………………………………………………………………………………………………………… 1) , และ
14 35 21 5 15 10 20
แสดงว่ � 8 ม�กที ส
่ ด
ุ จึ ง เปรี ย บเที
…………………………………………………………………………………………………………………………………… ย บ 9 , 13 และ 10 วิธีทำา ค.ร.น. ของ 15, 10 และ 20 คือ 60
5 14 35 21 ………………………………………………………………………………………………………………………………
เนื่องจ�ก 9 1 และ 13 กับ
……………………………………………………………………………………………………………………………………
< 10 น้อยกว่� 1 11 11 × 4 44
14 2 35 21 2 ………………………………………………………………………………………………………………………………
= =
15 15 × 4 60
เปรียบเทียบ 13 กับ 10 ซึ่ง ค.ร.น. ของ 35 กับ 21 คือ 105
…………………………………………………………………………………………………………………………………… 9 9 × 6 54
………………………………………………………………………………………………………………………………
35 21 = =
10 10 × 6 60
13 13 × 3 39 และ 10
…………………………………………………………………………………………………………………………………… 10 × 5 50 13 13 × 3 39
= = = = ………………………………………………………………………………………………………………………………
= =
35 35 × 3 105 21 21 × 5 105 20 20 × 3 60
ซึ่ง 39 < 50 แสดงว่� 13 < 10 และ 10 < 9
…………………………………………………………………………………………………………………………………… ซึ่ง 54 44 และ 44 39
………………………………………………………………………………………………………………………………
< <
105 105 35 21 21 14 60 60 60 60
ดังนั้น เรียงลำ�ดับจ�กน้อยไปม�กได้ดังนี้
…………………………………………………………………………………………………………………………………… 13 , 10 , 9 , 8 แสดงว่ � 9 11 และ 11 13
………………………………………………………………………………………………………………………………
< <
35 21 14 5 10 15 15 20
ตอบ 13 , 10 , 9 , 8
…………………………………………………………………………………………………………………………………… ดังนั้น เรียงลำ�ดับจ�กม�กไปน้อยได้ดังนี้ 9 , 11 , 13
………………………………………………………………………………………………………………………………
35 21 14 5 10 15 20
ตอบ 9 , 11 , 13
………………………………………………………………………………………………………………………………
10 15 20
8 43
4) 3 , , 4 1 , 27 และ 18 ตัวอย่�ง ………………………………………………………………………………………………………………………………
15 12 2 10 5
วิธีทำา เนื่องจ�ก 43 = 3 7 , 27 = 2 7 และ 18 = 3 3
……………………………………………………………………………………………………………………………………
12 12 10 10 5 5 9 17 25
2) , และ ตัวอย่�ง
จึ ง เปรี ย บเที ย บ 8 ,
…………………………………………………………………………………………………………………………………… 7 , 1 , 7 และ 3 8 12 18
3 3 4 2 3
15 12 2 10 5
7 1 ธีทำา เนื่องจ�ก 9 = 1 1 , 17 = 1 5 และ 25 = 1 7
วิ………………………………………………………………………………………………………………………………
พบว่� 2 น้อยที่สุด และ 4 ม�กที่สุด
…………………………………………………………………………………………………………………………………… 8 8 12 12 18 18
10 2
1
เปรียบเทียบ 1 , 1 5 และ 1 7 พบว่� 1 เท่�กัน
………………………………………………………………………………………………………………………………
แล้ ว เปรี ย บเที ย บ 8 7 และ 3
,
……………………………………………………………………………………………………………………………………
3 3 3 พบว่� 3 เท่�กัน 8 12 18
15 12 5
8 7 3 จึงเปรียบเทียบ 1 , 5 และ 7
………………………………………………………………………………………………………………………………
จึงเปรียบเทียบ ,
…………………………………………………………………………………………………………………………………… และ ซึ่ง ค.ร.น. ของ 15, 12 และ 5 คือ 60 8 12 18
15 12 5
8 8 ×4 32 7 7 ×5 35 3 3 × 12 36 ซึ่ง ค.ร.น. ของ 8, 12 และ 18 คือ 72
………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
= = = = = =
15 15 × 4 60 12 12 × 5 60 5 5 × 12 60
1 1×9 9 5 5 ×6 7 7 ×4
ซึ่ง 32 35 และ
……………………………………………………………………………………………………………………………………35 36 แสดงว่� 8 7 และ 7 3 ………………………………………………………………………………………………………………………………
= = = = 30 = = 28
< < < < 8 8×9 72 12 12 × 6 72 18 18 × 4 72
60 60 60 60 15 12 12 5
ซึ่ง 30 28 และ 28 9 แสดงว่� 5
………………………………………………………………………………………………………………………………
< < < 7 และ 7 1 <
ดังนั้น 3 8 < 3 7 และ 3 7 < 3 3
…………………………………………………………………………………………………………………………………… 72 72 72 72 12 18 18 8
15 12 12 5
ดั ง นั น
้ 5 7 และ 7 1
………………………………………………………………………………………………………………………………
7 1
< <
ดั ง นั น
้ เรี ย งลำ � ดั บ จ�กน้ อ ยไปม�กได้ ด ง
ั นี ้ 8 7 3 1 1 1 1
…………………………………………………………………………………………………………………………………… 2 , 3 , 3 , 3 , 4 12 18 18 8
10 15 12 5 2
ดังนั้น เรียงลำ�ดับจ�กม�กไปน้อยได้ดังนี้ 1 5 , 1 7 , 1 1 หรือ 17 , 25 , 9
………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………… หรือ 27 , 3 8 , 43 , 18 , 4 1 12 18 8 12 18 8
10 15 12 5 2
ตอบ 17 , 25 , 9
ตอบ 27 , 3 , 8 43 , 18 , 4 1 12 18 8
10 15 12 5 2
54 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 55
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 197 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 2 | เศษส่วน บทที่ 2 | เศษส่วน

3)
40 27
,
3
, 5 และ 4
5 ตัวอย่�ง
แบบฝึกหัด 2.4
9 5 7 6
วิธีทำา เนื่องจ�ก 40 = 4 4 และ 27 = 5 2
…………………………………………………………………………………………………………………………………… แสดงวิธีหาคำาตอบและตอบในรูปอย่างง่าย
9 9 5 5
จึงเปรียบเทียบ 4 4 , 5 2 , 5 3 และ 4 5
……………………………………………………………………………………………………………………………………
9 5 7 6 5 1 9 5
1 + 2 −
1) เปรียบเทียบ 4 4 กับ 4 5 พบว่� 4 = 4 จึงเปรียบเทียบ 4 กับ 5
…………………………………………………………………………………………………………………………………… 11 2 5 9
9 6 9 6
เนื่องจ�ก 4 < 1 และ 5 1 แสดงว่� 5
……………………………………………………………………………………………………………………………………
< 4 ดังนั้น 5
4
<
4
4 < วิธีทำา ค.ร.น. ของ 11 และ 2 คือ 22
......................................................................... วิธีทำา ค.ร.น. ของ 5 และ 9 คือ 45
........................................................................
9 2 6 2 6 9 6 9
2) เปรียบเทียบ 5 2 กับ 5 3 พบว่� 5 = 5 จึงเปรียบเทียบ 2 กับ 3
…………………………………………………………………………………………………………………………………… 5 1 = 5 × 2 1 × 11
.........................................................................
+ +
9 5 = 9×9 5×5
........................................................................
− −
5 7 5 7 11 2 11 × 2 2 × 11 5 9 5×9 9×5
ซึ่ง ค.ร.น. ของ 5 และ 7 คือ 35
…………………………………………………………………………………………………………………………………… 10 11 81 25
.........................................................................
= + ........................................................................
= −
2 2×7 14 และ 3 3×5 22 22 45 45
……………………………………………………………………………………………………………………………………
= = = = 15
5 5×7 35 7 7×5 35 21
.........................................................................
= 56
........................................................................
=
ซึ่ง 15 14 จะได้ 3 2 แสดงว่� 3
……………………………………………………………………………………………………………………………………
< < 2 < 22 45
5 5
35 35 7 5 7 5
ดังนั้น เรียงลำ�ดับจ�กม�กไปน้อยได้ดังนี้ 5 3 , 5 2 , 4 5 , 4 4 หรือ 5 3 , 27 , 4 5 , 40 ตอบ 21
......................................................................... = 111
........................................................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………… 22 45
7 5 6 9 7 5 6 9
ตอบ 5 3 , 27 , 4 5 , 40
…………………………………………………………………………………………………………………………………… ......................................................................... ตอบ 1 11
........................................................................
7 5 6 9 45
7 71 7 31 21 ......................................................................... ........................................................................
4) 2 , , 3 , และ ตัวอย่�ง
12 20 15 13 8
......................................................................... ........................................................................
วิธีทำา เนื่องจ�ก 71 = 311 , 31 = 2 5 และ 21 = 2 5
……………………………………………………………………………………………………………………………………
20 20 13 13 8 8
จึงเปรียบเทียบ 2 7 , 311 , 3 7 , 2 5 และ 2 5
…………………………………………………………………………………………………………………………………… 13

3 7
+
5
12 20 15 13 8 3 7 4 4 6 8
1) เปรียบเทียบ 2 7 , 2 5 และ 2 5 พบว่� 2 เท่�กัน
……………………………………………………………………………………………………………………………………
12 13 8 วิธีทำา ค.ร.น. ของ 7 และ 4 คือ 28
......................................................................... วิธีทำา ค.ร.น. ของ 6 และ 8 คือ 24
........................................................................
จึงเปรียบเทียบ 7 , 5 และ 5
……………………………………………………………………………………………………………………………………
12 13 8 13 3 = 13 × 4 3×7
......................................................................... 7 5 = 7×4 5×3
........................................................................
เนื่องจ�ก 7 กับ 5 ม�กกว่� 1 และ 5 < 1 − − + +
…………………………………………………………………………………………………………………………………… 7 4 7 ×4 4×7 6 8 6×4 8×3
12 8 2 13 2
เปรียบเทียบ 7 กับ 5 ซึ่ง ค.ร.น. ของ 12 และ 8 คือ 24 52 21
.........................................................................
= 28 15
........................................................................
=
…………………………………………………………………………………………………………………………………… − +
12 8 28 28 24 24
7 = 7 × 2 = 14 และ 5 = 5 × 3 = 15
…………………………………………………………………………………………………………………………………… 31
......................................................................... 43
........................................................................
12 12 × 2 24 8 8×3 24 = =
28 24
ซึ่ง 15 14 แสดงว่� 5 7 และ 7
…………………………………………………………………………………………………………………………………… 5
2 2 2 2
< < <
24 24 8 12 12 13 = 13
......................................................................... = 119
........................................................................
2) เปรียบเทียบ 311 กับ 3 7 พบว่� 3 = 3 จึงเปรียบเทียบ 11 กับ 7 28 24
……………………………………………………………………………………………………………………………………
20 15 20 15 ตอบ 1 3
......................................................................... ตอบ 1 19
........................................................................
เนื่องจ�ก 11 1 และ 7 < 1 แสดงว่� 11
……………………………………………………………………………………………………………………………………
< 7 ดังนั้น 11
<
3
<
3
7 28 24
20 2 15 2 20 15 20 15
ดังนั้น เรียงลำ�ดับจ�กม�กไปน้อยได้ดังนี้ 311 , 3 7 , 2 5 , 2 7 , 2 5
…………………………………………………………………………………………………………………………………… ......................................................................... ........................................................................
20 15 8 12 13
หรือ 71 , 3 7 , 21 , 2 7 , 31
…………………………………………………………………………………………………………………………………… ......................................................................... ........................................................................
20 15 8 12 13
ตอบ 71 , 3 7 , 21 , 2 7 , 31
20 15 8 12 13
56 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 57
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 198 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 2 | เศษส่วน บทที่ 2 | เศษส่วน

15 3 11 9
5 + 6 − 8 9 + 17 10 49 + 7 ตัวอย่�ง
8 10 12 9 20 30 10

วิธีทำา ค.ร.น. ของ 8 และ 10 คือ 40


......................................................................... วิธีทำา ค.ร.น. ของ 12 และ 9 คือ 36
......................................................................... วิธีทำา ค.ร.น. ของ 20 และ 30 คือ 60
......................................................................... ธีทำา เนื่องจ�ก 7 = 7
วิ.........................................................................
1
15 3 = 15 × 5 3×4 11 8 = 11 × 3 8×4 9 17 = 9 × 3 17 × 2
......................................................................... ค.ร.น. ของ 10 และ 1 คือ 10
.........................................................................
.........................................................................
+ + .........................................................................
− − + +
8 10 8 ×5 10 × 4 12 9 12 × 3 9×4 20 30 20 × 3 30 × 2
= 27 + 34 49 49 7 × 10
= 75 + 12
......................................................................... = 33

32
......................................................................... .........................................................................
60 60
.........................................................................
10
+ 7 =
10
+
1 × 10
40 40 36 36
87
......................................................................... 1
......................................................................... 61
.........................................................................
= 49 70
.........................................................................
=
= = +
40 36 60 10 10
1 1 119
= 27
......................................................................... ตอบ
......................................................................... .........................................................................
= 1
60
.........................................................................
=
10
40 36
ตอบ 2 7
......................................................................... ......................................................................... ตอบ 1 1
......................................................................... = 11 9
.........................................................................
40 60 10
......................................................................... ......................................................................... ......................................................................... ตอบ 9
.........................................................................
11
10
......................................................................... ......................................................................... ......................................................................... .........................................................................

28 6 10 25 8 37 11
7 − 8 10 − ตัวอย่�ง 11 + 12 −
13 5 11 24 15 25 15

วิธีทำา ค.ร.น. ของ 13 และ 5 คือ 65


......................................................................... วิธีทำา เนื่องจ�ก 10 = 10
......................................................................... วิธีทำา ค.ร.น. ของ 24 และ 15 คือ 120
......................................................................... วิ.........................................................................
ธีทำา ค.ร.น. ของ 25 และ 15 คือ 75
1
28 6 = 28 × 5 6 × 13
......................................................................... ค.ร.น. ของ 1 และ 11 คือ 11
......................................................................... 25 8 = 25 × 5 8 ×8
......................................................................... 37 11 = 37 × 3 11 × 5
.........................................................................
− − + + − −
13 5 13 × 5 5 × 13 24 15 24 × 5 15 × 8 25 15 25 × 3 15 × 5
140 78
.........................................................................
= −
10 = 10 10
.........................................................................
10 − − = 125 + 64
......................................................................... 111 55
.........................................................................
= −
65 65 11 1 11 120 120 75 75
62
......................................................................... 10 × 11 10
......................................................................... 189
.........................................................................
= 56
.........................................................................
=
= = −
65 1 × 11 11 120 75
ตอบ 62
......................................................................... 110 10
.........................................................................
= − = 63
......................................................................... ตอบ 56
.........................................................................
65 11 11 40 75
......................................................................... 100
.........................................................................
= = 123
......................................................................... .........................................................................
11 40
ตอบ 1 23
......................................................................... = 91
......................................................................... .........................................................................
40
.........................................................................
11
......................................................................... ตอบ 9 1
......................................................................... ......................................................................... .........................................................................
11

58 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 59
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 199 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 2 | เศษส่วน บทที่ 2 | เศษส่วน
ตัวอย่�ง

แบบฝึกหัด 2.5
71 − 6 4 45 + 410
5 15 6 14 21
10
แสดงวิธีหาคำาตอบและตอบในรูปอย่างง่าย ตัวอย่�ง
ีทำา 71 − 6 4 = 7 1 − 6 4
วิธ......................................................................... ำา 45 + 4 10 = 3 3 10
วิธีท.........................................................................
+ 4
10 15 10 15 14 21 14 21
3 1 5 1 1 − ( ) 4 3 10
1 1 + 3 2 4 − 2 .........................................................................
= ( )
7+ 6+ .........................................................................
= ( )
3+ + ( )
4+
7 2 6 5 10 15 14 21
= ( ) 1 − 4
......................................................................... 3 + 10
.........................................................................
= ( )
ธีทำา 1 3 + 3 1 = ( ) 3 1
วิ......................................................................... ีทำา 4 5 − 2 1 = ( ) 5 1
วิธ......................................................................... 7 − 6 + ( ) 3 + 4 + ( )
1+ + ( )
3+ 4+ − ( )
2+ 10 15 14 21
7 2 7 2 6 5 6 5 1 ×3 − 4 ×2 3 × 3 + 10 × 2
.........................................................................
= 1 + ( ) .........................................................................
= 7 + ( )
3 1
......................................................................... 5 1
......................................................................... 10 × 3 15 × 2 14 × 3 21 × 2
= ( )
1 + 3 + ( ) + = ( )
4 − 2 + ( ) − 3 8 9 20
7 2 6 5 .........................................................................
= 1 + ( )
− .........................................................................
= 7 + ( )
+
5×5 − 1×6 30 30 42 42
3×2 + 1×7
.........................................................................
= 4 + ( ) .........................................................................
= 2 + ( )
7×2 2×7 6×5 5×6 = 30 + ( )
3

8
......................................................................... = 7 + 29
.........................................................................
30 30 30 42
6 7
.........................................................................
= 4 + ( ) 25 6
.........................................................................
= 2 + ( ) = 30 + 3 − 8
......................................................................... = 7 29
.........................................................................
+ −
14 14 30 30 30 30 30 42
= 25
......................................................................... ตอบ 29
.........................................................................
= 4 + 13
......................................................................... = 2 + 19
......................................................................... 30
7
42
14 30
= 5
......................................................................... .........................................................................
= 4 13
......................................................................... = 2 19
......................................................................... 6
14 30 ตอบ 5
......................................................................... .........................................................................
ตอบ 13 ตอบ 19 6
.........................................................................
4 .........................................................................
2
14 30
11 5 3
......................................................................... .........................................................................
7 3 − 29 8 1 + 5
21 12 6 4

ีทำา 3 11 − 29 = 3 11 − 2 5
วิธ......................................................................... ธีทำา 1 5 + 5 3 = ( ) 5 + ( ) 3
วิ.........................................................................
1+ 5+
1 11 5
3 2 + 4 57 − 4 21 12 21 12 6 4 6 4
4 3 18 12 11 5
.........................................................................
= ( ) 5 3
.........................................................................
3+ − ( )
2+ = ( )
1 + 5 + ( ) +
ธีทำา 2 1 + 11 = 2 1 + 3 2
วิ......................................................................... ำา 5 7 − 4 5 = ( ) 7 5
วิธีท......................................................................... 21 12 6 4
4 3 5 + 18 − ( )
4+
4 3 18 12 12 11 5
......................................................................... 5×2 + 3×3
.........................................................................
= ( )
3 − 2 + ( ) − = 6 + ( )
1 2
.........................................................................
= ( ) 7 5
......................................................................... 21 12 6×2 4×3
2+ + ( )
3+ = ( )
5 − 4 + ( ) −
4 3 18 12 11 × 4 − 5 × 7
......................................................................... 10 9
.........................................................................
= 1 + ( ) = 6 + ( )
+
1 2
......................................................................... 7 ×2 − 5 ×3
......................................................................... 21 × 4 12 × 7 12 12
= ( )
2 + 3 + ( ) + = 1 + ( )
4 3 18 × 2 12 × 3 44 35
.........................................................................
= 1 + ( )
− = 6 + 19
.........................................................................
1×3 + 2×4
.........................................................................
= 5 + ( ) 14 15
.........................................................................
= 1 + ( ) 84 84 12

4×3 3×4 36 36
= 1+ 9
......................................................................... = 6+ 17
.........................................................................
3 8 84 12
.........................................................................
= 5 + ( )
+ = 36 + ( )
14 15
.........................................................................

12 12 36 36 36
= 1+ 3
......................................................................... = 6+1+ 7
.........................................................................
28 12
= 5 + 11
......................................................................... = 36 + 14 − 15
.........................................................................
12 36 36 36 = 13
......................................................................... = 7+ 7
.........................................................................
28 12
11
........................................................................ 35
......................................................................... ตอบ 3
= 5
12
=
36 .........................................................................
1 = 77
.........................................................................
28 12
ตอบ 11
........................................................................ ตอบ 35
......................................................................... ......................................................................... ตอบ 7
.........................................................................
5 7
12 36 12

60 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 61
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 200 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 2 | เศษส่วน บทที่ 2 | เศษส่วน
ตัวอย่�ง

แบบฝึกหัด 2.6
9 19 5 10 1 5
3 + 8 12 − 9
20 16 4 14 แสดงวิธีหาคำาตอบและตอบในรูปอย่างง่าย
ำา 3 19 + 8 5 = ( ) 19 + ( ) 5
วิธีท.........................................................................
3+ 8+ ำา 12 1 − 9 5 = ( ) 1 − ( ) 5
วิธีท.........................................................................
12 + 9+
20 16 20 16 4 14 4 14 3
19 + 5
......................................................................... 1 − 5
......................................................................... 1 4 − 15 × 17 + 11
= ( )
3 + 8 + ( ) = ( )
12 − 9 + ( ) 4 8 9 18
20 16 4 14
19 × 4 5 × 5
.........................................................................
= 11 + ( )
+ 1 × 7 − 5 ×2
.........................................................................
= 3 + ( )
20 × 4 16 × 5 4×7 14 × 2 วิธีทำา 4 3 − 15 × 1 7 + 11 = 19 − 15 × 16 + 11
............................................................................................................................................
4 8 9 18 4 8 9 18
76 25
.........................................................................
= 11 + ( ) 7 10
.........................................................................
= 3 + ( )
+ −
80 80 28 28 = 19 − 15 × 16 + 11
............................................................................................................................................
7 10 4 8 × 9 18
= 11 + 101
......................................................................... .........................................................................
= 2 + 1 + ( ) −
80 28 28 19 10 11
............................................................................................................................................
= − +
4 3 18
= 11 + 1 21
......................................................................... = 2 + 28 + ( )7 10
.........................................................................

80 28 28 28 19 × 9 10 × 12 11 × 2
............................................................................................................................................
= − +
= 11 + 1 + 21
......................................................................... = 2 + 28 + 7 − 10
......................................................................... 4 ×9 3 × 12 18 × 2
80 28 28 28 = 171 − 120 + 22
............................................................................................................................................
21
.........................................................................
= 12 + 25
.........................................................................
= 2+ 36 36 36
80 28 73
............................................................................................................................................
=
= 12 21
......................................................................... 25
.........................................................................
= 2 36
80 28
21 25 = 21
............................................................................................................................................
ตอบ.........................................................................
12 ตอบ .........................................................................
2 36
80 28
ตอบ 2 1
............................................................................................................................................
36
13 9 2 13 ............................................................................................................................................
11 4 + 8 12 5 − 2
16 10 15 18
ำา 4 13 + 8 9 = ( ) 13 + ( ) 9
วิธีท.........................................................................
4+ 8+ ำา 5 2 − 2 13 = ( ) 2 − ( ) 13
วิธีท.........................................................................
5+ 2+ ............................................................................................................................................
16 10 16 10 15 18 15 18
13 9
.........................................................................
= ( ) 2 − 13
.........................................................................
= ............................................................................................................................................
4 + 8 + ( ) + 5 − 2 + ( )
( )
16 10 15 18
13 × 5 + 9 × 8
.........................................................................
= 12 + ( ) 2 × 6 − 13 × 5
.........................................................................
= 3 + ( ) ............................................................................................................................................
16 × 5 10 × 8 15 × 6 18 × 5
65 72
.........................................................................
= 12 + ( ) 12 65
.........................................................................
= 3 + ( )
+ − ............................................................................................................................................
80 80 90 90
= 12 + 137
......................................................................... 12 65
.........................................................................
= 2 + 1 + ( ) − ............................................................................................................................................
80 90 90
57
.........................................................................
= 12 + 1 90 12 65
.........................................................................
= 2+ −
+ ( ) ............................................................................................................................................
80 90 90 90
= 12 + 1 + 57
......................................................................... = 2 + 90 + 12 − 65
.........................................................................
80 90 90 90 ............................................................................................................................................
= 13 + 57
......................................................................... = 2 + 37
.........................................................................
80 90 ............................................................................................................................................
= 13 57
......................................................................... = 2 37
.........................................................................
80 90 ............................................................................................................................................
57
ตอบ......................................................................... ตอบ 37
.........................................................................
13 2
80 90

62 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 63
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 201 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 2 | เศษส่วน บทที่ 2 | เศษส่วน

2 5 11 5
2 (2 + 2 ) ÷ 1 − 5 3 3 − 1
3
+ 6 ÷ 1
4
9 6 24 12 9 4 5

วิธีทำา ( 2 2 + 2 5 ) ÷ 1 11 − 5 = ( 20 + 17 ) ÷ 35 − 5
............................................................................................................................................ วิธีทำา 3 − 1 5 + 6 3 ÷ 1 4 = 3 − 14 + 27 ÷ 9
............................................................................................................................................
9 6 24 12 9 6 24 12 9 4 5 9 4 5
20 × 2 17 × 3 5
= ( + ) ÷ 35 −
............................................................................................................................................ 14 27 5
............................................................................................................................................
= 3− + ×
9 ×2 6 ×3 24 12 9 4 9
= ( 40 + 51 ) ÷ 35 − 5
............................................................................................................................................ = 3 − 14 + 27 × 5
............................................................................................................................................
18 18 24 12 9 4 ×9
= 91 ÷ 35 − 5
............................................................................................................................................ 14 15
............................................................................................................................................
= 3− +
18 24 12 9 4
91 24 5
............................................................................................................................................
= 3 × 36 14 × 4 15 × 9
............................................................................................................................................
× − = − +
18 35 12 36 9 ×4 4 ×9
= 91 × 24 − 5
............................................................................................................................................ 108 56 135
............................................................................................................................................
= − +
18 × 35 12 36 36 36
52 5
............................................................................................................................................
= 187
............................................................................................................................................
− =
15 12 36
52 × 4 5 ×5
............................................................................................................................................
= − = 57
............................................................................................................................................
15 × 4 12 × 5 36
= 208 − 25
............................................................................................................................................ ตอบ 5 7
............................................................................................................................................
60 60 36
= 183
............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................
60
= 61
............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................
20
= 31
............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................
20
ตอบ 3 1
............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................
20
............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................

............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................

............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................

............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................

............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................

............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................

............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................

............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................

64 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 65
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 202 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 2 | เศษส่วน บทที่ 2 | เศษส่วน

1 27 1 8
4 3 × ( − 1 ) ÷ 13 ตัวอย่�ง 5 (1 +
5 1 7
) ÷ (3 − )
9 14 4 35 15 12 8 9

วิธีทำา 3 1 × ( 27 − 1 1 ) ÷ 1 3 = 28 × ( 27 − 5 ) ÷ 38
............................................................................................................................................ วิธีทำา (1 8 + 5 ) ÷ ( 3 1 − 7 ) = ( 23 + 5 ) ÷ ( 25 − 7 )
............................................................................................................................................
9 14 4 35 9 14 4 35 15 12 8 9 15 12 8 9
28 27 × 2 5 × 7) 38
............................................................................................................................................
= 23 × 4 5 × 5 ) ÷ ( 25 × 9 − 7 × 8 )
............................................................................................................................................
= (
× ( − ÷ +
9 14 × 2 4×7 35 15 × 4 12 × 5 8 ×9 9×8
= 28 × ( 54 − 35 ) ÷ 38
............................................................................................................................................ = ( 92 + 25 ) ÷ (225 − 56 )
............................................................................................................................................
9 28 28 35 60 60 72 72
= 28 × 19 ÷ 38
............................................................................................................................................ 117 169
............................................................................................................................................
= ÷
9 28 35 60 72
28 19 35
............................................................................................................................................
= 117 72
............................................................................................................................................
=
× × ×
9 28 38 60 169
= 28 × 19 × 35
............................................................................................................................................ = 117 × 72
............................................................................................................................................
9 × 28 × 38 60 × 169
= 35
............................................................................................................................................ 54
............................................................................................................................................
=
18 65
= 1 17
............................................................................................................................................ ตอบ 54
............................................................................................................................................
18 65
ตอบ 1 17
............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................
18
............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................

............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................

............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................

............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................

............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................

............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................

............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................

............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................

............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................

............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................

............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................

............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................

66 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 67
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 203 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 2 | เศษส่วน บทที่ 2 | เศษส่วน

5 1
6 4 1 ÷ (15 + × 1 ) 7 3
1 3
− 1 ÷ 1
17
× 2
7
12 6 26 12 8 4 18 24
5 5
วิธีทำา 4 1 ÷ ( ) 11 5
49 ( ) 13 วิธีทำา 3 1 − 1 3 ÷ 1 17 × 2 7 = 25 − 7 ÷ 35 × 55
1 + × 11 =
............................................................................................................................................
÷ + × ............................................................................................................................................
12 6 26 12 12 6 26 12 8 4 18 24 8 4 18 24
= 49 ÷ ( )
11 5 × 13
............................................................................................................................................
+ 25 7 18 55
............................................................................................................................................
= − × ×
12 6 26 × 12 8 4 35 24
11
= 49 ÷ ( ) 5
............................................................................................................................................ = 25 − 7 × 18 × 55
............................................................................................................................................
+
12 6 24 8 4 × 35 × 24
11 × 4
= 49 ÷ ( ) 5
............................................................................................................................................ 25 33
............................................................................................................................................
=
+ −
12 6 × 4 24 8 16
= 49 ÷ ( )
44 5
............................................................................................................................................
+ = 25 × 2

33
............................................................................................................................................
12 24 24 8 ×2 16
= 49 ÷ 49
............................................................................................................................................ 50 33
............................................................................................................................................
= −
12 24 16 16
= 49 × 24
............................................................................................................................................ 17
............................................................................................................................................
=
12 49 16
49 × 24
............................................................................................................................................
= = 11
............................................................................................................................................
12 × 49 16
= 2
............................................................................................................................................ ตอบ 1 1
............................................................................................................................................
16
ตอบ 2
............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................

............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................

............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................

............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................

............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................

............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................

............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................

............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................

............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................

............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................

............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................

............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................

68 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 69
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 204 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 2 | เศษส่วน บทที่ 2 | เศษส่วน

8 31 + 2 5 − 1 1 ÷ 40 แบบฝึกหัด 2.7
6 12 24
แสดงวิธีหาคำาตอบ
วิธีทำา 3 1 + 2 5 − 1 1 ÷ 40 = 19 + 29 − 25 ÷ 40
............................................................................................................................................
1
6 12 24 6 12 24 1 แม่มีน้ำ�ปล� 1 ขวด วันแรกใช้ไป 1 ขวด วันที่สองใช้ไป ขวด แม่เหลือน้ำ�ปล�เท่�ใด
19 29 25 1 6 5
............................................................................................................................................
= + − × ตัวอย่�ง
6 12 24 40
วิธีคิด น้�ำ ปล� 1 ขวด
= 19 + 29 − 25 × 1
............................................................................................................................................
6 12 24 × 40 1 1
ขวด ขวด น้ำ�ปล�ที่เหลือ
19 29 5
............................................................................................................................................
= 6 5
+ −
6 12 192
วันแรก วันที่สอง
= 19 × 32 + 29 × 16 − 5
............................................................................................................................................
6 × 32 12 × 16 192 วิธีทำา แม่มีน้ำ�ปล� 1 ขวด
......................................................................................................................................................
= 608 + 464 − 5
............................................................................................................................................
1
192 192 192 วันแรกใช้ไป ขวด
......................................................................................................................................................
1067 6
............................................................................................................................................
= 1 ขวด
192 วันที่สองใช้ไป
......................................................................................................................................................
5
= 5 107
............................................................................................................................................ รวม 2 วัน แม่ใช้น้ำ�ปล�ไป 1
+
1 = 11 ขวด
......................................................................................................................................................
192 6 5 30
ตอบ 5 107
............................................................................................................................................ ดั ง นั น
้ แม่ เ หลื อ น้ �
ำ ปล� 11 = 19 ขวด
1−
......................................................................................................................................................
192 30 30
............................................................................................................................................ ตอบ 19 ขวด
......................................................................................................................................................
30
............................................................................................................................................
1
............................................................................................................................................ 2 สน�มรูปสี่เหลี่ยมมุมฉ�กกว้�ง 9 3 เมตร ย�ว 11 เมตร ทวีต้องก�รปูหญ้�ให้เต็มสน�ม
5 4
ถ้�ผู้รับเหม�คิดค่�หญ้�และค่�ปูหญ้�ต�ร�งเมตรละ 120 บ�ท ทวีต้องจ่�ยเงินให้ผู้รับเหม�เท่�ใด
............................................................................................................................................
วิธีคิด ห�เงินที่ทวีต้องจ่�ยให้ผู้รับเหม� โดยห�พื้นที่ของสน�ม คูณกับ
............................................................................................................................................
ค่�จ้�งที่ผู้รับเหม�คิด 1 ต�ร�งเมตร
............................................................................................................................................

............................................................................................................................................
3 1
วิธีทำา สน�มรูปสี่เหลี่ยมมุมฉ�ก กว้�ง 9 เมตร ย�ว 11 เมตร
......................................................................................................................................................
............................................................................................................................................ 5 4
มีพื้นที่ 3 1 = 108 ต�ร�งเมตร
9 × 11
......................................................................................................................................................
............................................................................................................................................ 5 4
ผู้รับเหม�คิดค่�หญ้�และค่�ปูหญ้�ต�ร�งเมตรละ 120 บ�ท
......................................................................................................................................................
............................................................................................................................................
ดังนั้น ทวีต้องจ่�ยเงินให้ผู้รับเหม� 108 × 120 = 12,960 บ�ท
......................................................................................................................................................
............................................................................................................................................ ตอบ 12,960 บ�ท
......................................................................................................................................................
............................................................................................................................................ ......................................................................................................................................................

