You are on page 1of 22

โครงงานเรื่อง น้ำองุน

โดย
เด็กชาย ชวัลกฤติ หุมสิน
เด็กชาย ฐิติภัทร ธงยศ
เด็กชาย ปยากร ศรีโยวงศ
เด็กชาย ภวิชา ตระกูลไพศาล
เด็กชาย ทฤษฎี ศรีจันทรดำ

รายงานนี้เปนสวนหนึ่งของรายวิชา I22201
การสื่อสารและการนำเสนอ (IS2)
โรงเรียนขอนแกนวิทยายน จังหวัดขอนแกน
ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2564
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 25
k
อ .

โครงงานเรื่อง น้ำองุน
โดย
เด็กชาย ชวัลกฤติ หุมสิน
เด็กชาย ฐิติภัทร ธงยศ
เด็กชาย ปยากร ศรีโยวงศ
เด็กชาย ภวิชา ตระกูลไพศาล

ปภาษา โรง งาน


เด็กชาย ทฤษฎี ศรีจันทรดำ

นาง ป ชา ฒนา นา
รายงานนี้เปนสวนหนึ่งของรายวิชา I22201
การสื่อสารและการนำเสนอ (IS2)
โรงเรียนขอนแกนวิทยายน จังหวัดขอนแกน
ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2564
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 25
พั
ณิ
ท์
ต์
รู

ชื่อเรื่อง น้ำองุน
ผูศึกษา เด็กชาย ชวัลกฤติ หุมสิน
เด็กชาย ฐิติภัทร ธงยศ
เด็กชาย ปยากร ศรีโยวงศ
เด็กชาย ภวิชา ตระกูลไพศาล
เด็กชาย ทฤษฎี ศรีจันทรดำ
ครูที่ปรึกษา อาจารย ปณิชา พัฒนานนท
สถานศึกษา โรงเรียนขอนแกนวิทยายน จังหวัดขอนแกน
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 25
ปการศึกษา 2564

บทคัดยอ


กิตติกรรมประกาศ
รายงานการคนควาเรื่องไวนองุน ไดสำเร็จลุลวงไดดวยความกรุณาของอาจารยที่ปรึกษา อาจารยปณิชา
พัฒนานนท ที่ไดใหคำปรึกษา แนะนำ ชี้แนะ ในการศึกษาคนควา และแนะนำขั้นตอนและวิธีจัดทำรายงาน
จนสำเร็จลุลวงดวยดี ทางคณะผูศึกษาจึงขอกราบขอบพระคุณไวเปนอยางสูง มา ณ โอกาสนี้
กราบขอบพระคุณที่ใหความอนุเคราะหในดานการสืบคนหาขอมูลและการจัดทำรายงาน
ตลอดจนไดใหคำปรึกษาแนะนำ การคนควาจนประสบความสำเร็จ กราบขอขอบพระคุณ
บิดามารดาที่เคารพที่ใหกำลังใจในดานการศึกษาคนควา
และสมาชิกในกลุมที่ไดใหความรวมมือเปนอยางดีในการศึกษาคนควาและทำรายงานครั้งนี้
จนกระทั่งประสบความสำเร็จดวยดี ในโอกาสนี้หากผิดพลาดประการใด ก็ขออภัยไว ณ ที่นี้ดวย
คณะผูจัดทำ

