You are on page 1of 45

ผลงานเพื่อประกอบการสัมภาษณ์เลื่อนระดับเป็ นสามัญวิศวกร

สาขาวิศวกรรมโยธา

ของ นายณัฏฐ รักษา


เลขทะเบียน ภย. 71757

โครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3 ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ
999 หมู 1 ตําบลหนองปรือ อําเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ
ประเทศไทย 10540
งานการกอสรางผิวทางของทางวิ่ง, ทางขับขนาน และทางขับเชื่อม โครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3
ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 2 Page 2 of 45

คํานํา

รายงานฉบับนี้ทําขึ้นเพื่อประกอบการขอเลื่อนระดับการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมเปน
สามัญวิศวกร ของ นายณั ฏฐ รักษา เลขทะเบียน ภย. 71757 เนื้อหาภายในจะเกี่ยวของกับการ
ทํางานตําแหนงวิศวกรโครงการ ซึ่งรับผิดชอบดูแลงานการกอ สรางผิวทางของทางวิ่งเสนที่ 3
และทางขับ โครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3 ทาอากาศยานสุ วรรณภูมิ ซี่งจะกลาวถึงวิธีก าร
บริหารงานโครงการและขอบเขตงานที่ไดรับมอบหมายงานผูบังคับบัญชาระดับสามัญวิศวกรใน
ขอบเขตงานผูรับ จาง บริษั ท ถนอมวงศบริการ ทั้งนี้หากมี ความผิดพลาดประการใดเกี่ยวกั บ
เนื้อหาผูจัดทําตองขออภัย ณ ที่นดี้ วย
งานการกอสรางผิวทางของทางวิ่ง, ทางขับขนาน และทางขับเชื่อม โครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3
ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 2 Page 3 of 45

สารบัญ
1. ที่ตั้งโครงการและรายละเอียดโครงการ .............................................................................................................................................4
1.1. ที่ตั้งโครงการ........................................................................................................................................................................................4
1.2. รายละเอียดโครงการ ......................................................................................................................................................................... 5
2. ลักษณะงาน ........................................................................................................................................................................................ 6
2.1. งานกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3 และทางขับขนาน .................................................................................................................................. 6
2.2. งานกอสราง RAPID EXIT TAXIWAY และทางขับเชื่อม ......................................................................................................................... 7

2.3. งานกอสราง PERIMETER TAXIWAY ...................................................................................................................................................... 7

2.4. งานกอสราง TAXIWAY D EXTENSION................................................................................................................................................... 7

2.5. งานผิวทางของทางวิ่งเสนที่ 3 และทางขับตางๆ ............................................................................................................................... 8

3. วัตถุประสงคของโครงการ................................................................................................................................................................. 10
4. บทบาทความรับผิดชอบของผูเ ลือ่ นระดับในฐานะเปนวิศวกรที่ไดรบั มอบหมายใหปฏิบัติงาน.................................................... 11
5. ปญหาดานวิศวกรรมโยธาที่เกิดขึ้นระหวางปฏิบัติงาน ................................................................................................................... 11
6. ตัวอยางผลงานและวิธีการกอสรางที่ไดดําเนินการในโครงการ ..................................................................................................... 12
6.1. ผลงานการกอสรางผิวทางของทางวิง่ , ทางขับขนาน และทางขับเชื่อม......................................................................................... 12
6.2. ผลงานในสวนของการตรวจสอบคุณภาพและความแข็งแรงของชั้นทาง...................................................................................... 23

7. แนวทางการแกปญหาขณะปฏิบัติงาน ............................................................................................................................................ 37
7.1. ปญหาเรื่องขอกําหนดการปฎิบัติงานภายในขอบเขตพืน้ ที่การบิน (AIRSIDE) ............................................................................... 37
7.2. ปญหาเนือ
่ งจากความลาชาในการกอสราง (DELAY PROGRESS) เมื่อเทียบกับแผนงาน (BASELINE SCHEDULE)............................ 38
7.3. การบริหารจัดการวัสดุ (MATERIAL MANAGEMENT) และการควบคุมคุณภาพ (QUALITY CONTROL)............................................... 41

8. ประโยชนที่ไดรับจากการดําเนินงานโครงการ.................................................................................................................................45
งานการกอสรางผิวทางของทางวิ่ง, ทางขับขนาน และทางขับเชื่อม โครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3
ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 2 Page 4 of 45

1. ที่ตั้งโครงการและรายละเอียดโครงการ

1.1. ที่ตั้งโครงการ

โครงการก อ สรางทางวิ่งเสนที่ 3 ทาอากาศยานสุ วรรณภู มิ ตั้ งอยู ภายในพื้ นที่ ของท าอากาศยาน
สุวรรณภูมิ อําเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ

โดยมีพื้นที่กอสรางโครงการอยูบริเวณทางทิศตะวันตกของทาอากาศยานสุวรรณภูมิ ขนานกับแนว
คลองลาดกระบัง

รูปภาพที่ 1 ตําแหนงที่ตั้งโครงการ
งานการกอสรางผิวทางของทางวิ่ง, ทางขับขนาน และทางขับเชื่อม โครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3
ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 2 Page 5 of 45

1.2. รายละเอียดโครงการ

ผูวาจาง บริษัท ทาอากาศยานไทย จํากัด (มหาชน)

ที่ปรึกษา กลุมบริษัทวิศวกรที่ปรึกษาและควบคุมงาน AEC Consortium

ผูร ับจาง บริษัท กิจการรวมคา ทีเอ็น จํากัด

(ถนอมวงศบริการ และเนาวรัตนพัฒนาการ)