70 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 71
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 205 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 2 | เศษส่วน บทที่ 2 | เศษส่วน

3 สม�ชิกชมรมวิทย�ศ�สตร์ทำ�น้ำ�หมักชีวภ�พได้ 130 ลิตร นำ�ม�บรรจุขวด ขวดละ 3 ลิตร 5 นิช�ซื้อทุเรียนผลหนึ่งหนัก 3 3 กิโลกรัม ร�ค�กิโลกรัมละ 120 บ�ท และซื้อแตงโมอีกผลหนึ่ง
4 5
จำ�นวน 10 ขวด น้ำ�หมักชีวภ�พที่เหลือนำ�ม�บรรจุขวด ขวดละ 1 1 ลิตร จะบรรจุได้กี่ขวด หนัก 2 7 กิโลกรัม ร�ค�กิโลกรัมละ 40 บ�ท นิช�จ่�ยเงินซื้อทุเรียนและแตงโมกี่บ�ท
4 10
วิธีคิด น้ำ�หมักชีวภ�พ 130 ล. วิวิธธีคีคิดิด เงินที่จ่�ยค่�ทุเรียนและแตงโม

น้ำ�หมักที่เหลือ 3 7
ทุเรียน 3 กก. แตงโม 2 กก.
5 10
3 1
บรรจุ 10 ขวด ขวดละ ล. บรรจุขวดละ 1 ล. กิโลกรัมละ 120 บ�ท กิโลกรัมละ 40 บ�ท
4 4

วิธีทำา สม�ชิกชมรมวิทย�ศ�สตร์ทำ�น้ำ�หมักชีวภ�พ 130 ลิตร 3


...................................................................................................................................................... วิธีทำา นิช�ซื้อทุเรียน 3 กิโลกรัม ร�ค�กิโลกรัมละ 120 บ�ท
......................................................................................................................................................
5
3 3
นำ�ม�บรรจุขวด ขวดละ ลิตร จำ�นวน 10 ขวด
......................................................................................................................................................
4
นิช�จ่�ยเงินซื้อทุเรียน 3 × 120 = 432 บ�ท
......................................................................................................................................................
5
แสดงว่� ครั้งแรกบรรจุน้ำ�หมักชีวภ�พไป 10 × 3 = 15 ลิตร
...................................................................................................................................................... และซื อ
้ แตงโม 2
7 กิโลกรัม ร�ค�กิโลกรัมละ 40 บ�ท
......................................................................................................................................................
4 2 10
และเหลื อ น้ �
ำ หมั ก ชี ว ภ�พ 130 − 15 245 ลิตร 7 × 40 = 108 บ�ท
=
...................................................................................................................................................... นิช�จ่�ยเงินซื้อแตงโม
......................................................................................................................................................
2
2 2 10
1 245 1
ดั ง นั น
้ น้ �
ำ หมั ก ชี ว ภ�พที เ
่ หลื อ บรรจุ ข วดละ 1 ลิ ต ร ได้ ÷ 1 = 98 ขวด
...................................................................................................................................................... ดังนั้น นิช�จ่�ยเงินซื้อทุเรียนและแตงโม 432 + 108 = 540 บ�ท
......................................................................................................................................................
4 2 4
ตอบ 98 ขวด
...................................................................................................................................................... ตอบ 540 บ�ท
......................................................................................................................................................

แม่ค้�ซื้อเห็ดหอมร�ค�กิโลกรัมละ 600 บ�ท แล้วนำ�ม�บรรจุถุง ถุงละ 1 กิโลกรัม จำ�นวน 7 ถุง 1


4 6 ปัจจุบันแก้มอ�ยุ 20 ปี อีก 4 ปีข้�งหน้� ปู่จะมีอ�ยุเป็น 3 เท่�ของอ�ยุแก้ม
2 4
ยังเหลือเห็ดหอมอีก 8 2 กิโลกรัม แม่ค้�ซื้อเห็ดหอมทั้งหมดเป็นเงินเท่�ใด ปัจจุบันปู่อ�ยุกี่ปี
5

วิธีคิด เห็ดหอมที่แม่ค้�ซื้อ วิธีคิด 4 ปี


2
เหลือ 8 กก.
5 ปัจจุบัน อีก 4 ปีข้�งหน้� แก้มมีอ�ยุ 24 ปี
1
1 แก้มมีอ�ยุ 20 ปี ปู่มีอ�ยุเป็น 3 เท่�ของอ�ยุของแก้ม
บรรจุ 7 ถุง ถุงละ กก. 4
2
1
วิธีทำา แม่ค้�บรรจุเห็ดหอมถุงละ กิโลกรัม จำ�นวน 7 ถุง
...................................................................................................................................................... วิธีทำา ปัจจุบันแก้มมีอ�ยุ 20 ปี
......................................................................................................................................................
2
1 = 7 กิโลกรัม
แสดงว่� แม่ค้�บรรจุเห็ดหอมไป 7×
...................................................................................................................................................... อีก 4 ปีข้�งหน้� แก้มจะมีอ�ยุ 20 + 4 = 24 ปี
......................................................................................................................................................
2 2
2 1
ยังเหลือเห็ดหอมอีก 8 กิโลกรัม
...................................................................................................................................................... ขณะที่ปู่จะมีอ�ยุเป็น 3 เท่�ของอ�ยุของแก้ม
......................................................................................................................................................
5 4
7 2 = 119 1
แสดงว่� แม่ค้�ซื้อเห็ดหอมม� + 8
10
กิโลกรัม
...................................................................................................................................................... แสดงว่� อีก 4 ปีข้�งหน้� ปู่มีอ�ยุ 3 × 24 = 78 ปี
......................................................................................................................................................
2 5 4
แม่ค้�ซื้อเห็ดหอมกิโลกรัมละ 600 บ�ท
...................................................................................................................................................... ดังนั้น ปัจจุบันปู่มีอ�ยุ 78 − 4 = 74 ปี
......................................................................................................................................................
ดังนั้น แม่ค้�ซื้อเห็ดหอมเป็นเงิน 119 × 600 = 7,140 บ�ท
...................................................................................................................................................... ตอบ 74 ปี
......................................................................................................................................................
10
ตอบ 7,140 บ�ท
72 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 73
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 206 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 2 | เศษส่วน บทที่ 2 | เศษส่วน

แบบฝึกหัด 2.8
2 แม่ค้�ซื้อไข่ไก่ 150 แผง เป็นไข่ไก่เบอร์ 0 จำ�นวน 3 ของจำ�นวนไข่ไก่ที่ซื้อ
10
แสดงวิธีหาคำาตอบ 5
เป็นไข่ไก่เบอร์ 1 จำ�นวน ของจำ�นวนไข่ไก่ที่เหลือทั้งหมด แม่ค้�ซื้อไข่ไก่เบอร์ 1 กี่แผง
7
1 พ่อแบ่งที่ดินที่มีอยู่ปลูกไม้ผล 11 ของที่ดินทั้งหมด ปลูกพืชผักสวนครัว 1 ของที่ดินทั้งหมด
15 6
วิธีคิด
ที่ดินที่เหลือแบ่งให้ลูก 3 คน คนละเท่� ๆ กัน ลูกแต่ละคนได้รับที่ดินคิดเป็นเศษส่วนเท่�ใด

ของที่ดินทั้งหมด ไข่ไก่ 150 แผง


ตัวอย่�ง
ไข่ไก่ที่เหลือ
วิธีคิด
เบอร์ 0 เบอร์ 1
ที่ดินทั้งหมด
3 5
ของไข่ไก่ที่ซื้อ ของไข่ไก่ที่เหลือ
10 7

ปลูกไม้ผล 11 ของที่ดินทั้งหมด ปลูกพืชผัก แบ่งให้ลูก 3 คน เท่� ๆ กัน


15
สวนครัว
1
ของที่ดินทั้งหมด
6
วิธีทำา แม่ค้�ซื้อไข่ไก่ 150 แผง
.......................................................................................................................................................
11 ของที่ดินทั้งหมด เป็นไข่ไก่เบอร์ 0 จำ�นวน 3 ของจำ�นวนไข่ไก่ที่ซื้อ
วิธีทำา พ่อปลูกไม้ผล
...................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................
15 10
1 ของที่ดินทั้งหมด แสดงว่� แม่ค้�ซื้อไข่ไก่เบอร์ 0 3 × 150 = 45 แผง
ปลู ก พื ช ผั ก สวนครั ว
...................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................
6 10
แสดงว่� พ่อปลูกไม้ผลและพืชผักสวนครัว 11 + 1 = 27 ของที่ดินทั้งหมด
......................................................................................................................................................
ดังนั้น เหลือไข่ไก่ 150 − 45 = 105 แผง
.......................................................................................................................................................
15 6 30
เป็นไข่ไก่เบอร์ 1 จำ�นวน 5 ของจำ�นวนไข่ไก่ที่เหลือทั้งหมด
แสดงว่� ถ้�พ่อแบ่งที่ดินทั้งหมดเป็น 30 ส่วน
...................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................
7
5
ใช้ปลูกไม้ผลและพืชผักสวนครัว 27 ส่วน แสดงว่� เป็นไข่ไก่เบอร์ 1 × 105 = 75 แผง
.......................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................... 7
เหลือที่ดิน 30 − 27 = 3 ส่วน ซึ่งคิดเป็น 3 ของที่ดินทั้งหมด ดังนั้น แม่ค้�ซื้อไข่ไก่เบอร์ 1 75 แผง
.......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
30
แบ่งให้ลูกคนละเท่� ๆ กัน 3 คน ตอบ 75 แผง
.......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
3 1 ของที่ดินทั้งหมด .......................................................................................................................................................
ดังนั้น ลูกแต่ละคนได้รับที่ดิน ÷ 3 =
......................................................................................................................................................
30 30
ตอบ 1 ของที่ดินทั้งหมด
...................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................
30
...................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................

...................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................

...................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................

74 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 75
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 207 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 2 | เศษส่วน บทที่ 2 | เศษส่วน

3 โรงเรียนแห่งหนึ่งมีนักเรียน 2,400 คน เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษ� 1 ของจำ�นวน


3 4 แก้วขับรถจ�กบ้�นไปจังหวัดลำ�ป�งเป็นระยะท�ง 640 กิโลเมตร โดยช่วงแรกขับรถได้
2
นักเรียนทั้งหมด เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษ�ตอนต้น ของจำ�นวนนักเรียนทั้งหมด
5 ระยะท�ง 3 ของระยะท�งทั้งหมด ช่วงที่สองขับรถได้ระยะท�ง 1 ของระยะท�งทั้งหมด
8 2
และที่เหลือเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษ�ตอนปล�ย โรงเรียนแห่งนี้มีนักเรียนชั้นมัธยมศึกษ�
แก้วต้องขับรถอีกกี่กิโลเมตรจึงจะถึงจังหวัดลำ�ป�ง
ตัวอย่�ง
ตอนปล�ยกี่คน
วิธีคิด
ตัวอย่�ง
วิธีคิด
ระยะท�ง 640 กม.
นักเรียน 2,400 คน
ขับช่วงแรก ขับช่วงที่สอง
ประถม ม.ต้น ม.ปล�ย
3 1
ของระยะท�งทั้งหมด ของระยะท�งทั้งหมด ระยะท�งที่เหลือ
8 2
1 2
ของนักเรียนทั้งหมด ของนักเรียนทั้งหมด
3 5

วิธีทำา แก้วขับรถจ�กบ้�นไปจังหวัดลำ�ป�งเป็นระยะท�ง 640 กิโลเมตร


.......................................................................................................................................................
วิธีทำา โรงเรียนแห่งหนึ่งมีนักเรียน 2,400 คน
....................................................................................................................................................... ช่วงแรกขับรถได้ 3 ของระยะท�งทั้งหมด
.......................................................................................................................................................
8
เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษ� 1 ของนักเรียนทั้งหมด
....................................................................................................................................................... แสดงว่� ช่วงแรกขับรถได้ระยะท�ง 3 × 640 = 240 กิโลเมตร
.......................................................................................................................................................
3 8
แสดงว่� เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษ� 1 × 2,400 = 800 คน 1 ของระยะท�งทั้งหมด
.......................................................................................................................................................
3 ช่วงที่สองขับรถได้
.......................................................................................................................................................
2
เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษ�ตอนต้น 2 ของนักเรียนทั้งหมด
....................................................................................................................................................... แสดงว่ � ช่ ว งที ส
่ องขั บ รถได้ ร
้ ะยะท�ง 1 × 640 = 320 กิโลเมตร
.......................................................................................................................................................
5 2
แสดงว่� เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษ�ตอนต้น 2 × 2,400 = 960 คน
....................................................................................................................................................... แก้วขับรถ 2 ช่วง ได้ระยะท�ง 240 + 320 = 560 กิโลเมตร
.......................................................................................................................................................
5
รวมมี น ก
ั เรี ย นชั น
้ ประถมศึ ก ษ�และชั น
้ มั ธ ยมศึ ก ษ�ตอนต้ น 800 + 960 = 1,760 คน
....................................................................................................................................................... และเหลือระยะท�งที่ต้องขับอีก 640 − 560 = 80 กิโลเมตร
.......................................................................................................................................................
ดังนั้น โรงเรียนแห่งนี้มีนักเรียนชั้นมัธยมศึกษ�ตอนปล�ย 2,400 − 1,760 = 640 คน
....................................................................................................................................................... ดังนั้น แก้วต้องขับรถอีก 80 กิโลเมตร จึงจะถึงจังหวัดลำ�ป�ง
.......................................................................................................................................................
ตอบ 640 คน
....................................................................................................................................................... ตอบ 80 กิโลเมตร
.......................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................

76 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 77
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 208 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 2 | เศษส่วน บทที่ 2 | เศษส่วน

5 ถังเก็บน้ำ�ของบ้�นเป้ยมีน้ำ�อยู่ 1,728 ลิตร ช่วงเช้�ใช้น้ำ�ไป 5 ของน้ำ�ที่มีอยู่ 6 พ�ยซื้อคอมพิวเตอร์ร�ค� 21,000 บ�ท โดยงวดแรกชำ�ระ 2 ของร�ค�คอมพิวเตอร์
12 3
ช่วงบ่�ยใช้อีก 3 ของน้ำ�ที่เหลือ ช่วงบ่�ยใช้น้ำ�ไปกี่ลิตร 1
ส่วนที่เหลือชำ�ระงวดละ ของร�ค�ที่เหลือ พ�ยต้องชำ�ระส่วนที่เหลืองวดละกี่บ�ท
14 4

วิธีคิด วิธีคิด

น้ำ� 1,728 ล.
น้ำ�ที่เหลือ ร�ค�คอมพิวเตอร์ 21,000 บ�ท

ช่วงเช้� ช่วงบ่�ย ชำ�ระงวดแรก ร�ค�ที่เหลือ

5 3 2 1
ใช้ไป ของน้ำ�ที่มีอยู่ ใช้ไป ของน้ำ�ที่เหลือ ของร�ค�คอมพิวเตอร์ ชำ�ระงวดละ ของร�ค�ที่เหลือ
12 14 3 4

วิธีทำา มีน้ำ� 1,728 ลิตร วิธีทำา พ�ยซื้อคอมพิวเตอร์ร�ค� 21,000 บ�ท


.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
5 ของน้ำ�ที่มีอยู่ งวดแรกชำ�ระ 2 ของร�ค�คอมพิวเตอร์
ช่วงเช้�ใช้น้ำ�
....................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................
12 3
5 × 1,728 = 720 ลิตร แสดงว่� งวดแรกชำ�ระ 2 × 21,000 = 14,000 บ�ท
แสดงว่� ช่วงเช้�ใช้น้ำ�ไป
....................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................
12 3
และเหลือน้ำ�ในถัง 1,728 − 720 = 1,008 ลิตร และเหลือเงินที่ต้องชำ�ระอีก 21,000 − 14,000 = 7,000 บ�ท
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
ซึ่งชำ�ระงวดละ 1 ของร�ค�ที่เหลือ
ช่วงบ่�ยใช้อีก 3 ของน้ำ�ที่เหลือ
....................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................
4
14
ดังนั้น ช่วงบ่�ยเป้ยใช้น้ำ�ไป 3 × 1,008 = 216 ลิตร แสดงว่� ต้องชำ�ระส่วนที่เหลืองวดละ 1 × 7,000 = 1,750 บ�ท
.......................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................... 4
14
ตอบ 216 ลิ ต ร ดั ง นั น
้ พ�ยต้ อ งชำ � ระส่ ว นที เ
่ หลื อ งวดละ 1,750 บ�ท
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
ตอบ 1,750 บ�ท
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................

....................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................

....................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................

....................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................

....................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................

78 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 79
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 209 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 2 | เศษส่วน บทที่ 2 | เศษส่วน

แบบฝึกหัด 2.9
3 นุชใช้น้ำ�ปล�ปรุงอ�ห�รไป 2 ของน้ำ�ปล�ที่มีอยู่ ซึ่งคิดเป็น 54 มิลลิลิตร
แสดงวิธีหาคำาตอบ 25
นุชเหลือน้ำ�ปล�กี่มิลลิลิตร
1 โรงเรียนแห่งหนึ่งมีนักเรียนหญิง 4 ของนักเรียนทั้งหมด ซึ่งคิดเป็น 728 คน
9 น้ำ�ปล�ที่มีอยู่
วิธีคิด
โรงเรียนนี้มีนักเรียนทั้งหมดกี่คน
54 มล.
นักเรียนทั้งหมด
วิธีคิด 2
ใช้ไป ของที่มี น้ำ�ปล�ที่เหลือ
25

4
ของนักเรียนทั้งหมดเป็นหญิง คิดเป็น 728 คน วิธีทำา 1 มีน้ำ�ปล� 25 ใช้ไป 2 ของน้ำ�ปล�ที่มีอยู่ คิดเป็น 54 มิลลิลิตร
......................................................................................................................................................
9 25 25
25 2 = 23
ธีทำา โรงเรียนแห่งหนึ่งมีนักเรียนหญิง 4 ของนักเรียนทั้งหมด ซึ่งคิดเป็น 728 คน
วิ...................................................................................................................................................... ดั ง นั น
้ เหลื อ น้ �
ำ ปล�
25 25

25
ของน้ำ�ปล�ที่มีอยู่
......................................................................................................................................................
9
แสดงว่ � นั ก เรี ย น 4 ส่ ว น คิ ดเป็น 728 คน แสดงว่� น้ำ�ปล� 2 ส่วน คิดเป็น 54 มิลลิลิตร
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
728 คน น้ำ�ปล� 1 ส่วน คิดเป็น 54 มิลลิลิตร
นักเรียน 1 ส่วน คิดเป็น
...................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................
4 2
น้ �
ำ ปล� 23 ส่ ว น คิ ด เป็ น 23 × 54 = 621 มิลลิลิตร
นั ก เรี ย น 9 ส่ ว น คิ ด เป็ น 9 × 728 = 1,638 คน ......................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................... 2
4
ดั ง นั น
้ โรงเรี ย นนี ม
้ น
ี ก
ั เรี ย นทั ง
้ หมด 1,638 คน ดังนั้น นุชเหลือน้ำ�ปล� 621 มิลลิลิตร
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
ตอบ 621 มิลลิลิตร
ตอบ 1,638 คน
......................................................................................................................................................

4 ป้�นวลข�ยน้ำ�ดื่มไป 7 ของจำ�นวนน้ำ�ดื่มที่มีอยู่ แล้วยังเหลือน้ำ�ดื่มอีก 105 ขวด


2 ในแต่ละเดือนพ่อแบ่งเงินเป็นค่�ใช้จ่�ยในบ้�น 37,500 บ�ท ซึ่งคิดเป็น 3 ของเงินเดือนที่ได้รับ 10
5
ป้�นวลข�ยน้ำ�ดื่มไปแล้วกี่ขวด
พ่อได้รับเงินเดือนเดือนละเท่�ใด
เงินเดือนของพ่อ วิธีคิด น้ำ�ดื่มที่มีอยู่
วิธีคิด
7
ของน้ำ�ดื่มที่มี 105 ขวด
10
3 ข�ย เหลือ
ค่�ใช้จ่�ยในบ้�น 37,500 บ�ท คิดเป็น ของเงินเดือน
5
วิธีทำา 1 มีจำ�นวนน้ำ�ดื่มอยู่ 10 ป้�นวลข�ยน้ำ�ดื่มไป 7 ของจำ�นวนน้ำ�ดื่มที่มีอยู่
......................................................................................................................................................
ธีทำา ในแต่ละเดือนพ่อแบ่งเงินเป็นค่�ใช้จ่�ยในบ้�น 37,500 บ�ท ซึ่งคิดเป็น 3 ของเงินเดือนที่ได้รับ
วิ...................................................................................................................................................... 10 10
5 10 7 3
ดังนั้น เหลือน้ำ�ดื่ม − = ของจำ�นวนน้ำ�ดื่มที่มีอยู่ ซึ่งเท่�กับ 105 ขวด
......................................................................................................................................................
แสดงว่� เงินเดือน 3 ส่วน คิดเป็น 37,500 บ�ท
...................................................................................................................................................... 10 10 10
37500 บ�ท แสดงว่� น้ำ�ดื่ม 3 ส่วน คิดเป็น 105 ขวด
......................................................................................................................................................
เงินเดือน 1 ส่วน คิดเป็น
......................................................................................................................................................
3 105 ขวด
น้ำ�ดื่ม 1 ส่วน คิดเป็น
......................................................................................................................................................
เงินเดือน 5 ส่วน คิดเป็น 5 × 37500 = 62,500 บ�ท
...................................................................................................................................................... 3
3 105
น้ำ�ดื่ม 7 ส่วน คิดเป็น 7 × = 245 ขวด
......................................................................................................................................................
ดังนั้น พ่อได้รับเงินเดือนเดือนละ 62,500 บ�ท
...................................................................................................................................................... 3
ดังนั้น ป้�นวลข�ยน้ำ�ดื่มไปแล้ว 245 ขวด
......................................................................................................................................................
ตอบ 62,500 บ�ท
......................................................................................................................................................
ตอบ 245 ขวด
80 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 81
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 210
บทที่ 2 | เศษส่วน

เฉลยหน้า 81

2
3 วิธีทำ� 2 ใช้น้ำาปลาไป ของน้ำาปลาที่มีอยู่
25
หมายความว่า ถ้ามีน้ำาปลาทั้งหมด 25 ส่วน ใช้ไป 2 ส่วน
จะได้ว่า น้ำาปลา 2 ส่วน คิดเป็น 54 มิลลิลิตร

น้ำาปลา 1 ส่วน คิดเป็น 54 มิลลิลิตร


2
54 = 675 มิลลิลิตร
น้ำาปลา 25 ส่วน คิดเป็น 25 ×
2
แสดงว่า มีน้ำาปลาทั้งหมด 675 มิลลิลิตร
ใช้ไป 54 มิลลิลิตร
ดังนั้น นุชเหลือน้ำาปลา 675 − 54 = 621 มิลลิลิตร
ตอบ 621 มิลลิลิตร

7
4 วิธีทำ� 2 ขายน้ำาดื่มไป ของน้ำาดื่มที่มีอยู่
10
หมายความว่า ถ้ามีน้ำาดื่มอยู่ 10 ส่วน ขายไป 7 ส่วน เหลือน้ำาดื่ม 10 − 7 = 3 ส่วน
จะได้ว่า น้ำาดื่ม 3 ส่วน คิดเป็น 105 ขวด

น้ำาดื่ม 1 ส่วน คิดเป็น 105 ขวด


3
คิดเป็น 7 × 105 = 245 ขวด
น้ำาดื่ม 7 ส่วน
3
ดังนั้น ป้านวลขายน้ำาดื่มไปแล้ว 245 ขวด
ตอบ 245 ขวด
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 211 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 2 | เศษส่วน บทที่ 2 | เศษส่วน

เฉลยหน้า 82
5 ปีนี้พร�วมีอ�ยุเป็น 4 ของอ�ยุแม่ ถ้�ปีนี้พร�วอ�ยุ 28 ปี แม่มีอ�ยุม�กกว่�พร�วกี่ปี
7
ตัวอย่�ง 9
วิธีคิด 6 วิธีทำ� 2 ใช้เลี้ยงสัตว์ของที่ดินที่มี
20
อ�ยุของแม่
หมายความว่า ถ้ามีที่ดิน 20 ส่วน ใช้เลี้ยงสัตว์ 9 ส่วน
อ�ยุของพร�ว 28 ปี อ�ยุของแม่ที่ม�กกว่�พร�ว เหลือที่ดินใช้ปลูกพืชผักสวนครัว 20 − 9 = 11 ส่วน

วิธีทำา พร�วมีอ�ยุเป็น 4 ของอ�ยุของแม่ จะได้ว่า ที่ดิน 11 ส่วน คิดเป็น 550 ตารางวา


......................................................................................................................................................
7
ที่ดิน 1 ส่วน คิดเป็น 550 ตารางวา
หม�ยคว�มว่� ถ้�แบ่งอ�ยุของแม่เป็น 7 ส่วน อ�ยุของพร�วจะเท่�กับ
...................................................................................................................................................... 11
550 = 450 ตารางวา
4 ส่วนของอ�ยุของแม่ จะได้ว่� แม่มีอ�ยุม�กกว่�พร�ว 3 ส่วน
...................................................................................................................................................... ที่ดิน 9 ส่วน คิดเป็น 9 ×
11
จะได้ว่� อ�ยุ 4 ส่วน คิดเป็น 28 ปี
...................................................................................................................................................... แสดงว่า แพรมีพื้นที่เลี้ยงสัตว์ 450 ตารางวา
อ�ยุ 1 ส่วน คิดเป็น 28 ปี ดังนั้น พื้นที่ปลูกพืชผักสวนครัวมากกว่าพื้นที่เลี้ยงสัตว์ 550 − 450 = 100 ตารางวา
......................................................................................................................................................
4
28 = 21 ปี ตอบ 100 ตารางวา
อ�ยุ 3 ส่ ว น คิ ด เป็ น 3 ×
......................................................................................................................................................
4
ดังนั้น แม่มีอ�ยุม�กกว่�พร�ว 21 ปี
......................................................................................................................................................
ตอบ 21 ปี

6 แพรมีที่ดินแปลงหนึ่ง แบ่งที่ดินสำ�หรับเลี้ยงสัตว์ 9 ของที่ดินที่มีอยู่ เหลือที่ดินอีก


20
550 ต�ร�งว� ใช้สำ�หรับปลูกพืชผักสวนครัว พื้นที่ที่ปลูกพืชผักสวนครัวม�กกว่�

พื้นที่ที่เลี้ยงสัตว์เท่�ใด
ที่ดินที่มี
วิธีคิด
9
ของที่ดินที่มี 550 ตร.ว.
20

เลี้ยงสัตว์ ปลูกพืชผักสวนครัว
ธีทำา 1 แพรมีที่ดิน 20 แบ่งที่ดินสำ�หรับเลี้ยงสัตว์ 9 ของที่ดินที่มีอยู่
วิ......................................................................................................................................................
20 20
ดังนั้น เหลือที่ดินสำ�หรับปลูกพืชผักสวนครัว 20 − 9 = 11 ของที่ดินที่มีอยู่
......................................................................................................................................................
20 20 20
ซึ่งเท่�กับ 550 ต�ร�งว�
......................................................................................................................................................
จะได้ว่� ที่ดิน 11 ส่วน คิดเป็น 550 ต�ร�งว�
......................................................................................................................................................
ที่ดิน 1 ส่วน คิดเป็น 550 ต�ร�งว�
......................................................................................................................................................
11
ที่ดิน 9 ส่วน คิดเป็น 9 × 550 = 450 ต�ร�งว�
......................................................................................................................................................
11
แสดงว่� แบ่งที่ดินสำ�หรับเลี้ยงสัตว์ 450 ต�ร�งว�
......................................................................................................................................................
ดังนั้น พื้นที่ที่ปลูกพืชผักสวนครัวม�กกว่�พ้ืนที่ที่เลี้ยงสัตว์ 550 − 450 = 100 ต�ร�งว�
ตอบ 100 ต�ร�งว�
82 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
212 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 2 | เศษส่วน บทที่ 2 | เศษส่วน

เฉลยหน้า 83
แบบฝึกหัด 2.10

แสดงวิธีหาคำาตอบ 1 วิธีทำ� 2 ครั้งแรกลุงชัยขายส้มโอได้ 5 ของส้มโอที่เก็บได้ทั้งหมด


9
ครั้งที่สองขายได้อีก 4 ของส้มโอที่เก็บได้ทั้งหมด
15
1 ครั้งแรกลุงชัยข�ยส้มโอ 5 ของส้มโอที่เก็บได้ทั้งหมด ครั้งที่สองข�ยได้อีก 5 4 37 ของส้มโอที่เก็บได้ทั้งหมด
9 รวมลุงชัยขายส้มโอได้ + =
4 ของส้มโอที่เก็บได้ทั้งหมด ยังเหลือส้มโออยู่อีก 40 ผล ลุงชัยเก็บส้มโอได้ทั้งหมดกี่ผล 9 15 45
15
ลุงชัยขายส้มโอได้ 37 ของส้มโอที่เก็บได้ทั้งหมด หมายความว่า
45
ถ้าลุงชัยเก็บส้มโอได้ 45 ส่วน ขายไป 37 ส่วน จะเหลือส้มโอ 45 − 37 = 8 ส่วน
วิธีคิด
แสดงว่า ส้มโอ 8 ส่วน คิดเป็น 40 ผล
ส้มโอที่เก็บได้ทั้งหมด 40 ผล
ส้มโอ 1 ส่วน คิดเป็น
5 4 8
ของส้มโอที่เก็บได้ ของส้มโอที่เก็บได้ 40 ผล 40
9 15 ส้มโอ 45 ส่วน คิดเป็น 45 × = 225 ผล
8
ข�ยครั้งแรก ข�ยครั้งที่สอง เหลือ ดังนั้น ลุงชัยเก็บส้มโอได้ทั้งหมด 225 ผล

ตอบ 225 ผล

วิธีทำา 1 ครั้งแรกลุงชัยข�ยส้มโอได้ 5 ของส้มโอที่เก็บได้ทั้งหมด


......................................................................................................................................................
9
ครั้งที่สองข�ยได้อีก 4 ของส้มโอที่เก็บได้ทั้งหมด
......................................................................................................................................................
15
รวม 2 ครั้ง ลุงชัยข�ยส้มโอได้ 5 + 4 = 37 ของส้มโอที่เก็บได้ทั้งหมด
......................................................................................................................................................
9 15 45
แสดงว่� ลุงชัยเก็บส้มโอได้ 45
......................................................................................................................................................
45
และเหลือส้มโอ 45 − 37 = 8 ของส้มโอที่เก็บได้ทั้งหมด ซึ่งเท่�กับ 40 ผล
......................................................................................................................................................
45 45 45
จะได้ว่� ส้มโอ 8 ส่วน คิดเป็น 40 ผล
......................................................................................................................................................

ส้มโอ 1 ส่วน คิดเป็น 40 ผล


......................................................................................................................................................
8
ส้มโอ 45 ส่วน คิดเป็น 45 × 40 = 225 ผล
......................................................................................................................................................
8
ดังนั้น ลุงชัยเก็บส้มโอได้ทั้งหมด 225 ผล
......................................................................................................................................................
ตอบ 225 ผล
......................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 83
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 213 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 2 | เศษส่วน บทที่ 2 | เศษส่วน

เฉลยหน้า 84
2 ในก�รแข่งขันมวยไทยครั้งหนึ่ง มีผู้เข้�ชมที่เป็นช�ยไทย 7 ของผู้เข้�ชมทั้งหมด
9
1 2 วิธีทำ� 2 ผู้เข้าชมเป็นชายไทย 7
เป็นหญิงไทย ของผู้เข้�ชมทั้งหมด ผู้ชมที่เหลือเป็นช�วต่�งช�ติ 250 คน ของผู้เข้าชมทั้งหมด
6 9
เป็นหญิงไทย 1 ของผูเ้ ข้าชมทั้งหมด
ในก�รแข่งขันครั้งนี้มีผู้เข้�ชมทั้งหมดกี่คน 6
รวมผู้เข้าชมที่เป็นชาวไทย 7 1 17 ของผูเ้ ข้าชมทั้งหมด
+ =
9 6 18
วิธีคิด มีผู้เข้าชมที่เป็นชาวไทย 17 ของผู้เข้าชมทั้งหมด หมายความว่า
18
ถ้ามีผู้เข้าชมทั้งหมด 18 ส่วน เป็นชาวไทย 17 ส่วน
ผู้เข้�ชมทั้งหมด ที่เหลือเป็นชาวต่างชาติ 18 − 17 = 1 ส่วน
7 1 แสดงว่า ผู้เข้าชม 1 ส่วน คิดเป็น 250 คน
ของทั้งหมด ของทั้งหมด 250 คน
9 6
ผู้เข้าชม 18 ส่วน คิดเป็น 18 × 250 = 4,500 คน
ช�ยไทย หญิงไทย ช�วต่�งช�ติ
ดังนั้น ในการแข่งขันครั้งนี้มีผู้เข้าชมทั้งหมด 4,500 คน

ตอบ 4,500 คน

วิธีทำา 1 ในก�รแข่งขันมวยไทย มีผู้เข้�ชมเป็นช�ยไทย 7 ของผู้เข้�ชมทั้งหมด


.......................................................................................................................................................
9
เป็ น หญิ ง ไทย 1 ของผู้เข้�ชมทั้งหมด
.......................................................................................................................................................
6
รวมผู เ
้ ข้ � ชมที เ
่ ป็นช�วไทย 7 + 1 = 17 ของผู้เข้�ชมทั้งหมด
.......................................................................................................................................................
9 6 18
แสดงว่ � มี ผ เ
้ ู ข้ � ชมทั ง
้ หมด 18
.......................................................................................................................................................
18
เป็ น ช�วต่ � งช�ติ 18 17 = 1 ของผู้เข้�ชมทั้งหมด ซึ่งเท่�กับ 250 คน

.......................................................................................................................................................
18 18 18
จะได้ ว �
่ ผู เ
้ ข้ � ชม 1 ส่ ว น คิ ด เป็ น 250 คน
.......................................................................................................................................................