สารบัญ
เรื่อง หนา
บทคัดยอ ก-ข
กิตติกรรมประกาศ ค
บทที่ 1 บทนำ 1-2
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน 1
วัตถุประสงค 2
สมมติฐานของการทำโครงงาน 2
ขอบเขตของการดำเนินงานโครงงาน 2
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ 3-12
ประวัติและลักษณะขององุน 3-4
แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวของ 4-11
งานวิจัยที่เกี่ยวของ 11-12
1
บทที่ 1 บทนำ
ที่มา และความสำคัญของโครงงาน
องุนมีสารอาหารที่สำคัญคือ น้ำตาลและสารอาหารจำพวกกรดอินทรีย เชน น้ำตาลกลูโคส,
น้ำตาลซูโคส, วิตามินซี, เหล็กและแคลเซียม องุนยังสามารถนำไปทำเปนเหลาองุนซึ่งเปนเหลาบำรุงใชเปนยา
การรับประทานองุนเปนประจำมีสวนชวยในการบำรุงสมอง, บำรุงหัวใจ, แกกระหาย,
ขับปสสาวะและบำรุงกำลัง คนที่รางกายผอมแหง แกกอนวัยและไมมีเรี่ยวแรง
หากรับประทานองุนเปนประจำจะสามารถชวยเสริมทำใหรางกายแข็งแรงขึ้นได
สวนเครือและรากมีฤทธิ์ในการขับลม, ขับปสสาวะ, รักษาโรคไขขออักเสบ, ปวดเอ็นและปวดกระดูก
อีกทั้งยังมีฤทธิ์ระงับประสาท, แกปวดและแกอาเจียนอีกดวย ทางคณะผูจัดทำไดเล็งเห็นประโยชนขององุน
จึงจะนำมาทำเปนน้ำองุน
องุนเปนไมผลชนิดเถาเลื้อยที่มีอายุยานานหลายป สามารถปลูกไดในสภาพภูมิอากาศหลายแบบ
แตองุนที่ปลูกในภาพที่มีอากาศหนาวเย็น จะมีคุณภาพสูงกวา องุนเปนไมผลวงศ Vitacea สกุล Vitis
มีหลายชนิด แตพันธุที่ปลูกอยูในประเทศไทย สวนใหญเปนชนิด Vitis vinifera
มีถิ่นกำเนิดในเอเซียที่มีอากาศอบอุน อุณหภูมิ 10-20 องศาเซลเซียส หรืออยูระหวางเสนแวง (latitute) ที่ 20
องศา และ 51 องศาเหนือ และ 20 องศา และ 40 องศาใต แตก็สามารถเจริญเติบโตไดดี
ในเขตอากาศกึ่งรอนถึงรอน สำหรับประเทศไทยเชื่อวานำเขามาปลูกในสมัยรัชกาลที่ 5 จนกระทั่งป พ.ศ.2493
หลวงสมานวนกิจ ไดนำองุนจากแคลิฟอรเนีย มาปลูกที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร และกรมวิชาการเกษตร
ตอมาในป 2506 ศ.ปวิณ ปุณณศรี และคณะ ไดนำองุนยุโรปหลายสายพันธุ
มาทดลองปลูกประสบความสำเร็จ และขยายผลไปสูเกษตรกร
ในเขตภาคกลางปลูกเปนการคาจนกระทั่งปจจุบัน สำหรับในมูลนิธิโครงการหลวง
ไดเริ่มวิจัยและสงเสริมใหเกษตรกร ปลูกองุนมาเปนเวลานานแลว เนื่องจากเห็นวาเปนไมผลชนิดหนึ่ง
ที่สามารถเปนอาชีพใหกับเกษตรกรได ประกอบกับสภาพภูมิอากาศ มีความหนาวเย็นเปนขอดี
ทำใหผลผลิตมีคุณภาพดีกวาปกติ และยังสามารถผลิตองุนบางพันธุ ที่ตองการสภาพอากาศหนาวเย็นได
ทางคณะผูจำสามารถสรุปไดวา น้ำองุนนั้นมีประโยชนตอรางกาย โดยมีทฤษฎีวิตามินของ Casimir
Funk นักชีวเคมีชาวโปแลนด-อเมริกัน สนับสนุน และใชหลักการ การถนอมและแปรรูปอาหาร
ของวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี
2
วัตถุประสงคของการทำโครงงาน
1.เพื่อศึกษาถึงประโยชนขององุน, ประวัติความเปนมาขององุนและเพื่อทราบถึงสารอาหารขององุน
2.เพื่อสงเสริมผลิตภัณฑทางการเกษคร
3.เพื่อศึกษาวิจัยและคนควาถึงกรรมวิธีการทำน้ำองุน
สมมติฐานของการทำโครงงาน
1.น้ำองุนมีประโยชนตอรางกาย
2.น้ำองุนมีสารอาหารมากมายชวยระบบขับถาย
ขอบเขตของการดำเนินงานโครงงาน
การศึกษาเกี่ยวกับน้ำองุน เพื่อตองการทราบวามีขั้นตอนการทำงานอยางไร และ มีอุปกรณอยางไร
โดยจะเริ่มทำ วันที่ 1 มิถุนายน 2564 ถึง 5 กันยายน 2564 กลุมเปาหมาย คือ นักเรียนชั้น 2/3 ทั้ง 45 คน
3
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ
ในการศึกษาเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวของกับโครงงานน้ำองุน
ผูศึกษาไดคนควาเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวของโดยลำดับเนื้อหาที่เปนสาระสำคัญดังตอไปนี้
1. ประวัติและลักษณะขององุน
1.1 ประวัติขององุน
1.2 ลักษณะขององุน
2. แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวของ
2.1 ความหมายขององุน
2.2 ประโยชนขององุน
2.3 สรรพคุณขององุน
2.4 คุณคาทางโภชชนาการขององุน
2.5 ทฤษฎีวิตามินขององุน
3. งานวิจัยที่เกี่ยวของ
3.1 งานวิจัยภายในประเทศ
3.2 งานวิจัยตางประเทศ