เลขที่สัญญา 8CI10-631001 ลงวันที่ ลงวันที่ 19 สิงหาคม 2563

ระยะเวลา 28 กันยายน 2563 – 13 สิงหาคม 256 (1150 วัน) – สวนงานที่ 1

มูลคาสัญญา 9,713 ลานบาท

รูปภาพที่ 2 สวนงานกอสรางอาคารเทียบเครื่องบินหลังที่ 1และสวนตอเชื่อมอุโมงคดานทิศใต


งานการกอสรางผิวทางของทางวิ่ง, ทางขับขนาน และทางขับเชื่อม โครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3
ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 2 Page 6 of 45

2. ลักษณะงาน

2.1. งานกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3 และทางขับขนาน

งานกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3 ความยาว 4,000 เมตร กวาง 60 เมตร ทางดานตะวันตกขนานกับระบบ


ทางวิ่งเสนปจจุบัน (ทางวิ่งเสนที่ 1) โดยทางวิ่งเสนที่ 3 จะใชสําหรับการบินรอนลงเปนหลัก สวนทาง
วิ่งเสนปจจุบันจะใชสําหรับการบินขึ้น ทั้งนี้ ทางขับขนาน (Parallel Taxiway) จะอยูขนานกับทางวิ่งเสน
ที่ 3 โดยจะมีทางขับออกดวนเชื่อมตอถึงกัน

รูปภาพที่ 3 ทางวิ่งเสนที่ 3 และทางขับขนาน


งานการกอสรางผิวทางของทางวิ่ง, ทางขับขนาน และทางขับเชื่อม โครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3
ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 2 Page 7 of 45

2.2. งานกอสราง RAPID EXIT TAXIWAY และทางขับเชื่อม

งานกอสราง Rapid Exit Taxiway หรือทางขับออกดวน จะมี 7 เสน เพื่อใหอากาศยานที่รอนลงบนทาง


วิ่งเสนที่ 3 ไมตองเสียเวลาอยูบนทางวิ่งนาน และสามารถเคลื่อนตัวออกจากทางวิ่งเขาสูทางขนานได
รวดเร็ว ซึ่งจะชวยใหสามารถรองรับจํานวนเที่ยวบินไดมากขึ้น

2.3. งานกอสราง PERIMETER TAXIWAY

งานกอสราง Perimeter Taxiway ตอจากทางขับขนานไปทางทิศใต โดยเชื่อมระหวาง Taxiway F และ


Taxiway D เพื่อใชเป นทางขับใหอากาศยานสามารถขับเคลื่อนไปยังลานจอดไดสะดวก โดยไมตอง
เคลื่อนตัดผานทางวิ่งเสนปจจุบันดานตะวันตก (ทางวิ่งเสนที่ 1)

รูปภาพที่ 4 อาคาร DVOR เดิมในสวนของพื้นที่ Perimeter Taxiway กอนดําเนินการรื้อยาย

2.4. งานกอสราง TAXIWAY D EXTENSION

การกอสราง Taxiway D Extension เปนการตอขยายทางขับเดิม เพื่ออํานวยความสะดวกใหอากาศ


ยานสามารถขับเคลื่อนออกจากทางวิ่งไปยังลานจอดไดโดยตรง
งานการกอสรางผิวทางของทางวิ่ง, ทางขับขนาน และทางขับเชื่อม โครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3
ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 2 Page 8 of 45

รูปภาพที่ 5 งานกอสรางชั้น Subbase บริเวณพื้นที่ D Extension 1

2.5. งานผิวทางของทางวิ่งเสนที่ 3 และทางขับตางๆ

การกอสรางผิวทางของทางวิ่งและทางขับ แบงเปน 2 รูปแบบ

• Flexible Pavement ผิวทางแอสฟลต สําหรับทางวิ่งและทางขับทั่วไป

รูปภาพที่ 6 งานปูผิวทางแอสฟลต สําหรับทางวิ่งและทางขับ


งานการกอสรางผิวทางของทางวิ่ง, ทางขับขนาน และทางขับเชื่อม โครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3
ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 2 Page 9 of 45

• Rigid Pavement ผิวทางแบบคอนกรีต ผิวทางชนิดนี้จะสามารถรองรับน้ําหนักและแรงเฉือนได


ดี โดยจะก อ สร างที่ บ ริ เวณจุ ด จอดรอก อ นเข า ทางวิ่ ง (Holding Position) บนทางขั บ ขนาน
เพื่อใหบริเวณดังกลาวมีความคงทนมากยิ่งขึ้น และกอสรางบริเวณ Taxiway D Extension-1

รูปภาพที่ 7 งานกอสรางชั้น Subbase บริเวณพื้นที่ D Extension 1


งานการกอสรางผิวทางของทางวิ่ง, ทางขับขนาน และทางขับเชื่อม โครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3
ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 2 Page 10 of 45

3. วัตถุประสงคของโครงการ

ปจจุบัน ทาอากาศยานสุวรรณภูมิมีทางวิ่งจํานวน 2 เสน คือ ทางวิ่งที่ 1 (01L/19R) อยูทางทิศตะวันตก


ของท าอากาศยานสุ ว รรณภู มิ และทางวิ่งที่ 2 (01R/19L) อยู ท างทิ ศตะวั นออกของท าอากาศยาน
สุวรรณภูมิ โดยมีระยะหางกันประมาณ 2,200 เมตร อากาศยานสามารถบินขึ้น-ลงไดพรอมกันทั้ง 2
ทางวิ่ง ซึ่งบริษัท วิทยุการบินแหงประเทศไทย จํากัด ไดประเมินขีดความสามารถของทางวิ่งทั้งสอง
เสนทางแลววา สามารถรองรับปริมาณจราจรทางอากาศได 68 เที่ยวบินตอชั่วโมง

อยางไรก็ตาม จากการที่ทาอากาศยานสุ วรรณภู มิมีความจําเปนตอ งปด ซอ มทางวิ่งทิศตะวันออก