ผู้เข้�ชม 18 ส่วน คิดเป็น 18 × 250 = 4,500 คน


.......................................................................................................................................................
ดังนั้น ในก�รแข่งขันครั้งนี้มีผู้เข้�ชมทั้งหมด 4,500 คน
.......................................................................................................................................................
ตอบ 4,500 คน
.......................................................................................................................................................

.......................................................................................................................................................

.......................................................................................................................................................

84 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
214 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 2 | เศษส่วน บทที่ 2 | เศษส่วน

เฉลยหน้า 85
3 แม่ซื้อผัก 1 ของเงินที่มีอยู่ ซื้อเนื้อสัตว์ 1 ของเงินที่มีอยู่ แล้วนำ�เงินที่เหลือทั้งหมดอีก 180 บ�ท
5 2
3 วิธีทำ� 2 แม่ซื้อผัก 1 ของเงินที่มีอยู่
ไปซื้อผลไม้ แม่ซื้อของทั้งหมดเป็นเงินเท่�ใด 5
ซื้อเนื้อสัตว์ 1 ของเงินที่มีอยู่
2
วิธีคิด แม่ซื้อผักและเนื้อสัตว์คิดเป็น 1 + 1 = 7 ของเงินทีม ่ ีอยู่
5 2 10
ซื้อผักและเนื้อสัตว์ 7 ของเงินที่มีอยู่ หมายความว่า
10
เงินที่แม่ซื้อของทั้งหมด ถ้าแม่มีเงิน 10 ส่วน ซื้อผักและเนื้อสัตว์ 7 ส่วน เหลือเงินซื้อผลไม้ 10 − 7 = 3 ส่วน
1 1
ของเงินที่มี ของเงินที่มี 180 บ�ท แสดงว่า เงิน 3 ส่วน คิดเป็น 180 บาท
5 2
เงิน 1 ส่วน คิดเป็น 180 บาท
ซื้อผัก ซื้อเนื้อสัตว์ ซื้อผลไม้ 3
เงิน 10 ส่วน คิดเป็น 10 × 180 = 600 บาท
3
ดังนั้น แม่ซื้อของทั้งหมดเป็นเงิน 600 บาท

ตอบ 600 บาท

1 ของเงินที่มีอยู่
วิ.......................................................................................................................................................
ธีทำา 1 แม่ซื้อผัก
5
ซื อ
้ เนื อ
้ สั ต ว์ 1 ของเงินที่มีอยู่
.......................................................................................................................................................
2
แม่ ซ อ
้ ื ผั ก และเนื อ
้ สั ต ว์ ค ด
ิ เป็ น 1 1 = 7 ของเงินที่มีอยู่
+
.......................................................................................................................................................
5 2 10
แสดงว่ � แม่ ม เ
ี งิ น อยู ่ 10
.......................................................................................................................................................
10
และเหลื อ เงิ น ซื อ
้ ผลไม้ 10 7 = 3 ของเงินที่มีอยู่ ซึ่งเท่�กับ 180 บ�ท

.......................................................................................................................................................
10 10 10
จะได้ ว �
่ เงิ น 3 ส่ ว น คิ ด เป็ น 180 บ�ท
.......................................................................................................................................................

เงิน 1 ส่วน คิดเป็น 180 บ�ท


.......................................................................................................................................................
3
เงิ น 10 ส่ ว น คิ ด เป็ น 10 × 180 = 600 บ�ท
.......................................................................................................................................................
3
ดังนั้น แม่ซื้อของทั้งหมดเป็นเงิน 600 บ�ท
.......................................................................................................................................................
ตอบ 600 บ�ท
.......................................................................................................................................................

.......................................................................................................................................................

.......................................................................................................................................................

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 85
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 215 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 2 | เศษส่วน บทที่ 2 | เศษส่วน

เฉลยหน้า 86
4 เอิงได้รับเงินโบนัสม�จำ�นวนหนึ่ง แบ่งให้พ่อ 2 ของเงินโบนัสที่ได้รับ และแบ่งให้แม่
7
1 ของเงินโบนัสที่ได้รับ เอิงยังเหลือเงินอีก 5,600 บ�ท เอิงได้รับเงินโบนัสเท่�ใด 4 วิธีทำ� 2 เอิงแบ่งเงินให้พ่อ 2 ของเงินโบนัสที่ได้รับ
3 7
ให้แม่ 1 ของเงินโบนัสที่ได้รับ
3
วิธีคิด
เอิงแบ่งเงินโบนัสให้พ่อและแม่ 2 + 1 = 13 ของเงินโบนัสที่ได้รับ
7 3 21
ให้พ่อและแม่ 13 ของเงินโบนัสที่ได้รับ หมายความว่า
21
เงินโบนัสทั้งหมด ถ้าเอิงได้รับเงินโบนัส 21 ส่วน ให้พ่อและแม่ 13 ส่วน
2 1
ของเงินโบนัส ของเงินโบนัส 5,600 บ�ท เอิงเหลือเงินโบนัส 21 − 13 = 8 ส่วน
7 3
จะได้ว่า เงิน 8 ส่วน คิดเป็น 5,600 บาท
ให้พ่อ ให้แม่ เหลือ
เงิน 1 ส่วน คิดเป็น 5600 บาท
8
เงิน 21 ส่วน คิดเป็น 21 × 5600 = 14,700 บาท
8
ดังนั้น เอิงได้รับเงินโบนัส 14,700 บาท

2 ของเงินโบนัสที่ได้รับ ตอบ 14,700 บาท


วิธีทำา 1 เอิงแบ่งเงินให้พ่อ
.......................................................................................................................................................
7
ให้ แ ม่ 1 ของเงินโบนัสที่ได้รับ
.......................................................................................................................................................
3
เอิงแบ่งเงินโบนัสให้พ่อและแม่ 2 1 = 13 ของเงินโบนัสที่ได้รับ
+
.......................................................................................................................................................
7 3 21
แสดงว่� เอิงได้รับเงินโบนัส 21 เมื่อแบ่งให้พ่อและแม่แล้ว
.......................................................................................................................................................
21
ยั ง เหลื อ อี ก 21 13 = 8 ของเงินโบนัสที่ได้รับ ซึ่งเท่�กับ 5,600 บ�ท

.......................................................................................................................................................
21 21 21
จะได้ ว �
่ เงิ น 8 ส่ ว น คิดเป็น 5,600 บ�ท
.......................................................................................................................................................

เงิน 1 ส่วน คิดเป็น 5600 บ�ท


.......................................................................................................................................................
8
เงิ น 21 ส่ ว น คิ ด เป็ น 5600 = 14,700 บ�ท
21 ×
.......................................................................................................................................................
8
ดั ง นั น
้ เอิ ง ได้ ร บ
ั เงิ น โบนั ส 14,700 บ�ท
.......................................................................................................................................................
ตอบ 14,700 บ�ท
.......................................................................................................................................................

.......................................................................................................................................................

.......................................................................................................................................................

86 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
216 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 2 | เศษส่วน บทที่ 2 | เศษส่วน

เฉลยหน้า 87
5 ตั้มต้องก�รซื้อจักรย�น ซึ่งตั้มมีเงินออมอยู่ 4 ของร�ค�จักรย�น พ่อให้อีก 5 ของร�ค�จักรย�น
9 12 4 ของราคาจักรยาน
5 วิธีทำ� 2 ตั้มมีเงินออมอยู่
ยังข�ดเงินอีก 375 บ�ท จึงจะซื้อจักรย�นคันนี้ได้พอดี จักรย�นคันนี้ร�ค�กี่บ�ท 9
พ่อให้อีก 5 ของราคาจักรยาน
12
วิธีคิด
ตั้มมีเงินทั้งหมด 4 + 5 = 31 ของราคาจักรยาน
9 12 36
ตั้มมีเงิน 31 ของราคาจักรยาน หมายความว่า
36
ร�ค�จักรย�น
ถ้าราคาจักรยาน 36 ส่วน ตั้มมี 31 ส่วน ยังขาดเงินอีก 36 − 31 = 5 ส่วน
4 5
ของร�ค�จักรย�น ของร�ค�จักรย�น 375 บ�ท
9 12 จะได้ว่า เงิน 5 ส่วน คิดเป็น 375 บาท
เงินออม พ่อให้ ส่วนที่ยังข�ด 375 บาท
เงิน 1 ส่วน คิดเป็น
5
เงิน 36 ส่วน คิดเป็น 36 × 375 = 2,700 บาท
5
ดังนั้น จักรยานคันนี้ราคา 2,700 บาท

ตอบ 2,700 บาท


4 ของร�ค�จักรย�น
วิ.......................................................................................................................................................
ธีทำา 1 ตั้มมีเงินออมอยู่
9
พ่ อ ให้ อ ก
ี 5 ของร�ค�จักรย�น
.......................................................................................................................................................
12
ตั ม
้ มี เ งิ น ทั ง
้ หมด 4 5 = 31 ของร�ค�จักรย�น
+
.......................................................................................................................................................
9 12 36
แสดงว่ � ร�ค�จั ก รย�นคิ ด เป็ น 36
.......................................................................................................................................................
36
ตั ม
้ ยั ง ข�ดเงิ น อยู อ
่ ก
ี 36 31 = 5 ของร�ค�จักรย�น ซึ่งเท่�กับ 375 บ�ท

.......................................................................................................................................................
36 36 36
จะได้ ว �
่ เงิ น 5 ส่ ว น คิ ด เป็ น 375 บ�ท
.......................................................................................................................................................

เงิน 1 ส่วน คิดเป็น 375 บ�ท


.......................................................................................................................................................
5
เงิ น 36 ส่ ว น คิ ด เป็ น 375 = 2,700 บ�ท
36 ×
.......................................................................................................................................................
5
ดังนั้น จักรย�นคันนี้ร�ค� 2,700 บ�ท
.......................................................................................................................................................
ตอบ 2,700 บ�ท
.......................................................................................................................................................

.......................................................................................................................................................

.......................................................................................................................................................

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 87
217 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 3 | ทศนิยม

แบบฝึกหัด 4 แสดงวิธีห�ผลลัพธ์
บทที่ 3 ทศนิยม
3 1 1
1) × 15 2) ÷
10 4 32
แบบฝึกหัด 3.1 3
วิธีทำา 3 × 15 = 3 × 15
....................................................................... วิธีทำา 1 ÷ 1 = 1 × 32
.......................................................................
1 เขียนในรูปทศนิยม 10 10 4 32 4 1
2
....................................................................... .......................................................................
8
9 203 9
....................................................................... 1 32
.......................................................................
1) 0.9
= ............................................. 2) 2.03
= .............................................. = = ×
10 100 2 41 1
1
....................................................................... .......................................................................
61 7542 = 4 = 8
3) 0.061
= ............................................. 4) 7.542
= .............................................. 2
1000 1000 ดังนั้น 3 × 15 = 4 1
....................................................................... ดังนั้น 1 ÷ 1 = 8
.......................................................................
12 7 10 2 4 32
5) 0.48
= ............................................. 6) 0.875
= .............................................. ตอบ 4 1
....................................................................... ตอบ ๘
.......................................................................
25 8
2
35 457
7) 8.75
= ............................................. 8) 3.656
= ..............................................
4 125 3) 0.3 ÷ 2 4) 9.51 ÷ 3
0.15 3.17
2 เขียนในรูปเศษส่วน วิธีทำา 2 0.30
....................................................................... วิธีทำา 3 9.51
.......................................................................
9
0.2
....................................................................... 0.5
.......................................................................
1) 0.4 4
= ............................................. 2) 1.6 16
= ................................................. 0.3
10 10 0.10
....................................................................... 0.21
.......................................................................
92 305 0.21
3) 0.92 = ............................................. 4) 3.05 = ................................................. 0.10
....................................................................... 0
.......................................................................
100 100
71
5) 0.071 = ............................................. 8469
6) 8.469 = ................................................. 0
....................................................................... ดังนั้น 9.51 ÷ 3 = 3.17
.......................................................................
1000 1000
ดังนั้น 0.3 ÷ 2 = 0.15
....................................................................... ตอบ ๓.๑๗
.......................................................................
555
7) 5.55 = ............................................. 1002
8) 1.002 = ................................................. ตอบ ๐.๑๕
100 1000
5) 7.015 ÷ 5 1.403 6) 0.6 ÷ 12 0.05
3 เติมตัวเลขแสดงจำ�นวนใน
วิธีทำา 5 7.015
....................................................................... วิธีทำา 12 0.60
.......................................................................
5
1) 12.5 × 10 = 125 2) 0.03 × 100 = 3 2.0
....................................................................... 0.60
.......................................................................
2.0
3) 0.66 × 100 = 66 4) 0.9 × 10 = 9 0.015
....................................................................... 0
.......................................................................
0.015
0
....................................................................... ดังนั้น 0.6 ÷ 12 = 0.05
.......................................................................
5) 8.002 × 1,000 = 8,002 6) 0.005 × 1,000 = 5
ดังนั้น 7.015 ÷ 5 = 1.403
....................................................................... ตอบ ๐.๐๕
.......................................................................
7) 3.05 × 100 = 305 8) 100 × 4.61 = 461
ตอบ ๑.๔๐๓
....................................................................... .......................................................................
9) 0.79 × 100 = 79 10) 1,000 × 0.028 = 28

88 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 89
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 218 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 3 | ทศนิยม บทที่ 3 | ทศนิยม
ข้อ 7) - 12) เป็นตัวอย่�งก�รแสดงวิธีทำ� เพร�ะอ�จแสดงในแนวนอนก็ได้

5 แสดงวิธีห�ผลลัพธ์
7) 0.75 + 0.068 − 0.2 8) 9 − (4.006 − 0.813)
วิธีทำา
....................................................................... วิธีทำา
....................................................................... 1) ฟ้�ซื้อไข่ไก่ 1 แผง ร�ค� 118.50 บ�ท ถ้�ไข่ไก่ 1 แผง มี 30 ฟอง
.......................................................................
ขั้นที่ 1 0.75 + 0.068 ขั้นที่ 2 0.818 − 0.2 ขั้นที่ 1 4.006 − 0.813 ขั้นที่ 2 9 − 3.193
....................................................................... ไข่ไก่ร�ค�ฟองละกี่บ�ท

.......................................................................
0.7 5 0
+
0.8 1 8

.......................................................................
4.0 0 6

9.0 0 0

วิธีทำา ไข่ไก่ 1 แผง ร�ค� 118.50 บ�ท
....................................................................................................................................................
0.0 6 8 0.2 0 0 0.8 1 3 3.1 9 3
0.8 1 8 0.6 1 8
....................................................................... 3.1 9 3 5.8 0 7
....................................................................... ไข่ไก่ 1 แผง มี 30 ฟอง
....................................................................................................................................................
.......................................................................
ดังนั้น 0.75 + 0.068 − 0.2 = 0.618 .......................................................................
ดั งนั้น 9 − (4.006 − 0.813) = 5.807
ดังนั้น ไข่ไก่ร�ค�ฟองละ 118.50 ÷ 30 = 3.95 บ�ท
....................................................................................................................................................
.......................................................................
ตอบ ๐.๖๑๘ .......................................................................
ตอบ ๕.๘๐๗
ตอบ ๓.๙๕ บ�ท
....................................................................................................................................................

....................................................................................................................................................

9) 2.082 + 3.4 × 7.06 10) 12 ÷ 8 − 0.753 ....................................................................................................................................................


วิธีทำา
....................................................................... วิธีทำา
....................................................................... ....................................................................................................................................................
ขั้นที่ 1 3.4 × 7.06 ขั้นที่ 2 2.082 + 24.004
....................................................................... ขั้นที่ 2 1.5 − 0.753
.......................................................................
ขั้นที่ 1 12 ÷ 8
1.5
.......................................................................
7.0 6 2.0 8 2 8 12.0
.......................................................................
1.5 0 0
3.4 × 2 4.0 0 4 + 8 0.7 5 3 −
2) ถ้�ไร่มันสำ�ปะหลัง 1 ไร่ ให้ผลผลิตเฉลี่ย 5.5 เมตริกตัน ปลื้มทำ�ไร่มันสำ�ปะหลัง 6 ไร่
2.824 2 6.0 8 6
....................................................................... 0.7 4 7
.......................................................................
4.0
21.180 4.0 และนำ�ไปข�ยทั้งหมดเมตริกตันละ 2,700 บ�ท ปลื้มจะได้รับเงินกี่บ�ท
24.004
....................................................................... 0
.......................................................................

.......................................................................
ดังนั้น 2.082 + 3.4 × 7.06 = 26.086 .......................................................................
ดังนั้น 12 ÷ 8 − 0.753 = 0.747 วิธีทำา ไร่มันสำ�ปะหลัง 1 ไร่ ให้ผลผลิตเฉลี่ย 5.5 เมตริกตัน
....................................................................................................................................................
ตอบ ๒๖.๐๘๖ ตอบ ๐.๗๔๗
ปลื้มทำ�ไร่มันสำ�ปะหลัง 6 ไร่
....................................................................................................................................................

11) 5.81 ÷ 7 × 400 12) 8 × 1.9 ÷ 2 ปลื้มมีผลผลิตมันสำ�ปะหลัง 6 × 5.5 = 33 เมตริกตัน


....................................................................................................................................................
วิ.......................................................................
ธีทำา .......................................................................
วิธีทำา นำ�ไปข�ยเมตริกตันละ 2,700 บ�ท
....................................................................................................................................................
ขั.......................................................................
้นที่ 1 5.81 ÷ 7 ขั้นที่ 2 0.83 × 400 ขั้นที่ 1 8 × 1.9
.......................................................................
ขั้นที่ 2 15.2 ÷ 2
ดังนั้น ปลื้มจะได้รับเงิน 33 × 2,700 = 89,100 บ�ท
....................................................................................................................................................
0.83
7 5.81
.......................................................................
0.8 3 .......................................................................
1.9 2 15.2
5.6 4 0 0× 8× ตอบ ๘๙,๑๐๐ บ�ท
....................................................................................................................................................
3 3 2.0 0
.......................................................................
0.21 15.2 7.6
.......................................................................
0.21 ....................................................................................................................................................
0
....................................................................... .......................................................................
ดังนั้น 8 × 1.9 ÷ 2 = 7.6

ดั.......................................................................
งนั้น 5.81 ÷ 7 × 400 = 332 .......................................................................
ตอบ ๗.๖
ตอบ ๓๓๒

90 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 91
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 219 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 3 | ทศนิยม บทที่ 3 | ทศนิยม

แบบฝึกหัด 3.2
แสดงวิธีทำาเศษส่วนให้อยู่ในรูปทศนิยม
12 63
5 6
32 18
77 14
1 2 ธีทำา 12 = 12 ÷ 4
วิ....................................................................... วิธีทำา 63 = 63 ÷ 9
.......................................................................
35 16 32 ÷ 4 18 ÷ 9
32 18
3 7
วิธีทำา 77 = 77 ÷ 7
....................................................................... วิธีทำา 14 = 14 ÷ 2
....................................................................... .......................................................................
= .......................................................................
=
35 35 ÷ 7 16 16 ÷ 2 8 2
11 7 3 × 125
....................................................................... 7×5
.......................................................................
.......................................................................
= .......................................................................
= = =
5 8 8 × 125 2×5
11 × 2 7 × 125 375
....................................................................... 35
.......................................................................
.......................................................................
= .......................................................................
= = =
5 ×2 8 × 125 1000 10
22
....................................................................... 875
....................................................................... = 0.375
....................................................................... = 3.5
.......................................................................
= =
10 1000
= 2.2 = 0.875 ตอบ ๐.๓๗๕
....................................................................... ตอบ ๓.๕
.......................................................................
....................................................................... .......................................................................

ตอบ ๒.๒
....................................................................... ตอบ ๐.๘๗๕
....................................................................... ....................................................................... .......................................................................

....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... .......................................................................

....................................................................... .......................................................................
27 468
7 8
12 450
42 49
3
120
4
350 ธีทำา 27 = 27 ÷ 3
วิ....................................................................... วิธีทำา 468 = 468 ÷ 9
.......................................................................
12 12 ÷ 3 450 450 ÷ 9
วิธีทำา 42 = 42 ÷ 6
....................................................................... วิธีทำา 49 = 49 ÷ 7
....................................................................... 9
....................................................................... 52
.......................................................................
= =
120 120 ÷ 6 350 350 ÷ 7 4 50
7
....................................................................... 7
....................................................................... 9 × 25
....................................................................... 52 × 2
.......................................................................
= = = =
20 50 4 × 25 50 × 2
7 × 5
....................................................................... 7 ×2
....................................................................... 225
....................................................................... 104
.......................................................................
= = = =
20 × 5 50 × 2 100 100
35
....................................................................... 14
....................................................................... = 2.25
....................................................................... = 1.04
.......................................................................
= =
100 100
= 0.35
....................................................................... = 0.14
....................................................................... ตอบ ๒.๒๕
....................................................................... ตอบ ๑.๐๔
.......................................................................

ตอบ ๐.๓๕
....................................................................... ตอบ ๐.๑๔
....................................................................... ....................................................................... .......................................................................

....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... .......................................................................

....................................................................... .......................................................................

92 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 93
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 220 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 3 | ทศนิยม บทที่ 3 | ทศนิยม

แบบฝึกหัด 3.3
18 56
9 10 แสดงวิธีหาผลหาร
750 175

ธีทำา 18 = 18 ÷ 3
วิ....................................................................... ธีทำา 56 = 56 ÷ 7
วิ.......................................................................
750 750 ÷ 3 175 175 ÷ 7 1 12.5 ÷ 0.5 2 0.91 ÷ 0.7
6
....................................................................... 8
.......................................................................
= =
250 25 วิธีทำา 12.5 ÷ 0.5 = 125 ÷ 5
....................................................................... วิธีทำา 0.91 ÷ 0.7 = 91 ÷ 7
.......................................................................
6 ×4
....................................................................... 8 ×4
....................................................................... 10 10 100 10
= =
250 × 4 25 × 4
24 32 = 125 × 10
....................................................................... = 91 × 10
.......................................................................
.......................................................................
= .......................................................................
= 25
10 51 13
100 71
1000 100 125 × 10
....................................................................... 91 × 10
.......................................................................
= =
= 0.024
....................................................................... = 0.32
....................................................................... 10 × 5 1 100 × 7 1
1 10
= 25
....................................................................... 13
.......................................................................
ตอบ ๐.๐๒๔ ตอบ ๐.๓๒ =
....................................................................... ....................................................................... 10
ดังนั้น 12.5 ÷ 0.5 = 25
....................................................................... = 1.3
.......................................................................
....................................................................... .......................................................................
ตอบ ๒๕
....................................................................... ดังนั้น 0.91 ÷ 0.7 = 1.3
.......................................................................
....................................................................... .......................................................................
....................................................................... ตอบ ๑.๓
.......................................................................

....................................................................... .......................................................................
54 99
11 12
240 72

ธีทำา 54 = 54 ÷ 6
วิ....................................................................... ธีทำา 99 = 99 ÷ 9
วิ.......................................................................
240 240 ÷ 6 72 72 ÷ 9 3 6.408 ÷ 0.9 4 3.12 ÷ 0.2
9
....................................................................... 11
.......................................................................
= =
40 8 วิธีทำา 6.408 ÷ 0.9 = 6408 ÷ 9
....................................................................... วิธีทำา 3.12 ÷ 0.2 = 312 ÷ 2
.......................................................................
9 × 25
....................................................................... 11 × 125
....................................................................... 1000 10 100 10
= =
40 × 25 8 × 125 6408 10
.......................................................................
= 312 10
.......................................................................
=
× ×
225
....................................................................... 1375
....................................................................... 1000 91 100 21
= = 712
6408 × 10 156
312 × 10
1000 1000 .......................................................................
= .......................................................................
=
= 0.225
....................................................................... = 1.375
....................................................................... 100 1000 × 9 1 10 100 × 2 1
712
....................................................................... 156
.......................................................................
= =
ตอบ ๐.๒๒๕
....................................................................... ตอบ ๑.๓๗๕
....................................................................... 100 10
= 7.12
....................................................................... = 15.6
.......................................................................
....................................................................... .......................................................................
ดังนั้น 6.408 ÷ 0.9 = 7.12
....................................................................... ดังนั้น 3.12 ÷ 0.2 = 15.6
.......................................................................
....................................................................... .......................................................................
ตอบ ๗.๑๒
....................................................................... ตอบ ๑๕.๖
.......................................................................

....................................................................... .......................................................................

94 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 95
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 221 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 3 | ทศนิยม บทที่ 3 | ทศนิยม

แบบฝึกหัด 3.4
5 3 ÷ 0.8 6 50.4 ÷ 6.3 แสดงวิธีหาผลหาร

วิธีทำา 3 ÷ 0.8 = 3 ÷ 8
....................................................................... วิธีทำา 50.4 ÷ 6.3 = 504 ÷ 63
.......................................................................
10 10 10 1 8.4 ÷ 0.06 2 0.039 ÷ 0.15
10
....................................................................... 504 10
....................................................................... ตัวอย่�ง
= 3× = ×
8 5 8
10 63 1 วิธีทำา 8.4 ÷ 0.06 = 84 ÷ 6
....................................................................... วิธีทำา 0.039 ÷ 0.15 = 39 ÷ 15
.......................................................................
3 × 10
....................................................................... 504 × 10
....................................................................... 10 100 1000 100
= =
84 1 10
× 63 1 84 100
....................................................................... 39 100
.......................................................................
15 = × = ×
.......................................................................
= = 8
....................................................................... 10 6 10 1000 15
14
4 84 × 100
....................................................................... ....................................................................... 2
15 × 25 = 20
.......................................................................
= ดังนั้น 50.4 ÷ 6.3 = 8
....................................................................... 1 10 × 6 1
13 39
× 100
4 × 25 =
= 140
....................................................................... 1000 × 15 5
.......................................................................
375
....................................................................... ตอบ ๘
....................................................................... 100 1
=
100 ดังนั้น 8.4 ÷ 0.06 = 140
....................................................................... 26
.......................................................................
= 3.75 =
....................................................................... ....................................................................... 100
ตอบ ๑๔๐
....................................................................... = 0.26
.......................................................................
ดังนั้น 3 ÷ 0.8 = 3.75
....................................................................... .......................................................................
ตอบ ๓.๗๕ ....................................................................... ดังนั้น 0.039 ÷ 0.15 = 0.26
.......................................................................

....................................................................... ตอบ ๐.๒๖


.......................................................................
7 2.626 ÷ 2.6 8 25.2 ÷ 3.5
ตัวอย่�ง
วิธีทำา 2.626 ÷ 2.6 = 2626 ÷ 26
....................................................................... วิธีทำา 25.2 ÷ 3.5 = 252 ÷ 35
....................................................................... 3 0.28 ÷ 0.08 4 1.56 ÷ 0.24
1000 10 10 10
2626 10
....................................................................... 252 10
....................................................................... ตัวอย่�ง ตัวอย่�ง
= × = ×
1000 26 10 35 วิธีทำา 0.28 ÷ 0.08 = 28 ÷ 8
....................................................................... วิธีทำา 1.56 ÷ 0.24 = 156 ÷ 24
.......................................................................
101 36 2
2626 × 10 1
....................................................................... 252 × 10
....................................................................... 100 100 100 100
= = 28 100 156 100
× 26 1 10 × 35 5 .......................................................................
= .......................................................................
=
100 1000 × ×
101
....................................................................... 72 1
....................................................................... 100 8 100 24
= = 5 13
100 10 .......................................................................
7 50 .......................................................................
26 50
5
28 × 100 156 × 100
= 1.01
....................................................................... = 7.2
....................................................................... = =
10 100
× 82
....................................................................... 100 × 24 4
.......................................................................
1 10 2
ดังนั้น 2.626 ÷ 2.6 = 1.01
....................................................................... ดังนั้น 25.2 ÷ 3.5 = 7.2
....................................................................... 1
35
....................................................................... 65
.......................................................................
= =
ตอบ ๑.๐๑
....................................................................... ตอบ ๗.๒
....................................................................... 10 10
= 3.5
....................................................................... = 6.5
.......................................................................
....................................................................... .......................................................................
ดังนั้น 0.28 ÷ 0.08 = 3.5
....................................................................... ดังนั้น 1.56 ÷ 0.24 = 6.5
.......................................................................

ตอบ ๓.๕
....................................................................... ตอบ ๖.๕
.......................................................................

96 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 97
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 222 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 3 | ทศนิยม บทที่ 3 | ทศนิยม

แบบฝึกหัด 3.5
5 3.234 ÷ 0.07 6 27 ÷ 0.36
1 แสดงวิธีห�ผลห�ร
36
วิธีทำา 3.234 ÷ 0.07 = 3234 ÷ 7
....................................................................... วิธีทำา 27 ÷ 0.36 = 27 ÷
.......................................................................
1000 100 100
3234 100 100 1) 0.05 ÷ 0.125 2) 73.6 ÷ 0.016
.......................................................................
= × .......................................................................
= 27 ×
1000 7 36 ตัวอย่�ง ตัวอย่�ง
462 3234 × 1001
.......................................................................
= .......................................................................
3 25 วิธีทำา 0.05 ÷ 0.125 = 5 ÷ 125
....................................................................... วิ ธีทำา 73.6 ÷ 0.016 = 736 ÷ 16
.......................................................................
27 × 100
10 1000 × 7 1 = 100 1000 10 1000
462
....................................................................... 36 4
....................................................................... 5 1000 736 1000
= 1 .......................................................................
= × .......................................................................
= ×
10 100 125 4 10 16
40
= 46.2
....................................................................... = 75
....................................................................... ....................................................................... .......................................................................
46 100
1 5 200 184 736
=
× 1000 = × 1000
ดังนั้น 3.234 ÷ 0.07 = 46.2
....................................................................... ดังนั้น 27 ÷ 0.36 = 75
....................................................................... 100 × 125
....................................................................... 10 × 16 4
.......................................................................
10 25 1 1
5
1
ตอบ ๔๖.๒
....................................................................... ตอบ ๗๕
....................................................................... 4
....................................................................... = 4,600
.......................................................................
=
10
....................................................................... ....................................................................... = 0.4
....................................................................... ดังนั้น 73.6 ÷ 0.016 = 4,600
.......................................................................

ดังนั้น 0.05 ÷ 0.125 = 0.4


....................................................................... ตอบ ๔,๖๐๐
.......................................................................

7 122.4 ÷ 1.44 8 1.35 ÷ 2.25 ตอบ ๐.๔


....................................................................... .......................................................................
ตัวอย่�ง
วิธีทำา 122.4 ÷ 1.44 = 1224 ÷ 144
....................................................................... วิธีทำา 1.35 ÷ 2.25 = 135 ÷ 225
.......................................................................
10 100 100 100 3) 0.342 ÷ 0.036 4) 0.504 ÷ 0.144
1224 100
....................................................................... 135 100
.......................................................................
= × = × ตัวอย่�ง ตัวอย่�ง
10 144 100 225
17 5 2 ีทำา 0.342 ÷ 0.036 = 342 ÷ 36
วิธ....................................................................... ีทำา 0.504 ÷ 0.144 = 504 ÷ 144
วิธ.......................................................................
....................................................................... .......................................................................
3
1021224
× 100 50 27 135 × 100 20 1000 1000 1000 1000
= = 342 1000 504 1000
10 × 14412
....................................................................... 100 × 22545
....................................................................... .......................................................................
= × .......................................................................
= ×
1 10 1000 36 5 1000 144 5
2 5
1 1 500 714 500
= 85
....................................................................... 6
....................................................................... .......................................................................
19 .......................................................................
= 57 342 × 1000 84 504 × 1000
10 = =
ดังนั้น 122.4 ÷ 1.44 = 85 = 0.6 1000 × 366
....................................................................... 1000 × 144
.......................................................................
....................................................................... ....................................................................... 10
2 10 24
1 4
95 35 2
ตอบ ๘๕
....................................................................... ดังนั้น 1.35 ÷ 2.25 = 0.6
....................................................................... .......................................................................
= .......................................................................
= 1
10 10
= 9.5
....................................................................... = 3.5
.......................................................................
....................................................................... ตอบ ๐.๖
.......................................................................
ดัง.......................................................................
นั้น 0.342 ÷ 0.036 = 9.5 ดัง.......................................................................
นั้น 0.504 ÷ 0.144 = 3.5

ตอบ ๙.๕
....................................................................... ตอบ ๓.๕
.......................................................................

98 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 99
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 223 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 3 | ทศนิยม บทที่ 3 | ทศนิยม

2 เติมคำ�ตอบ
5) 4 ÷ 0.025 6) 243 ÷ 0.081

25 81
วิธีทำา 4 ÷ 0.025 = 4 ÷
....................................................................... วิธีทำา 243 ÷ 0.081 = 243 ÷
....................................................................... 1) 16 ÷ 0.2 80
= ..................................... 2) 15 ÷ 0.3 50
= ....................................
1000 1000
1000
....................................................................... 1000
.......................................................................
= 4× = 243 ×
25 40 81 800 500
4 × 1000 3 16 ÷ 0.02 = ..................................... 15 ÷ 0.03 = ....................................
.......................................................................
= .......................................................................
27
25 1 243 × 1000
=
= 160
....................................................................... 81 9
.......................................................................
1 8,000
16 ÷ 0.002 = ..................................... 5,000
15 ÷ 0.003 = ....................................
ดังนั้น 4 ÷ 0.025 = 160
....................................................................... = 3,000
.......................................................................

ตอบ ๑๖๐
....................................................................... ดังนั้น 243 ÷ 0.081 = 3,000
.......................................................................

....................................................................... ตอบ ๓,๐๐๐


....................................................................... 30 80
3) 12 ÷ 0.4 = .................................... 4) 56 ÷ 0.7 = ...................................
....................................................................... .......................................................................
1.2 ÷ 0.4 3
= .................................... 5.6 ÷ 0.7 8
= ...................................