1. ประวัติและลักษณะขององุน
1.1 ประวัติขององุน
จากหลักฐานทางประวัติศาสตร มีการบงบอกวามีการปลูกองุนกันมามากกวา 5,000 ป
แตจากหลักฐานทางวิทยาศาสตร
จากการจัดเรียงลำดับจีโนมของนักวิทยาศาสตรจากมหาวิทยาลัยแคลิฟอรเนีย เออรไวน พบวา
มนุษยรูจักและบริโภคองุนมาเปนเวลาไมต่ำกวา 15,000 ปแลว
ซึ่งนับวาตั้งแตยุคที่มนุษยจะรูจักการเพาะปลูกองุนสามารถเจริญเติบโตไดดีทั้งในเขตหนาว เขตกึ่งรอนกึ่งหนาว
และเขตรอน สำหรับประเทศไทยไมปรากฏหลักฐานแนชัดวานำเขามาในสมัยใด
แตคาดวานาจะนำเขามาตั้งแตในสมัยรัชกาลที่ 5 โดย
4
พระองคทานไดนำพันธุไมแปลก ๆ จากตางประเทศที่ไดเสด็จประพาสมาปลูกในประเทศไทย
และเชื่อวาในจำนวนพันธุไมแปลก ๆ เหลานั้นนาจะมีพันธุองุนรวมอยูดวย ในสมัยรัชกาลที่ 7
มีหลักฐานยืนยันวาเริ่มมีการปลูกองุนกันบางแตผลองุนที่ไดมีรสเปรี้ยว การปลูกองุนจึงซบเซาไป ตอมาในป
พ.ศ. 2493 ไดเริ่มมีการปลูกองุนอยางจริงจัง โดย หลวงสมานวนกิจ ไดนำพันธุองุนมาจากมลรัฐแคลิฟอรเนีย
ประเทศสหรัฐอเมริกา และป พ.ศ. 2497 ดร.พิศปญญาลักษณ
ไดนำพันธุองุนมาจากทวีปยุโรปซึ่งสามารถปลูกไดผลเปนที่นาพอใจ
นับแตนั้นมาการปลูกองุนในประเทศไทยจึงแพรหลายมากขึ้น อนึ่ง ในกฎมณเทียรบาลสมัยกรุงศรีอยุธยา
มีขอความกลาวถึง "ปอมสวนองุน จึงเปนไปไดวานาจะมีการนำพันธุองุนมาปลูกแลวตั้งแตสมัยอยุธยา
1.2 ลักษณะขององุน
- ตนองุน จัดเปนพรรณไมเลื้อยจำพวกเถา มีความยาวไดประมาณ 10 เมตร ทั้งตนมีขนปกคลุม
เถาออนผิวเรียบ ตามขอเถามีมือสำหรับยึดเกาะ และมีขนปกคลุมทั้งตน
- ใบองุน ใบเปนใบเดี่ยว ออกเรียงสลับ ลักษณะของใบเปนรูปกลมรี กลมรี หรือกลมรูปไข
มีหยักคลายรูปฝามือ หนึ่งใบจะมีรอยเวาประมาณ 3-5 รอย ปลายใบแหลม
โคนใบเวาเขาหากันเปนรูปหัวใจ ขอบใบหยักเปนฟนเลื่อย เนื้อใบบาง ใตใบมีขนปกคลุม
ความยาวและความกวางของใบมีขนาดพอ ๆ กัน คือกวางยาวประมาณ 10-20 เซนติเมตร
สวนกานใบนั้นยาวประมาณ 4-8 เซนติเมตร
- ดอกองุน ออกดอกเปนชอตรงขามกันใบ ลักษณะกลมยาวใหญ ดอกยอยเปนสีเหลืองอมสีเขียว
แบงเปน 5 กลีบยอย แตกออกเปนแฉก 5 แฉก มีรังไข 2 อัน ในแตละรังไขจะมีไขออน 2 เมล็ด
ดอกมีเกสรเพศผู 5 อัน กานเกสรเพศผูจะมีขนาดยาว สวนกานเกสรเพศเมียสั้น กลม
เมื่อดอกโรยจะติดผล
- ผลองุน ออกผลเปนพวง ผลยอยมีลักษณะเปนรูปทรงกลมหรือกลมรีเปนรูปไข ผลเปนสีเขียว
สีมวงแดง หรือสีมวงเขม ทั้งนี้ขึ้นอยูกับแตละสายพันธุที่ปลูก เปลือกผลจะมีผงสีขาวเคลือบอยู
เนื้อในผลขององุนจะฉ่ำน้ำ ภายในมีเมล็ดประมาณ 1-3 เมล็ด ลักษณะของเมล็ดองุนเปนรูปยาวรี
2. แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวของ
2.1 ความหมายขององุน
ในทางวิทยาศาสตร หมายถึง พืชยืนตน มีลักษณะเปนไมพุมเลื้อย มีลักษณะเนื้อแข็งและมีลำตน
กิ่งถาวรอายุเกิน 1 ฤดู ถาปลอยใหเจริญเติบโตตามธรรมชาติจะเลื้อยเกาะกิ่งไม ใบกลมขอบหยักเวาลึก 5 พู
โคนใบเวาเปนรูปหัวใจ ดอกออกเปนชอแยกแขนง ดอกยอยขนาดเล็กสีเขียวมีหมวก
จะหลุดออกเมื่อกลีบดอกเปลี่ยนเปนสีขาว โคนเชื่อมติดกัน ปลายแยก 5 กลีบ เปนผลเดี่ยวที่ออกเปนพวง
(เปนผลเดี่ยวที่เกิดจากดอก