(01R/19L) ในชวงเดือนมิถุนายน-สิงหาคม 2555 พบวามีผลกระทบตอขีดความสามารถของทางวิ่ง
โดยลดลงเหลือเพียง 34 เที่ยวบินตอชั่วโมง ในขณะที่ในชั่วโมงเรงดวนมีจํานวนเที่ยวบินขึ้น-ลงมากถึง
50 เที่ยวบินตอชั่วโมง สงผลใหเกิดความลาชาของเที่ยวบินทั้งขาเขาและขาออก ทําใหสิ้นเปลืองน้ํามัน
เชื้อเพลิง ผูโดยสารเสียเวลาในการเดินทางมากขึ้น ดวยเหตุผลดังกลาวขางตน บริษัท ทาอากาศยาน
ไทย จํากัด (มหาชน) จึงมีโครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3 เพื่อรองรับปริมาณจราจรทางอากาศที่มี
แนวโนมขยายเที่ยวบินเพิ่มขึ้นในอนาคต และเพื่อรองรับปริมาณจราจรในกรณีที่มีการปดซอมทางวิ่ง
เสนที่ 1 และเสนที่ 2 ซึ่งการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3 จะทําใหทาอากาศยานสุวรรณภูมิรองรับปริมาณ
จราจรไดเพิ่มขึ้น เปน 94 เที่ยวบินตอชั่วโมง และในกรณีทางวิ่งทางขับสมบูรณและสภาพอากาศปกติ
ดี จะมีเที่ยวบินเฉลี่ยวันละ 800-1,000 เที่ยวบิน ซึ่งมีกําหนดการกอสรางแลวเสร็จในป พ.ศ.2566
งานการกอสรางผิวทางของทางวิ่ง, ทางขับขนาน และทางขับเชื่อม โครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3
ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 2 Page 11 of 45

4. บทบาทความรับผิดชอบของผูเลื่อนระดับในฐานะเปนวิศวกรที่ไดรับมอบหมายใหปฏิบัติงาน

ตํ าแหน ง : วิศวกรรมโครงการ ในสว นงานกอ สรางชั้นทาง Airfield Pavement ในส วนงานของ


บริษัท ถนอมวงศบริการ

ระยะเวลาปฎิบัติงาน เริ่ม พฤศจิกายน 2563 แลวเสร็จ กันยายน 2566

ผูขอเลื่อนประเภทวิศวกรไดปฏิบัติงานตามกฎกระทรวง กําหนดสาขาวิชาชีพวิศวกรรมและวิชาชีพ
วิศวกรรมควบคุม พ.ศ. 2550 โดยไดรับมอบหมายใหปฏิบตั ิงานผลงานดีเดนลําดับที่ 1 ในสวนงานการ
กอสรางผิวทางของทางวิ่ง, ทางขับขนาน และทางขับเชื่อม โครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3 ทาอากาศ
ยานสุวรรณภูมิ

หนาที่

1. ผูขอเลื่อนประเภทวิศวกรทําหนาที่ ควบคุมและประสานงานกอสรางใหเปนตามรายการประกอบ
แบบและตรงตามขอกําหนดในสัญญา ภายใตการกํากับดูแลของสามัญวิศวกร

2. ผูข อเลื่ อ นประเภทวิศ วกรทํ าหน าวิศวกรควบคุ ม ใหเป น ไปตามขอ กํ าหนดในสัญ ญาโครงการ
รวมทั้งประสานงานกับผูรับเหมาชวง ผูควบคุมงานและผูวาจางในสวนงานกอสรางชั้นทาง Airfield
Pavement ครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3 ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ ภายใตการกํากับดูแลของ
สามัญวิศวกร

5. ปญหาดานวิศวกรรมโยธาที่เกิดขึ้นระหวางปฏิบัติงาน

ปญหาดานเกิดขึ้นระหวางปฏิบัติงาน สามารถแยกเปนขอไดดังนี้

1. ปญหาเรื่องขอกําหนดการปฎิบัติงานภายในขอบเขตพื้นที่การบิน (Airside)

2. ความลาชาในการกอ สราง (Delay Progress) เมื่อ เทีย บกั บ กรอบเวลาดํ าเนิ นการตามที่ ระบุ ใน
สัญญา

3. การบริหารจัดการวัสดุ (Material Management) และการควบคุมคุณภาพ (Quality Control)


งานการกอสรางผิวทางของทางวิ่ง, ทางขับขนาน และทางขับเชื่อม โครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3
ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 2 Page 12 of 45

6. ตัวอยางผลงานและวิธีการกอสรางที่ไดดําเนินการในโครงการ

6.1. ผลงานการกอสรางผิวทางของทางวิ่ง, ทางขับขนาน และทางขับเชื่อม โครงการกอสรางทาง


วิ่งเสนที่ 3 ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ

ขาพเจาไดรับมอบหมายใหปฏิบัติงานควบคุมและประสานงานกอสราง งานกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3 ทา


อากาศยานสุวรรณภูมิ โครงการพัฒนาทาอากาศยานสุวรรณภูมิ โดยมีหนาควบคุมดูแลการในสวน
ของ Airfield Flexible Pavement และป ระสานงานร ว มกั บ ผู รั บ เหมาช ว งเจ า อื่ น ๆ เกี่ ย วข อ ง
ตัวอยางเชนทางงานระบบไฟฟาสนามบิน และงานสาธารณูปโภค เปนตน

รูปภาพที่ 7 รูปแบบชั้นทางงานกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3 ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ


งานการกอสรางผิวทางของทางวิ่ง, ทางขับขนาน และทางขับเชื่อม โครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3
ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 2 Page 13 of 45

1. หลักจากทําการปรับปรุงคุณภาพดินเปนที่เรียบรอย และไดคา Degree of Consolidation มากกวา