7) 0.066 ÷ 0.012 8) 0.228 ÷ 0.285


0.12 ÷ 0.4 0.3
= .................................... 0.8
0.56 ÷ 0.7 = ...................................
ตัวอย่�ง ตัวอย่�ง
66 12 228 285
ธีทำา 0.066 ÷ 0.012 =
วิ.......................................................................
÷ วิธีทำา 0.228 ÷ 0.285 = ÷
.......................................................................
1000 1000 1000 1000 0.03
0.012 ÷ 0.4 = .................................... 0.08
0.056 ÷ 0.7 = ...................................
66 1000
....................................................................... 228 1000
.......................................................................
= × = ×
1000 12 5 1000 285 2
500
....................................................................... .......................................................................
4 200
11 66 × 1000 76 228 × 1000
= =
10 1000
× 122
....................................................................... 1000 × 285
.......................................................................
10
1 95
5
1 5) 6.4 ÷ 0.8 8
= .............................. 6) 7.2 ÷ 0.9 8
= ................................
55
....................................................................... 8
.......................................................................
= =
10 10
= 5.5
....................................................................... = 0.8
....................................................................... 8 8
0.64 ÷ 0.08 = .............................. 0.72 ÷ 0.09 = ................................
ดั งนั้น 0.066 ÷ 0.012 = 5.5
....................................................................... ดังนั้น 0.228 ÷ 0.285 = 0.8
.......................................................................
8
0.064 ÷ 0.008 = ............................... 8
0.072 ÷ 0.009 = .................................
ตอบ ๕.๕
....................................................................... ตอบ ๐.๘
.......................................................................

100 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 101


แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 224 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 3 | ทศนิยม บทที่ 3 | ทศนิยม

แบบฝึกหัด 3.6
5 381.6 ÷ 0.36 6 0.012 ÷ 0.48
แสดงวิธีหาผลหาร
.......................................................................
วิธีทำา 381.6 ÷ 0.36 = (381.6 × 100) .......................................................................
วิธีทำา 0.012 ÷ 0.48 = (0.012 × 100)

1 16.5 ÷ 1.1 2 1.08 ÷ 0.6


.......................................................................
÷ (0.36 × 100) ÷ (0.48 × 100)
.......................................................................

= 38,160 ÷ 36
....................................................................... = 1.2 ÷ 48
.......................................................................
.......................................................................
วิธีทำา 16.5 ÷ 1.1 = (16.5 × 10) ÷ (1.1 × 10) วิ.......................................................................
ธีทำา 1.08 ÷ 0.6 = (1.08 × 10) ÷ (0.6 × 10)
1060 0.025

.......................................................................
= 165 ÷ 11 .......................................................................
= 10.8 ÷ 6 .......................................................................
36 38160 .......................................................................
48 1.200
36 0.96
15 1.8
.......................................................................
216 0.240
.......................................................................
.......................................................................
11 165 .......................................................................
6 10 . 8
11 216 0.240
6
.......................................................................
55 .......................................................................
4.8 .......................................................................
0 .......................................................................
0
0
55 4.8
.......................................................................
0 .......................................................................
0 .......................................................................
0 .......................................................................
ดังนั้น 0.012 ÷ 0.48 = 0.025

.......................................................................
ดังนั้น 16.5 ÷ 1.1 = 15 .......................................................................
ดั งนั้น 1.08 ÷ 0.6 = 1.8 .......................................................................
ดังนั้น 381.6 ÷ 0.36 = 1,060 .......................................................................
ตอบ ๐.๐๒๕

.......................................................................
ตอบ ๑๕ .......................................................................
ตอบ ๑.๘ .......................................................................
ตอบ ๑,๐๖๐ .......................................................................

....................................................................... .......................................................................

7 0.138 ÷ 0.115 8 5 ÷ 0.625

3 0.49 ÷ 0.14 4 0.896 ÷ 0.16 .......................................................................


วิธีทำา 0.138 ÷ 0.115 = (0.138 × 1,000) .......................................................................
วิธีทำา 5 ÷ 0.625 = (5 × 1,000) ÷ (0.625 × 1,000)

.......................................................................
÷ (0.115 × 1,000) .......................................................................
= 5,000 ÷ 625
.......................................................................
วิธีทำา 0.49 ÷ 0.14 = (0.49 × 100) ÷ (0.14 × 100) วิ.......................................................................
ธีทำา 0.896 ÷ 0.16 = (0.896 × 100) ÷ (0.16 × 100) 8
= 138 ÷ 115
....................................................................... .......................................................................
625 5000
.......................................................................
= 49 ÷ 14 .......................................................................
= 89.6 ÷ 16 1.2 5000
3.5 5.6 115 138.0
....................................................................... .......................................................................
0
.......................................................................
14 49.0 .......................................................................
16 89.6 115
42 80 23.0
....................................................................... .......................................................................
ดังนั้น 5 ÷ 0.625 = 8
.......................................................................
7.0 .......................................................................
9.6
23.0
7.0 9.6
.......................................................................
0 .......................................................................
ตอบ ๘
.......................................................................
0 .......................................................................
0

.......................................................................
ดังนั้น 0.138 ÷ 0.115 = 1.2 .......................................................................
.......................................................................
ดังนั้น 0.49 ÷ 0.14 = 3.5 .......................................................................
ดั งนั้น 0.896 ÷ 0.16 = 5.6

.......................................................................
ตอบ ๑.๒ .......................................................................
.......................................................................
ตอบ ๓.๕ .......................................................................
ตอบ ๕.๖

....................................................................... .......................................................................
....................................................................... .......................................................................

102 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 103


แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 225 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 3 | ทศนิยม บทที่ 3 | ทศนิยม

แบบฝึกหัด 3.7
3 สน�มหญ้�รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้�แห่งหนึ่งกว้�ง 2.4 เมตร มีพื้นที่ 12 ต�ร�งเมตร
แสดงวิธีหาคำาตอบ สน�มหญ้�นี้ย�วเท่�ใด

1 กลุ่มประมงพื้นบ้�นผลิตน้ำ�ปล�ได้ 150 ลิตร แบ่งใส่ขวด ขวดละ 0.75 ลิตร ได้กี่ขวด วิธีทำา สน�มหญ้�รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้� มีพื้นที่ 12 ต�ร�งเมตร
....................................................................................................................................................
สน�มหญ้�กว้�ง 2.4 เมตร
....................................................................................................................................................
วิธีทำา กลุ่มประมงพื้นบ้�นผลิตน้ำ�ปล�ได้ 150 ลิตร
....................................................................................................................................................
ดังนั้น สน�มหญ้�นี้ย�ว 12 ÷ 2.4 = 5 เมตร
....................................................................................................................................................
แบ่งใส่ขวด ขวดละ 0.75 ลิตร
....................................................................................................................................................
ตอบ ๕ เมตร
....................................................................................................................................................
ดังนั้น กลุ่มประมงพื้นบ้�นผลิตน้ำ�ปล�ได้ 150 ÷ 0.75 = 200 ขวด
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
ตอบ ๒๐๐ ขวด
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................

4 ก�รคิดค่�น้ำ�ในแต่ละเดือนของหอพักแห่งหนึ่งเจ้�ของหอพักคิดค่�น้ำ�ประป�สำ�หรับผู้เช่�
ลูกบ�ศก์เมตรละ 20.50 บ�ท และคิดค่�บริก�รห้องละ 20 บ�ท ถ้�เดือนมิถุน�ยนสินใจเสียค่�น้ำ�
2 ในก�รสร้�งถนนเส้นหนึ่งซึ่งย�ว 10.2 กิโลเมตร ใช้งบประม�ณทั้งหมด 18.36 ล้�นบ�ท
ประป�พร้อมค่�บริก�ร 327.50 บ�ท เดือนมิถุน�ยนสินใจใช้น้ำ�กี่ลูกบ�ศก์เมตร
ถนนเส้นนี้ใช้งบประม�ณในก�รสร้�งเฉลี่ยกิโลเมตรละเท่�ใด
วิธีทำา เดือนมิถุน�ยน สินใจเสียค่�น้ำ�ประป�พร้อมค่�บริก�ร 327.50 บ�ท
....................................................................................................................................................
วิธีทำา ในก�รสร้�งถนนเส้นหนึ่งใช้งบประม�ณทั้งหมด 18.36 ล้�นบ�ท
....................................................................................................................................................
ค่�บริก�ร 20 บ�ท
....................................................................................................................................................
สร้�งถนนย�ว 10.2 กิโลเมตร
....................................................................................................................................................
ค่�น้ำ�ประป� 327.50 − 20 = 307.50 บ�ท
....................................................................................................................................................
ดังนั้น ถนนเส้นนี้ใช้งบประม�ณในก�รสร้�งเฉลี่ยกิโลเมตรละ
....................................................................................................................................................
ค่�น้ำ�ประป�ลูกบ�ศก์เมตรละ 20.50 บ�ท
....................................................................................................................................................
18.36 ÷ 10.2 = 1.8 ล้�นบ�ท
....................................................................................................................................................
ดังนั้น เดือนมิถุน�ยนสินใจใช้น้ำ� 307.50 ÷ 20.50 = 15 ลูกบ�ศก์เมตร
....................................................................................................................................................
ตอบ ๑.๘ ล้�นบ�ท
....................................................................................................................................................
ตอบ ๑๕ ลูกบ�ศก์เมตร
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................

104 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 105


แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 226 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 3 | ทศนิยม บทที่ 3 | ทศนิยม

แบบฝึกหัด 3.8
3 น้ำ�หนึ่งต้องก�รขนสินค้� 20 กล่อง แต่ละกล่องหนัก 24.5 กิโลกรัม ถ้�ก�รขนส่งสินค้�นี้
แสดงวิธีหาคำาตอบ ใช้ลิฟต์ที่ส�ม�รถรับน้ำ�หนักได้ 520 กิโลกรัม และน้ำ�หนึ่งหนัก 83.9 กิโลกรัม โดยน้ำ�หนึ่ง
ต้องขึ้นลิฟต์ไปพร้อมกับสินค้� ในก�รขนสินค้�แต่ละครั้ง จะส�ม�รถขนได้ม�กที่สุดกี่กล่อง
1 ยุวดีซื้อป�กก� 15 ด้�ม และดินสอ 12 แท่ง เป็นเงิน 148.50 บ�ท ถ้�ดินสอร�ค�
แท่งละ 3 บ�ท ป�กก�ร�ค�ด้�มละกี่บ�ท วิธีทำา ลิฟต์ขนสินค้�รับน้ำ�หนักได้ 520 กิโลกรัม
....................................................................................................................................................
น้ำ�หนึ่งหนัก 83.9 กิโลกรัม
....................................................................................................................................................
วิธีทำา ดินสอร�ค�แท่งละ 3 บ�ท
....................................................................................................................................................
ลิฟต์จะรับน้ำ�หนักสินค้�ได้ 520 − 83.9 = 436.1 กิโลกรัม
....................................................................................................................................................
ยุวดีซื้อดินสอ 12 แท่ง
....................................................................................................................................................
กล่องแต่ละใบหนัก 24.5 กิโลกรัม
....................................................................................................................................................
ยุวดีซื้อดินสอเป็นเงิน 12 × 3 = 36 บ�ท
....................................................................................................................................................
จะได้ว่� ในก�รขนแต่ละครั้งจะได้กล่องม�กที่สุด 436.1 ÷ 24.5 = 17.8 กล่อง
....................................................................................................................................................
ยุวดีซื้อป�กก�และดินสอเป็นเงิน 148.50 บ�ท
....................................................................................................................................................
ดังนั้น แต่ละครั้งจะขนสินค้�ได้ม�กที่สุด 17 กล่อง
....................................................................................................................................................
ยุวดีซื้อป�กก�เป็นเงิน 148.50 − 36 = 112.50 บ�ท
.................................................................................................................................................... ตอบ ๑๗ กล่อง
....................................................................................................................................................
ยุวดีซื้อป�กก� 15 ด้�ม
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
ดังนั้น ป�กก�ร�ค�ด้�มละ 112.50 ÷ 15 = 7.50 บ�ท
....................................................................................................................................................
ตอบ ๗.๕๐ บ�ท
....................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................... 4 กำ�หนดก�รแลกเงินดอลล�ร์สหรัฐ (USD) เป็นเงินบ�ท ดังนี้

ชนิดธนบัตร 1 ดอลลาร์ แลกได้

2 ก้องเลื่อยไม้เป็น 3 ท่อน ให้ท่อนที่หนึ่งย�ว 1.6 เมตร ท่อนที่สองย�ว 0.45 เมตร หนึ่งดอลล�ร์ 30.71 บ�ท
และท่อนที่ส�มย�ว 0.444 เมตร ซึ่งก�รเลื่อยแต่ละครั้งจะเสียไม้ไปกับก�รเลื่อย 0.003 เมตร ห้�ดอลล�ร์ สิบดอลล�ร์ และยี่สิบดอลล�ร์ 31.06 บ�ท

เดิมไม้ท่อนนี้ย�วกี่เมตร ห้�สิบดอลล�ร์ และหนึ่งร้อยดอลล�ร์ 31.46 บ�ท

วิธีทำา ในก�รเลื่อยไม้เป็น 3 ท่อน ต้องเลื่อยไม้ 2 ครั้ง ถ้�น็อตนำ�ธนบัตรห้�ดอลล�ร์ และหนึ่งร้อยดอลล�ร์ อย่�งละ 1 ฉบับ


....................................................................................................................................................
แลกเป็นเงินบ�ทได้เท่�ใด
แต่ละครั้งเสียไม้ 0.003 เมตร
....................................................................................................................................................
ในก�รเลื่อยไม้ครั้งนี้เสียไม้ 2 × 0.003 = 0.006 เมตร
.................................................................................................................................................... วิธีทำา ธนบัตรห้�ดอลล�ร์ แลกเป็นเงินบ�ทได้ 5 × 31.06 = 155.30 บ�ท
....................................................................................................................................................
ไม้ท่อนที่หนึ่ง ท่อนที่สอง และท่อนที่ส�ม มีคว�มย�วรวมกัน
.................................................................................................................................................... ธนบัตรหนึ่งร้อยดอลล�ร์ แลกเป็นเงินบ�ทได้ 100 × 31.46 = 3,146 บ�ท
....................................................................................................................................................
1.6 + 0.45 + 0.444 = 2.494 เมตร
.................................................................................................................................................... ดังนั้น น็อตแลกเป็นเงินบ�ทได้ทั้งหมด 155.30 + 3,146 = 3,301.30 บ�ท
....................................................................................................................................................
ดังนั้น เดิมไม้ท่อนนี้ย�ว 0.006 + 2.494 = 2.5 เมตร
.................................................................................................................................................... ตอบ ๓,๓๐๑.๓๐ บ�ท
....................................................................................................................................................
ตอบ ๒.๕ เมตร
.................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................

106 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 107


แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 227 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 3 | ทศนิยม บทที่ 3 | ทศนิยม

5 ร้�นจำ�หน่�ยเครื่องใช้ไฟฟ้� กำ�หนดร�ค�เครื่องซักผ้�ยี่ห้อหนึ่งดังนี้ 6 กรมก�รขนส่งท�งบกกำ�หนดค่�โดยส�รสำ�หรับรถยนต์รับจ้�ง (TAXI-METER)


ที่จดทะเบียนในเขตกรุงเทพมห�นคร ดังนี้

ระยะทาง ราคา
1 กิโลเมตรแรก 35.00 บ�ท
ราราคคาา ม�กกว่� 1 กิโลเมตร ถึงกิโลเมตรที่ 10 กิโลเมตรละ 5.50 บ�ท

เงินผ่อน ม�กกว่� 10 กิโลเมตร ถึงกิโลเมตรที่ 20 กิโลเมตรละ 6.50 บ�ท


จ่ายครั้งแรก 5,000 บาท ม�กกว่� 20 กิโลเมตร ถึงกิโลเมตรที่ 40 กิโลเมตรละ 7.50 บ�ท
ผ่อนต่ออีก 6 เดือน เดือนละ 2,950.75 บาท
POWERWASH
POWERWASH
ม�กกว่� 40 กิโลเมตร ถึงกิโลเมตรที่ 60 กิโลเมตรละ 8.00 บ�ท
สนใจติดเงิ
ต�น ผ�อบถน
อสอ าม powerwash
ม�กกว่� 60 กิโลเมตร ถึงกิโลเมตรที่ 80 กิโลเมตรละ 9.00 บ�ท
จ�ายครั้งแรก 5,000 บาท powerwash
powerwash
ผ�อนต�ออีก 6 เดือนเดือนละ 2,950.75 บาท
ม�กกว่� 80 กิโลเมตร กิโลเมตรละ 10.50 บ�ท

ถ้�จูนต้องก�รซื้อเครื่องซักผ้�ยี่ห้อนี้แบบเงินผ่อน จูนต้องจ่�ยเงินม�กกว่�ซื้อแบบเงินสดกี่บ�ท
ถ้�อ้นโดยส�รรถยนต์รับจ้�งเป็นระยะท�ง 9.25 กิโลเมตร และสภ�พก�รจร�จรเป็นปกติ

วิธีทำา จูนซื้อสินค้�แบบเงินผ่อน โดยจ่�ยเงินครั้งแรก 5,000 บ�ท อ้นเสียค่�โดยส�รกี่บ�ท


....................................................................................................................................................
ผ่อนต่ออีก 6 เดือน เดือนละ 2,950.75 บ�ท
.................................................................................................................................................... วิธีทำา ระยะท�ง 1 กิโลเมตรแรก 35.00 บ�ท
....................................................................................................................................................
ซึ่งคิดเป็นเงิน 6 × 2,950.75 = 17,704.50 บ�ท
.................................................................................................................................................... เหลือระยะท�ง 9.25 − 1 = 8.25 กิโลเมตร
....................................................................................................................................................
รวมจูนจ่�ยเงินซื้อเครื่องซักผ้� 5,000 + 17,704.50 = 22,704.50 บ�ท
.................................................................................................................................................... ระยะท�งที่เหลือร�ค�กิโลเมตรละ 5.50 บ�ท
....................................................................................................................................................
ดังนั้น จูนต้องจ่�ยเงินม�กกว่�ซื้อแบบเงินสด 22,704.50 − 21,900 = 804.50 บ�ท
.................................................................................................................................................... ร�ค�ของระยะท�งที่เหลือ 8.25 × 5.50 = 45.375 บ�ท
....................................................................................................................................................
ตอบ ๘๐๔.๕๐ บ�ท
.................................................................................................................................................... ดังนั้น อ้นเสียค่�โดยส�ร 35 + 45.375 = 80.375 บ�ท
....................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................... ตอบ ๘๐.๓๗๕ บ�ท
....................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................

108 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 109


228 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

แบบฝึกหัด 2 แสดงวิธีหาจำานวนที่แทนด้วย
บทที่ 4 ร้อยละและอัตราส่วน
3 6 42
1) = 2) =
4 24 5
แบบฝึกหัด 4.1
วิธีทำา 3 3 × 6 18
.......................................................................... วิธีทำา 6 6 × 7 42
....................................................................................
1 หาผลคูณ = = = =
4 4 × 6 24 5 5 × 7 35
.......................................................................... ....................................................................................
1) 12 × 5
4 2) 9 × 14
36
3 1 7 ดังนั้น จำานวนที่แทนด้วย คือ 18
.......................................................................... ดังนั้น จำานวนที่แทนด้วย คือ 35
....................................................................................
วิธีทำา 5 12 × 5
......................................................................... วิธีทำา 14 9 × 14
..............................................................................
12 × = 9× =
4 41 36 364 ตอบ 18
.......................................................................... ตอบ 35
....................................................................................
2
......................................................................... ..............................................................................
.......................................................................... ....................................................................................
= 15
......................................................................... 7
..............................................................................
=
2 9
ตอบ 15 1 3) = 20 4) 81 =
......................................................................... ..............................................................................
= 3 8 32 63
2
......................................................................... ตอบ 3 1
.............................................................................. วิธีทำา 20 20 ÷ 4 5
.......................................................................... วิธีทำา 81 81 ÷ 9 9
....................................................................................
= = = =
2 32 32 ÷ 4 8 63 63 ÷ 9 7
6 ×5
3) 45 6
4) 4 × 26 .......................................................................... ....................................................................................
2 1 3 13 ดังนั้น จำานวนที่แทนด้วย คือ 5
.......................................................................... ดังนั้น จำานวนที่แทนด้วย คือ 7
....................................................................................
วิธีทำา 6 6 × 5
......................................................................... วิธีทำา 6 6 × 26
..............................................................................
× 5 = × 26 =
45 45 9 4 42 ตอบ 5
.......................................................................... ตอบ 7
....................................................................................
3 1
......................................................................... ..............................................................................
2 .......................................................................... ....................................................................................
.........................................................................
= = 39
..............................................................................
3 8 15
ตอบ 2
......................................................................... ตอบ 39
.............................................................................. 5) = 40 6) =
15 28 84
3
......................................................................... .............................................................................. 40 40 ÷ 5 8 15 15 × 3 45
วิธีทำา
..........................................................................
= = วิธีทำา
....................................................................................
= =
15 15 ÷ 5 3 28 28 × 3 84
5) 100 × 28 6) 5 × 56
.......................................................................... ....................................................................................
35 24
20 4 7
วิธีทำา 100 × 28 = 100 × 28
......................................................................... วิธีทำา 5 5 × 56
.............................................................................. ดังนั้น จำานวนที่แทนด้วย คือ 3
.......................................................................... ดังนั้น จำานวนที่แทนด้วย คือ 45
....................................................................................
× 56 =
35 35 5 24 24 3
1
......................................................................... .............................................................................. ตอบ 3
.......................................................................... ตอบ 45
....................................................................................

= 80
......................................................................... 35
.............................................................................. .......................................................................... ....................................................................................
=
3
ตอบ 80
......................................................................... 2
..............................................................................
= 11
3
......................................................................... ตอบ 11 2
..............................................................................
3
110 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 111
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 229 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

3 แสดงวิธีหาคำาตอบ แบบฝึกหัด 4.2


แสดงวิธีหาคำาตอบ
1) ร้านค้าติดราคากระเป๋าไว้ 3,450 บาท ลดราคา 20% ร้านค้าจะขายกระเป๋าราคาเท่าใด
ตัวอย่าง
วิธีทำา ลดราคา 20% ของราคาที่ติดไว้ 1 นักเรียนชั้น ป.6 ของโรงเรียนแห่งหนึ่งมี 80 คน สายตาสั้น 4 คน นักเรียนที่สายตาสั้น
...................................................................................................................................................
คิดเป็นร้อยละเท่าใดของนักเรียน ชั้น ป.6 ทั้งหมด
ติดราคากระเป๋า 3,450 บาท
...................................................................................................................................................
20 วิธีทำา มีนักเรียนชั้น ป.6 80 คน สายตาสั้น 4 คน
ลดราคา × 3,450 = 690 บาท
................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................
100 4
ถ้ามีนักเรียนชั้น ป.6 1 คน สายตาสั้น คน
...................................................................................................................................................
ดังนั้น ร้านค้าจะขายกระเป๋าราคา 3,450 − 690 = 2,760 บาท
................................................................................................................................................... 80
4
ถ้ามีนักเรียนชั้น ป.6 100 คน สายตาสั้น 100 × = 5 คน
...................................................................................................................................................
ตอบ ๒,๗๖๐ บาท
................................................................................................................................................... 80
ดังนั้น นักเรียนที่สายตาสั้นคิดเป็นร้อยละ 5 ของนักเรียนชั้น ป.6 ทั้งหมด
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
ตอบ ร้อยละ ๕ ของนักเรียนชั้น ป.๖ ทั้งหมด
...................................................................................................................................................

...................................................................................................................................................
2) แก้วตาซื้อหูฟัง 980 บาท ขายให้เพื่อนขาดทุนร้อยละ 15 แก้วตาขายหูฟังราคาเท่าใด
ตัวอย่าง 2 ในถังมีน้ำา 68 ลิตร ใช้ไป 17 ลิตร ใช้น้ำาไปคิดเป็นกี่เปอร์เซ็นต์
วิธีทำา ขายขาดทุนร้อยละ 15
...................................................................................................................................................
วิธีทำา ในถังมีน้ำา 68 ลิตร ใช้ไป 17 ลิตร
...................................................................................................................................................
แก้วตาซื้อหูฟัง 980 บาท
................................................................................................................................................... 17
15 ถ้าในถังมีน้ำา 1 ลิตร ใช้ไป ลิตร
...................................................................................................................................................
ขายขาดทุน × 980 = 147 บาท
................................................................................................................................................... 68
100 17
ถ้าในถังมีน้ำา 100 ลิตร ใช้ไป 100 × = 25 ลิตร
...................................................................................................................................................
ดังนั้น แก้วตาขายหูฟังราคา 980 − 147 = 833 บาท
................................................................................................................................................... 68
ดังนั้น ใช้น้ำาไปคิดเป็น 25% ของปริมาณน้ำาในถัง
...................................................................................................................................................
ตอบ ๘๓๓ บาท
...................................................................................................................................................
ตอบ ๒๕% ของปริมาณน้ำาในถัง
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................

3 ปีที่แล้วลุงพลได้ผลผลิตอ้อย 650 เมตริกตัน ปีนี้ได้ผลผลิตเพิ่มขึ้น 78 เมตริกตัน


3) ขุนซื้อรองเท้าคู่หนึ่งราคา 1,240 บาท ขายไปได้กำาไร 15% ขุนขายรองเท้าราคาเท่าใด
ปีนี้ได้ผลผลิตเพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละเท่าใดของปีที่แล้ว
ตัวอย่าง
วิธีทำา ขายได้กำาไร 15%
................................................................................................................................................... 78 เมตริกตัน
วิธีท...................................................................................................................................................
ำา ปีที่แล้วได้ผลผลิตอ้อย 650 เมตริกตัน ปีนี้ได้ผลผลิตเพิ่มขึ้น
ขุนซื้อรองเท้าคู่หนึ่งราคา 1,240 บาท
................................................................................................................................................... 78
ถ้าปีที่แล้วได้ผลผลิตอ้อย 1 เมตริกตัน ปีนี้ได้ผลผลิตเพิ่มขึ้น เมตริกตัน
...................................................................................................................................................
15 650
ขายได้กำาไร × 1,240 = 186 บาท
................................................................................................................................................... 78
100 ถ้าปีที่แล้วได้ผลผลิตอ้อย 100 เมตริกตัน ปีนี้ได้ผลผลิตเพิ่มขึ้น 100 × = 12 เมตริกตัน
...................................................................................................................................................
650
ดังนั้น ขุนขายรองเท้าราคา 1,240 + 186 = 1,426 บาท
................................................................................................................................................... ดังนั้น ปีนี้ลุงพลได้ผลผลิตเพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 12 ของปีที่แล้ว
...................................................................................................................................................
ตอบ ๑,๔๒๖ บาท
................................................................................................................................................... ตอบ...................................................................................................................................................
ร้อยละ ๑๒ ของปีที่แล้ว
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................

112 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 113


แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 230 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

แบบฝึกหัด 4.3
4 ในสวนมีต้นมะพร้าว 75 ต้น ต้นมะม่วง 45 ต้น และ ต้นเงาะ 30 ต้น
แสดงวิธีหาคำาตอบ
1) ต้นมะพร้าวคิดเป็นร้อยละเท่าใดของไม้ผลในสวน

2) ต้นเงาะคิดเป็นกี่เปอร์เซ็นต์ของไม้ผลในสวน 1 เดือนมกราคม ต้นไม้ที่หยกปลูกไว้สูง 120 เซนติเมตร เดือนสิงหาคมวัดความสูงได้ 168 เซนติเมตร


ต้นไม้นี้สูงเพิ่มขึ้นจากเดือนมกราคมกี่เปอร์เซ็นต์
3) ต้นมะม่วงคิดเป็นกี่เปอร์เซ็นต์ของต้นมะพร้าว
ตัวอย่าง
1) วิธีทำา ในสวนมีไม้ผลทั้งหมด 75 + 45 + 30 = 150 ต้น วิธีทำา เดื อนมกราคมต้นไม้ที่ปลูกไว้สูง 120 เซนติเมตร เดือนสิงหาคมต้นไม้สูง 168 เซนติเมตร
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
มีไม้ผลในสวน 150 ต้น เป็นต้นมะพร้าว 75 ต้น
................................................................................................................................................... แสดงว่ า ต้นไม้สูงเพิ่มขึ้น 168 − 120 = 48 เซนติเมตร
...................................................................................................................................................
75 เดื อนมกราคมต้นไม้สูง 120 เซนติเมตร เดือนสิงหาคมสูงขึ้น 48 เซนติเมตร
ถ้ามีไม้ผลในสวน 1 ต้น เป็นต้นมะพร้าว ต้น
................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................
150 48
75 ถ้...................................................................................................................................................
าเดือนมกราคมต้นไม้สูง 1 เซนติเมตร เดือนสิงหาคมสูงขึ้น เซนติเมตร
ถ้ามีไม้ผลในสวน 100 ต้น เป็นต้นมะพร้าว 100 × = 50 ต้น
...................................................................................................................................................
150 120
48
ดังนั้น ต้นมะพร้าวคิดเป็นร้อยละ 50 ของไม้ผลในสวน
................................................................................................................................................... าเดือนมกราคมต้นไม้สูง 100 เซนติเมตร เดือนสิงหาคมสูงขึ้น 100 × = 40 เซนติเมตร
ถ้...................................................................................................................................................
120
ตอบ ร้อยละ ๕๐ ของไม้ผลในสวน
.................................................................................................................................................. ดั..................................................................................................................................................
งนั้น ต้นไม้นี้สูงเพิ่มขึ้นจากเดือนมกราคม 40%

................................................................................................................................................... ตอบ เพิ ่มขึ้นจากเดือนมกราคม ๔๐%


...................................................................................................................................................

2) วิธีทำา มีไม้ผลในสวน 150 ต้น เป็นต้นเงาะ 30 ต้น


................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................
30
ถ้ามีไม้ผลในสวน 1 ต้น เป็นต้นเงาะ ต้น
................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................
150
30
ถ้ามีไม้ผลในสวน 100 ต้น เป็นต้นเงาะ 100 × = 20 ต้น
...................................................................................................................................................
150
ดังนั้น ต้นเงาะคิดเป็น 20% ของไม้ผลในสวน
................................................................................................................................................... 2 สัปดาห์ที่แล้วมีผู้เข้าชมพิพิธภัณฑ์ 3,200 คน สัปดาห์นี้มีผู้เข้าชม 2,400 คน สัปดาห์นี้มีผู้เข้าชม
ตอบ ๒๐% ของไม้ผลในสวน ลดลงจากสัปดาห์ที่แล้วร้อยละเท่าใด
...................................................................................................................................................
ตัวอย่าง
................................................................................................................................................... วิธีทำา สัปดาห์ที่แล้วมีผู้เข้าชมพิพิธภัณฑ์ 3,200 คน สัปดาห์นี้มีผู้เข้าชม 2,400 คน
...................................................................................................................................................
3) วิธีทำา ในสวนมีต้นมะพร้าว 75 ต้น มีต้นมะม่วง 45 ต้น
................................................................................................................................................... แสดงว่า สัปดาห์นี้มีผู้เข้าชมลดลงจากสัปดาห์ที่แล้ว 3,200 − 2,400 = 800 คน
...................................................................................................................................................
45
ถ้าในสวนมีต้นมะพร้าว 1 ต้น มีต้นมะม่วง ต้น
................................................................................................................................................... สัปดาห์ที่แล้วมีผู้เข้าชม 3,200 คน สัปดาห์นี้ลดลง 800 คน
...................................................................................................................................................
75
45 800
ถ้าในสวนมีต้นมะพร้าว 100 ต้น มีต้นมะม่วง 100 × = 60 ต้น
.................................................................................................................................................. ถ้าสัปดาห์ที่แล้วมีผู้เข้าชม 1 คน สัปดาห์นี้ลดลง คน
...................................................................................................................................................
75 3200
800
ดังนั้น ต้นมะม่วงคิดเป็น 60% ของต้นมะพร้าว
................................................................................................................................................... ถ้าสัปดาห์ที่แล้วมีผู้เข้าชม 100 คน สัปดาห์นี้ลดลง 100 × = 25 คน
...................................................................................................................................................
3200
ตอบ ๖๐% ของต้นมะพร้าว
................................................................................................................................................... ดังนั้น สัปดาห์นี้มีผู้เข้าชมลดลงจากสัปดาห์ที่แล้วร้อยละ 25
..................................................................................................................................................

................................................................................................................................................... ตอบ ลดลงจากสัปดาห์ที่แล้วร้อยละ ๒๕


...................................................................................................................................................

................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................

................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................