5
ชอแตดอกไมหลอมรวมกัน) ผลยอยรูปกลมรีและฉ่ำน้ำ มีผิวนวลเกาะและรสหวาน มีสีเขียว,
มวงแดงและมวงดำแลวแตพันธุ ในผลมีเมล็ดประมาณ 1-4 เมล็ด
ในทางความเชื่อ หมายถึง ผลไมที่มีความหมายดีในแงของภาษาจีนแตจิ๋ว โดยคนจีนแตจิ๋วจะเรียกวา
"ผูทอ" แปลวา "งอกงาม" โดยสรุปคือการนำองุนมาเปนของไหวจะทำใหผูไหวและครบครัวมีความเจริญรุงเรือง
เติบโต นั่นเอง แตเนนวาตองเปนองุนสีแดง เพื่อเอาเคล็ดเรื่องสีที่เปนมงคล เปนสีแหงความเฮงหรือความโชคดี
2.2 ประโยชนขององุน
1.น้ำตาลที่ไดจากองุน เปนน้ำตาลที่สามารถดูดซึมไดเร็ว จึงทำใหรูสึกสดชื่นและใหพลังงานไดเร็ว
และยังชวยซอมแซมสวนที่สึกหรอในคนไขได (แตไมเหมาะกับคนไขที่มีอาการอักเสบ ติดเชื้อ เปนโรคเกาท)
2.การรับประทานองุนเปนประจำ จะมีสวนชวยในการบำรุงหัวใจ บำรุงสมอง บำรุงกำลัง
แกอาการกระหายน้ำ และคนที่มีรางกายผอมแหงแรงนอย ไรเรี่ยวแรง แกกอนวัย
หากรับประทานองุนเปนประจำ จะชวยสงเสริมทำใหรางกายคอย ๆ แข็งแรงขึ้นมาได
3.ประโยชนขององุนเขียว องุนชนิดนี้นิยมนำมารับประทานสด ๆ เปนองุนที่มีความหวาน มีเนื้อมาก
เมล็ดมีขนาดเล็ก รสชาติดี และราคาไมแพง องุนเขียวอุดมไปดวยสารตานอนุมูลอิสระ เชน คาเทชิน
(Catechin) และ เทอโรสติลบีน (Petrostilbene) ที่สามารถชวยปองกันมะเร็งเตานม มะเร็งลำไสใหญ
มะเร็งตอมลูกหมาก โรคของระบบประสาท โรคอัลไซเมอร โรคหลอดเลือดหัวใจ ลูคีเมีย
และชวยปองกันการติดเชื้อไวรัสและเชื้อราตาง ๆ
4.ประโยชนขององุนแดง องุนแดงก็มีรสชาติที่ดีเชนเดียวกัน องุนแดงมีสารอาหารสำคัญ คือ
เรสเวอราทรอล (Resveratrol) ที่มีคุณสมบัติชวยปองกันโรคมะเร็ง โรคหัวใจ
ชวยยับยั้งการเจริญของเซลลมะเร็ง ทำลายพิษของสารกอมะเร็ง และชวยชะลอวัย และยังมีสารซาโปนิน
(Saponin) ซึ่งเปนสารชวยลดการดูดซึมของคอเลสเตอรอลในกระแสเลือด จึงชวยปองกันโรคหัวใจได
และยังชวยตานแบคทีเรียไวรัส ปองกันเนื้องอกไดดวย[4] นอกจากนี้ยังมีสารฟลาโวนอยด (Flavonoid)
ที่ชวยเพิ่มระดับไขมันดี (HDL) ที่เปนประโยชนตอรางกาย, มีสารโพลีฟนอล (Pholyphenols)
ที่เปนตัวลดระดับไขมันเลว (LDL) และชวยตานอนุมูลอิสระ, มีสารแอนโทไซยานิน (Anthocyanin)
ที่ชวยชะลอความแก ควบคุมการทำงานของระบบประสาท เพิ่มการไหลเวียนเลือด ขยายหลอดเลือด
บำรุงสายตา และปองกันการอักเสบของรางกาย, มีวิตามินซีที่มีสวนชวยในการสรางคอลลาเจน
เสริมสรางภูมิตานทานโรค, มีวิตามินบี12 ที่ชวยในการเผาผลาญอาหารใหเปนพลังงาน
ควบคุมการทำงานของระบบประสาท และสรางเม็ดเลือดแดง,
มีแคลเซียมที่ชวยเสริมสรางกระดูกและฟนใหแข็งแรง เปนตน
6
5.ประโยชนขององุนดำ ชนิดนี้ผลจะมีขนาดเล็กกวาชนิดอื่น ซึ่งนิยมเอามาทำเปนไวนองุน
(ไวนองุนทำใหเลือดไหลเวียนไดดี) สำหรับผูที่ตองการลดน้ำหนัก มีคำแนะนำวาใหรับประทานองุนดำวันละ 1
ครั้ง เพราะองุนดำอุดมไปดวยไฟเบอร ทำใหรูสึกอิ่มเร็วและมีแคลอรี่ต่ำ
ชวยทำใหการทำงานของไสเปนไปอยางปกติ
และยังมีสารตานอนุมูลอิสระในองุนดำที่ชวยในการขับท็อกซินออกจากราง
จึงชวยใหกระบวนการลดน้ำหนักเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ
นอกจากนี้องุนดำยังมีประโยชนในการชวยการทำงานของหัวใจและหลอดเลือดหัวใจ
ชวยเพิ่มการสรางเกล็ดเลือดและเพิ่มการผลิตไนตริกออกไซดเพื่อชวยปกปองเสนเลือดแดง
และชวยตอตานความเครียด
6.นอกจากนี้ผลและน้ำองุนสดยังมีสวนชวยบำรุงผิวหนาและเสนผมไดดวย
อยางสูตรบำรุงเสนผมก็ใหใชน้ำองุนแดงหรือมวงคั้นสดประมาณ 1-2 ชอนโตะ นำมาผสมกับแชมพูสระผม
โดยพักไวหลังสระ 5 นาที แลวจึงลางฟองออกใหสะอาด วิธีนี้จะชวยทำใหเสนผมนุมและเงางามได
สวนสูตรบำรุงผิวหนาใหเปลงปลั่งชุมชื่นไมแหงกรานก็ทำไดไมยาก โดยใหนำองุนแดงหรือมวงทั้งเปลือก 1 ถวย
ผสมกับน้ำแตงกวาสด 1 ชอนโตะ และน้ำผึ้งอีก 1 ชอนโตะ แลวนำไปปนรวมกัน
เสร็จแลวนำมาทาใหทั่วผิวหนาทิ้งไวประมาณ 10-15 นาที แลวจึงลางออก
7.องุนสามารถนำไปแปรรูปเปนสินคาหรือผลิตภัณฑไดหลายชนิด เชน น้ำองุน เหลาองุน ไวนองุน
องุนดอง แยมองุน เยลลี่องุน องุนอบแหง ลูกเกด น้ำมันเมล็ดองุนใชผสมในโลชั่น ทำสารสกัดจากเมล็ดองุน
สวนเปลือกผงนำมาใชทำสี เปนตน
2.3 สรรพคุณขององุน
- ผลมีรสหวาน เปรี้ยวเล็กนอย เปนยาสุขุม ออกฤทธิ์ตอปอ มาม และไต ใชเปนบำรุงโลหิต (ผล
- ผลมีสรรพคุณชวยบำรุงกำลัง (ผล) ใหใชผลองุนแหงและโสม อยางละ 3 กรัม
นำมาแชในเหลาประมาณ 1 คืน แลวนำมาทาบริเวณฝามือและแผนหลัง (ผล)
ชวยลดความดันโลหิตสูง (ผล) ชวยลดไขมันในเลือด ดวยการใชเมล็ดองุนนำมาบดใหเปนผงแหง
บรรจุแคปซูลกิน 1-2 เม็ด เชาและเย็น (เมล็ด)
- ผลมีสรรพคุณชวยตานมะเร็ง (ผล)
- ผลนำมาคั้นเอาน้ำรับประทาน จะชวยแกอาการหงุดหงิดได (ผล) ชวยแกหัวใจเตนผิดปกติ
แกเหงื่อออกไมรูตัว เหงื่อออกเนื่องจากหัวใจไมปกติ (ผล)
- ผลมีสรรพคุณเปนยาแกเลือดนอย โลหิตจาง (ผล) เถาและใบมีรสชุมฝาด สุขุม
มีสรรพคุณเปนยาแกตาแดง (เถาและใบ) ชวยแกอาการไอ ไอเรื้อรัง (ผล)
ใชรักษาอาการอาเจียนเปนเลือด ดวยการใชราก