90% ขั้นตอนถัดไปจะเปนการเคลียรวัสดุ Surcharge ออกใหไดระดับตามแบบกอสราง

2. ดําเนินการกอสรางชั้นรองพื้นทาง (Subbase) โดยกอสรางชั้นรองพื้นทางโดยถมและบดอัดวัสดุ


รองพื้นทาง ใหไดรูปราง และระดับตามแบบกอสราง

รูปภาพที่ 8 งานกอสรางและบดอัดชั้นรองพื้นทาง (Subbase)


งานการกอสรางผิวทางของทางวิ่ง, ทางขับขนาน และทางขับเชื่อม โครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3
ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 2 Page 14 of 45

3. หลังจากการบดอัดชั้นรองพื้นทางดวยรถบด จากนั้นจึงทําการทดสอบหาคาความหนาแนนวัสดุ
มวลรวมในสนาม (Field Density Test) ด ว ยวิธี Sand-Cone Method หรือ Nuclear Test Method
ตามขอกําหนด ASTM D1556 และ ASTM D1883

รูปภาพที่ 9 การทดสอบความหนาแนนในสนามโดยวิธี Sand Cone

4. สําหรับกอ สรางทางวิ่งทางขับ เสนที่ 3 ไดมีการออกแบบชั้น Sub Drainage พรอมติดตั้งทอ


Perforated Corrugated HDPE ขนาด 10 inch เพิ่มเติม เพื่อชวยลดระดับน้ําใตดินเพื่อไมใหซึมผาน
และแชขังในชั้น Airfield Pavement ซึ่งจะทําใหเกิดการเสื่อมสภาพของพื้นผิวทางวิ่งทางขับกอน
เวลาอันควร และเป นชวยระบายน้ําเพื่อ ลดระดับ น้ําใตดินสําหรับ พื้นที่ผิวพื้นสนามบิน (Airfield
Pavement) ใหอยูในระดับกวาชั้น Subbase เพื่อปองกันความเสียหายของผิวพื้นสนามบินเนื่องจาก
ผลกระทบของระดับน้ําใตดิน ที่อาจจะเกิดขึ้นมาในอนาคต
งานการกอสรางผิวทางของทางวิ่ง, ทางขับขนาน และทางขับเชื่อม โครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3
ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 2 Page 15 of 45

รูปภาพที่ 10 งานกอสรางชั้น Sub Drainage

รูปภาพที่ 11 ติดตั้งทอ Perforated Corrugated HDPE Pipe ขนาด 10 inch สําหรับชั้น Sub Drainage
งานการกอสรางผิวทางของทางวิ่ง, ทางขับขนาน และทางขับเชื่อม โครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3
ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 2 Page 16 of 45

รูปภาพที่ 12 แบบรูปตัดชั้นทางที่แสดงถึงชั้น Sub Drainage งานกอสรางทางวิ่งทางขับเสนที่ 3


งานการกอสรางผิวทางของทางวิ่ง, ทางขับขนาน และทางขับเชื่อม โครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3
ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 2 Page 17 of 45

5. ทําการ Spay ยาง Emulsified Asphalt Prime (Prime Coat) บนพื้นผิว Subbase ที่เตรียมไว
ดวยอุปกรณ Asphalt Distributer

รูปภาพที่ 13 ปูผิว Prime Coat ดวยเครื่องมือ Asphalt Distributer

รูปภาพที่ 14 รูปตัด Typical Section สําหรับ Flexible Runway


งานการกอสรางผิวทางของทางวิ่ง, ทางขับขนาน และทางขับเชื่อม โครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3
ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 2 Page 18 of 45

6. ดําเนินงานปูชั้น Bituminous Concrete Base Course ใหมคี วามหนารวมเทากับ 33 cm ตามที่


ระบุไวในรายการประกอบแบบ โดยใชอุปกรณ Paver Volvo P6820 จํานวน 2 ตัว ดําเนินการ
บริเวณดาน South และ North พรอมบดอัดดวยอุปกรณ Rollers

รูปภาพที่ 15 ดําเนินการปูยางชั้น HMA Base Course


งานการกอสรางผิวทางของทางวิ่ง, ทางขับขนาน และทางขับเชื่อม โครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3
ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 2 Page 19 of 45

7. เนื่องจากชัน้ HMA Base Course มีความหนารวมเทากับ 33 cm ผูรับจางจึงไดกําหนดการปู


ออกเปน 4 Layers โดยมีการลาดแอสฟลทชนิดเหลว (Asphalt Emulsion) ประเภท CRS-1 กอน
ดําเนินการปูในแตละชั้น (Layer)

รูปภาพที่ 16 ดําเนินการปูยางมะตอยน้ํา (Tack Coat) สําหรับงาน HMA Base Course


งานการกอสรางผิวทางของทางวิ่ง, ทางขับขนาน และทางขับเชื่อม โครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3
ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 2 Page 20 of 45

8. ดําเนินงานปูชั้น HMA Binder Course ใหมีความหนาเทากับ 5 cm ตามที่ระบุไวในรายการประกอบ


แบบ โดยใชอุปกรณ Paver พรอมบดอัดดวยอุปกรณ Rollers

รูปภาพที่ 17 ดําเนินการปูยางชั้น HMA Binder Course

9. หลังจากปูชั้น HMA Binder Course แลว จึงดําเนินการ Spay ยางมะตอยน้ํา (Polymer-Modified


Asphalt Emulsion) ชนิด CRS-1P กอนปูชั้น Wearing Course

รูปภาพที่ 18 ดําเนินการปูยางมะตอยน้ํา (Polymer-Modified Tack Coat)


งานการกอสรางผิวทางของทางวิ่ง, ทางขับขนาน และทางขับเชื่อม โครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3
ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 2 Page 21 of 45

10. ดําเนินงานปูผวิ ทางชั้นสุดทาย (PMA Surface Course) ใหมีความหนาเทากับ 5 cm ตามที่ระบุไวใน