114 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 115


แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 231 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

แบบฝึกหัด 4.4
3 วันนี้ร้านค้าขายเครื่องดื่มได้ 340 แก้ว เป็นกาแฟ 150 แก้ว ชา 70 แก้ว ที่เหลือเป็นน้ำาผลไม้
ร้านค้าขายกาแฟคิดเป็นร้อยละเท่าใดของจำานวนน้ำาผลไม้ แสดงวิธีหาคำาตอบ

วิธีทำา ร้านค้าขายเครื่องดื่มได้ 340 แก้ว เป็นกาแฟ 150 แก้ว ชา 70 แก้ว


...................................................................................................................................................
1 ร้านค้าซื้อกางเกงตัวหนึ่งราคา 360 บาท ขายไป 540 บาท
แสดงว่า ร้านค้าขายน้ำาผลไม้ได้ 340 − (150 + 70) = 120 แก้ว
................................................................................................................................................... ร้านค้าขายกางเกงตัวนี้ได้กำาไรร้อยละเท่าใด
ตัวอย่าง
ร้านค้าขายน้ำาผลไม้ได้ 120 แก้ว ขายกาแฟได้ 150 แก้ว
................................................................................................................................................... วิธีทำา ร้านค้าขายกางเกงได้กำาไร 540 − 360 = 180 บาท
................................................................................................................
150
ถ้าร้านค้าขายน้ำาผลไม้ได้ 1 แก้ว ขายกาแฟได้ แก้ว
...................................................................................................................................................
120 ทุน 360 บาท ขายได้กำาไร 180 บาท
.................................................................................................................................................
150
ถ้าร้านค้าขายน้ำาผลไม้ได้ 100 แก้ว ขายกาแฟได้ 100 × = 125 แก้ว
................................................................................................................................................... 180
120 ถ้าทุน 1 บาท ขายได้กำาไร บาท
.................................................................................................................................................
360
ดังนั้น ร้านค้าขายกาแฟคิดเป็นร้อยละ 125 ของจำานวนน้ำาผลไม้
.................................................................................................................................................. 180
ถ้าทุน 100 บาท ขายได้กำาไร 100 × = 50 บาท
.................................................................................................................................................
360
ตอบ ร้อยละ ๑๒๕ ของจำานวนน้ำาผลไม้
................................................................................................................................................... ดังนั้น ร้านค้าขายกางเกงตัวนี้ได้กำาไรร้อยละ 50
.................................................................................................................................................
................................................................................................................................................... ตอบ ร้อยละ ๕๐
.................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................
4 เมื่อวานขุนเดินได้ 7,500 ก้าว วันนี้เดินได้มากกว่าเมื่อวาน 1,125 ก้าว
จำานวนก้าวที่ขุนเดินได้ในวันนี้คิดเป็นร้อยละเท่าใดของจำานวนก้าวที่ขุนเดินได้เมื่อวาน 2 ชัยขายนาฬิกาปลุกให้ก้องราคา 420 บาท ถ้าชัยซื้อนาฬิกาปลุกเรือนนี้มา 500 บาท
ชัยขาดทุนกี่เปอร์เซ็นต์
วิธีทำา เมื่อวานขุนเดินได้ 7,500 ก้าว วันนี้เดินได้มากกว่าเมื่อวาน 1,125 ก้าว
.................................................................................................................................................... ตัวอย่าง
แสดงว่า วันนี้ขุนเดินได้ 7,500 + 1,125 = 8,625 ก้าว วิธีทำา ชัยขายนาฬิกาปลุกขาดทุน 500 − 420 = 80 บาท
.......................................................................................................................
....................................................................................................................................................
เมื่อวานขุนเดินได้ 7,500 ก้าว วันนี้เดินได้ 8,625 ก้าว
.................................................................................................................................................... ทุน 500 บาท ขายขาดทุน 80 บาท
...........................................................................................................................
8625 80
ถ้าเมื่อวานขุนเดินได้ 1 ก้าว วันนี้เดินได้ ก้าว
.................................................................................................................................................... ถ้าทุน 1 บาท ขายขาดทุน บาท
.................................................................................................................................................
8625 7500 500
ถ้าเมื่อวานขุนเดินได้ 100 ก้าว วันนี้เดินได้ 100 × = 115 ก้าว 80
.................................................................................................................................................... ถ้าทุน 100 บาท ขายขาดทุน 100 × = 16 บาท
.................................................................................................................................................
7500 500
ดังนั้น จำานวนก้าวที่ขุนเดินได้ในวันนี้คิดเป็นร้อยละ 115 ของจำานวนก้าวที่ขุนเดินได้เมื่อวาน
.................................................................................................................................................... ดังนั้น ชัยขายนาฬิกาปลุกขาดทุน 16 เปอร์เซ็นต์
.................................................................................................................................................
ตอบ ร้อยละ ๑๑๕ ของจำานวนก้าวที่ขุนเดินได้เมื่อวาน
.................................................................................................................................................... ตอบ ๑๖ เปอร์เซ็นต์
.................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................

116 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 117


แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 232 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

แบบฝึกหัด 4.5
3 ร้านค้าติดราคาไฟฉายกระบอกหนึ่ง 950 บาท ขายให้ลูกค้า 608 บาท
แสดงวิธีหาคำาตอบ
ร้านค้าลดราคากี่เปอร์เซ็นต์
950

608 าท
บาท
ตัวอย่าง
............................................................................................. 1 ร้านเฟอร์นิเจอร์ขายเตียงนอนราคา 16,200 บาท ได้กำาไร 35% ร้านค้าลงทุนซื้อเตียงนอน

................................................................................................................................................. ราคาเท่าใด

วิธีทำา ร้านค้าลดราคาไฟฉาย 950 − 608 = 342 บาท


................................................................................................................................................. วิธีทำา ทุนของเตียงนอน 100 บาท ขายได้กำาไร 35 บาท
.................................................................................................................................................
ร้านค้าติดราคาไฟฉาย 950 บาท ลดราคา 342 บาท
................................................................................................................................................. แสดงว่า ร้านเฟอร์นิเจอร์ขายเตียงนอนราคา 100 + 35 = 135 บาท
.................................................................................................................................................
342
ถ้าร้านค้าติดราคาไฟฉาย 1 บาท ลดราคา บาท
................................................................................................................................................. ถ้าขายเตียงนอนราคา 135 บาท จากทุน 100 บาท
950 .................................................................................................................................................
342 100
ถ้าร้านค้าติดราคาไฟฉาย 100 บาท ลดราคา 100 × = 36 บาท
................................................................................................................................................. ถ้าขายเตียงนอนราคา 1 บาท จากทุน บาท
950 .................................................................................................................................................
135
ดังนั้น ร้านค้าลดราคาไฟฉาย 36 เปอร์เซ็นต์
................................................................................................................................................. 100
ขายเตียงนอนราคา 16,200 บาท จากทุน 16,200 × = 12,000 บาท
.................................................................................................................................................
135
ตอบ ๓๖ เปอร์เซ็นต์
................................................................................................................................................. ดังนั้น ร้านค้าลงทุนซื้อเตียงนอนราคา 12,000 บาท
.................................................................................................................................................
................................................................................................................................................. ตอบ ๑๒,๐๐๐ บาท
.................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................

4 ร้านค้าติดราคาโคมไฟ 3,800 บาท ขายให้ลูกค้า 2,850 บาท


ร้านค้าลดราคาร้อยละเท่าใด
2 อ้นขายจักรยานให้กานต์ราคา 6,000 บาท ขาดทุนร้อยละ 25 อ้นซื้อจักรยานคันนี้ราคาเท่าใด
ตัวอย่าง
............................................................................................................
3,80 วิธีทำา ทุนของจักรยาน 100 บาท อ้นขายขาดทุน 25 บาท
.................................................................................................................................................
0
............................................................................................................ 2,85 บาท
0 บา
ท แสดงว่า อ้นขายจักรยานราคา 100 − 25 = 75 บาท
.................................................................................................................................................
วิ.................................................................................................................................................
ธีทำา ร้านค้าลดราคาโคมไฟ 3,800 − 2,850 = 950 บาท
ถ้าขายจักรยานราคา 75 บาท จากทุน 100 บาท
.................................................................................................................................................
ร้านค้าติดราคาโคมไฟ 3,800 บาท ลดราคา 950 บาท
................................................................................................................................................. 100
ถ้าขายจักรยานราคา 1 บาท จากทุน บาท
.................................................................................................................................................
950 75
ถ้าร้านค้าติดราคาโคมไฟ 1 บาท ลดราคา บาท
................................................................................................................................................. 100
3800 ขายจักรยานราคา 6,000 บาท จากทุน 6,000 × = 8,000 บาท
.................................................................................................................................................
950 75
ถ้าร้านค้าติดราคาโคมไฟ 100 บาท ลดราคา 100 × = 25 บาท
.................................................................................................................................................
3800 ดังนั้น อ้นซื้อจักรยานคันนี้ราคา 8,000 บาท
.................................................................................................................................................
ดังนั้น ร้านค้าลดราคาโคมไฟร้อยละ 25
.................................................................................................................................................
ตอบ ๘,๐๐๐ บาท
.................................................................................................................................................
ตอบ ร้อยละ ๒๕
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................

118 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 119


แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 233 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

แบบฝึกหัด 4.6
3 ร้านค้าประกาศลดราคาเครื่องซักผ้าทั้งร้าน 40% แม่ซื้อมาเครื่องหนึ่งราคา 9,360 บาท
เขียนอัตราส่วนจากข้อความต่อไปนี้
ร้านค้าติดราคาเครื่องซักผ้าที่แม่ซื้อไว้เท่าใด

วิธ.................................................................................................................................................
ีทำา ร้านค้าติดราคาเครื่องซักผ้า 100 บาท ลดราคาให้ 40 บาท 1 ซื้อถุงเท้า 5 คู่ แถมถุงเท้า 1 คู่

แสดงว่า ขายเครื่องซักผ้าราคา 100 − 40 = 60 บาท


................................................................................................................................................. อัตราส่วนของจำานวนถุงเท้าที่ซื้อ ต่อ จำานวนถุงเท้าที่แถม เป็น 5 : 1
.................................................................................................................................................
ถ้าแม่ซื้อเครื่องซักผ้าราคา 60 บาท จากราคาที่ติดไว้ 100 บาท
................................................................................................................................................. หรือ อัตราส่วนของจำานวนถุงเท้าที่แถม ต่อ จำานวนถุงเท้าที่ซื้อ เป็น 1 : 5
.................................................................................................................................................
100
ถ้าแม่ซื้อเครื่องซักผ้าราคา 1 บาท จากราคาที่ติดไว้ บาท
................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................
60
100
แม่ซื้อเครื่องซักผ้าราคา 9,360 บาท จากราคาที่ติดไว้ 9,360 × = 15,600 บาท
.................................................................................................................................................
60 2 นักวิ่งคนหนึ่ง ใช้เวลา 6 นาที วิ่งได้ระยะทาง 1 กิโลเมตร
ดังนั้น ร้านค้าติดราคาเครื่องซักผ้าที่แม่ซื้อไว้ 15,600 บาท
................................................................................................................................................. ตัวอย่าง
อัตราส่วนของระยะทางเป็นกิโลเมตร ต่อ เวลาเป็นนาที เป็น 1 : 6
.................................................................................................................................................
ตอบ ๑๕,๖๐๐ บาท
.................................................................................................................................................
หรือ อัตราส่วนของระยะทาง ต่อ เวลา เป็น 1 กิโลเมตร : 6 นาที
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................

3 การจัดรายการเพลงของสถานีวิทยุแห่งหนึ่ง เปิดเพลง 10 นาที โฆษณา 2 นาที

อัตราส่วนของระยะเวลาที่เปิดเพลง ต่อ ระยะเวลาที่โฆษณา เป็น 10 : 2


.................................................................................................................................................
4 ร้านค้าขายชุดเครื่องนอน 2,220 บาท ได้กำาไรร้อยละ 48 ร้านค้าลงทุนซื้อชุดเครื่องนอน หรือ อัตราส่วนของระยะเวลาที่โฆษณา ต่อ ระยะเวลาที่เปิดเพลง เป็น 2 : 10
.................................................................................................................................................
ราคาเท่าใด
.................................................................................................................................................
วิธีทำา ทุนของชุดเครื่องนอน 100 บาท ขายได้้กำาไร 48 บาท
.................................................................................................................................................
4 แม่ผสมน้ำาหวานโดยใช้น้ำาหวานเข้มข้น 2 แก้ว ผสมกับน้ำาเปล่า 5 แก้ว
แสดงว่า ขายชุดเครื่องนอนราคา 100 + 48 = 148 บาท
.................................................................................................................................................
อัตราส่วนของปริมาณน้ำาหวานเข้มข้น ต่อ ปริมาณน้ำาเปล่า เป็น 2 : 5
.................................................................................................................................................
ถ้าขายชุดเครื่องนอนราคา 148 บาท จากทุน 100 บาท
.................................................................................................................................................
100 หรือ อัตราส่วนของปริมาณน้ำาเปล่า ต่อ ปริมาณน้ำาหวานเข้มข้น เป็น 5 : 2
.................................................................................................................................................
ถ้าขายชุดเครื่องนอนราคา 1 บาท จากทุน บาท
.................................................................................................................................................
148
100 .................................................................................................................................................
ขายชุดเครื่องนอนราคา 2,220 บาท จากทุน 2,220 × = 1,500 บาท
.................................................................................................................................................
148
ดังนั้น ร้านค้าลงทุนซื้อชุดเครื่องนอนราคา 1,500 บาท
................................................................................................................................................. 5 ค่าเข้าชมนิทรรศการภาพวาดคนละ 30 บาท
ตอบ ๑,๕๐๐ บาท
................................................................................................................................................. ตัวอย่าง
อัตราส่วนของค่าเข้าชมเป็นบาท ต่อ จำานวนผู้เข้าชมเป็นคน เป็น 30 : 1
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
หรือ อัตราส่วนของค่าเข้าชม ต่อ จำานวนผู้เข้าชม เป็น 30 บาท : 1 คน
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................

120 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 121


แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 234 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

แบบฝึกหัด 4.7 แบบฝึกหัด 4.8

1 ตอบคำาถามโดยใช้ข้อมูลจากแผนผัง
1 เติมตัวเลขแสดงจำานวนใน

1) 6 : 13 = 30 : 65 2) 12 : 14 = 36 : 42

3) 7 : 3 = 49 : 21 4) 15 : 9 = 135 : 81 7.5 ซม.


วัด สวนสาธารณะ

5) 18 : 15 = 6 : 5 6) 44 : 52 = 11 : 13

4.
3
ซม
54 160

.
7) 9 : 21 = : 126 8) 7 : 16 = 70 :

9) 72 : 32 = 9 : 4 10) 96 : 192 = 8 : 16 มาตราส่วน 1 : 20,000 โรงเรียน

1) ระยะทางจากสวนสาธารณะถึงโรงเรียนเป็นกี่เมตร

จากภาพ ระยะทางจากสวนสาธารณะถึงโรงเรียนยาว 4.3 เซนติเมตร


...........................................................................................................................................................
2 หาอัตราส่วนที่เท่ากับอัตราส่วนที่กำาหนด อีก 4 อัตราส่วน
จะได้ 1 : 20,000 = 4.3 × 1 : 4.3 × 20,000
...........................................................................................................................................................
1) 6 : 14 2) 56 : 24
= 4.3 : 86,000
...........................................................................................................................................................
ตัวอย่าง 3 : 7
....................................................................... ตัวอย่าง 28 : 12
....................................................................... ดังนั้น ระยะทางจากสวนสาธารณะถึงโรงเรียนยาว 86,000 เซนติเมตร
...........................................................................................................................................................
12 : 28
....................................................................... 14 : 6
....................................................................... หรือ 86,000 ÷ 100 = 860 เมตร
...........................................................................................................................................................

18 : 42
....................................................................... 7 : 3
.......................................................................
2) ระยะทางจากวัดถึงโรงเรียนเป็นกี่กิโลเมตร
24 : 56
....................................................................... 560 : 240
.......................................................................
จากภาพ ระยะทางจากวัดถึงโรงเรียนยาว 7.5 + 4.3 = 11.8 เซนติเมตร
...........................................................................................................................................................
3) 14 : 24 4) 90 : 210 จะได้ 1 : 20,000 = 11.8 × 1 : 11.8 × 20,000
...........................................................................................................................................................
= 11.8 : 236,000
...........................................................................................................................................................
ตัวอย่าง 7 : 12
....................................................................... ตัวอย่าง 9 : 21
.......................................................................
ดังนั้น ระยะทางจากวัดถึงโรงเรียนยาว 236,000 เซนติเมตร
...........................................................................................................................................................
28 : 48
....................................................................... 30 : 70
.......................................................................
หรือ 236,000 ÷ 100 = 2,360 เมตร
...........................................................................................................................................................
42 : 72
....................................................................... 3 : 7
.......................................................................
หรือ 2,360 ÷ 1,000 = 2.36 กิโลเมตร
...........................................................................................................................................................
70 : 120
....................................................................... 18 : 42
.......................................................................
...........................................................................................................................................................

122 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 123


แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 235 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

2 ตอบคำาถามโดยใช้ข้อมูลจากแบบของสะพาน แบบฝึกหัด 4.9


มาตราส่วน 1 ซม. : 25 ม. แสดงวิธีหาคำาตอบ

1 สนามรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากแห่งหนึ่งยาว 30 เมตร และมีอัตราส่วนของความกว้าง ต่อ ความยาว


เป็น 3 : 5 ถ้าป้องต้องการทำาเส้นขอบรอบสนามแห่งนี้ จะต้องทำาเส้นขอบเป็นระยะทางเท่าใด

วิธีทำา จากอัตราส่วนของความกว้าง ต่อ ความยาว เป็น 3 : 5


.................................................................................................................................................
และเนื่องจาก 30 ÷ 5 = 6
.................................................................................................................................................
8.5 ซม. 13.5 ซม. 8.5 ซม.
จะได้ 3 : 5 = (3 × 6) : (5 × 6)
.................................................................................................................................................

1) เสาต้นที่ 2 กับเสาต้นที่ 3 ห่างกันกี่เมตร = 18 : 30


.................................................................................................................................................

จากภาพ เสาต้นที่ 2 กับเสาต้นที่ 3 ห่างกัน 13.5 เซนติเมตร แสดงว่า สนามรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก กว้าง 18 เมตร ยาว 30 เมตร
.................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
จะได้ 1 ซม. : 25 ม. = 13.5 × 1 ซม. : 13.5 × 25 ม. และมีความยาวรอบสนาม 2 × (18 + 30) = 96 เมตร
.................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
= 13.5 ซม. : 337.5 ม. ดังนั้น ป้องต้องทำาเส้นขอบเป็นระยะทาง 96 เมตร
.................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
ดังนั้น เสาต้นที่ 2 กับเสาต้นที่ 3 ห่างกัน 337.5 เมตร ตอบ ๙๖ เมตร
.................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................
2 บอลต้องการทาสีบ้านคิดเป็นพื้นที่ 108 ตารางเมตร ถ้าอัตราส่วนของปริมาณสีทาบ้าน ต่อ พื้นที่
........................................................................................................................................................... เป็น 4 ลิตร : 9 ตารางเมตร และสี 1 ถัง มีประมาณ 20 ลิตร บอลต้องซื้อสีอย่างน้อยกี่ถัง
...........................................................................................................................................................
วิธีทำา จากอัตราส่วนของปริมาณสีทาบ้าน ต่อ พื้นที่ = 4 ลิตร : 9 ตารางเมตร
.................................................................................................................................................
2) สะพานยาวกี่เมตร และเนื่องจาก 108 ÷ 9 = 12
.................................................................................................................................................
จากภาพ สะพานยาว 8.5 + 13.5 + 8.5 = 30.5 เซนติเมตร
........................................................................................................................................................... จะได้ 4 ลิตร : 9 ตารางเมตร = 4 × 12 ลิตร : 9 × 12 ตารางเมตร
.................................................................................................................................................
จะได้ 1 ซม. : 25 ม. = 30.5 × 1 ซม. : 30.5 × 25 ม.
........................................................................................................................................................... = 48 ลิตร : 108 ตารางเมตร
.................................................................................................................................................
= 30.5 ซม. : 762.5 ม.
........................................................................................................................................................... แสดงว่า พื้นที่ทาสี 108 ตาราเมตร ใช้สี 48 ลิตร
.................................................................................................................................................
ดังนั้น สะพานยาว 762.5 เมตร
........................................................................................................................................................... สี 1 ถัง มีปริมาตรประมาณ 20 ลิตร
.................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................... บอลต้องใช้สีทาบ้าน 48 ÷ 20 = 2.4 ถัง
.................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................... ดังนั้น บอลต้องซื้อสีอย่างน้อย 3 ถัง
.................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................... ตอบ ๓ ถัง
.................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................

124 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 125


แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 236 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

แบบฝึกหัด 4.10
3 การทำาขนมหม้อแกงใช้อัตราส่วนของปริมาณน้ำาตาลโตนดเป็นกิโลกรัม ต่อ จำานวนขนมเป็นถาด
เป็น 3 : 50 ถ้าหยกต้องการทำาขนมหม้อแกง 300 ถาด และน้ำาตาลโตนดราคากิโลกรัมละ แสดงวิธีหาคำาตอบ

159 บาท หยกต้องจ่ายเงินค่าน้ำาตาลโตนดกี่บาท 1 แผนผังของบริเวณบ้านหลังหนึ่งมีลักษณะดังรูป ถ้าตัวบ้านมีพื้นที่ 480 ตารางเมตร


และเจ้าของบ้านต้องการปลูกหญ้าบริเวณรอบตัวบ้าน โดยค่าจ้างเหมาปลูกหญ้าราคา
วิธีทำา จากอัตราส่วนของปริมาณน้ำาตาล ต่อ จำานวนขนม = 3 กิโลกรัม : 50 ถาด
.................................................................................................................................................... ตารางเมตรละ 150 บาท เจ้าของบ้านต้องจ่ายเงินค่าจ้างเหมาปลูกหญ้ากี่บาท
และเนื่องจาก 300 ÷ 50 = 6
....................................................................................................................................................
16 ซม.
จะได้ 3 กิโลกรัม : 50 ถาด = 3 × 6 กิโลกรัม : 50 × 6 ถาด
....................................................................................................................................................
= 18 กิโลกรัม : 300 ถาด
....................................................................................................................................................
แสดงว่า ขนมหม้อแกง 300 ถาด ใช้น้ำาตาลโตนด 18 กิโลกรัม
....................................................................................................................................................

10 ซม.
น้ำาตาลโตนดราคากิโลกรัมละ 159 บาท ตัวบ้าน
....................................................................................................................................................
ดังนั้น หยกต้องจ่ายเงินค่าน้ำาตาลโตนด 18 × 159 = 2,862 บาท
....................................................................................................................................................
ตอบ ๒,๘๖๒ บาท
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
มาตราส่วน 1 ซม. : 2 ม.

วิธีทำา จากแผนผัง บริเวณบ้านกว้าง 10 ซม. ยาว 16 ซม. และใช้มาตราส่วน 1 ซม. : 2 ม.


...........................................................................................................................................................
4 ภีมม์เปิดกระป๋องออมสิน พบว่ามีเหรียญสิบบาทและเหรียญห้าบาท โดยอัตราส่วนของจำานวน หาความกว้างของบริเวณบ้าน ดังนี้
...........................................................................................................................................................
เหรียญสิบบาท ต่อ จำานวนเหรียญห้าบาท เป็น 6 : 13 ถ้าในกระป๋องออมสินมีเหรียญสิบบาท
1 ซม. : 2 ม. = 10 × 1 ซม. : 10 × 2 ม.
...........................................................................................................................................................
66 เหรียญ ภีมม์มีเงินในกระป๋องออมสินทั้งหมดกี่บาท
= 10 ซม. : 20 ม.
...........................................................................................................................................................
วิธีทำา จากอัตราส่วนของจำานวนเหรียญสิบบาท ต่อ จำานวนเหรียญห้าบาท เป็น 6 : 13
.................................................................................................................................................... แสดงว่า บริเวณบ้านมีความกว้าง 20 ม.
...........................................................................................................................................................
และเนื่องจาก 66 ÷ 6 = 11
.................................................................................................................................................... หาความยาวของบริเวณบ้าน ดังนี้
...........................................................................................................................................................
จะได้ 6 : 13 = (6 × 11) : (13 × 11)
....................................................................................................................................................
1 ซม. : 2 ม. = 16 × 1 ซม. : 16 × 2 ม.
...........................................................................................................................................................
= 66 : 143
....................................................................................................................................................
= 16 ซม. : 32 ม.
...........................................................................................................................................................
จะได้ว่า ในกระป๋องออมสินมีเหรียญสิบบาท 66 เหรียญ เหรียญห้าบาท 143 เหรียญ
....................................................................................................................................................
แสดงว่า บริเวณบ้านมีความยาว 32 ม.
...........................................................................................................................................................
เหรียญสิบบาท 66 เหรียญ คิดเป็นเงิน 66 × 10 = 660 บาท
....................................................................................................................................................
จะได้ว่า บริเวณบ้านนี้มีพื้นที่ 20 × 32 = 640 ตร.ม.
...........................................................................................................................................................
เหรียญห้าบาท 143 เหรียญ คิดเป็นเงิน 143 × 5 = 715 บาท
....................................................................................................................................................
ดังนั้น ภีมม์มีเงินในกระป๋องออมสินทั้งหมด 660 + 715 = 1,375 บาท และมีพื้นที่สำาหรับปลูกหญ้า 640 − 480 = 160 ตร.ม.
...........................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
ตอบ ๑,๓๗๕ บาท
.................................................................................................................................................... ดังนั้น เจ้าของบ้านต้องจ่ายเงินค่าจ้างเหมาปลูกหญ้า 160 × 150 = 24,000 บาท
...........................................................................................................................................................
ตอบ ๒๔,๐๐๐ บาท
...........................................................................................................................................................

126 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 127


แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 237 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน บทที่ 4 | ร้อยละและอัตราส่วน

2 พ่อขับรถไป – กลับระหว่างบ้านกับบ้านคุณตาตามเส้นทางในแผนผัง ถ้ารถคันนี้ใช้น้ำามัน 3 แผนผังลานจอดรถ มีลักษณะดังรูป


โดยเฉลี่ย 15 กิโลเมตรต่อลิตร ในการเดินทางครั้งนี้ใช้น้ำามันไปกี่ลิตร 4 ซม.

มาตราส่วน 1 ซม. : 5 กม.

3 ซม.
1

5 ซม.

5 ซม.
บ้านพ่อ

3
6 ซม.
ซม
4ซ
.
ม. 2

คลอ
12.5 ซม.
ราคา

บ้านคุณตา มาตราส่วน 1 : 1,000

ถ้าเจ้าของลานจอดรถต้องการเทพื้นคอนกรีตหนา 0.1 เมตร จะต้องใช้คอนกรีตกี่ลูกบาศก์เมตร


วิธีทำา จากแผนผัง ระยะทางระหว่างบ้านกับบ้านคุณตายาว 5 + 3 + 6 + 4 = 18 ซม.
........................................................................................................................................................... ตัวอย่าง ...........................................................................................................................................................
ระยะทางไป - กลับยาว 2 × 18 = 36 ซม. และใช้มาตราส่วน 1 ซม. : 5 กม.
........................................................................................................................................................... วิธีทำา จากแผนผั ง เมื่อแบ่งลานจอดรถออกเป็นรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก จะได้
...........................................................................................................................................................
จะได้ 1 ซม. : 5 กม. = 36 × 1 ซม. : 36 × 5 กม.
........................................................................................................................................................... ่ 1 กว้าง 3 ซม. ยาว 4 ซม. ส่วนที่ 2 กว้าง 5 − 3 = 2 ซม. ยาว 12.5 ซม.
ส่วนที...........................................................................................................................................................

= 36 ซม. : 180 กม.


........................................................................................................................................................... ใช้มาตราส่ วน 1 ซม. : 1,000 ซม. หรือ 1 ซม. : 10 ม.
...........................................................................................................................................................
แสดงว่า ระยะทางไป - กลับระหว่างบ้านกับบ้านคุณตายาว 180 กม.
........................................................................................................................................................... หาความกว้ างและความยาวของลานจอดรถส่วนที่ี 1 ดังนี้
...........................................................................................................................................................
รถใช้น้ำามันโดยเฉลี่ย 15 กิโลเมตรต่อลิตร
........................................................................................................................................................... จาก 1...........................................................................................................................................................
ซม. : 10 ม. = 3 × 1 ซม. : 3 × 10 ม. จาก 1 ซม. : 10 ม. = 4 × 1 ซม. : 4 × 10 ม.

ดังนั้น ในการเดินทางครั้งนี้ใช้น้ำามันไป 180 ÷ 15 = 12 ลิตร


........................................................................................................................................................... = 3 ซม. : 30 ม. = 4 ซม. : 40 ม.
...........................................................................................................................................................
ตอบ ๑๒ ลิตร
........................................................................................................................................................... แสดงว่ า ลานจอดรถส่วนที่ี 1 กว้าง 30 ม. ยาว 40 ม.
...........................................................................................................................................................

........................................................................................................................................................... หาความกว้ างและความยาวของลานจอดรถส่วนที่ี 2 ดังนี้


...........................................................................................................................................................

........................................................................................................................................................... จาก 1...........................................................................................................................................................


ซม. : 10 ม. = 2 × 1 ซม. : 2 × 10 ม. จาก 1 ซม. : 10 ม. = 12.5 × 1 ซม. : 12.5 × 10 ม.

........................................................................................................................................................... = 2 ซม. : 20 ม. = 12.5 ซม. : 125 ม.


...........................................................................................................................................................

........................................................................................................................................................... แสดงว่ า ลานจอดรถส่วนที่ี 2 กว้าง 20 ม. ยาว 125 ม.


...........................................................................................................................................................

........................................................................................................................................................... เนื่องจาก ปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก = ความกว้าง × ความยาว × ความสูง


...........................................................................................................................................................

........................................................................................................................................................... ่า ลานจอดรถส่วนที่ 1 ใช้คอนกรีต 30 × 40 × 0.1 = 120 ลบ.ม.


จะได้ว...........................................................................................................................................................

........................................................................................................................................................... และ ...........................................................................................................................................................


ลานจอดรถส่วนที่ 2 ใช้คอนกรีต 20 × 125 × 0.1 = 250 ลบ.ม.

........................................................................................................................................................... ดังนั้น...........................................................................................................................................................
เจ้าของลานจอดรถจะต้องใช้คอนกรีตทั้งหมด 120 + 250 = 370 ลบ.ม.

........................................................................................................................................................... ตอบ ๓๗๐ ...........................................................................................................................................................


ลูกบาศก์เมตร

128 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 129


238 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 5 | แบบรูป

แบบฝึกหัด 3 เขียนรูปถัดไปของแบบรูปที่กำาหนด
บทที่ 5 แบบรูป
1)
..............................

แบบฝึกหัด 5.1

1 พิจารณาแบบรูปต่อไปนี้ แล้วเติมตัวเลขแสดงจำานวนใน 2)
..............................
1) 10 18 26 34 42 50 58
(เพิ่มขึ้นทีละ 8)
2) 159 147 135 123 111 99 87
(ลดลงทีละ 12)
1,845 1,640 1,435 3)
3) 2,050 1,230 1,025 820
(ลดลงทีละ 205) ..............................
4) 5 30 180 1,080 6,480 38,880 233,280
(จำานวนทางขวาเป็น 6 เท่าของจำานวนที่อยู่ติดกันทางซ้าย)
5) 790 3,160 12,640 50,560 202,240 808,960 3,235,840
(จำานวนทางขวาเป็น 4 เท่าของจำานวนที่อยู่ติดกันทางซ้าย) 4)
6) 277,020 92,340 30,780 10,260 3,420 1,140 380
(จำานวนทางซ้ายเป็น 3 เท่าของจำานวนที่อยู่ติดกันทางขวา)
..............................

2 สร้างแบบรูปของจำานวนที่มีความสัมพันธ์ตามที่กำาหนด

1) ลดลงทีละ 17 5)
..............................
300 283 266 249 232 215

2) เพิ่มขึ้นทีละ 5

97 102 112 117 122 6)


107
..............................
3) จำานวนทางขวาเป็น 5 เท่าของจำานวนทางซ้าย

8 40 200 1,000 5,000 25,000


7)
4) จำานวนทางซ้ายเป็น 2 เท่าของจำานวนทางขวา ..............................

2,048 1,024 512 256 128 64

5) จำานวนทางขวาเป็น 3 เท่าของจำานวนทางซ้าย 8)
15 45 135 405 1,215 3,645 ..............................