7
- องุนสด รากหญาคา รากไวเชา รากบัวหลวง ใบสนแผง (สนหางสิงห) และดอกแตฮวย อยางละ 15
กรัม และเนื้อสัตวนำมาตมกับน้ำกิน (ราก)
- ผลสดนำมาคั้นเอาน้ำรับประทานแกกระหายน้ำ หรือใชผลสดนำมาคั้นเอาน้ำ
แลวใชภาชนะที่ปนดวยดินเผา เคี่ยวผสมน้ำผึ้งเล็กนอย เก็บไวกินทีละนอย (ผล)
- น้ำมันที่ไดจากเมล็ดเมื่อนำมากินกอนหรือพรอมอาหาร
จะสามารถลดกรดที่มีมากเกินไปในกระเพาะอาหารได (น้ำมันจากเมล็ด)
น้ำมันจากเมล็ดมีฤทธิ์เปนยาระบาย (น้ำมันจากเมล็ด)
- องุนแหงมีสรรรพคุณชวยหลอลื่นลำไส และเปนยาระบายออน ๆ (ผลแหง)
- ใบใชเปนยารักษาบิดในวัวควาย (ใบ)
- ชวยบำรุงครรภ ครรภรักษา (ผล)
- ราก เถา และใบ มีรสชุม ฝาด เปนยาสุขุม ใชเปนยาขับปสสาวะ แกปสสาวะขัด (ราก,เถา,ใบ)
สวนผลก็มีสรรพคุณชวยขับปสสาวะเชนกัน (ผล)
- ผลมีสรรพคุณแกปสสาวะขัด เจ็บ มีเลือดออก ดวยการใชผลสดนำมาคั้นเอาน้ำ
และน้ำตมรากบัวหลวง น้ำตมจากโกฐขี้เถา น้ำผึ้ง นำไปตมกินครั้งละ 2 ถวยชา (ผล)
- ผลมีสรรพคุณชวยรักษาโรคหนองใน (ผล)[2] ใหใชผลสดนำมาคั้นเอาน้ำ และน้ำตมรากบัวหลวง
น้ำตมจากโกฐขี้เถา น้ำผึ้ง นำไปตมกินครั้งละ 2 ถวยชา (ผล)
- ผลองุนมีสรรพคุณชวยบำรุงไต (ผล)
- ชวยขับลมชื้นในรางกาย แกบวมน้ำ (ราก,เถา,ใบ) แกตัวบวมน้ำ (ผล)
- ชวยขับน้ำดี (น้ำมันจากเมล็ด)
- องุนที่ไมแกจัดใชกินวันละประมาณ 1.4-2.7 กิโลกรัม
เปนยารักษาอาการตับและดีเสื่อมสมรรถภาพหรือทำงานไมดี (ผล)
- ใบใชเปนยาหามเลือดในริดสีดวงทวาร และบาดแผลสด (ใบ)
- ใบและเถามีฤทธิ์ยาสมานแผล ทำใหแผลหายเร็วขึ้น (แตไมมีฤทธิ์ในการฆาเชื้อโรค) (ใบและเถา)
- ราก เถา และใบ ใชภายนอกเปนยารักษาฝหนองอักเสบ แผลบวมเปนหนอง (ราก,เถา,ใบ)
- รากสดใชตำพอกแกอาการฟกช้ำได (ราก)
- ชวยบำรุงเสนเอ็นและกระดูก (ผล)
- ชวยแกอาการปวดหลัง ใหใชผลองุนแหงและโสม อยางละ 3 กรัม นำมาแชในเหลาประมาณ 1 คืน
แลวนำมาทาบริเวณฝามือและแผนหลัง จะชวยแกอาการปวดหลังได (ผล)