รายการประกอบแบบ

รูปภาพที่ 19 ดําเนินการปูยางชั้น PMA Surface Course


งานการกอสรางผิวทางของทางวิ่ง, ทางขับขนาน และทางขับเชื่อม โครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3
ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 2 Page 22 of 45

11. ตรวจสอบความสะอาดพื้นผิว และการเตรียมพื้นผิววาเหมาะสมกับการทํางานหรือไม โดยพื้นผิว


จะตองแหงและไมมีเศษผง คราบน้ํามัน ควาบเกลือ หรือ ปูน จากนั้นจึงเริ่มดําเนินการตีเสน
จราจร (Pavement Marking) พรอมโรยลูกแกวสะทอนแสง

รูปภาพที่ 20 งานตีเสนจราจร (Pavement Marking) พรอมโรยลูกแกวสะทอนแสง


งานการกอสรางผิวทางของทางวิ่ง, ทางขับขนาน และทางขับเชื่อม โครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3
ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 2 Page 23 of 45

6.2. ผลงานในสวนของการตรวจสอบคุณภาพและความแข็งแรงของชั้นทาง

การตรวจสอบคุณภาพของวัสดุแอสฟลทจะประกอบไปดวยงานทดสอบที่เกี่ยวของดังตอไป

1. การทดสอบในหองปฎิบัตกิ าร
I. งานทดสอบ Aggregate สํ า หรั บ Cold Bin ตั ว อย า งเช น การทดสอบ Los Angeles
Abrasion, Water Absorption, Aggregate Impact Value, Plasticity Index แล ะ Moisture
Content เปนตน ซึ่งสอดคลองกับขอกําหนดโครงการ

รูปภาพที่ 21 เตาอบ สําหรับหองทดสอบวัสดุสนาม

รูปภาพที่ 22 อุปกรณ Mold CBR ขนาด 6นิ้ว


งานการกอสรางผิวทางของทางวิ่ง, ทางขับขนาน และทางขับเชื่อม โครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3
ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 2 Page 24 of 45

II. งานทดสอบ Aggregate สําหรับ Hot Bin ตัวอยางเชน การทดสอบ Gradation, Mass Loss,
Dynamic Shear, Flash Point และ Pressure Aging Vessel เป น ต น ซึ่ ง สอดคล อ งกั บ
ขอกําหนดโครงการ

รูปภาพที่ 23 ตะแกรงรอนสําหรับ Sieve

III. งานทดสอบวัสดุ Asphalt Concrete Mixture ตัวอยางเชน การทดสอบ Gradation, Asphalt


Content, Moisture Content, Loss of Stability และ Marshall Test เป น ต น ซึ่ ง สอดคล อ ง
กับขอกําหนดโครงการ

รูปภาพที่ 24 เครื่องมือ Marshall Compactor


งานการกอสรางผิวทางของทางวิ่ง, ทางขับขนาน และทางขับเชื่อม โครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3
ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 2 Page 25 of 45

รูปภาพที่ 25 เครื่องมือ Marshall Stability

รูปภาพที่ 26 การทดสอบ Loss of Stability ที่โรงงาน TIPCO Asphalt พระประแดง


งานการกอสรางผิวทางของทางวิ่ง, ทางขับขนาน และทางขับเชื่อม โครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3
ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 2 Page 26 of 45

รูปภาพที่ 27 การทดสอบ Rutting Hamburg Wheel ที่โรงงาน TIPCO Asphalt พระประแดง

การทดสอบวัสดุที่ใชในโครงการ จะถูกนําเสนออยูใ นเอกสาร Inspection Test Plan (ITP) ตามตาราง


ดานลาง
งานการกอสรางผิวทางของทางวิ่ง, ทางขับขนาน และทางขับเชื่อม โครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3
ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 2 Page 27 of 45
งานการกอสรางผิวทางของทางวิ่ง, ทางขับขนาน และทางขับเชื่อม โครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3
ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 2 Page 28 of 45

รูปภาพที่ 28 Inspection Test Plan (ITP) สําหรับงาน PMA Surface Course

สถานะรายการวั ส ดุ ที่ กํ าหนดให มี Control Test จะถู ก นํ าเสนอในวาระการประชุ ม รายเดื อ น (Monthly


Meeting) ซึ่งจะถูกติดตามโดยผูวาจาง เพื่อใหสอดคลองกับแผนประกันคุณภาพโครงการ

2. การทดสอบในสนาม (Field Tests) จะประกอบไปดวยการทดสอบดังตอไปนี้

I. การตรวจวัดอุณหภูมิวัสดุแอสฟลทในสนาม
งานการกอสรางผิวทางของทางวิ่ง, ทางขับขนาน และทางขับเชื่อม โครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3
ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 2 Page 29 of 45

รูปภาพที่ 29 การตรวจวัดอุณหภูมิวัสดุแอสฟลทในสนาม

II. การตรวจสอบความขรุขระในสนาม (Smoothness Test) โดยเครื่องมือ Straightedge

รูปภาพที่ 30 ทดสอบ Smoothness โดยเครื่องมือ Straightedge บริเวณ Shoulder Perimeter


งานการกอสรางผิวทางของทางวิ่ง, ทางขับขนาน และทางขับเชื่อม โครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3
ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 2 Page 30 of 45

III. การตรวจสอบความขรุขระในสนาม (Smoothness Test) โดยเครื่องมือ Profilemeter

รูปภาพที่ 31 ทดสอบ Smoothness โดยเครื่องมือ Profilemeter บริเวณ Shoulder Perimeter

IV. การตรวจสอบ Surface Texture โดยวิธี Sand Pad

รูปภาพที่ 32 ทดสอบผิวความเรียบและขรุขระ โดยวิธี Sand Pad


งานการกอสรางผิวทางของทางวิ่ง, ทางขับขนาน และทางขับเชื่อม โครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3
ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 2 Page 31 of 45