130 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 131


แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 239 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 5 | แบบรูป บทที่ 5 | แบบรูป

แบบฝึกหัด 5.2
2 เติมตัวเลขแสดงจำานวนใน

1 พิจารณาจำานวนในแบบรูป แล้วเติมความสัมพันธ์ใน 1) 8 9 12 17 24 33 44
+1 +3 +5 +7 +9 + 11
1) 78 79 82 87 94 103

+1 +3 +5 +7 +9 2) 137 135 131 125 117 107 95


−2 −4 −6 −8 − 10 − 12
2) 870 868 864 858 850 840
3) 622 621 618 613 606 597 586
−2 −4 −6 −8 − 10
−1 −3 −5 −7 −9 − 11

3) 1,203 1,198 1,188 1,173 1,153 1,128 4) 11 13 17 23 31 41 53


−5 − 10 − 15 − 20 − 25 +2 +4 +6 +8 + 10 + 12

5) 13 21 34 55 89 144 233
4) 5 50 1,000 30,000 1,200,000 60,000,000

× 10 × 20 × 30 × 40 × 50 (13 + 21) (21 + 34) (34 + 55) (55 + 89) (89 + 144)

6) 5 10 40 240 1,920 19,200 230,400


5) 276,480 138,240 34,560 5,760 720 72
×2 ×4 ×6 ×8 × 10 × 12
÷2 ÷4 ÷6 ÷8 ÷ 10
7) 6 12 36 144 720 4,320 30,240

6 18 108 972 11,664 174,960 ×2 ×3 ×4 ×5 ×6 ×7


6)

×3 ×6 ×9 × 12 × 15 8) 2,200 2,189 2,167 2,134 2,090 2,035 1,969


ตัวอย่างวิธีคิด (3 × 1) (3 × 2) (3 × 3) (3 × 4) (3 × 5)
− 11 − 22 − 33 − 44 − 55 − 66
7) 967 969 973 981 997 1,029
9) 5 8 13 21 34 55 89
+2 +4 +8 + 16 + 32
ตัวอย่างวิธีคิด 2 (2 × 2) (2 × 4) (2 × 8) (2 × 16)
(5 + 8) (8 + 13) (13 + 21) (21 + 34) (34 + 55)
8) 105 108 117 144 225 468
10) 4 8 24 96 480 2,880 20,160
+3 +9 + 27 + 81 + 243 ×2 ×3 ×4 ×5 ×6 ×7
ตัวอย่างวิธีคิด 3 (3 × 3) (3 × 9) (3 × 27) (3 × 81)

132 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 133


แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 240 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 5 | แบบรูป บทที่ 5 | แบบรูป

เฉลยตัวอย่างวิธีคิด หน้า 134


แบบฝึกหัด 5.3

1 1)
1 เติมคำาตอบ

1)

รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3 รูปที่ 4


รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3 รูปที่ 4
1×3 2×3 3×3 4×3
รูปที่ 13 มี 39
ทั้งหมด .................................... รูป ดังนั้น รูปที่ 13 มี ทั้งหมด 13 × 3 = 39 รูป

2)
2)

รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3 รูปที่ 4


รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3 รูปที่ 4
(1 × 3) + 2 (2 × 3) + 2 (3 × 3) + 2 (4 × 3) + 2
รูปที่ 20 มี 62
ทั้งหมด .................................... รูป ดังนั้น รูปที่ 20 มี ทั้งหมด (20 × 3) + 2 = 62 รูป

3)
3)

รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3 รูปที่ 4 รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3 รูปที่ 4

101 (1 × 3) + 2 (2 × 4) + 2 (3 × 5) + 2 (4 × 6) + 2
รูปที่ 9 มี ทั้งหมด .................................... รูป
ดังนั้น รูปที่ 9 มี ทั้งหมด (9 × 11) + 2 = 101 รูป

4) 4)

รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3 รูปที่ 4 รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3 รูปที่ 4

รูปที่ 10 มี 53
ทั้งหมด .................................... รูป 8 8 + (1 × 5) 8 + (2 × 5) 8 + (3 × 5)

ดังนั้น รูปที่ 10 มี ทั้งหมด 8 + (9 × 5) = 53 รูป

134 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 130 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 241 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 5 | แบบรูป บทที่ 5 | แบบรูป

เฉลยตัวอย่างวิธีคิด หน้า 135


5)

5)

รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3 รูปที่ 4

รูปที่ 18 มี 23
ทั้งหมด .................................... รูป รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3 รูปที่ 4

5+1 5+2 5+3 5+4


6) ดังนั้น รูปที่ 18 มี ทั้งหมด 5 + 18 = 23 รูป

6) (4 × 4) + (4 × 3) + 4

(3 × 3) + (3 × 3) + 3

(2 × 2) + (2 × 3) + 2
รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3 รูปที่ 4

รูปที่ 7 มี 49 รูป
.............. มี 21 รูป
.............. มี 7
.............. รูป (1 × 1) + (1 × 3) + 1
และ มี 77
รวมกันทั้งหมด .................................... รูป

7)
รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3 รูปที่ 4

รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3 รูปที่ 4 ดังนั้น รูปที่ 7 มี รวมกันทั้งหมด (7 × 7) + (7 × 3) + 7 = 77 รูป

รูปที่ 14 มี 27
ทั้งหมด .................................... รูป

8)

รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3 รูปที่ 4

รูปที่ 8 มี 58
ทั้งหมด .................................... รูป

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 135 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 131


แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 242
บทที่ 5 | แบบรูป

เฉลยตัวอย่างวิธีคิด หน้า 135

7)

รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3 รูปที่ 4

1 1 + (1 × 2) 1 + (2 × 2) 1 + (3 × 2)

ดังนั้น รูปที่ 14 มี ทั้งหมด 1 + (13 × 2) = 27 รูป

8)

รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3 รูปที่ 4

2 2 + (4 × 2) 2 + (4 × 2) + (4 × 2) 2 + (4 × 2) + (4 × 2) + (4 × 2)

ดังนั้น รูปที่ 8 มี ทั้งหมด


2 + (4 × 2) + (4 × 2) + (4 × 2) + (4 × 2) + (4 × 2) + (4 × 2) + (4 × 2) = 58 รูป

132 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 243 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 5 | แบบรูป บทที่ 5 | แบบรูป

2 พิจารณาแบบรูป แล้วเติมคำาตอบ เฉลยตัวอย่างวิธีคิด หน้า 136

จำานวนไม้ขีด (ก้าน) 2 1)
แบบรูป
รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3 รูปที่ 4 รูปที่ 8
รูปที่ 1 รูปที่ 2
1)
6 6 + (1 × 4)
รูปที่ 1 รูปที่ 2
6
............. 10
............. 14
............. 18
............. 34
.............

รูปที่ 3 รูปที่ 4 รูปที่ 3 รูปที่ 4

2) 6 + (2 × 4) 6 + (3 × 4)

ดังนั้น รูปที่ 8 มีไม้ขีด 6 + (7 × 4) = 34 ก้าน


4
............. 7
............. 10
............. 13
............. 25
.............

รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3 รูปที่ 4 2)

3)

รูปที่ 1 รูปที่ 2
3
............. 5
............. 7
............. 9
............. 17
.............
รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3 รูปที่ 4

รูปที่ 3 รูปที่ 4 1 + (1 × 3) 1 + (2 × 3) 1 + (3 × 3) 1 + (4 × 3)

ดังนั้น รูปที่ 8 มีไม้ขีด 1 + (8 × 3) = 25 ก้าน


4)

รูปที่ 1 รูปที่ 2 12 19 26 33 61
............. ............. ............. ............. .............

รูปที่ 3 รูปที่ 4

136 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 133


แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 244
บทที่ 5 | แบบรูป

เฉลยตัวอย่างวิธีคิด หน้า 136

3)

รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3 รูปที่ 4

3 3 + (1 × 2) 3 + (2 × 2) 3 + (3 × 2)

ดังนั้น รูปที่ 8 มีไม้ขีด 3 + (7 × 2) = 17 ก้าน

4)

รูปที่ 1 รูปที่ 2

(1 × 4) + (2 × 2) + 4 (2 × 4) − 1 + (4 × 2) + 4

รูปที่ 3 รูปที่ 4

(3 × 4) − 2 + (6 × 2) + 4 (4 × 4) − 3 + (8 × 2) + 4

ดังนั้น รูปที่ 8 มีไม้ขีด (8 × 4) − 7 + (16 × 2) + 4 = 61 ก้าน

134 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 245 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 5 | แบบรูป บทที่ 5 | แบบรูป

3 พิจารณาแบบรูป แล้วเติมคำาตอบ เฉลยตัวอย่างวิธีคิด หน้า 137

จำานวนจุด 3 1) 1
แบบรูป 1
รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3 รูปที่ 4 รูปที่ 9 2
1
1 2 3
2 3 4
1)
รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3 รูปที่ 4
รูปที่ 1 รูปที่ 2
1 3 6 10 45 1 1+2 1+2+3 1+2+3+4
............. ............. ............. ............. .............
ดังนั้น รูปที่ 8 มีไม้ขีด 3 + (7 × 2) = 17 ก้าน
ดังนั้น รูปที่ 9 มีจุด 1 + 2 + 3 + 4 + 5 + 6 + 7 + 8 + 9 = 45 จุด

รูปที่ 3 รูปที่ 4
2)
2)

รูปที่ 1 รูปที่ 2
4 9 16 25 100 รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3 รูปที่ 4
............. ............. ............. ............. .............
2×2 3×3 4×4 5×5

ดังนั้น รูปที่ 9 มีจุด 10 × 10 = 100 จุด

รูปที่ 3 รูปที่ 4

3) 3) 3
3 5
3 5 7
3 5 7 9
รูปที่ 1 รูปที่ 2
3 5 7 9
6
............. 13
............. 22
............. 33
............. 118
.............
ดังนั้น รูปที่ 8 มีไม้ขีด (8 × 4) − 7 + (16 × 2) + 4 = 61 ก้าน
รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3 รูปที่ 4

3+3 3+5+5 3+5+7+7 3+5+7+9+9

ดังนั้น รูปที่ 9 มีจุด 3 + 5 + 7 + 9 + 11 + 13 + 15 + 17 + 19 + 19 = 118 จุด


รูปที่ 3 รูปที่ 4

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 137 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 135


แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 246 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 5 | แบบรูป บทที่ 5 | แบบรูป

4 แสดงวิธีคิดและหาคำาตอบ 2)

1)

รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3 รูปที่ 4

รูปที่ 8 มี กี่รูป
รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3 รูปที่ 4 ตัวอย่าง
จำานวน ในแต่ละรูป หาได้ดังนี้
วิธีคิด .................................................................................................................................................
รูปที่ 11 มี กี่ลูก ............................................................................................................................................................
ตัวอย่าง
จำานวนลูกบาศก์ในแต่ละรูป หาได้ดังนี้
วิธีคิด ................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................
รูปที่ 1 มี 1 ลูก
............................................................................................................................................................ รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3 รูปที่ 4
............................................................................................................................................................
รูปที่ 2 มี 2 ชั้น ชั้นละ 2 × 2 = 4 ลูก แสดงว่ามีลูกบาศก์ทั้งหมด 2 × 4 = 8 ลูก
............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................
รูปที่ 3 มี 3 ชั้น ชั้นละ 3 × 3 = 9 ลูก แสดงว่ามีลูกบาศก์ทั้งหมด 3 × 9 = 27 ลูก จำานวน (รูป)
............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................
รูปที่
รูปที่ 4 มี 4 ชั้น ชั้นละ 4 × 4 = 16 ลูก แสดงว่ามีลูกบาศก์ทั้งหมด 4 × 16 = 64 ลูก แนวตั้ง แนวนอน รวม
............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................
จากความสัมพันธ์ของจำานวนลูกบาศก์ในรูปที่ 1 ถึงรูปที่ 4 จะได้ว่า
............................................................................................................................................................ 1 - - 1
............................................................................................................................................................
รูปที่ 11 มี 11 ชั้น ชั้นละ 11 × 11 = 121 ลูก
............................................................................................................................................................ 2 2 2×1 = 2 2+2 = 4
............................................................................................................................................................
แสดงว่า มีลูกบาศก์ทั้งหมด 11 × 121 = 1,331 ลูก
............................................................................................................................................................ 3 3 2×2 = 4 3+4 = 7
............................................................................................................................................................

............................................................................................................................................................ 4 4 2 × 3 = 6 4 + 6 = 10
............................................................................................................................................................

............................................................................................................................................................ จากความสัมพันธ์ของจำานวน ในรูปที่ 1 ถึง รูปที่ 4 จะได้ว่า


............................................................................................................................................................

............................................................................................................................................................ รูปที่ 8 แนวตั้งมี 8 รูป และแนวนอนมี 2 × 7 = 14 รูป


............................................................................................................................................................

............................................................................................................................................................ ดังนั้น รูปที่ 8 มี 8 + 14 = 22 รูป


............................................................................................................................................................

............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................

............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................

............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................

............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................
๑,๓๓๑ ลูก
ตอบ ………………………………………………………………………………………………………………...………........ ๒๒ รูป
ตอบ ………………………………………………………………………………………………………………...………........

138 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 139


แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 247 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 5 | แบบรูป บทที่ 5 | แบบรูป

3) 4) หวานเรียงกระดุม และ มีลักษณะดังรูป

รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3 รูปที่ 4

รูปที่ 15 มี กี่รูป รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3 รูปที่ 4


ตัวอย่าง
จำานวน ในแต่ละรูป หาได้ดังนี้
วิธีคิด ................................................................................................................................................. รูปที่ 7 หวานต้องใช้กระดุม และ รวมกันกี่เม็ด
ตัวอย่าง
............................................................................................................................................................ จำานวนกระดุม และ ในแต่ละรูป หาได้ดังนี้
วิธีคิด .................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................
จำานวนกระดุม (เม็ด)
............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................
รูปที่
รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3 รูปที่ 4 รวม
............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................ 1 3 2 × (1 × 2) = 4 3+4 = 7
............................................................................................................................................................
จำานวน (รูป)
............................................................................................................................................................ 2 3 2 × (2 × 3) = 12 3 + 12 = 15
............................................................................................................................................................
รูปที่
แนวตั้ง แนวนอน รวม
............................................................................................................................................................ 3 3 2 × (3 × 4) = 24 3 + 24 = 27
............................................................................................................................................................
1 2×2 = 4 1 4+1 = 5
............................................................................................................................................................ 4 3 2 × (4 × 5) = 40 3 + 40 = 43
............................................................................................................................................................
2 2×3 = 6 2 6+2 = 8
............................................................................................................................................................ จากความสัมพันธ์ของจำานวนกระดุมในรูปที่ 1 ถึง รูปที่ 4 จะได้ว่า
............................................................................................................................................................
3 2×4 = 8 3 8 + 3 = 11
............................................................................................................................................................ รูปที่ 7 มีกระดุม 3 เม็ด และกระดุม 2 × (7 × 8) = 112 เม็ด
............................................................................................................................................................
4 2 × 5 = 10 4 10 + 4 = 14
............................................................................................................................................................ ดังนั้น รูปที่ 7 หวานต้องใช้กระดุม และ รวมกัน 3 + 112 = 115 เม็ด
............................................................................................................................................................
จากความสัมพันธ์ของจำานวน ในรูปที่ 1 ถึง รูปที่ 4 จะได้ว่า
............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................
รูปที่ 15 แนวตั้งมี 2 × 16 = 32 รูป และแนวนอนมี 15 รูป
............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................
ดังนั้น รูปที่ 15 มี 32 + 15 = 47 รูป
............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................
๔๗ รูป
ตอบ ………………………………………………………………………………………………………………...………........ ๑๑๕ เม็ด
ตอบ ………………………………………………………………………………………………………………...………........

140 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 141


แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 248 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 5 | แบบรูป บทที่ 5 | แบบรูป

5) สมศักดิ์เรียงบล็อกปูพื้นลักษณะดังรูป 6) กั้งเรียงขนมลูกเต๋าลักษณะดังรูป

รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3 รูปที่ 4


รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3 รูปที่ 4
ขนมลูกเต๋า
รูปที่ 10 สมศักดิ์ต้องใช้บล็อกปูพื้น และ อย่างละกี่ก้อน รูปที่ 6 ใช้ขนมลูกเต๋ากี่ลูก
ตัวอย่าง ตัวอย่าง
จำานวนบล็อกปูพื้น กับ ในแต่ละรูป หาได้ดังนี้
วิธีคิด ................................................................................................................................................. จำานวนขนมลูกเต๋าในแต่ละรูป หาได้ดังนี้
วิธีคิด .................................................................................................................................................

............................................................................................................................................................ รูปที่ 1 มี 1 ชั้น รวม 1 × 1 = 1 ลูก


............................................................................................................................................................
จำานวน (ก้อน)
............................................................................................................................................................ รูปที่ 2 มี 2 ชั้น ชั้นที่ 1 มี 1 ลูก ชั้นที่ 2 มี (2 × 2) + (1 × 1) = 5 ลูก
............................................................................................................................................................
รูปที่
............................................................................................................................................................ รวมเป็น 1 + 5 = 6 ลูก
............................................................................................................................................................
1 (3 × 1) + 2 = 5 2 × (1 + 1) = 4
............................................................................................................................................................ รูปที่ 3 มี 3 ชั้น ชั้นที่ 1 มี 1 ลูก ชั้นที่ 2 มี 5 ลูก
............................................................................................................................................................
2 (3 × 2) + 2 = 8 2 × (2 + 1) = 6
............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................
3 (3 × 3) + 2 = 11 2 × (3 + 1) = 8
............................................................................................................................................................ ชั้นที่ 3 มี (3 × 3) + (2 × 2) = 13 ลูก
............................................................................................................................................................
4 (3 × 4) + 2 = 14 2 × (4 + 1) = 10
............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................
จากความสัมพันธ์ของจำานวนบล็อกในรูปที่ 1 ถึง รูปที่ 4 จะได้ว่า
............................................................................................................................................................ รวมเป็น 1 + 5 + 13 = 19 ลูก
............................................................................................................................................................
รูปที่ 10 มีบล็อก (3 × 10) + 2 = 32 ก้อน
............................................................................................................................................................ รูปที่ 4 มี 4 ชั้น ชั้นที่ 1 มี 1 ลูก ชั้นที่ 2 มี 5 ลูก ชั้นที่ 3 มี 13 ลูก
............................................................................................................................................................
และมีบล็อก 2 × (10 + 1) = 22 ก้อน
............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................
ดังนั้น รูปที่ 10 สมศักดิ์ต้องใช้บล็อก 32 ก้อน และ 22 ก้อน
............................................................................................................................................................ ชั้นที่ 4 มี (4 × 4) + (3 × 3) = 25 ลูก
............................................................................................................................................................

............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................

............................................................................................................................................................ รวมเป็น 1 + 5 + 13 + 25 = 44 ลูก


............................................................................................................................................................

............................................................................................................................................................ จากความสัมพันธ์ของจำานวนขนมลูกเต๋าในรูปที่ 1 ถึง รูปที่ 4 จะได้ว่า


............................................................................................................................................................

............................................................................................................................................................ รูปที่ 6 มี 6 ชั้น ชั้นที่ 1 มี 1 ลูก ชั้นที่ 2 มี 5 ลูก ชั้นที่ 3 มี 13 ลูก ชั้นที่ 4 มี 25 ลูก
............................................................................................................................................................

............................................................................................................................................................ ชั้นที่ 5 มี (5 × 5) + (4 × 4) = 41 ลูก ชั้นที่ 6 มี (6 × 6) + (5 × 5) = 61 ลูก


............................................................................................................................................................

............................................................................................................................................................ ดังนั้น รูปที่ 6 ใช้ขนมลูกเต๋า 1 + 5 + 13 + 25 + 41 + 61 = 146 ลูก


............................................................................................................................................................
ใช้บล็อก ๓๒ ก้อน และบล็อก ๒๒ ก้อน
ตอบ ………………………………………………………………………………………………………………...………........ ๑๔๖ ลูก
ตอบ ………………………………………………………………………………………………………………...………........

142 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 143


แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 249 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 5 | แบบรูป บทที่ 5 | แบบรูป

แบบฝึกหัด 5.4
2 ร้านขายสินค้า OTOP ร้านหนึ่งจัดเรียงหมอนขวานเป็นชั้น ๆ ดังรูป
แสดงวิธีคิดและหาคำาตอบ

1 ต้นออกแบบลวดลายการปูพื้นห้องด้วยกระเบื้อง ชั้นที่ 5
รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ซึ่งยาวด้านละ 20 เซนติเมตร โดยใช้กระเบื้อง 2 สี ชั้นที่ 3
ปูสลับกันเป็นชั้น ๆ ดังรูป ถ้าพื้นห้องเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ชั้นที่ 1
ยาวด้านละ 3 เมตร ต้นต้องใช้กระเบื้องสีละกี่แผ่น
ชั้นที่ 2 ชั้นที่ 4 ชั้นที่ 6
ตัวอย่าง 1 ชั้น 2 ชั้น 3 ชั้น 4 ชั้น
พื้นห้องเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสยาวด้านละ 3 เมตร หรือ 300 เซนติเมตร
วิธีคิด ................................................................................................................................................

แสดงว่า จะต้องปูกระเบื้องทั้งหมด 300 ÷ 20 = 15 ชั้น และจำานวนกระเบื้องในแต่ละชั้น หาได้ดังนี้


............................................................................................................................................................ 1) ถ้าต้องการเรียง 8 ชั้น จะต้องใช้หมอนขวานกี่ใบ
2) ถ้าทางร้านมีหมอนขวาน 100 ใบ จะเรียงได้ทั้งหมดกี่ชั้น และชั้นล่างสุดมีกี่ใบ
............................................................................................................................................................ 1) จำานวนหมอนขวานที่เรียงเป็นชั้น ๆ หาได้ดังนี้
จำานวน (แผ่น)
............................................................................................................................................................ วิธีคิด ................................................................................................................................................
จำานวนชั้น จำานวนหมอนขวานแต่ละชั้น (ใบ) รวม (ใบ)
ชั้นที่
สีเหลือง สีเขียว
............................................................................................................................................................ 1 1 1
............................................................................................................................................................
1 1 -
............................................................................................................................................................ 2 ชั้นที่ 1 มี 1
............................................................................................................................................................
2 - 2+1 = 3
............................................................................................................................................................ ชั้นที่ 2 มี 3 1+3 = 4
............................................................................................................................................................
3 3+2 = 5 -
............................................................................................................................................................ 3 ชั้นที่ 1 มี 1
............................................................................................................................................................
4 - 4+3 = 7
............................................................................................................................................................ ชั้นที่ 2 มี 3
............................................................................................................................................................
5 5+4 = 9 -
............................................................................................................................................................ ชั้นที่ 3 มี 5 1+3+5 = 9
............................................................................................................................................................
6 - 6 + 5 = 11
............................................................................................................................................................ 4 ชั้นที่ 1 มี 1
............................................................................................................................................................
จะได้วว่า่า ถ้ถ้าาปูปูกกระเบื
จะได้ ระเบื้อ้องง15
15ชัชั้น้นจะปู
จะปูกกระเบื
ระเบื้อ้องสีงสีเหลื
เหลือองในชั
งในชั้น้นทีที่ 1,
่ 1,3,3,5,5,7,7,9,9,11,
11,13 13และ และ15 15
............................................................................................................................................................ ชั้นที่ 2 มี 3
............................................................................................................................................................
โดยชั้น้นทีที่ 7่ 7 มีมี77++66 == 13
โดยชั 13แผ่ แผ่นน ชัชั้น้นทีที่ 9่ 9 มีมี99++88 == 17 17แผ่ แผ่นน ชัชั้น้นทีที่ 11
่ 11 มีมี11
11++10 10 == 21 21แผ่แผ่นน
............................................................................................................................................................ ชั้นที่ 3 มี 5
............................................................................................................................................................
ชัชั้น้นทีที่ 13
่ 13 มีมี13
13++1212 == 25 25แผ่ แผ่นน และชั
และชั้น้นทีที่ 15
่ 15 มีมี15
15++14 14 == 29 29แผ่ แผ่นน
............................................................................................................................................................ ชั้นที่ 4 มี 7 1 + 3 + 5 + 7 = 16
............................................................................................................................................................
ดัดังนั
งนั้น้น ใช้ใช้กกระเบื
ระเบื้อ้องสีงสีเหลื
เหลือองทั
งทั้งหมด
้งหมด 11++55++99++13 13++17 17++21 21++25 25++29 29 == 120 120แผ่ แผ่นน
............................................................................................................................................................ ดังนั้น ถ้าต้องการเรียง 8 ชั้น จะต้องใช้หมอนขวาน 1 + 3 + 5 + 7 + 9 + 11 + 13 + 15 = 64 ใบ
............................................................................................................................................................
และจะปูกกระเบื
และจะปู ระเบื้อ้องสีงสีเขีเขียยวในชั
วในชั้น้นทีที่ 2,
่ 2,4,4,6,6,8,8,10,
10,12
12และและ14 14 โดยชั
โดยชั้น้นทีที่ 8่ 8 มีมี88++77 == 15 15แผ่ แผ่นน
............................................................................................................................................................ 2) ถ้าเรียง 9 ชั้น จะต้องใช้หมอนขวาน 1 + 3 + 5 + 7 + 9 + 11 + 13 + 15 + 17 = 81 ใบ
............................................................................................................................................................
ชัชั้น้นทีที่ 10
่ 10มีมี10
10++99 == 19 19แผ่ แผ่นน ชัชั้น้นทีที่ 12
่ 12มีมี12
12++11 11 == 23 23แผ่ แผ่นน และชั
และชั้น้นทีที่ 14
่ 14มีมี14
14++13 13 == 27 27แผ่
............................................................................................................................................................ แผ่นน ถ้าเรียง 10 ชั้น จะต้องใช้หมอนขวาน 1 + 3 + 5 + 7 + 9 + 11 + 13 + 15 + 17 + 19 = 100 ใบ
............................................................................................................................................................
ดัดังนั
งนั้น้น ใช้ใช้กกระเบื
ระเบื้อ้องสีงสีเขีเขียยวทั
วทั้งหมด
้งหมด 33++77++11 11++15 15++19 19++23 23++27 27 == 105 105แผ่ แผ่นน
............................................................................................................................................................ ซึ่งเรียงได้ทั้งหมด 10 ชั้น โดยชั้นล่างสุดมีหมอนขวาน 19 ใบ
............................................................................................................................................................
กระเบื้องสีเหลือง ๑๒๐ แผ่น และกระเบื้องสีเขียว ๑๐๕ แผ่น
ตอบ ………………………………………………………………………………………………………………...………........ ๑) จะต้องใช้หมอนขวาน ๖๔ ใบ และ ๒) จะเรียงได้ทั้งหมด ๑๐ ชั้น และชั้นล่างสุดมี ๑๙ ใบ
ตอบ ………………………………………………………………………………………………………………...………........

144 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 145


แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6 250 แบบฝึกหัดรายวิชาพื้นฐาน | คณิตศาสตร์ ป.6
บทที่ 5 | แบบรูป บทที่ 5 | แบบรูป

3 จรัญเข้าทำางานเป็นพนักงานประจำาของบริษัทแห่งหนึ่ง ได้รับเงินเดือน เดือนละ 9,000 บาท 5 พิมต้องการซื้อจักรยานราคา 1,490 บาท จึงเก็บเงินทุกสัปดาห์ สัปดาห์ละ 35 บาท
และทางบริษัทจะปรับเงินเดือนขึ้นทุกปี ปีละ 250 บาท ในปีที่ 7 จรัญจะได้เงินเดือนเดือนละเท่าใด และแม่จะสมทบด้วยโดยสัปดาห์แรกให้ 15 บาท สัปดาห์ที่ 2 ให้ 30 บาท สัปดาห์ที่ 3 ให้ 45 บาท
สัปดาห์ที่ 4 ให้ 60 บาท เป็นเช่นนี้ไปเรื่อย ๆ พิมต้องเก็บเงินอย่างน้อยกี่สัปดาห์ ซึ่งเมื่อรวมกับ
ปีที่ 1 จรัญได้รับเงินเดือน เดือนละ 9,000 บาท
วิธีคิด ................................................................................................................................................ เงินที่แม่สมทบให้แล้ว จะสามารถซื้อจักรยานคันนี้ได้
ปีที่ 2 จรัญได้รับเงินเดือน เดือนละ 9,000 + 250 = 9,000 + (1 × 250) บาท
............................................................................................................................................................
เงินซื้อจักรยานของพิมหาได้ดังนี้
วิธีคิด ................................................................................................................................................
ปีที่ 3 จรัญได้รับเงินเดือน เดือนละ 9,000 + 250 + 250 = 9,000 + (2 × 250) บาท
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
ปีที่ 4 จรัญได้รับเงินเดือน เดือนละ 9,000 + 250 + 250 + 250 = 9,000 + (3 × 250) บาท
............................................................................................................................................................ จำานวนเงิน (บาท)
............................................................................................................................................................
สัปดาห์ที่
จากความสัมพันธ์ของเงินเดือนตั้งแต่ปีที่ 1 ถึงปีที่ 4 พบว่า
............................................................................................................................................................ เงินของพิม เงินของแม่ รวม
............................................................................................................................................................
จรัญได้ปรับเงินเดือนขึ้นปีละ 250 บาท และปรับเงินเดือนขึ้นครั้งแรกในปีที่ 2
............................................................................................................................................................
1 35 1 × 15 = 15 35 + (1 × 15) = 50
............................................................................................................................................................
แสดงว่า ในปีที่ 7 จรัญได้ปรับเงินเดือนขึ้นเป็นครั้งที่ 6
............................................................................................................................................................
2 35 2 × 15 = 30 50 + 35 + (2 × 15) = 115
............................................................................................................................................................
ดังนั้น ปีที่ 7 จรัญได้รับเงินเดือน เดือนละ 9,000 + (6 × 250) = 10,500 บาท
............................................................................................................................................................
3 35 3 × 15 = 45 115 + 35 + (3 × 15) = 195
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
4 35 4 × 15 = 60 195 + 35 + (4 × 15) = 290
............................................................................................................................................................
๑๐,๕๐๐ บาท
ตอบ ………………………………………………………………………………………………………………...………........
5 35 5 × 15 = 75 290 + 35 + (5 × 15) = 400
............................................................................................................................................................
6 35 6 × 15 = 90 400 + 35 + (6 × 15) = 525
............................................................................................................................................................
ชั้นที่ 1
7 35 7 × 15 = 105 525 + 35 + (7 × 15) = 665
............................................................................................................................................................
4 แม่เรียงขนมน้ำาดอกไม้ใส่ถาดเป็นชั้น ๆ มีลักษณะดังรูป
ถาดละ 6 ชั้น จำานวน 3 ถาด แม่เรียงขนมใส่ถาดทั้งหมดกี่ชิ้น ชั้นที่ 4 8 35 8 × 15 = 120 665 + 35 + (8 × 15) = 820
............................................................................................................................................................
9 35 9 × 15 = 135 820 + 35 + (9 × 15) = 990
............................................................................................................................................................
จำานวนขนมในแต่ละชั้นหาได้ดังนี้
วิธีคิด ................................................................................................................................................
10 35 10 × 15 = 150 990 + 35 + (10 × 15) = 1,175
............................................................................................................................................................
ชั้นที่ 1 มีขนม 1 × 2 = 2 ชิ้น
............................................................................................................................................................
11 35 11 × 15 = 165 1,175 + 35 + (11 × 15) = 1,375
............................................................................................................................................................
ชั้นที่ 2 มีขนม 2 × 3 = 6 ชิ้น
............................................................................................................................................................
12 35 12 × 15 = 180 1,375 + 35 + (12 × 15) = 1,590
............................................................................................................................................................
ชั้นที่ 3 มีขนม 3 × 4 = 12 ชิ้น
............................................................................................................................................................
ดังนั้น พิมต้องเก็บเงินอย่างน้อย 12 สัปดาห์ จึงจะสามารถซื้อจักรยานคันนี้ได้
............................................................................................................................................................
ชั้นที่ 4 มีขนม 4 × 5 = 20 ชิ้น
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
ชั้นที่ 5 มีขนม 5 × 6 = 30 ชิ้น
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
ชั้นที่ 6 มีขนม 6 × 7 = 42 ชิ้น
............................................................................................................................................................
๑๒ สัปดาห์
ตอบ ………………………………………………………………………………………………………………...………........
แสดงว่า ใน 1 ถาด มีขนม 2 + 6 + 12 + 20 + 30 + 42 = 112 ชิ้น
............................................................................................................................................................
ดังนั้น แม่เรียงขนมใส่ถาดทั้งหมด 33××112 112 == 336 336ชิชิ้น้น
............................................................................................................................................................
๓๓๖ ชิ้น
ตอบ ………………………………………………………………………………………………………………...………........