8
- รากและผลมีสรรพคุณชวยแกอาการปวดขอ (ราก,ผล) ใชแกอาการปวดตามขอใหใชรากสดประมาณ
60-90 กรัม และขาหมูตามบริเวณเล็บ 1 ขา หรือปลาหลีอื้อประมาณ 1-2 ตัว ใสน้ำพอสมควร
ตมหรือใสน้ำและเหลาอยางละเทากัน แลวนำไปตุนกิน (ราก)
ใชแกอาการปวดขอเนื่องจากลมชื้นเขาขอ
กระดูก ดวยการใชรากองุน 100 กรัม, คากิ 1 อัน นำมาตุนกับเหลาและน้ำอยางละ 1 สวน
แลวนำมารับประทาน (ราก)
- ชวยแกอาการเคล็ดขัดยอก กระดูกราว กระดูกหัก ดวยการใชรากองุนสดนำมาตำแลวพอก
หรือจะนำมาตำแลวนำมาคั่วกับเหลาใชพอกบริเวณที่เปนก็ได (ราก)
- ผลมีสรรพคุณชวยทำใหกระดูกแข็งแรง (ผล)
2.4 คุณคาทางโภชชนาการขององุน
- พลังงาน 69 กิโลแคลอรี่ - โพแทสเซียม 191 มิลลิกรัม (4%)
- คารโบไฮเดรต 18.1 กรัม - โซเดียม 2 มิลลิกรัม (0%)
- น้ำตาล 15.48 กรัม - สังกะสี 0.07 มิลลิกรัม (1%)
- ใยอาหาร 0.9 กรัม - ฟลูออไรด 7.8 ไมโครกรัม
- ไขมัน 0.16 กรัม
- โปรตีน 0.72 กรัม
- วิตามินบี1 0.069 มิลลิกรัม (6%)
- วิตามินบี2 0.07 มิลลิกรัม (6%)
- วิตามินบี3 0.188 มิลลิกรัม (1%)
- วิตามินบี5 0.05 มิลลิกรัม (1%)
- วิตามินบี9 2 ไมโครกรัม (1%)
- วิตามินซี 3.2 มิลลิกรัม (4%)
- วิตามินอี 0.19 มิลลิกรัม (1%)
- วิตามินเค 14.6 ไมโครกรัม (14%)
- โคลีน 5.6 มิลลิกรัม (1%)
- แคลเซียม 10 มิลลิกรัม (1%)
- ธาตุเหล็ก 0.36 มิลลิกรัม (3%)
- แมกนีเซียม 7 มิลลิกรัม (2%)
- ฟอสฟอรัส 0.071 มิลลิกรัม (3%)
9
2.5 ทฤษฎีวิตามินขององุน
จากบทความทางวิชาการที่วา “องุนมีสารอาหารที่สำคัญคือ
น้ำตาลและสารอาหารจำพวกกรดอินทรีย เชน น้ำตาลกลูโคส, น้ำตาลซูโคส, วิตามินซี, เหล็กและแคลเซียม
องุนยังสามารถนำไปทำเปนเหลาองุนซึ่งเปนเหลาบำรุงใชเปนยา
การรับประทานองุนเปนประจำมีสวนชวยในการบำรุงสมอง, บำรุงหัวใจ, แกกระหาย,
ขับปสสาวะและบำรุงกำลัง คนที่รางกายผอมแหง แกกอนวัยและไมมีเรี่ยวแรง
หากรับประทานองุนเปนประจำจะสามารถชวยเสริมทำใหรางกายแข็งแรงขึ้นได
สวนเครือและรากมีฤทธิ์ในการขับลม, ขับปสสาวะ, รักษาโรคไขขออักเสบ, ปวดเอ็นและปวดกระดูก
อีกทั้งยังมีฤทธิ์ระงับประสาท, แกปวดและแกอาเจียนอีกดวย ” คณะผูจัดทำไดศึกษาคนควา
พบวาภายในองุนมีวิตามินอยู เลยทำมาเปนหัวขอของทฤษฎี
ตนกำเนิดของวิตามิน
คำวา “วิตามิน” ถือกำเนิดขึ้นในป ค.ศ.1912 โดย Kazimierz Funk หรือ Casimir Funk (1884-
1967) นักชีวเคมีชาวโปแลนด-อเมริกันผูนี้ไดพยายามสกัดสารอาหารที่เรียกวา “Accessory factor”
ซึ่งถูกคนพบกอนหนานี้ในป ค.ศ.1906 โดยแพทยชาวอังกฤษชื่อ Frederick Gowland Hopkins
เขาพบวาสารดังกลาวเปนสารประกอบกลุม amine จึงไดตั้งชื่อสารนี้วา Vitamine มาจากภาษาละตินวา "
Vita" ที่แปลวา " ชีวิต" บวกกับคำวา amine ตอมาพบวาสารอาหารประเภทนี้ไมไดมีเฉพาะ amine ในป
ค.ศ.1920 Jack Cecil Drummond จึงเสนอใหตัด e ตัวทายออกกลายเปน Vitamin และใชมาจนถึงปจจุบัน
ความหมายของวิตามิน
วิตามิน หรือ ไวตามิน
เปนสารประกอบอินทรียซึ่งเปนสารอาหารสำคัญที่สิ่งมีชีวิตตองการในปริมาณเล็กนอย
เรียกสารประกอบเคมีอินทรีย (หรือชุดสารประกอบที่สัมพันธกัน) วา วิตามิน
ตอเมื่อสิ่งมีชีวิตไมสามารถสังเคราะหสารนั้นไดในปริมาณเพียงพอ และตองไดรับจากอาหาร ฉะนั้น คำวา
"วิตามิน" จึงขึ้นอยูกับทั้งสภาวะแวดลอมและสิ่งมีชีวิตหนึ่ง ๆ ตัวอยางเชน กรดแอสคอรบิก (วิตามินซี)
ถือเปนวิตามินสำหรับมนุษย แตไมถือเปนวิตามินสำหรับสัตวอื่นสวนใหญ
การเสริมวิตามินสำคัญตอการรักษาปญหาสุขภาพบางอยาง แตมีหลักฐานประโยชนการใชในผูมีสุขภาพดีนอย
ตามธรรมเนียม คำวา วิตามิน ไมรวมสารอาหารสำคัญอื่น เชน แรธาตุ กรดไขมันจำเปน
หรือกรดอะมิโนจำเปน (ซึ่งรางกายตองการสารเหลานี้ในปริมาณมากกวาวิตามินมาก)
หรือสารอาหารอื่นอีกมากที่สงเสริมสุขภาพแตตองการไมบอย ในปจจุบัน
ระดับสากลรับรองวิตามินอยางสากลสิบสามชนิด วิตามินจำแนกโดยกัมมันตภาพทางชีวภาพและเคมี
ไมใชโครงสราง ฉะนั้น วิตามินแตละชนิดจึงหมายถึงสารประกอบวิตาเมอร (vitamer)
ซึ่งลวนแสดงกัมมันตภาพทางชีวภาพที่สัมพันธกับวิตามินหนึ่ง ๆ ชุดสารเคมีดังกลาวจัดกลุมตามชื่อ
9
วิตามิน "ระบุทั่วไป" เรียงตามอันดับอักษร เชน "วิตามินเอ" ซึงรวมสารประกอบเรตินัล เรตินอล
และแคโรทีนอยดที่ทราบกันอีกสี่ชนิด
วิตาเมอรตามนิยามสามารถเปลี่ยนเปนรูปกัมมันตของวิตามินในรางกายได
และบางครั้งสามารถเปลี่ยนเปนวิตาเมอรอีกชนิดหนึ่งไดเชนกัน
หนาที่ของวิตามิน
วิตามินมีหนาที่ทางชีวเคมีหลากหลาย
วิตามินบางตัวมีหนาที่คลายฮอรโมนเปนตัวควบคุมเมแทบอลิซึมของแรธาตุ (เชน วิตามินดี)
บางตัวควบคุมการเจริญและการเปลี่ยนแปลงไปทำหนาที่เฉพาะของเซลลและเนื้อเยื่อ เชน วิตามินเอบางรูป