V. การทดสอบ Skid Resistance เปนการทดสอบความฝืดของผิวทางวิ่งด้วยเครื่องวัดความฝืด


แบบต่อเนื่อง (Continuous Friction Measuring Equipment: CFME) ตลอดความยาวของ
ทางวิ่งการสำรวจและทดสอบดำเนินการด้วยเครื่องมือทดสอบเป็นรถสำรวจติดตั้ง ชุดเครื่องวัด
ค่าความฝืดผิวจราจรชนิดรถพ่วงลาก ASFT T-10 ประเทศสวีเดนซึ่งเป็นเครื่องมือแบบ Fixed
Slip ตามมาตรฐานการทดสอบ ASTM E274 แบบสภาพผิวทางเปียก (Wet condition)
สามารถใช้ในการตรวจและประเมินค่าความฝืดของผิวทาง (Surface Friction
Characteristics) ได้ตามมาตรฐานและเชื่อมโยงกับเครื่องมือระบุตำแหน่งโดยใช้สัญญาณ
ดาวเทียม และความเร็วตามที่มาตรฐานกำหนด.

รูปภาพที่ 33 ทดสอบ Skid Resistance


งานการกอสรางผิวทางของทางวิ่ง, ทางขับขนาน และทางขับเชื่อม โครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3
ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 2 Page 32 of 45

VI. การทดสอบ IRI เปนการทดสอบความคาดัชนีความขรุขระทางวิ่ง จากการสํารวจ โดยรถ


สํารวจ LCMS ทั้งสิ้น 3 แนว ไดแก ที่ตําแหนง แนวกึ่งกลางทางวิง่ แนวระยะ 4.5 เมตร
จากแนวกึ่งกลางทั้งทางดานซายและทางดานขวา CL, 4.5L และ 4.5R) ดังแสดงในรูป
ดานลาง ขอมูลที่ถูกจัดเก็บจะถูกประมวลผลและ ประเมินคา Profilograph roughness
และประเมินคาดัชนีความขรุขระสากล (International Roughness Index, IRI)

รูปภาพที่ 34 แนวการสํารวจดวยรถสํารวจ LCMS ขอบเขตพื้นที่สํารวจ และตําแหนงแนวประเมิน


สภาพความขรุขระของผิวทางวิ่งเสนที่ 3 ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ
งานการกอสรางผิวทางของทางวิ่ง, ทางขับขนาน และทางขับเชื่อม โครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3
ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 2 Page 33 of 45

รูปภาพที่ 35 ทดสอบ IRI (International Roughness Index)


งานการกอสรางผิวทางของทางวิ่ง, ทางขับขนาน และทางขับเชื่อม โครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3
ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 2 Page 34 of 45

VII. การทดสอบงานตีเสนจราจร (Pavement Marking) ประกอบดวยการทดสอบดังตอไปนี้

รูปภาพที่ 36 การทดสอบ Dimension and Spacing

รูปภาพที่ 37 การทดสอบ Wet Film Thickness


งานการกอสรางผิวทางของทางวิ่ง, ทางขับขนาน และทางขับเชื่อม โครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3
ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 2 Page 35 of 45

รูปภาพที่ 38 การทดสอบ Dry Film Thickness

รูปภาพที่ 39 การทดสอบ Retroreflectivity


งานการกอสรางผิวทางของทางวิ่ง, ทางขับขนาน และทางขับเชื่อม โครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3
ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 2 Page 36 of 45

รูปภาพที่ 39 ฝายมาตรฐาน ฝมอ. ทอท. รวม Witness งานตรวจสอบงานตีเสนจราจรและเครื่องหมาย


บริเวณหัวทางวิ่ง 01L-19R
งานการกอสรางผิวทางของทางวิ่ง, ทางขับขนาน และทางขับเชื่อม โครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3
ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 2 Page 37 of 45

7. แนวทางการแกปญหาขณะปฏิบตั ิงาน

7.1. ปญหาเรื่องขอกําหนดการปฎิบัติงานภายในขอบเขตพื้นที่การบิน (AIRSIDE)

เนื่องจากการปฏิบัติงานในเขตการบิน กําหนดใหผูปฏิบัติงานกอสรางทางวิ่งทางขับจะตองปฏิบัติ
ภายใตขอกําหนดของการทํางานภายใต Airside ซึ่งระบุใหทํางานอยูในขอบเขตพื้นที่ๆ กําหนด โดยไม
ลวงล้ําเขาไปในเขตพื้นที่ใชงานอากาศยาน หรือรบกวนการทํางานของระบบเครื่องชวยในการ
เดินอากาศ โดยจะตองมีการขออนุญาติในสวนของยานพานะและบุคคลกอนเขาปฏิบัติงาน พรอมจัด
ใหมตี ิดตั้ง Barricade พรอมธงและสัญญาณไฟ ภายใตขอ กําหนดการทํางานในพื้นที่เขตการบิน
(Airside)

ขาพเจาในฐานะ วิศวกรโครงการ บริษัทถนอมวงศบริการ ไดมีสวนรวมในงานการประสานกับผูว าจาง


และผูควบคุมงาน เพื่อกําหนดแผนงานกอสรางใหสอดคลองกับขอกําหนดและระยะเวลาภายใตขอ
กําหนดการทํางานในพื้นที่เขตการบิน (Airside) ซึ่งประกอบไปดวยงานเกี่ยวของดังตอไปนี้

• แผนการปฏิบัติงานภายใตประกาศ NOTAM
• ขอบเขตการปฏิบัติงานภายใตขอกําหนดเขตปลอดสิ่งกีดขวาง (Obstacle Free Zone)
• แผนงานกอสราง (Work Plan) ซึ่งสอดคลองกับแผนความปลอดภัย
• แนวขอบเขตกอสรางรั้วชั่วคราว (Temporary Fence)
• การขออนุมัติแผนความปลอดภัยกับหนวยการที่เกี่ยวของ เชน ทสภ. และ บวท.