146 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 147


คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

ความรู้เพิ่มเติมสำ�หรับครู
หลักสูตร กระบวนการจัดการเรียนรู้ การวัดผลและการประเมินผล เป็นองค์ประกอบสำ�คัญในการ
ออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ หากมีการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบหนึ่ง จะส่งผลกระทบต่อองค์ประกอบอื่น
เพื่อความสอดคล้องและเกิดประสิทธิผลในการนำ�หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
(ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ไปใช้ ครูควรศึกษาเพิ่มเติม และทำ�ความเข้าใจ
ในเรื่องต่อไปนี้ี

1. ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
ทั ก ษะและกระบวนการทางคณิ ต ศาสตร์ เ ป็ น ความสามารถในการนำ � ความรู้ ไ ปประยุ ก ต์ ใ ช้ เ พื่ อ การเรี ย นรู้
สิ่งต่าง ๆ และนำ�ไปใช้ในชีวิตจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ที่ต้องการให้เกิดขึ้น
กับนักเรียน ได้แก่

1) การแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการทำ�ความเข้าใจปัญหา คิดวิเคราะห์ วางแผนแก้ปัญหา และเลือกใช้


วิธีการแก้ปัญหาที่เหมาะสม โดยคำ�นึงถึงความสมเหตุสมผลของคำ�ตอบพร้อมทั้งตรวจสอบความถูกต้อง

2) การสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ เป็นความสามารถในการใช้รูป ภาษาและสัญลักษณ์


ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร สื่อความหมาย สรุปผล และนำ�เสนอได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน

3) การเชื่อมโยง เป็นความสามารถในการใช้ความรู้ทางคณิตศาสตร์เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้คณิตศาสตร์
เนื้อหาต่าง ๆ หรือศาสตร์อื่น ๆ และนำ�ไปใช้ในชีวิตจริง

4) การให้เหตุผล เป็นความสามารถในการรับฟังและให้เหตุผลสนับสนุนหรือโต้แย้ง เพื่อนำ�ไปสู่การสรุป


โดยมีข้อเท็จจริงทางคณิตศาสตร์รองรับ

5) การคิดสร้างสรรค์ เป็นความสามารถในการขยายแนวคิดที่มีอยู่เดิม หรือสร้างแนวคิดใหม่ เพื่อปรับปรุง และ


พัฒนาองค์ความรู้

2. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ทางคณิตศาสตร์
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ทางคณิตศาสตร์เป็นคุณภาพของนักเรียนที่เกิดขึ้นภายในตัวเองที่ไม่สามารถแสดงออก
ให้เห็นอย่างชัดเจนได้ เช่นเดียวกับคุณลักษณะด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม จากสภาพของสังคมและการเปลีย่ นแปลง
ของโลกยุคปัจจุบัน ทำ�ให้มีความจำ�เป็นต้องเน้นและปลูกฝังลักษณะดังกล่าวให้เกิดขึ้นในตัวนักเรียนทุกคน เพื่อช่วยให้
นักเรียนเกิดการพัฒนาด้านความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์เป็นองค์รวม อันจะนำ�ไปสู่ความเจริญก้าวหน้า
และความมั่นคงสงบสุขในสังคม ซึ่งการวัดผลและประเมินผลด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ควรครอบคลุมประเด็น
ที่ต้องประเมิน ดังนี้

1) การทำ�งานอย่างเป็นระบบ
2) ความมีระเบียบวินัย
3) ความรอบคอบ
4) ความรับผิดชอบ
5) การมีวิจารณญาณ
6) ความเชื่อมั่นในตนเอง
7) การตระหนักในคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 251
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

ตัวอย่างเกณฑ์การให้คะแนนด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์

คุณลักษณะ การทำ�งานอย่างเป็นระบบ

คะแนน/ความหมาย คุณลักษณะ

3 • มีการวางแผนการดำ�เนินงานอย่างเป็นขั้นตอน
ดีมาก • การดำ�เนินงานแต่ละขั้นตอน ถูกต้อง ครบถ้วน

2 • มีการวางแผนการดำ�เนินงานอย่างเป็นขั้นตอน
พอใช้ • การดำ�เนินงานแต่ละขั้นตอน มีข้อผิดพลาดบ้าง

1 • ไม่มีการวางแผนการดำ�เนินงาน
ปรับปรุง/แก้ไข • การทำ�งานมีความผิดพลาด ต้องปรับปรุง/แก้ไข

คุณลักษณะ ความมีระเบียบวินัย

คะแนน/ความหมาย คุณลักษณะ

3 • สมุดงาน ผลงาน สะอาดเรียบร้อย


ดีมาก • ปฏิบัติตนอยู่ในข้อตกลงที่กำ�หนดร่วมกันทุกครั้ง

2 • สมุดงาน ผลงาน ส่วนใหญ่สะอาดเรียบร้อย


พอใช้ • ปฏิบัติตนตามข้อตกลงที่กำ�หนดให้ร่วมกันเป็นส่วนใหญ่

1 • สมุดงาน ผลงาน ไม่ค่อยเรียบร้อย


ปรับปรุง/แก้ไข • ปฏิบัติตนตามข้อตกลงที่กำ�หนดร่วมกันเป็นครั้งคราว ต้องมีการกำ�กับติดตามอยู่เสมอ

คุณลักษณะ ความรับผิดชอบ

คะแนน/ความหมาย คุณลักษณะ

3 • ส่งงานตามกำ�หนดเวลานัดหมายอย่างสม่ำ�เสมอ
ดีมาก • ปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายอย่างครบถ้วน สมบูรณ์

2 • ส่งงานช้ากว่ากำ�หนดเป็นบางครั้ง แต่มีเหตุผลที่รับฟังได้
พอใช้ • ปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายครบถ้วนเป็นส่วนใหญ่ มีความบกพร่องบ้าง

1 • ส่งงานช้ากว่ากำ�หนด เหตุผลไม่เหมาะสม
ปรับปรุง/แก้ไข • ปฏิบัติงานโดยต้องอาศัยการตักเตือน หรือให้กำ�ลังใจ

252 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

3. การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์
สภาพและแนวโน้มด้านการประเมินผลในปัจจุบัน สะท้อนให้เห็นถึงความสำ�คัญของการประเมิน ซึ่งถือเป็น
ส่วนหนึ่งของกระบวนการจัดการเรียนรู้ โดยเฉพาะการประเมินผลในชั้นเรียนที่ไม่ได้เป็นเพียงการกำ�กับดูแลการเรียนรู้
ของนักเรียนเท่านั้น แต่ยังแสดงให้เห็นว่าการนำ�ผลการประเมินในชั้นเรียนไปใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียน
สามารถทำ�ให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ของนักเรียนก้าวหน้าขึ้นกว่าเดิม
1) หลักการวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์ต้องกระทำ�อย่างต่อเนื่องควบคู่ไปกับการจัดกิจกรรม
การเรียนรูท้ ส่ี อดคล้องกับคุณภาพนักเรียนตามมาตรฐานการเรียนรูแ้ ละตัวชีว้ ด
ั ทีก
่ �ำ หนดในหลักสูตร โดยต้องวัดผล
และประเมินผลให้ครอบคลุมทั้งด้านความรู้ ความคิด ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ คุณลักษณะอันพึงประสงค์
และคุณลักษณะเฉพาะทางคณิตศาสตร์ ซึ่งการวัดผลและประเมินผลนั้น ควรยึดหลักของการวัดผลและประเมินผล
เพื่อการค้นหาและพัฒนาศักยภาพของนักเรียน โดยให้ความสำ�คัญกับความก้าวหน้าและการพัฒนาผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนมากกว่าให้ความสำ�คัญกับความล้มเหลว เน้นการนำ�ข้อมูลจากการประเมินป้อนกลับไปยังนักเรียน
เพือ
่ ขับเคลือ
่ นให้การเรียนรู้ของนักเรียนมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ซึ่งในการวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
ทางคณิตศาสตร์นั้น มีวิธีการที่หลากหลายซึ่งมีความแตกต่างกันตามจุดมุ่งหมายและความต้องการของผู้ประเมิน

2) ขั้นตอนของการวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ประกอบด้วยขั้นตอนสำ�คัญดังนี้
ขั้นที่ 1 กำ�หนดสิ่งที่ต้องการจะนำ�มาวัดผลหรือประเมินผล ซึ่งในทางคณิตศาสตร์กำ�หนดไว้ 3 ด้าน ได้แก่
ด้านความรู้หรือเนื้อหา ด้านทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และด้านคุณลักษณะ
ขั้นที่ 2 กำ�หนดเครื่องมือที่ใช้ในการวัดผลและประเมินผล เช่น แบบทดสอบ แบบสังเกต
แบบประเมินเชิงคุณภาพ (Rubrics Scoring)
ขั้นที่ 3 ออกแบบสถานการณ์ในการประเมิน เช่น สถานการณ์จำ�ลอง เหตุการณ์ในชีวิตจริง กรณีตัวอย่าง
ขั้นที่ 4 กำ�หนดวิธีการให้คะแนนและเกณฑ์การให้คะแนน เช่น ถูกได้ 1 ผิดได้ 0
แนวทางการให้คะแนนเชิงคุณภาพ (Rubrics Scoring)
ขั้นที่ 5 กำ�หนดเงื่อนไขในการวัดผลและประเมินผล เช่น เวลาที่ใช้ ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน

3) คำ�ที่เกี่ยวข้องกับการวัดผลและประเมินผล
การวัดผล (Measurement) เป็นกระบวนการกำ�หนดตัวเลขให้กับสิ่งที่ต้องการวัดตามเกณฑ์ที่กำ�หนดใน
กระบวนการวัด โดยผู้ทำ�การวัดต้องดำ�เนินการดังนี้
1. กำ�หนดจุดมุ่งหมายของการวัดผล
2. เลือกเครื่องมือที่ใช้วัดผลให้เหมาะสมกับสิ่งที่ต้องการวัด เพื่อให้ผลของการวัดมีความแม่นตรงมากที่สุด
เช่น ครูอมรกำ�หนดโจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคนของจำ�นวนนับ จำ�นวน 5 ข้อ และกำ�หนด
เกณฑ์การให้คะแนนดังนี้
คำ�ตอบถูก 2 คะแนน
แสดงวิธีทำ�ถูกต้อง 5 คะแนน
ความเป็นระเบียบเรียบร้อย 1 คะแนน

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 253
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

ครูอมรตรวจผลงานและให้คะแนนดังนี้
กล้า ได้ 15 คะแนน
ตุลย์ ได้ 38 คะแนน
ธันว์ ได้ 25 คะแนน
การประเมินผล (Assessment) เป็นการประเมินผลย่อย ๆ ที่เกิดขึ้นในชั้นเรียน เพื่อดูความก้าวหน้าของ
นักเรียน โดยครูเป็นผู้เก็บรวบรวมข้อมูลสารสนเทศของนักเรียนแต่ละคน เพื่อนำ�มาเป็นข้อมูลในการวินิจฉัยคุณภาพ
ของนักเรียน มีการให้ข้อมูลป้อนกลับไปยังนักเรียน พร้อมเสนอแนวทางในการปรับปรุงหรือพัฒนาความสามารถ
ของนักเรียน เช่น เมื่อครูอมรตรวจผลงานแล้ว ได้นำ�คะแนนไปเทียบกับเกณฑ์และจัดระดับคุณภาพ ดังนี้
31-40 คะแนน หมายถึง ความรู้ ความสามารถอยู่ในระดับดีมาก
20-30 คะแนน หมายถึง ความรู้ ความสามารถอยู่ในระดับปานกลาง
0-19 คะแนน หมายถึง ความรู้ ความสามารถอยู่ในระดับที่ควรปรับปรุง
ผลการจัดอันดับคุณภาพ พบว่า
- ตุลย์ เป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคนของจำ�นวนนับ
อยู่ในระดับดีมาก
- ธันว์ เป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคนของจำ�นวนนับ
อยู่ในระดับปานกลาง
- กล้า เป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคนของจำ�นวนนับ
อยู่ในระดับที่ควรปรับปรุง
ตัวอย่างดังกล่าวนี้เป็น การประเมินผล (Assessment) เพราะเป็นการนำ�คะแนนที่ได้จากการวัดมาจัดระดับ
คุณภาพ ซึ่งเป็นการประเมินผลระหว่างเรียน ที่สามารถปฏิบัติได้หลาย ๆ ครั้งในการจัดการเรียนการสอน โดยข้อมูลที่
ได้จากการประเมินนี้ ครูอมรต้องให้ข้อมูลป้อนกลับ (Feedback) ไปยังนักเรียน เพื่อให้แก้ไขส่วนที่บกพร่อง ทั้งนี้การให้
ข้อมูลป้อนกลับ ครูอาจใช้การพูดหรือเขียนเชิงสร้างสรรค์ เพื่อสร้างกำ�ลังใจให้นักเรียนปรับปรุงข้อบกพร่องของตนเอง
การประเมินผล (Evaluation) เป็นกระบวนการที่ต่อเนื่องจากการวัดผล เป็นการประเมินรวบยอด เพื่อตัดสินคุณภาพ
ของนักเรียน โดยการให้ระดับผลการเรียน เช่น
กล้า ได้ 53 คะแนน มีระดับผลการเรียน 1
ตุลย์ ได้ 85 คะแนน มีระดับผลการเรียน 4
ธันว์ ได้ 61 คะแนน มีระดับผลการเรียน 2

4) ประเภทของการประเมินผลการเรียนรู้
การประเมินผลการเรียนรู้ จำ�แนกตามวัตถุประสงค์ มี 3 ประเภท ดังนี้

(1) การประเมินเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ (Assessment for Learning) หมายถึง กระบวนการประเมิน


ที่ดำ�เนินอย่างต่อเนื่อง โดยใช้รูปแบบการประเมินอย่างเป็นทางการและไม่เป็นทางการโดยครูและนักเรียน เพื่อให้ได้
สารสนเทศสำ�หรับเป็นข้อมูลป้อนกลับในการระบุและวินิจฉัยปัญหาของนักเรียน ซึ่งจะนำ�ไปสู่การปรับปรุงการเรียนรู้
หรือการทำ�งานของนักเรียน จนนักเรียนสามารถควบคุม วางแผน และปรับปรุงวิธีการเรียนรู้ เพื่อไปสู่เป้าหมาย
การเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง ในการประเมินเพื่อพัฒนาการเรียนรู้นั้น จะต้องนำ�คะแนนที่นักเรียนทำ�ได้มาวิเคราะห์

254 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

เพื่อเป็นสารสนเทศที่แสดงถึงพัฒนาการของนักเรียนและคุณภาพการจัดการเรียนรู้ของครู เช่น ครูอมรให้นักเรียน


แก้โจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคนของจำ�นวนนับเป็นระยะ ๆ แล้วบันทึกคะแนนพร้อมให้ข้อเสนอแนะ
เพื่อพัฒนาการเรียนรู้เป็นรายบุคคล ดังนี้

ชื่อ ครั้งที่ คะแนน ข้อเสนอแนะ หมายเหตุ


ควรปรับปรุงเรื่องการตีความโจทย์ปัญหาเพื่อนำ�ไปสู่ ควรทำ�วิจัย
1 3
การวางแผนแก้โจทย์ปัญหา ในชั้นเรียน
กล้า มีการพัฒนาดีขึ้น การตีความโจทย์ปัญหาบางประเด็น
2 5 ยังไม่ถูกต้อง การเขียนแสดงขั้นตอนการแก้โจทย์ปัญหา
ขาดความต่อเนื่องและความชัดเจน
การเขียนแสดงวิธีคิดและขั้นตอนการแก้โจทย์ปัญหา
1 8
ยังขาดความต่อเนื่องและความสมบูรณ์ แต่ยังพอเข้าใจได้
ตุลย์
การเขียนแสดงวิธีคิดและขั้นตอนการแก้โจทย์ปัญหา
2 10
มีความกระชับ ถูกต้อง ชัดเจน
ควรปรับปรุงเรื่องการตีความโจทย์ปัญหา ควรฝึกตีความ
โจทย์ปัญหาที่แตกต่างกันให้มากกว่าเดิม การเขียนแสดง
1 5
ขั้นตอนการแก้โจทย์ปัญหาขาดความต่อเนื่อง
ธันว์
และความชัดเจน
มีการพัฒนาดีขึ้น การเขียนแสดงขั้นตอนการแก้โจทย์ปัญหา
2 7
ยังขาดความต่อเนื่อง แต่ยังพอเข้าใจได้ ควรปรับปรุง

จากข้อมูลสารสนเทศดังกล่าว ทำ�ให้ครูอมรรู้ว่า นักเรียนทั้งสามคน มีการพัฒนาความสามารถในการแก้โจทย์


ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคนของจำ�นวนนับ ดีขึ้น แต่สำ�หรับกล้า ควรทำ�วิจัยในชั้นเรียนเพื่อหาสาเหตุและหาวิธี
ช่วยเหลือเกี่ยวกับการวิเคราะห์โจทย์ปัญหา การวางแผนแก้โจทย์ปัญหา และการเขียนแสดงวิธีคิดและขั้นตอน
การแก้โจทย์ปัญหา การประเมินเพื่อพัฒนาการเรียนรู้นี้ เป็นการประเมินผลที่เกิดขึ้นในระหว่างการเรียนการสอน
จึงจัดเป็น Formative Assessment

(2) การประเมินเพื่อทำ�ให้เกิดการเรียนรู้ (Assessment as Learning) หมายถึง กระบวนการประเมินผล


ที่มุ่งเน้นการให้ข้อมูลป้อนกลับแก่นักเรียน ด้วยวิธีการต่าง ๆ ในเชิงสร้างสรรค์ พร้อมทั้งเสนอแนะแนวทางการแก้ไข
ปรับปรุง และพัฒนา ใช้รูปแบบการประเมินอย่างไม่เป็นทางการ โดยผู้มีส่วนร่วมในการประเมินและให้ข้อมูลป้อนกลับ
ได้แก่ ตัวนักเรียนเอง เพื่อนร่วมชั้น ครู และผู้ปกครอง ทั้งนี้เพื่อให้นักเรียนนำ�ข้อมูลมาปรับปรุงและพัฒนาความรู้
ความสามารถของตนเอง จนทำ�ให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้และบรรลุเป้าหมายตามหลักสูตร การประเมินเพื่อทำ�ให้เกิด
การเรียนรู้นี้ เป็นการประเมินผลที่เกิดขึ้นในระหว่างการเรียนการสอน จึงจัดเป็น Formative Assessment เช่นกัน

(3) การประเมินเพื่อตัดสินผลการเรียนรู้ (Assessment of Learning) หมายถึง กระบวนการประเมินผล


ทีใ่ ช้ส�ำ หรับยืนยันสิง่ ทีน
่ ก
ั เรียนรูแ้ ละทำ�ได้ตามเป้าหมายของหลักสูตรหรือรายวิชาเพือ
่ ตัดสินผลการเรียนของนักเรียน
โดยใช้รูปแบบการประเมินอย่างเป็นทางการ มีการนำ�ผลคะแนนที่ประเมินระหว่างเรียน ซึ่งได้จากหลายแหล่งเพื่อยืนยัน
ความสำ�เร็จ รวมกับผลการสอบปลายภาค/ปลายปี แล้วนำ�ไปตัดสินผลการเรียน การประเมินผลเพือ ่ ตัดสินผลการเรียนรูน
้ ี้
เป็นการประเมินผลที่เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอน จึงจัดเป็น Summative Assessment

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 255
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

นอกจากนี้ ยังมีการประเมินผลในลักษณะอื่นที่นิยมใช้ในปัจจุบัน เช่น

การประเมินตามสภาพจริง (Authentic Assessment) การประเมินการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับความสามารถ


หรือคุณลักษณะตามสภาพที่แท้จริงของนักเรียน เน้นการประเมินความรู้ ทักษะการคิดขั้นสูงในการปฏิบัติงาน
ความสามารถในการแก้ปัญหา และพฤติกรรมการแสดงออกที่เกิดจากการปฏิบัติงานที่เป็นสถานการณ์ในชีวิตจริง
หรือใกล้เคียงกับชีวิตจริง ด้วยเครื่องมือประเมินที่หลากหลาย โดยลักษณะงานที่ให้นักเรียนปฏิบัติต้องเป็นงานที่มี
ความหมาย มีความซับซ้อน นักเรียนต้องบูรณาการความรู้ ความสามารถ และทักษะหลากหลายมาใช้ในการแก้ปัญหา
หรือปฏิบัติงาน เช่น ให้นักเรียนวางแผนตัดกระดาษแข็ง รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก กว้าง 44 เซนติเมตร ยาว 48 เซนติเมตร
ให้เป็นบัตรคำ�รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าขนาดกว้าง 10 เซนติเมตร ยาว 14 เซนติเมตร ให้ได้จำ�นวนแผ่นบัตรคำ�มากที่สุด
พร้อมเขียนภาพแสดงแนวการตัดประกอบ

การประเมินจากการปฏิบัติ (Performance - standard Assessment) หมายถึง การประเมินผล


ที่มุ่งตรวจสอบความสามารถในการนำ�ความรู้และทักษะเฉพาะศาสตร์ไปใช้ในการแก้ปัญหาด้วยการปฏิบัติงานจริง
เป็นการแสดงถึงผลรวมของความรู้ความสามารถด้านพุทธิพิสัย ทักษะพิสัย และ จิตพิสัย ของนักเรียนพร้อมกัน
โดยประเมินจากกระบวนการทำ�งาน กระบวนการคิดขั้นสูง และผลงานที่ได้ ตลอดจนลักษณะนิสัยในการทำ�งาน
ของนักเรียน ซึ่งลักษณะสำ�คัญของการประเมินจากการปฏิบัตินั้น จะต้องมีการกำ�หนดวัตถุประสงค์ของงานที่กำ�หนดให้
ปฏิบัติ วิธีการปฏิบัติงานหรือขั้นตอนการปฏิบัติงาน และผลสำ�เร็จของงานที่ชัดเจน โดยมีเกณฑ์การให้คะแนน
เชิงคุณภาพที่ชัดเจน ตัวอย่างงานที่มอบหมายให้ปฏิบัติ เช่น

• การออกแบบที่จอดรถหน้าอาคารเรียน โดยใช้ความรู้เกี่ยวกับเส้นขนาน เขียนภาพประกอบ


พร้อมนำ�เสนอผลงานหน้าชั้นเรียน
• การประดิษฐ์ภาพโดยใช้รูปเรขาคณิตสองมิติ ให้เชื่อมโยงกับธรรมชาติหรือชีวิตจริง พร้อมนำ�เสนอผลงาน
หน้าชั้นเรียน
• การสำ�รวจความสนใจในกิจกรรมพิเศษ หรือ ชุมนุมต่าง ๆ ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาของโรงเรียน
แห่งหนึ่ง พร้อมนำ�เสนอด้วยรูปแบบการนำ�เสนอข้อมูลที่เหมาะสม

5) วิธีประเมินความสามารถทางคณิตศาสตร์
นักเรียนจะเกิดการเรียนรู้คณิตศาสตร์อย่างมีคุณภาพได้นั้น ต้องมีความสมดุลทั้งด้านความรู้ ทักษะและ
กระบวนการ ควบคู่ไปกับคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม การประเมินความสามารถของ
นักเรียนด้านความรูน้ น
้ั เป็นการประเมินกระบวนการทางสมองของนักเรียน ว่ามีความรูค ้ วามเข้าใจในเนือ
้ หาสาระหรือไม่
เพียงใด โดยนักเรียนจะแสดงออกด้วยพฤติกรรมขั้นพื้นฐานไปสู่ขั้นที่ซับซ้อน ได้แก่ จำ� เข้าใจ ประยุกต์ใช้ วิเคราะห์
ประเมินค่า และคิดสร้างสรรค์ ส่วนการประเมินความสามารถของนักเรียนด้านทักษะและกระบวนการทาง
คณิตศาสตร์ เป็นการประเมินความสามารถที่จำ�เป็นต่อการเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์ของนักเรียน ประกอบด้วย
ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการสื่อสารและสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ ความสามารถในการ
เชื่อมโยงความสามารถในการให้เหตุผล และความสามารถในการคิดสร้างสรรค์ สำ�หรับการประเมินความสามารถ
ของนักเรียนด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมนั้น เป็นการประเมินเกี่ยวกับอารมณ์
ความรู้สึกที่เป็นพฤติกรรมการแสดงออกหรือเป็นลักษณะนิสัยที่ตอบสนองต่อสิ่งต่าง ๆ ของนักเรียน

256 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

6) แนวทางการกำ�หนดวิธีการและเครื่องมือที่ใช้ในการประเมินผลความสามารถทางคณิตศาสตร์
ของนักเรียนในด้านต่าง ๆ

สิ่งที่ต้องการประเมิน วิธีการประเมิน ตัวอย่างเครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน


1. ความรู้ การสื่อสารส่วนบุคคล • แบบบันทึกการถาม-ตอบระหว่างทำ�กิจกรรมการเรียนรู้
• แบบบันทึกพฤติกรรมของนักเรียน
• แบบรายงานสรุปผลการเรียนรู้ของนักเรียน
• แบบบันทึกการเรียนรู้ (Learning Journals)
ฯลฯ

การทำ�แบบฝึกหัด • แบบบันทึกหรือแบบประเมินผลการทำ�แบบฝึกหัดพร้อมข้อมูล
ป้อนกลับ
• เกณฑ์การให้คะแนนเชิงคุณภาพ (Rubrics Scoring)
- ความครบถ้วน ความถูกต้อง
- ความสมบูรณ์ของการแสดงขั้นตอนวิธีคิด
- กรณีต้องปรับปรุงแก้ไข
• แบบตรวจสอบรายการ
ฯลฯ

การทดสอบ • แบบทดสอบ
- แบบเลือกตอบ (Selected Response)
- แบบสร้างคำ�ตอบ (Constructed Response)

- การปฏิบัติภาระงาน/ • แบบสังเกต (แบบสำ�รวจรายการ/แบบมาตรประมาณค่า)


ชิ้นงาน (Task) • แบบสอบถาม
- แฟ้มสะสมผลงาน • แบบประเมินเชิงคุณภาพ (Rubrics Scoring)
(Portfolio) ฯลฯ

2. ทักษะ การสื่อสารส่วนบุคคล • แบบบันทึกการถาม-ตอบระหว่างทำ�กิจกรรมการเรียนรู้


และกระบวนการทาง • แบบบันทึกพฤติกรรมของนักเรียน
คณิตศาสตร์ • แบบสอบถาม
• แบบบันทึกการสัมภาษณ์
• แบบสังเกต (แบบสำ�รวจรายการ/แบบมาตรประมาณค่า)
• แบบบันทึกหรือแบบประเมินผลการทำ�แบบฝึกหัดพร้อมข้อมูล
ป้อนกลับ
ฯลฯ

การปฏิบัติภาระงาน/ • แบบสังเกต (แบบสำ�รวจรายการ/แบบมาตรประมาณค่า)


ชิ้นงาน (Task) • แบบสอบถาม
• แบบประเมินเชิงคุณภาพ (Rubrics Scoring)
ฯลฯ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 257
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

สิ่งที่ต้องการประเมิน วิธีการประเมิน ตัวอย่างเครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน


3. คุณลักษณะ การสื่อสารส่วนบุคคล • บันทึกการอภิปรายในชั้นเรียน
อันพึงประสงค์ • บันทึกพฤติกรรมของนักเรียน
และเจตคติ • แบบบันทึกการเรียนรู้ (Learning Journals)
ฯลฯ

- การปฏิบัติภาระงาน/ • แบบสังเกต (แบบสำ�รวจรายการ/แบบมาตรประมาณค่า)


ชิ้นงาน (Task) • แบบสอบถาม
- แฟ้มสะสมผลงาน • แบบประเมินเชิงคุณภาพ (Rubrics Scoring)
(Portfolio) ฯลฯ

การสอบถาม • แบบสอบถาม
ความคิดเห็น • แบบสำ�รวจ
ความพึงพอใจ • แบบวัดเจตคติ
ความสนใจ และเจตคติ ฯลฯ
ต่อคณิตศาสตร์

ในการวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์ ครูต้องทำ�ความเข้าใจวัตถุประสงค์ในการวัดผลและประเมินผล
ให้ชดั เจน เพือ
่ เลือกวิธก
ี ารและเครือ
่ งมือวัดผลและประเมินผลให้เหมาะสมและหลากหลาย เพือ
่ ยืนยันความรูค
้ วามสามารถ
ที่แท้จริงของนักเรียน

4. การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21
ในศตวรรษที่ 21 (1 มกราคม ค.ศ. 2001 ถึง 31 ธันวาคม ค.ศ. 2100) โลกมีการเปลี่ยนแปลงในทุก ๆ ด้าน
ไม่ว่าจะเป็นด้านเศรษฐกิจ สังคม วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ส่งผลให้จำ�เป็นต้องมีการเตรียมนักเรียนให้พร้อมรับ
การเปลี่ยนแปลงของโลก ครูจึงต้องมีความตื่นตัวและเตรียมพร้อมในการจัดการเรียนรู้ให้นักเรียนมีความรู้ในวิชาหลัก
(core subjects) มีทักษะการเรียนรู้ (learning skills) และพัฒนานักเรียนให้มีทักษะที่จำ�เป็นในศตวรรษที่ 21
ไม่ว่าจะเป็นทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะการคิดและการแก้ปัญหา ทักษะการสื่อสาร และทักษะชีวต ิ
st
ทัง้ นีเ้ ครือข่าย P21 (Partnership for 21 Century Skill) ได้จ�ำ แนกทักษะทีจ่ �ำ เป็นในศตวรรษที่ 21 เป็น 3 หมวด
ได้แก่

1) ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม (Learning and Innovation Skills) ได้แก่ การคิดสร้างสรรค์


(creativity) การคิดแบบมีวิจารณญาณ/การแก้ปัญหา (critical thinking/problem-solving)
การสื่อสาร (communication) และ การร่วมมือ (collaboration)
2) ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี (Information, Media, and Technology Skills) ได้แก่
การรู้เท่าทันสารสนเทศ (information literacy) การรู้เท่าทันสื่อ (media literacy) การรู้เท่าทันเทคโนโลยี
และการสื่อสาร (information, communications and technology literacy)
3) ทักษะชีวิตและอาชีพ (Life and Career Skills) ได้แก่ ความยืดหยุ่นและความสามารถในการปรับตัว
(flexibility and adaptability) มีความคิดริเริ่มและกำ�กับดูแลตัวเองได้ (initiative and self-direction)
ทักษะสังคมและเข้าใจในความต่างระหว่างวัฒนธรรม (social and cross-cultural skills) การเป็นผู้สร้าง
ผลงานหรือผู้ผลิตและมีความรับผิดชอบเชื่อถือได้ (productivity and accountability) มีภาวะผู้นำ�
และความรับผิดชอบ (leadership and responsibility)

258 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

ดังนั้น การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21 ต้องมีการเปลี่ยนแปลงให้เข้ากับสภาพแวดล้อม บริบททางสังคม


และเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไป ครูต้องออกแบบการเรียนรู้ที่เน้นนักเรียนเป็นสำ�คัญ โดยให้นักเรียนได้เรียนจาก
สถานการณ์ในชีวิตจริงและเป็นผู้สร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง โดยมีครูเป็นผู้จุดประกายความสนใจ ใฝ่รู้ เอื้ออํานวย
ความสะดวก และสร้างบรรยากาศให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน

5. การแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ในระดับประถมศึกษา
การแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์เป็นกระบวนการที่มุ่งเน้นให้นักเรียนใช้ความรู้ที่หลากหลายและยุทธวิธีที่เหมาะสม
ในการหาคำ�ตอบของปัญหา นักเรียนต้องได้รับการพัฒนากระบวนการแก้ปัญหาอย่างต่อเนื่อง สามารถแก้ปัญหา
ได้อย่างเหมาะสมกับสถานการณ์ต่าง ๆ

กระบวนการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ที่ได้รับการยอมรับกันอย่างแพร่หลาย คือ กระบวนการแก้ปัญหา


ตามแนวคิดของโพลยา (Polya, 1957 : 5-6) ซึ่งประกอบด้วยขั้นตอนสำ�คัญ 4 ขั้น ดังนี้

ขั้นที่ 1 ทำ�ความเข้าใจปัญหา

ขั้นที่ 2 วางแผนแก้ปัญหา

ขั้นที่ 3 ดำ�เนินการตามแผน

ขั้นที่ 4 ตรวจสอบ

ขั้นที่ 1 ทำ�ความเข้าใจปัญหา ขั้นตอนนี้เป็นการพิจารณาว่าสถานการณ์ที่กำ�หนดให้เป็นปัญหาเกี่ยวกับอะไร


ต้องการให้หาอะไร กำ�หนดอะไรให้บ้าง เกี่ยวข้องกับความรู้ใดบ้าง การทำ�ความเข้าใจปัญหา ซึ่งอาจใช้วิธีการต่าง ๆ
เพื่อช่วยให้เข้าใจมากขึ้น เช่น การวาดภาพ การเขียนตาราง การบอกหรือเขียนสถานการณ์ปัญหาด้วยภาษาของตนเอง

ขั้นที่ 2 วางแผนแก้ปัญหา ขั้นตอนนี้เป็นการพิจารณาว่าจะแก้ปัญหานั้นด้วยวิธีใด แก้อย่างไร รวมถึงพิจารณา


ความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ ในปัญหา ผสมผสานกับประสบการณ์การแก้ปัญหาที่นักเรียนมีอยู่ เพื่อกำ�หนดแนวทาง
และเลือกยุทธวิธีในการแก้ปัญหาที่เหมาะสม

ขั้นที่ 3 ดำ�เนินการตามแผน ขั้นตอนนี้เป็นการลงมือปฏิบัติตามแผนหรือแนวทางที่วางไว้ จนสามารถหา


คำ�ตอบได้ ถ้าแผนหรือยุทธวิธีที่เลือกไว้ไม่สามารถหาคำ�ตอบได้ นักเรียนต้องเลือกยุทธวิธีใหม่จนกว่าจะได้คำ�ตอบ

ขั้นที่ 4 ตรวจสอบ ขั้นตอนนี้เป็นการพิจารณาความถูกต้องและความสมเหตุสมผลของคำ�ตอบ ตรวจสอบ


ความถูกต้องของแต่ละขั้นตอน นักเรียนอาจพิจารณายุทธวิธีอื่น ๆ ที่สามารถใช้หาคำ�ตอบได้ รวมทั้งนำ�แนวคิด
ในการแก้ปัญหานี้ไปใช้กับสถานการณ์ปัญหาอื่น

การแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ต้องใช้ยุทธวิธีหรือวิธีการต่าง ๆ มาช่วยหาคำ�ตอบ ยุทธวิธีเป็นเครื่องมือที่ช่วยให้


นักเรียนประสบความสำ�เร็จในการแก้ปัญหา ครูต้องจัดประสบการณ์การแก้ปัญหาที่หลากหลายและเพียงพอให้กับ
นักเรียน โดยยุทธวิธีที่เลือกใช้ในการแก้ปัญหา ต้องเหมาะสมและสอดคล้องกับพัฒนาการของนักเรียน ซึ่งยุทธวิธี
การแก้ปัญหาที่นักเรียนในระดับประถมศึกษาควรได้รับการพัฒนาและฝึกฝน ได้แก่

1) การวาดภาพ (Draw a picture)

การวาดภาพ เป็นการอธิบายสถานการณ์ปัญหาด้วยการวาดภาพจำ�ลอง หรือเขียนแผนภาพ จะช่วยให้เข้าใจ


ปัญหาได้ง่ายขึ้น และเห็นแนวทางการแก้ปัญหานั้น ๆ ซึ่งในบางครั้งอาจได้คำ�ตอบจากการวาดภาพนั้น

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 259
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

1 3
ตัวอย่าง 1 ทิพย์มีน้ำ�เชื่อม 10 ลิตร ครั้งแรกนำ�มาบรรจุขวด 6 ขวด ขวดละ ลิตร ครั้งที่ 2 บรรจุน้ำ�เชื่อม
2 4
1
ที่เหลือทั้งหมดขวดละ 1 ลิตร ทิพย์บรรจุน้ำ�เชื่อมครั้งที่ 2 ได้กี่ขวด
2

แนวคิด 1
น้ำ�เชื่อม 10 ล.
2

น้ำ�เชื่อมที่เหลือ

3 1
ครั้งแรก บรรจุ 6 ขวด ขวดละ ล. ครั้งที่ 2 บรรจุขวดละ 1 ล.
4 2

หาจำ�นวนขวดที่บรรจุครั้งที่ 2 โดยนำ�ปริมาณน้ำ�เชื่อมทั้งหมด ลบด้วยปริมาณน้ำ�เชื่อมที่


บรรจุครั้งแรก จะได้น้ำ�เชื่อมที่เหลือ จากนั้นนำ�ปริมาณน้ำ�เชื่อมที่เหลือ หารด้วยปริมาณ
น้ำ�เชื่อม 1 ขวด ที่บรรจุในครั้งที่ 2

1 2
ตัวอย่าง 2 โต้งมีเงินอยู่จำ�นวนหนึ่ง วันเสาร์ใช้ไป ของเงินที่มีอยู่ วันอาทิตย์ใช้ไป ของเงินที่เหลือ
4 3
แล้วยังมีเงินเหลืออยู่ 300 บาท เดิมโต้งมีเงินอยู่กี่บาท

แนวคิด เงินที่มีอยู่เดิม

เงินที่เหลือจากวันเสาร์

300 บาท

วันเสาร์ใช้ไป วันอาทิตย์ใช้ไป 2 ของเงินที่เหลือ เงินที่เหลืออยู่


1 ของเงินที่มีอยู่ 3
4

แสดงว่า เงิน 1 ส่วน เท่ากับ 300 บาท

เงิน 4 ส่วน เท่ากับ 4 × 300 = 1,200 บาท

ดังนั้น เดิมโต้งมีเงินอยู่ 1,200 บาท

260 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

2) การหาแบบรูป (Find a pattern)