หนาที่อื่นของวิตามิน เชน เปนสารตานอนุมูลอิสระ (เชน วิตามินอีและวิตามินซี
ในบางครั้ง) วิตามินจำนวนมากที่สุด วิตามินบีคอมเพล็กซ มีหนาที่เปนสารตั้งตนของโคแฟกเตอรเอนไซม
ซึ่งชวยเอนไซมทำงานเปนตัวเรงปฏิกิริยาในเมแทบอลิซึม ในบทบาทนี้
วิตามินอาจสัมพันธใกลชิดกับเอนไซมที่เปนสวนหนึ่งของหมูพรอสเธติก (prosthetic group) ตัวอยางเชน
ไบโอตินเปนสวนของเอนไซมที่เกี่ยวของกับการสรางกรดไขมัน
วิตามินยังอาจสัมพันธใกลชิดนอยกวากับตัวเรงปฏิกิริยาเอนไซม คือ โคเอนไซม
ซึ่งเปนโมเลกุลจับไดซึ่งมีหนาที่นำหมูเคมีหรืออิเล็กตรอนระหวางโมเลกุลตาง ๆ ตัวอยางเชน
กรดโฟลิกอาจนำหมูเมทิล ฟอรมิล และเมทีลินในเซลล แมวาบทบาทเหลานี้ในการสนับสนุนปฏิกิริยาเอนไซม-
สารตั้งตนจะเปนหนาที่ของวิตามินซึ่งทราบกันดีที่สุด ทวา หนาที่อื่นของวิตามินก็สำคัญไมยิ่งหยอนไปกวากัน
การใชวิตามิน
เมื่อกลางคริสตทศวรรษ 1930
มีเม็ดเสริมอาหารวิตามินบีคอมเพลกซที่สกัดจากยีสตและวิตามินซีกึ่งสังเคราะหเชิงพาณิชยวางขายเป
นครั้งแรก กอนหนานั้น วิตามินไดรับจากอาหารเพียงทางเดียว และปกติการเปลี่ยนอาหาร (ตัวอยางเชน
ที่อาจเกิดขึ้นระหวางฤดูเพาะปลูกหนึ่ง ๆ) เปลี่ยนชนิดและปริมาณวิตามินที่ไดรับอยางมาก ทวา
ตั้งแตกลางคริสตศตวรรษที่ 20 เปนตนมา
มีการผลิตวิตามินเปนสารเคมีโภคภัณฑและมีเปนผลิตภัณฑเสริมอาหารและสารปรุงแตงวิตามินรวมทั้งกึ่งสังคร
าะหและสังเคราะหราคาไมแพงอยางแพรหลาย
ผูคิดคนวิตามิน
การคนพบวิตามิน
ยอนกลับไปในสมัยโบราณชาวอียิปตไดรักษาผูปวยโรคตาบอดกลางคืนดวยการใหกินตับ เชนเดียวกันกับเมื่อ
1,300 ปกอน ที่ชาวจีนไดบันทึกเกี่ยวกับโรคเหน็บชา (Beriberi)
ไวเปนครั้งแรกโดยผูปวยจะมีอาการชาและออนแรง รวมถึงในป ค.ศ.1535 มีรายงานของนักสำรวจชาวฝรั่งเศส
Jacques Cartier บันทึกไววาเมื่อเขาและคณะออกเดินเรือเปนเวลาหลายเดือน
โดยลูกเรือไดรับอาหารอยางจำกัดและมักจะเปนอาหารแหง
ทำใหคนเหลานี้เกิดอาการออนเพลียและมีเลือดออกตามไรฟน ซึ่งเปนอาการของโรคลักปดลักเปด (Scurvey)
แตอาการตางๆ เหลานี้จะหายไปเมื่อพวกเขาขึ้นฝงและไดรับอาหารจำพวกผักและผลไม ตอมาในป
10
ค.ศ.1747 James Lind ศัลยแพทยแหงราชนาวีประเทศอังกฤษไดทำการทดลองโดยแบงลูกเรือออกเปน 2
กลุม กลุมหนึ่งใหกินอาหารตามปกติเปนกลุมควบคุม
ขณะที่อีกกลุมหนึ่งใหกินสมเขียวหวานและมะนาวดวยทุกวัน
ผลปรากฏวาผลไมที่มีรสเปรี้ยวสามารถปองกันโรคลักปดลักเปดไดจริง นับเปนการทดลองโดยมีกลุมควบคุม
(control group) เปนครั้งแรกในประวัติศาสตรการแพทย ซึ่งมีการตีพิมพเรื่องนี้ในหนังสือชื่อ " Treatise on
the Scurvey " เมื่อป ค.ศ.1753 แตในเวลานั้นยังไมมีใครอธิบายเกี่ยวกับเรื่องนี้ได
กระทั่งเขาสูทศวรรษ 1890 ยุคที่ทฤษฎีเชื้อโรคกำลังโดงดัง Christian Eijkman
แพทยทหารชาวดัทชไดพยายามเพาะเชื้อที่ทำใหเกิดโรคเหน็บชา โดยนำเลือดจากผูปวยไปฉีดไก
ปรากฏวามีไกบางสวนเทานั้นที่เกิดอาการขาออนแรง
เมื่อเก็บขอมูลเพิ่มเติมเขาไดพบวาไกเหลานี้กินขาวขาวที่เหลือจากโรงพยาบาลทหาร
สวนไกที่ไมเปนโรคนั้นกินขาวกลอง เขาจึงทดลองใหขาวกลองกับไกที่เปนโรค
ผลที่ไดกลับพบวาไกเหลานั้นหายจากอาการออนแรง
ซึ่งแสดงใหเห็นวาโรคนี้เกี่ยวกับอาหารไมไดเกี่ยวกับการติดเชื้อ จากการทดลองของ Eijkman ทำให Adolphe
Vorderman ศึกษาโรคนี้ในนักโทษ และไดพบวานักโทษที่กินขาวขาวเปนโรคเหน็บชาถึง 1 ใน 39 คน
ในขณะที่นักโทษที่กินขาวกลองพบผูปวยเพียง 1 ใน 10,000 คน ซึ่งแตกตางกันมากถึง 250 เทาโดยประมาณ
จึงเชื่อไดวาขาวกลองมีสารที่ปองกันโรคนี้ได
ขอสงสัยตอเรื่องสารอาหารประเภทหนึ่งที่สามารถรักษาโรคบางโรคไดทำใหเกิดการคนพบวิตามิน
และในทศวรรษ 1900 กำเนิดของวิตามินชนิดตางๆ ก็คอยๆ เริ่มตนขึ้น นับตั้งแตในปค.ศ.1913 Elmer V.
McCollum นักเคมีชาวอเมริกันและ Marguerite Davis ไดสกัดวิตามินชนิดแรกสำเร็จ โดยเขาเรียกมันวา
Factor A ซึ่งพบมากในตับและเรียกสารที่อยูในขาวกลองวา Factor B ซึ่งปจจุบันก็คือ วิตามินเอ
และวิตามินบี 1 ตามลำดับ
ในเวลาตอมา McCollum ไดสกัดวิตามินดีสำเร็จในป ค.ศ.1922
โดยเขาสังเกตวาหนูที่กินแตธัญญาหารจะเกิดโรคที่เหมือนโรคกระดูกออนในเด็กหรือ Rickets (Rickets
มาจากภาษากรีก "Rhakhis" ที่แปลวา "กระดูกสันหลัง")
เมื่อทดลองใหหนูเหลานี้กินน้ำมันตับปลาก็พบวาสามารถปองกันโรคนี้ได และอีก 1 ปตอมา W. Evans และ K.
Bishop ก็คนพบวิตามินอี
ป ค.ศ.1926 George Richards Minot และ William Parry Murphy
แพทยชาวอเมริกันไดทดลองรักษาผูปวยโรคโลหิตจางชนิดรุนแรง (pernicious anemia)
โดยการใหกินตับปรากฏวาไดผล
เปนเรื่องมหัศจรรยมากที่โรคโลหิตจางสามารถรักษาไดดวยการกินอาหารเนื่องจากการขาดวิตามินบี 12