รูปภาพที่ 40 ตัวอยางการปฏิบัติงานภายใตประกาศ NOTAM


งานการกอสรางผิวทางของทางวิ่ง, ทางขับขนาน และทางขับเชื่อม โครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3
ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 2 Page 38 of 45

รูปภาพที่ 41 เขตปลอดเขตปลอดสิ่งกีดขวาง (Obstacle Free Zone)

7.2. ปญหาเนื่องจากความลาชาในการกอสราง (DELAY PROGRESS) เมื่อเทียบกับแผนงาน


(BASELINE SCHEDULE)

สรุปปญหาและความลาชาในการดําเนินการของมีสาเหตุมาจาก 4 สาเหตุหลักซึ่งจะประกอบไปดวย
เครื่องจักรและแรงงานไมพอเพียง, สภาพสภาวะอากาศ, ขั้นตอนปฏิบัติงานที่ไมเหมาะสม และ
ขอจํากัดของการปฎิบัติงานในเขตการบิน หรือพื้นที่ Airside

ขาพเจาในฐานะวิศวกรโครงการ ไดมีสวนรวมในสถานะตัวแทนฝายผูร ับจางไดดําเนินการประสานงาน


กับผูควบคุมงานและผูวาจางเพื่อวิเคราะหสาเหตุความลาชาเพื่อนํามาวิเคราะหหาผลกระทบที่มีตอ
Key Date, Milestone และวันที่แลวตามที่ระบุในสัญญา

จากการวิเคราะหสาเหตุเบื้องตนในสวนงาน Airfield Pavement จะพบวามา สภาพสภาวะอากาศซึ่ง


เปนอุปสรรคมาจากชวงฤดูฝนตอเนื่อง ทั้งนี้ทางขาพเจาจึงไดมีสวนรวมในการวางแผนงาน สําหรับคน
และเครื่องจักรใหสอดคลองกับการปฎิบัติงานในแตละเดือน รวมถึงประสานงานกับทีมผูรับเหมาชวง
เพื่อวางแผนการกอสรางใหเหมาะสมและลดปญหาเนื่องจาก Rework and Repair ตัวอยางเชนงาน
ติดตั้งถัง Deep Base สําหรับงานไฟฟาสนามบิน จากการศึกษาผลกระทบและเปรียบวิธีการกอสราง
(Construction Sequence) กรณีที่ติดถังไฟฟาสนามบินหลังจากปูยางแอสฟลทชั้นสุดทายแลว จะพบวา
ใชระยะเวลาในการติดตั้งและซอมแซมผิวยางมะตอย นานกวากรณีเริ่มติดตั้งถัง Deepbase ในชัน้
Subbase แลวจึงมา Coring ชั้นทางเพื่อติดตั้งอุปกรณถังไฟหลังจากปูยางแอสฟลทชั้นสุดทายแลว
เสร็จ
งานการกอสรางผิวทางของทางวิ่ง, ทางขับขนาน และทางขับเชื่อม โครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3
ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 2 Page 39 of 45

รูปภาพที่ 42 การติดตั้งถัง Deepbase ในชั้น Subbase


งานการกอสรางผิวทางของทางวิ่ง, ทางขับขนาน และทางขับเชื่อม โครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3
ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 2 Page 40 of 45

ขาพเจาในฐานะวิศวกรโครงการไดรับมอบใหมีสวนรวมในการดําเนินจัดทํา Workshop กับทางผู


ควบคุมงานและผูวาจาง เพื่อดําเนินการจัดทําแผน Recovery Plan ในสวนของแผนเครื่องมือ
เครื่องจักรและบุคลากร ซึ่งทําใหผูรับจางสามารถสงมอบงานไดตามกรอบเวลาที่ระบุในสัญญา

รูปภาพที่ 43 ประชุม Site Visit และ Monthly Management Walk Through รวมกับ Joint Venture
และ ผูรับเหมาชวง

รูปภาพที่ 44 ดําเนินการจัดทําแผน Recovery Plan รวมกับทางผูควบคุมงาน


งานการกอสรางผิวทางของทางวิ่ง, ทางขับขนาน และทางขับเชื่อม โครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3
ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 2 Page 41 of 45

7.3. การบริหารจัดการวัสดุ (MATERIAL MANAGEMENT) และการควบคุมคุณภาพ (QUALITY


CONTROL)

ปญหาเรื่องการจัดการวัสดุ Raw Materials ทีเ่ กี่ยวของกับวัสดุงานแอสฟลท ซึ่งจากการตรวจสอบ


ปริมาณวัสดุที่ใชงานเทียบกับ Bill of Quantities จะพบวาจะตองใชปริมาณ Hot Mix Asphalts (HMA)
โดยประมาณ 900,000 ตัน ทั้งนี้เมื่อพิจารณากําลังการผลิตของ Asphalt Mixing Plant ที่มีอยูเดิม 1
ตัว จะพบวา Mixing Plant เดิมมีกําลังการผลิตไมเพียงพอและแผนการปูยางแอสฟลท

ขาพเจาในฐานะวิศวกรโครงการ ไดจึงมีสวนรวมในการขออนุมัติติดตั้ง Asphalt Mixing Plant เพิ่มเติม


จํานวน 3 ตัว เพื่อเพิ่มกําลังการใหผลิตเพียงพอกับงานกอสราง ประกอบไปดวย

• Asphalt Mixing Plant (Speco) กําลังการผลิต 120 Ton/hr


• Asphalt Mixing Plant (Marini) กําลังการผลิต 160 Ton/hr
• Asphalt Mixing Plant (Ammann) กําลังการผลิต 180 Ton/hr