การหาแบบรูป เป็นการวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหา โดยค้นหาความสัมพันธ์ของข้อมูลที่เป็นระบบ หรือที่เป็น


แบบรูป แล้วนำ�ความสัมพันธ์หรือแบบรูปที่ได้นั้นไปใช้ในการหาคำ�ตอบของสถานการณ์ปัญหา

ตัวอย่าง ในงานเลี้ยงแห่งหนึ่ง เจ้าภาพจัดโต๊ะและเก้าอี้ตามแบบรูป ดังนี้

รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3 รูปที่ 4

ถ้าจัดโต๊ะและเก้าอี้ตามแบบรูปนี้จนมีโต๊ะ 10 ตัว จะต้องใช้เก้าอี้ทั้งหมดกี่ตัว

แนวคิด
1) ยุทธวิธีที่ใช้แก้ปัญหา คือ การหาแบบรูป
2) พิจารณาการจัดโต๊ะและเก้าอี้จาก รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3 และรูปที่ 4 แล้วเขียนจำ�นวนโต๊ะและ
จำ�นวนเก้าอี้ของแต่ละรูป ดังนี้

โต๊ะ 1 ตัว เก้าอี้ที่อยู่ด้านหัวกับด้านท้าย 2 ตัว


เก้าอี้ด้านข้าง 2 = 1 × 2 ตัว

รูปที่ 1

โต๊ะ 2 ตัว เก้าอี้ที่อยู่ด้านหัวกับด้านท้าย 2 ตัว


เก้าอี้ด้านข้าง 2 + 2 = 2 × 2 ตัว

รูปที่ 2

โต๊ะ 3 ตัว เก้าอี้ที่อยู่ด้านหัวกับด้านท้าย 2 ตัว


เก้าอี้ด้านข้าง 2 + 2 + 2 = 3 × 2 ตัว

รูปที่ 3

โต๊ะ 4 ตัว เก้าอี้ที่อยู่ด้านหัวกับด้านท้าย 2 ตัว


เก้าอี้ด้านข้าง 2 + 2 + 2 + 2 = 4 × 2 ตัว

รูปที่ 4

3) พิจารณาจำ�นวนเก้าอี้ที่เปลี่ยนแปลงเทียบกับจำ�นวนโต๊ะ จากแบบรูป พบว่าเก้าอี้ที่อยู่ด้านหัว กับด้านท้าย


มี 2 ตัว ไม่เปลี่ยนแปลง แต่เก้าอี้ด้านข้างมีจำ�นวนเท่ากับจำ�นวนโต๊ะคูณด้วย 2
ดังนั้น เมื่อจัดโต๊ะและเก้าอี้ตามแบบรูปนี้ไปจนมีโต๊ะ 10 ตัว จะต้องใช้เก้าอี้ทั้งหมด 10 × 2 + 2 = 22 ตัว

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 261
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

3) การคิดย้อนกลับ (Work Backwards)


การคิดย้อนกลับ เป็นการวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาที่ทราบผลลัพธ์ แต่ไม่ทราบข้อมูลในขั้นเริ่มต้น โดยเริ่มคิด
จากข้อมูลที่ได้ในขั้นสุดท้าย แล้วคิดย้อนกลับทีละขั้นมาสู่ข้อมูลในขั้นเริ่มต้น

ตัวอย่าง

เพชรมีเงินจำ�นวนหนึ่ง ให้น้องชายไป 35 บาท ให้น้องสาวไป 15 บาท ได้รับเงินจากแม่อีก 20 บาท


ทำ�ให้ขณะนี้เพชรมีเงิน 112 บาท เดิมเพชรมีเงินกี่บาท

แนวคิด

จากสถานการณ์เขียนแผนภาพได้ ดังนี้
เงินที่มีอยู่เดิม เงินที่มีขณะนี้
- - +
112
35 15 20
ให้น้องชาย ให้น้องสาว แม่ให้

คิดย้อนกลับจากจำ�นวนเงินที่เพชรมีขณะนี้ เพื่อหาจำ�นวนเงินเดิมที่เพชรมี

เงินที่มีอยู่เดิม เงินที่มีขณะนี้
+ + -
142 107 92 112
35 15 20
ให้น้องชาย ให้น้องสาว แม่ให้

ดังนั้น เดิมเพชรมีเงิน 142 บาท

262 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

4) การเดาและตรวจสอบ (Guess and Check)


การเดาและตรวจสอบ เป็นการวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาและเงื่อนไขต่าง ๆ ผสมผสานกับความรู้ และ
ประสบการณ์เดิม เพื่อเดาคำ�ตอบที่น่าจะเป็นไปได้ แล้วตรวจสอบความถูกต้อง จากเงื่อนไขหรือข้อกำ�หนดของ
สถานการณ์ปัญหา ถ้าไม่ถูกต้องให้เดาใหม่โดยใช้ข้อมูลจากการเดาครั้งก่อนเป็นกรอบในการเดาคำ�ตอบครั้งต่อ ๆ ไป
จนกว่าจะได้คำ�ตอบที่ถูกต้องและสมเหตุสมผล

ตัวอย่าง

จำ�นวนนับ 2 จำ�นวน ถ้านำ�มาบวกกันจะได้ 136 แต่ถ้านำ�มาลบกันจะได้ 36 จำ�นวนนับทั้งสองจำ�นวนนั้น


คือจำ�นวนใด

แนวคิด เดาว่าจำ�นวน 2 จำ�นวนนั้นคือ 100 กับ 36 (ซึ่งมีผลบวก เป็น 136)


ตรวจสอบ 100 + 36 = 136 เป็นจริง
แต่ 100 – 36 = 64 ไม่สอดคล้องกับเงื่อนไข
เนื่องจากผลลบมากกว่า 36 จึงควรลดตัวตั้ง และเพิ่มตัวลบด้วยจำ�นวนที่เท่ากัน
จึงเดาว่าจำ�นวน 2 จำ�นวนนั้นคือ 90 กับ 46 (ซึ่งมีผลบวกเป็น 136 )
ตรวจสอบ 90 + 46 = 136 เป็นจริง
แต่ 90 – 46 = 44 ไม่สอดคล้องกับเงื่อนไข
เนื่องจากผลลบมากกว่า 36 จึงควรลดตัวตั้ง และเพิ่มตัวลบด้วยจำ�นวนที่เท่ากัน
จึงเดาว่าจำ�นวน 2 จำ�นวนนั้นคือ 80 กับ 56 (ซึ่งผลบวกเป็น 136 )
ตรวจสอบ 80 + 56 = 136 เป็นจริง
แต่ 80 – 56 = 24 ไม่สอดคล้องกับเงื่อนไข
เนื่องจากผลลบน้อยกว่า 36 จึงควรเพิ่มตัวตั้ง และลดตัวลบด้วยจำ�นวนที่เท่ากัน โดยที่ตัวตั้งควรอยู

ระหว่าง 80 และ 90
เดาว่าจำ�นวน 2 จำ�นวน คือ 85 กับ 51
ตรวจสอบ 85 + 51 = 136 เป็นจริง
แต่ 85 – 51 = 34 ไม่สอดคล้องกับเงื่อนไข
เนื่องจากผลลบน้อยกว่า 36 เล็กน้อย จึงควรเพิ่มตัวตั้ง และลดตัวลบด้วยจำ�นวนที่เท่ากัน
จึงเดาว่าจำ�นวน 2 จำ�นวน คือ 86 กับ 50
ตรวจสอบ 86 + 50 = 136 เป็นจริง
และ 86 – 50 = 36 เป็นจริง
ดังนั้น จำ�นวนนับ 2 จำ�นวนนั้น คือ 86 กับ 50

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 263
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

5) การทำ�ปัญหาให้ง่าย (Simplify the problem)


การทำ�ปัญหาให้ง่าย เป็นการลดจำ�นวนที่เกี่ยวข้องในสถานการณ์ปัญหา หรือเปลี่ยนให้อยู่ในรูปที่คุ้นเคย
ในกรณีที่สถานการณ์ปัญหามีความซับซ้อนอาจแบ่งปัญหาเป็นส่วนย่อย ๆ ซึ่งจะช่วยให้หาคำ�ตอบของสถานการณ์
ปัญหาได้ง่ายขึ้น

ตัวอย่าง รูปสามเหลี่ยมที่ระบายสีอยู่ในรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ามีพื้นที่เท่าใด
10 ซม.

7 ซม.

3 ซม.

6 ซม.
แนวคิด

1
ถ้าคิดโดยการหาพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมจากสูตร
× ความสูง × ความยาวของฐาน ซึ่งในระดับประถมศึกษา
2
ไม่สามารถหาได้เพราะไม่ทราบความยาวของฐานและความสูง แต่ถ้าเปลี่ยนมุมมองใหม่ก็จะสามารถหาคำ�ตอบได้ ดังนี้
วิธีที่ 1
10 ซม.

7 ซม. A
D

B C 3 ซม.

6 ซม.
จากรูป เราสามารถหาพื้นที่ A + B + C + D แล้วลบออกจากพื้นที่ทั้งหมด ก็จะได้พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม
ที่ต้องการได้
รูปสามเหลี่ยม A มีพื้นที่ (16 × 10) ÷ 2 = 80 ตารางเซนติเมตร
รูปสามเหลี่ยม B มีพื้นที่ (10 × 3) ÷ 2 = 15 ตารางเซนติเมตร
รูปสี่เหลี่ยม C มีพื้นที่ 6 × 3 = 18 ตารางเซนติเมตร
รูปสามเหลี่ยม D มีพื้นที่ (6 × 7) ÷ 2 = 21 ตารางเซนติเมตร
จะได้พื้นที่ A + B + C + D เท่ากับ 80 + 15 + 18 + 21 = 134 ตารางเซนติเมตร
ดังนั้น รูปสามเหลี่ยมที่ต้องการมีพื้นที่ (16 × 10) – 134 = 26 ตารางเซนติเมตร
264 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

10 ซม.
วิธีที่ 2
G F E

7 ซม.

H
D
3 ซม.

A B C
6 ซม.

จากรูป สามารถหาพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมที่ต้องการได้ดังนี้
รูปสามเหลี่ยม AEG มีพื้นที่ (16 × 10) ÷ 2 = 80 ตารางเซนติเมตร
จากรูป จะได้ว่า รูปสามเหลี่ยม AEG มีพื้นที่เท่ากับรูปสามเหลี่ยม ACE
ดังนั้น รูปสามเหลี่ยม ACE มีพื้นที่ 80 ตารางเซนติเมตร
รูปสามเหลี่ยม ABH มีพื้นที่ (10 × 3) ÷ 2 = 15 ตารางเซนติเมตร
รูปสามเหลี่ยม HDE มีพื้นที่ (6 × 7) ÷ 2 = 21 ตารางเซนติเมตร
และรูปสี่เหลี่ยม BCDH มีพื้นที่ 3 × 6 = 18 ตารางเซนติเมตร
ดังนั้น รูปสามเหลี่ยม AHE มีพื้นที่ 80 – (15 + 21 + 18) = 26 ตารางเซนติเมตร

6) การแจกแจงรายการ (Make a list)


การแจกแจงรายการ เป็นการเขียนรายการหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจากสถานการณ์ปัญหาต่าง ๆ การแจกแจง
รายการควรทำ�อย่างเป็นระบบ โดยอาจใช้ตารางช่วยในการแจกแจงหรือจัดระบบของข้อมูลเพื่อแสดงความสัมพันธ์
ระหว่างชุดของข้อมูลที่นำ�ไปสู่การหาคำ�ตอบ

ตัวอย่าง

นักเรียนกลุ่มหนึ่งต้องการซื้อไม้บรรทัดอันละ 8 บาท และดินสอแท่งละ 4 บาท เป็นเงิน 100 บาท ถ้าต้องการ


ไม้บรรทัดอย่างน้อย 5 อัน และ ดินสออย่างน้อย 4 แท่ง จะซื้อไม้บรรทัดและดินสอได้กี่วิธี

แนวคิด เขียนแจกแจงรายการแสดงความสัมพันธ์ระหว่างจำ�นวนและราคาไม้บรรทัดกับดินสอ ดังนี้

ถ้าซื้อไม้บรรทัด 5 อัน ราคาอันละ 8 บาท เป็นเงิน 5 × 8 = 40 บาท


เหลือเงินอีก 100 – 40 = 60 บาท จะซื้อดินสอราคาแท่งละ 4 บาท ได้ 60 ÷ 4 = 15 แท่ง
ถ้าซื้อไม้บรรทัด 6 อัน ราคาอันละ 8 บาท เป็นเงิน 6 × 8 = 48 บาท
เหลือเงินอีก 100 – 48 = 52 บาท จะซื้อดินสอราคาแท่งละ 4 บาท ได้ 52 ÷ 4 = 13 แท่ง
สังเกตได้ว่า เมื่อซื้อไม้บรรทัดเพิ่มขึ้น 1 อัน จำ�นวนดินสอจะลดลง 2 แท่ง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 265
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

เขียนแจกแจงในรูปตาราง ได้ดังนี้

ไม้บรรทัด เงินที่เหลือ ดินสอ


(บาท)
จำ�นวน (อัน) ราคา (บาท) จำ�นวน (แท่ง)

5 5 × 8 = 40 100 – 40 = 60 60 ÷ 4 = 15
6 6 × 8 = 48 100 – 48 = 52 52 ÷ 4 = 13
7 7 × 8 = 56 100 – 56 = 44 44 ÷ 4 = 11
8 8 × 8 = 64 100 – 64 = 36 36 ÷ 4 = 9
9 9 × 8 = 72 100 – 72 = 28 28 ÷ 4 = 7
10 10 × 8 = 80 100 – 80 = 20 20 ÷ 4 = 5

ดังนั้น นักเรียนจะซื้อไม้บรรทัดและดินสอให้เป็นไปตามเงื่อนไขได้ 6 วิธี

7) การตัดออก (Eliminate)
การตัดออก เป็นการพิจารณาเงื่อนไขของสถานการณ์ปัญหา แล้วตัดสิ่งที่กำ�หนดให้ในสถานการณ์ปัญหา
ที่ไม่สอดคล้องกับเงื่อนไข จนได้คำ�ตอบที่ตรงกับเงื่อนไขของสถานการณ์ปัญหานั้น

ตัวอย่าง

จงหาจำ�นวนที่หารด้วย 5 และ 6 ได้ลงตัว

4,356 9,084 5,471 9,346 4,782 7,623

2,420 3,474 1,267 12,678 2,094 6,540

4,350 4,140 5,330 3,215 4,456 9,989

แนวคิด พิจารณาจำ�นวนที่หารด้วย 5 ได้ลงตัว จึงตัดจำ�นวนที่หลักหน่วยไม่เป็น 5 หรือ 0 ออก

จำ�นวนที่เหลือ ได้แก่ 2,420 6,540 4,350 4,140 5,330 และ 3,215

จากนั้นพิจารณาจำ�นวนที่หารด้วย 6 ได้ลงตัว ได้แก่ 6,540 4,350 4,140

ดังนั้น จำ�นวนที่หารด้วย 5 และ 6 ได้ลงตัว ได้แก่ 6,540 4,350 4,140

266 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

8) การเปลี่ยนมุมมอง (Change perspective)


การเปลี่ยนมุมมอง เป็นการแก้สถานการณ์ปัญหาที่มีความซับซ้อน ไม่สามารถใช้ยุทธวิธีอื่นในการหาคำ�ตอบได้
จึงต้องเปลี่ยนวิธีคิด หรือแนวทางการแก้ปัญหาให้แตกต่างไปจากที่คุ้นเคยเพื่อให้แก้ปัญหาได้ง่ายขึ้น

จากรูป เส้นผ่านศูนย์กลางของวงกลมยาว 30 หน่วย แบ่งเป็น 3 ส่วน เท่า ๆ กัน

ส่วนที่แรเงามีพื้นที่เท่าใด (กำ�หนด = 3.14)

แนวคิด พลิกครึ่งวงกลมส่วนล่างจากขวาไปซ้าย จะได้วงกลม 1 วงกลม 2 และวงกลม 3 ดังรูป

พื้นที่ของส่วนที่แรเงา เท่ากับ พื้นที่ของวงกลม 2 ลบด้วยพื้นที่ของวงกลม 1

ซึ่งวงกลม 2 รัศมียาว 10 หน่วย และวงกลม 1 รัศมียาว 10 ÷ 2 = 5 หน่วย

ดังนั้น ส่วนที่แรเงามีพื้นที่ (3.14 × 10 × 10) – (3.14 × 5 × 5) = 235.5 ตารางหน่วย

จากยุทธวิธีข้างต้นเป็นยุทธวิธีพื้นฐานสำ�หรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา ครูจำ�เป็นต้องสอดแทรกยุทธวิธี
การแก้ปญ
ั หาทีเ่ หมาะสมกับพัฒนาการของนักเรียน เช่น ชัน ้ ประถมศึกษาปีท่ี 1 – 2 ครูอาจเน้นให้นก
ั เรียนใช้การวาดรูป
หรือการแจกแจงรายการ ช่วยในการแก้ปัญหา ส่วนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 – 6 ครูอาจให้นักเรียนใช้การแจกแจง-
รายการ การวาดรูป การหาแบบรูป การเดาและตรวจสอบ การคิดย้อนกลับ การตัดออก หรือการเปลี่ยนมุมมอง

ปัญหาทางคณิตศาสตร์บางปัญหา อาจมียุทธวิธีที่ใช้ในการแก้ปัญหาได้หลายวิธี นักเรียนควรเลือกใช้ยุทธวิธี


ให้เหมาะสมกับสถานการณ์ปัญหา และในบางปัญหานักเรียนอาจใช้ยุทธวิธีมากกว่า 1 ยุทธวิธีเพื่อแก้ปัญหานั้น

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 267
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

6. สถิติในระดับประถมศึกษา
ในปัจจุบัน เรามักได้ยินหรือได้เห็นคำ�ว่า “สถิติ” อยู่บ่อยครั้ง ทั้งจากโทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ หรืออินเทอร์เน็ต
ซึ่งมักจะมีข้อมูลหรือตัวเลขเกี่ยวข้องอยู่ด้วยเสมอ เช่น สถิติจำ�นวนนักเรียนในโรงเรียน สถิติการมาโรงเรียนของ
นักเรียน สถิติการเกิดอุบัติเหตุบนท้องถนนในช่วงเทศกาลต่าง ๆ สถิติการเกิดการตาย สถิติผู้ป่วยโรคเอดส์ เป็นต้น
จนทำ�ให้หลายคนเข้าใจว่า สถิติ คือข้อมูลหรือตัวเลข แต่ในความเป็นจริง สถิติยังรวมไปถึงวิธีการที่ว่าด้วย
การเก็บรวบรวมข้อมูล การนำ�เสนอข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และการตีความหมายข้อมูล ซึ่งผู้ที่มีความรู้ ความเข้าใจ
เกี่ยวกับสถิติจะสามารถนำ�สถิติไปช่วยในการตัดสินใจ การวางแผนดำ�เนินงาน และการแก้ปัญหาในด้านต่าง ๆ
ทั้งด้านการดำ�เนินชีวิต ธุรกิจ ตลอดจนถึงการพัฒนาประเทศ เช่น ถ้ารัฐบาลต้องการเพิ่มรายได้ของประชากร
จะต้องวางแผน โดยอาศัยข้อมูลสถิติประชากร สถิติการศึกษา สถิติแรงงาน สถิติการเกษตร และสถิติอุตสาหกรรม
เป็นต้น

ดังนั้นสถิติจึงเป็นเรื่องสำ�คัญและมีความจำ�เป็นที่ต้องจัดการเรียนการสอนให้นักเรียนเกิดความรู้ความเข้าใจ
และสามารถนำ�สถิติไปใช้ในชีวิตจริงได้ ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง
พุทธศักราช 2560) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา จึงจัดให้นักเรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับวิธีการ
เก็บรวบรวมข้อมูลและการนำ�เสนอข้อมูล ซึ่งเป็นความรู้พื้นฐานสำ�หรับการเรียนสถิติในระดับที่สูงขึ้น โดยในการเรียน
การสอนควรเน้นให้นักเรียนใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจและแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสมด้วย

การเก็บรวบรวมข้อมูล (Collecting Data)

ในการศึกษาหรือตัดสินใจเรื่องต่าง ๆ จำ�เป็นต้องอาศัยข้อมูลประกอบการตัดสินใจทั้งสิ้น จึงจำ�เป็นที่ต้องมี


การเก็บรวบรวมข้อมูล ซึ่งมีวิธีการที่หลากหลาย เช่น การสำ�รวจ การสังเกต การสอบถาม การสัมภาษณ์ หรือ
การทดลอง ทั้งนี้การเลือกวิธีเก็บรวบรวมข้อมูลจะขึ้นอยู่กับสิ่งที่ต้องการศึกษา

การนำ�เสนอข้อมูล (Representing Data)

การนำ�เสนอข้อมูล เป็นการนำ�ข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้มาจัดแสดงให้มีความน่าสนใจ และง่ายต่อการทำ�ความเข้าใจ


ซึ่งการนำ�เสนอข้อมูลสามารถแสดงได้หลายรูปแบบ โดยในระดับประถมศึกษาจะสอนการนำ�เสนอข้อมูลในรูปแบบของ
ตาราง แผนภูมิรูปภาพ แผนภูมิแท่ง แผนภูมิรูปวงกลม กราฟเส้น

ตาราง (Table)
การบอกความสัมพันธ์ของสิ่งต่าง ๆ กับจำ�นวนในรูปตาราง เป็นการจัดตัวเลขแสดงจำ�นวนของสิ่งต่าง ๆ
อย่างมีระเบียบในตารางเพื่อให้อ่านและเปรียบเทียบง่ายขึ้น
- ตารางทางเดียว (one - way table)
ตารางทางเดียวเป็นตารางที่มีการจำ�แนกรายการตามหัวเรื่องเพียงลักษณะเดียว เช่น จำ�นวนนักเรียน
ของโรงเรียนแห่งหนึ่งจำ�แนกตามชั้น

268 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

จำ�นวนนักเรียนชั้น ป.1-6 ของโรงเรียนแห่งหนึ่ง

ชั้น จำ�นวน (คน)

ประถมศึกษาปีที่ 1 65
ประถมศึกษาปีที่ 2 70
ประถมศึกษาปีที่ 3 69
ประถมศึกษาปีที่ 4 62
ประถมศึกษาปีที่ 5 72
ประถมศึกษาปีที่ 6 60

รวม 398

- ตารางสองทาง (two – way table)


ตารางสองทางเป็นตารางที่มีการจำ�แนกรายการตามหัวข้อเรื่อง 2 ลักษณะ เช่น จำ�นวนนักเรียนของโรงเรียน
แห่งหนึ่งจำ�แนกตามชั้นและเพศ

จำ�นวนนักเรียนชั้น ป.1-6 ของโรงเรียนแห่งหนึ่ง

เพศ
ชั้น รวม (คน)
ชาย (คน) หญิง (คน)

ประถมศึกษาปีที่ 1 38 27 65
ประถมศึกษาปีที่ 2 33 37 70
ประถมศึกษาปีที่ 3 32 37 69
ประถมศึกษาปีที่ 4 28 34 62
ประถมศึกษาปีที่ 5 32 40 72
ประถมศึกษาปีที่ 6 25 35 60

รวม 188 210 398

7. การใช้เทคโนโลยีในการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
ในศตวรรษที่ 21 ความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ทำ�ให้การติดต่อ
สือ
่ สารและเผยแพร่ขอ ้ มูลผ่านช่องทางต่าง ๆ สามารถทำ�ได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว โดยใช้สอ
่ื อุปกรณ์ทท
่ี น
ั สมัย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ก็เช่นกัน ต้องมีการปรับปรุงและปรับตัวให้เข้ากับบริบททางสังคมและเทคโนโลยี
ที่เปลี่ยนแปลงไป ซึ่งจำ�เป็นต้องอาศัยสื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้น่าสนใจ
สามารถนำ�เสนอเนื้อหาได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนรู้และช่วยลดภาระงานบางอย่าง
ทั้งนักเรียนและครูได้ เช่น การใช้เครือข่ายสังคม (Social network : Line, Facebook, Twitter) ในการสั่งการบ้าน
ติดตามภาระงานที่มอบหมาย หรือใช้ติดต่อสื่อสารกันระหว่างนักเรียน ครูและผู้ปกครองได้อย่างสะดวก รวดเร็ว

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 269
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

ทุกที่ทุกเวลา ทั้งนี้ครูและผู้ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาควรบูรณาการและประยุกต์ใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศในการ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อช่วยให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ มีความสามารถในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อการปฏิบัติงาน
อย่างมีประสิทธิภาพและหลากหลาย ตลอดจนพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ

สถานศึกษามีบทบาทอย่างยิ่งในการจัดสิ่งอำ�นวยความสะดวก ตลอดจนส่งเสริมให้ครูและนักเรียน ได้มีโอกาส


ในการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศในการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ให้มากที่สุด เพื่อจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้ออำ�นวยต่อ
การใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศให้มากที่สุด สถานศึกษาควรดำ�เนินการ ดังนี้

1) จัดให้มีห้องปฏิบัติการทางคณิตศาสตร์ที่มีสื่อ อุปกรณ์ เทคโนโลยีต่าง ๆ เช่น ระบบอินเทอร์เน็ต คอมพิวเตอร์


โปรเจคเตอร์ ให้เพียงพอกับจำ�นวนนักเรียน
2) จัดเตรียมสื่อ เครื่องมือประกอบการสอนในห้องเรียนเพื่อให้ครูได้ใช้ในการนำ�เสนอเนื้อหาในบทเรียน เช่น
คอมพิวเตอร์ โปรเจคเตอร์ เครื่องฉายทึบแสง เครื่องขยายเสียง เป็นต้น
3) จัดเตรียมระบบสื่อสารแบบไร้สายที่ปลอดภัยโดยไม่มีค่าใช้จ่าย (secured-free WIFI) ให้เพียงพอ กระจาย
ทั่วถึงครอบคลุมพื้นที่ในโรงเรียน
4) ส่งเสริมให้ครูนำ�สื่อเทคโนโลยีมาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ รวมทั้งสนับสนุนให้ครูเข้ารับการอบรมอย่าง
ต่อเนื่อง
5) ส่งเสริมให้นักเรียนและผู้ปกครองได้ตรวจสอบ ติดตามผลการเรียน การเข้าชั้นเรียนผ่านระบบอินเทอร์เน็ต
เช่น ผู้ปกครองสามารถเข้าเว็บมาดูกล้องวิดีโอวงจรปิด (CCTV) การเรียนการสอนของห้องเรียนที่บุตรของ
ตนเองเรียนอยู่ได้
ครูในฐานะทีเ่ ป็นผูถ
้ า่ ยทอดความรูใ้ ห้กบ
ั นักเรียน จำ�เป็นต้องศึกษาและนำ�สือ
่ เทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้
ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้สอดคล้อง เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม และความพร้อมของโรงเรียน ครูควรมีบทบาท
ดังนี้
1) ศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับสื่อ เทคโนโลยีใหม่ ๆ เพื่อนำ�มาประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
2) จัดหาสื่อ อุปกรณ์ โปรแกรม แอปพลิเคชันต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์ที่เหมาะสมเพื่อนำ�เสนอเนื้อหาให้นักเรียน
สนใจและเข้าใจมากยิ่งขึ้น
3) ใช้สื่อเทคโนโลยีประกอบการสอน เช่น ใช้โปรแกรม Power point ในการนำ�เสนอเนื้อหา ใช้ Application
Line และ Facebook ในการติดต่อสื่อสารกับนักเรียนและผู้ปกครอง
4) ส่งเสริมให้นักเรียนได้ใช้สื่อเทคโนโลยีมาใช้ในการเรียน เช่น เครื่องคิดเลข โปรแกรม The Geometer’s
Sketchpad (GSP), GeoGebra เป็นต้น
5) ปลูกจิตสำ�นึกให้นักเรียนรู้จักใช้สื่อเทคโนโลยีอย่างถูกต้อง เหมาะสมกับเวลาและสถานที่ การใช้งานอย่าง
ประหยัด เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด

270 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1

บรรณานุกรม

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2560). มาตรฐานการเรียนรูแ้ ละตัวชีว้ ด


ั กลุม
่ สาระการเรียนรูค
้ ณิตศาสตร์
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน
้ พืน
้ ฐาน พุทธศักราช 2551. พิมพ์ครัง้ ที่ 1. กรุงเทพมหานคร.
โรงพิมพ์ชม
ุ นุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำ�กัด.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2557). หนังสือเรียนรายวิชาพืน


้ ฐานคณิตศาสตร์ ชัน
้ ประถมศึกษาปีท่ี 6. พิมพ์ครัง้ ที่ 6.
กรุงเทพมหานคร. องค์การค้าของ สกสค.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2557). แบบฝึกทักษะรายวิชาพืน


้ ฐานคณิตศาสตร์ เล่ม 1 ชัน
้ ประถมศึกษาปีท่ี 6.
พิมพ์ครัง้ ที่ 6. กรุงเทพมหานคร. องค์การค้าของ สกสค.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2557). แบบฝึกทักษะรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ เล่ม 2 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6.


พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพมหานคร. องค์การค้าของ สกสค.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2556). คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. พิมพ์ครั้งที่ 4.


กรุงเทพมหานคร. องค์การค้าของ สกสค.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2555). คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. พิมพ์ครั้งที่ 1.


กรุงเทพมหานคร. องค์การค้าของ สกสค.
Gakko Tosho Co.Ltd. (2016). Mathematics for The Elementary School 6th Grade. Japan. Gakko Tosho.
Charlotte Collars; Koay Phong Lee; Lee Ngan Hoe; Ong Bee Leng; TanCheow Seng. (2014).
Sharping Maths Coursebook 6A. 2nd Edition. Singapore.
Charlotte Collars; Koay Phong Lee; Lee Ngan Hoe; Ong Bee Leng; TanCheow Seng. (2014).
Sharping Maths Coursebook 6B. 2nd Edition. Singapore.
Charlotte Collars; Koay Phong Lee; Lee Ngan Hoe; Ong Bee Leng; Tan Cheow Seng. (2014).
Sharping Maths Activity book 6A 2nd Edition. Singapore.
Charlotte Collars; Koay Phong Lee; Lee Ngan Hoe; Ong Bee Leng; Tan Cheow Seng. (2014).
Sharping Maths Activity book 6B 2nd Edition. Singapore.
Lai Chee Chong; Tan Kim Lian. (2011). Discovery Maths Textbook 6A. 2nd Edition.
Times Printers. Singapore.
Lai Chee Chong; Tan Kim Lian. (2011). Discovery Maths Textbook 6B. 2nd Edition.
Times Printers. Singapore.
Gakko Tosho Co.Ltd. Gakko Tosho Co.Ltd. (2016). Mathematics for The Elementary School 6th Grade.
Japan. Gakko Tosho.
KEIRINKAN Co., Ltd. (2009). Fun with MATH 6A for Elementary School. Osaka. Japan.
Shinko Shuppansha KEIRINKAN.
KEIRINKAN Co., Ltd. .(2009). Fun with MATH 6B for Elementary School. Osaka. Japan.
Shinko Shuppansha KEIRINKAN.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 271
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1

คณะผู้จัดทำ� คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ เล่ม ๑ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖


กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑

คณะทีป
่ รึกษา
ศาสตราจารย์ชก
ู จิ ลิมปิจ�ำ นงค์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นายศรเทพ วรรณรัตน์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คณะผูย
้ กร่างคูม
่ อ
ื ครู
นายณัฐ จัน
่ แย้ม ข้าราชการบำ�นาญ โรงเรียนไชยฉิมพลีวท
ิ ยาคม กรุงเทพมหานคร
ผูช
้ ว่ ยศาสตราจารย์ตรี วิชช์ ทินประภา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนน
ั ทา
นางสาวศิรวิ รรณ จันทร์แก่น มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี
นางสาวอุษณีย์ วงศ์อามาตย์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นางสาวกชพร วงศ์สว่างศิร
ิ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คณะผูพ
้ จ
ิ ารณาคูม
่ อ
ื ครู
รองศาสตราจารย์นพพร แหยมแสง ข้าราชการบำ�นาญ มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง
นายนิรน
ั ดร์ ตัณฑัยย์ ข้าราชการบำ�นาญ โรงเรียนวัดหงส์รต
ั นาราม กรุงเทพมหานคร
นางสาวจิราพร พรายมณี ข้าราชการบำ�นาญ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนน
ั ทา
นางสาวจินดา พ่อค้าชำ�นาญ ข้าราชการบำ�นาญ โรงเรียนศึกษานารีวท
ิ ยา กรุงเทพมหานคร
นายณัฐ จัน
่ แย้ม ข้าราชการบำ�นาญ โรงเรียนไชยฉิมพลีวท
ิ ยาคม กรุงเทพมหานคร
นายภีมวัจน์ ธรรมใจ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นางสาวอุษณีย์ วงศ์อามาตย์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นางสาวกชพร วงศ์สว่างศิร
ิ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คณะบรรณาธิการ
นายนิรน
ั ดร์ ตัณฑัยย์ ข้าราชการบำ�นาญ โรงเรียนวัดหงส์รต
ั นาราม กรุงเทพมหานคร
นางสาวจิราพร พรายมณี ข้าราชการบำ�นาญ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนน
ั ทา
นายสมเกียรติ เพ็ญทอง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ฝ่ายสนับสนุนวิชาการ
นางพรนิภา เหลืองสฤษดิ
์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นางสาวละออ เจริญศรี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ออกแบบรูปเล่ม
บริษท
ั ดิจต
ิ อล เอ็ดดูเคชัน
่ จำ�กัด

272 | สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

You might also like