รูปภาพที่ 45 Asphalt Mixing Plant (Speco) กําลังการผลิต 120 Ton/hr


งานการกอสรางผิวทางของทางวิ่ง, ทางขับขนาน และทางขับเชื่อม โครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3
ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 2 Page 42 of 45

รูปภาพที่ 46 Asphalt Mixing Plant (Marini) กําลังการผลิต 160 Ton/hr

รูปภาพที่ 47 Asphalt Mixing Plant (Ammann) กําลังการผลิต 180 Ton/hr


งานการกอสรางผิวทางของทางวิ่ง, ทางขับขนาน และทางขับเชื่อม โครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3
ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 2 Page 43 of 45

ในสวนของการควบคุมคุณภาพ ขาพเจาในฐานะวิศวกรโครงการ ไดมีสวนรวมในการแกปญหาตั้งแต


ขั้นตอนพิจารณาขออนุมัติเอกสาร โดยขาพเจาไดรับมอบหมายใหเปนผูด ําเนินการและดําเนินจัดทํา
เอกสารการขออนุมัติวัสดุ (Material Approve) หมวดงานโยธา เพื่อนําเสนอใหคณะกรรมการตรวจรับ
พัสดุ (WIC) เห็นชอบและอนุมัติ ปญหาในเรื่องของวัสดุที่ไมเปนตามขอกําหนด Specification ของ
โครงการ ขาพเจาไดดําเนินการไดนําเสนอวิธีการแกไขปญหาตั้งแตเริ่มตนจนจบโครงการ เริ่มจาก
กระบวนการสรรหาแหลงวัสดุโดยกําหนดใหวศิ วกรทีป่ รึกษาเขารวมเก็บตัวอยางวัสดุกอนนําสง
ทดสอบ รวมไปถึงกําหนดความถี่ (Frequency Test) ทุกๆ ระยะ โดยใหระบุและนําเสนออยูในเอกสาร
Inspection Test Plan (ITP) เพื่อควบคุมคุณภาพวัสดุกอนนํามาใชงาน การทดสอบวัสดุที่ใชในโครงการ
จะตองกระทําโดยสถาบันทดสอบทดสอบที่ไดรับการอนุมัติจากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ

ทั้งนี้สถานะรายการวัสดุที่กําหนดใหมี Control Test จะถูกนําเสนอในวาระการประชุมรายเดือน


(Monthly Meeting) ซึ่งจะถูกติดตามโดยผูวาจาง เพื่อใหสอดคลองกับแผนประกันคุณภาพโครงการ

รูปภาพที่ 48 ดําเนินการเกี่ยวกับการสงตัวอยางวัสดุยางมะตอยน้ํา Tack Coat เพื่อทดสอบสถาบันกลาง


งานการกอสรางผิวทางของทางวิ่ง, ทางขับขนาน และทางขับเชื่อม โครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3
ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 2 Page 44 of 45

สําหรับกอนเริ่มงานในสวนของการปู Pavement ในแตละชั้น จะมีการดําเนินการทําแปลงทดสอบ


(Test Section) เพื่อเปนการทดสอบคุณภาพ Hot Mix กอนปูเพื่อใหแนใจวา วัสดุงานแอสฟลทดังกลาว
มีคุณสมบัติเชิงกายภาพเปนไปตามขอกําหนดโครงการกอนเริ่มปฎิบัติงาน

รูปภาพที่ 49 ขั้นตอนการดําเนิน Test Section สําหรับงานปู HMA Surface Course


งานการกอสรางผิวทางของทางวิ่ง, ทางขับขนาน และทางขับเชื่อม โครงการกอสรางทางวิ่งเสนที่ 3
ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ
เอกสารเพื่อประการพิจารณา: ผลงานดีเดนลําดับที่ 2 Page 45 of 45

8. ประโยชนที่ไดรับจากการดําเนินงานโครงการ

ประโยชนที่ไดรับจากการดําเนินงานโครงการสามารถสรุปไดดังรายละเอียดตอไปนี้

1. ไดรับประสบการณการวางแผนเพื่อควบคุมโครงการใหเปนไปตามสัญญาและกรอบเวลา

2. ไดรับประสบการณการควบคุมคุณภาพของวัสดุกอนเริ่มงานและขณะปฏิบัติงานใหเปนไปตาม
ขอกําหนดโครงการ

3. ไดรับประสบการณ ในการประสานงานกับหนวยงานภายในและภายนอก เชน ทาอากาศยานสุวรรณ


ภูมิ (ทสภ) และ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย (กพท)

4. ไดรับประสบการณ เกี่ยวกับงานกอสรางชั้นทางสําหรับงานชั้นทาง Airfield Pavement

5. ไดรับประสบการณ เกี่ยวกับการสวนตรวจสอบคุณภาพวัสดุแอสฟลท การเก็บตัวอยาง Cold Bin และ


Hot Bin เพื่อออกแบบ Job Mix Formula (JMF)

6. ไดรับประสบการณ เกี่ยวกับการทดสอบประเมิน ความแข็งแรงโครงสรางทางและพื้นผิวทางวิ่งทางขับ


ตามมาตราฐานสากล เชน EN, ASTM และ FAA เปนตน

7. ไดรับประสบการณการควบคุมคุณภาพของวัสดุกอนเริ่มงานและขณะปฏิบัติงานใหเปนไปตาม
ขอกําหนดโครงการ

8. ไดรับประสบการณ ในการตรวจประเมินและติดตามความเสี่ยง (Risk Management) เพื่อใหโครงการ


บรรลุวัตถุประสงคตาม KPI

9. ไดประโยชนและประสบการณจากการดําเนินงานตางๆที่รับผิดชอบดวยความอดทนและความ
พากเพียร และสามารถบรรลุเปาหมายไดตามกาหนดที่วางไว

You might also like