11
ป ค.ศ.1928 Albert von Szent Gyorgyi Nagyrapolt นักเคมีชาวฮังการีคนพบวิตามินซี
ซึ่งพบมากในผลไมที่มีรสเปรี้ยว หากใครขาดวิตามินนี้จะเปนโรคลักปดลักเปด ในเวลาตอมา Sir Walter
Norman Haworth นักเคมีชาวอังกฤษจึงไดสังเคราะหวิตามินซีไดสำเร็จ ในป ค.ศ.1933
ป ค.ศ.1932 R. R. William คนพบวิตามินบี 1 และอีก 1 ปตอมา Richard Kuhn
นักเคมีชาวเยอรมันและ P.Gregory ก็คนพบวิตามินบี 2
ป ค.ศ.1934 วิตามินเค ถูกคนพบโดย Henrik Carl Peter Dam นักเคมีชาวเดนมารกผูสังเกตวา
ไกที่ถูกจำกัดอาหารจะเกิดอาการเลือดออก
ตอนแรกเขาคิดวาเปนโรคลักปดลักเปดจึงเพิ่มอาหารที่มีวิตามินซีสูงเขาไป แตก็ไมไดผล เขาจึงทดลองใหไกกิน
Hampseed ปรากฏวาปองกันเลือดออกได เขารายงานเรื่องนี้ในวารสารการแพทยโดยใชภาษาเยอรมันวา
Koagulation Vitamin ทำใหสารนี้มีชื่อวาวิตามินเค ตอมาในป ค.ศ.1939 Edward Adelbert Doisy
นักเคมีชาวอเมริกันก็สามารถสังเคราะหวิตามินเคไดสำเร็จ
เชนเดียวกับในทศวรรษ 1950 George Wald นักวิทยาศาสตรชาวอเมริกัน
ไดคนพบวาวิตามินเอเปนสวนประกอบของจอประสาทตา (retina)
มีสวนสำคัญในกระบวนการรับแสงทำใหเรามองเห็นภาพไดตามปกติ
ถาขาดวิตามินเอไปจะทำใหเปนโรคตาบอดกลางคืน
แตเราสามารถปองกันโรคนี้ไดดวยการกินตับเนื่องจากมีวิตามินเอสูง
3. งานวิจัยที่เกี่ยวของ
3.1 งานวิจัยภายในประเทศ
(1) งานวิจัย เรื่อง การผลิตองุนเปนการคา ของ ศาสตราจารย ดร. นันทกร บุญเกิด จาก
คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ปการศึกษา 2547
(2) งานวิทยานิพนธ เรื่อง
การประยุกตใชเครื่องหมายไมโครแซทเทลไลทในการระบุสายพันธุองุนที่ใชทำไวนในประเทศไทย ของ นาย
อลงกรณ ศรีพลแทน จาก คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ปการศึกษา
2557
(3) งานวิจัย เรื่อง
การศึกษาประสิทธิภาพมาตรการสุขอนามัยพืชกับผลองุนสดนำเขาจากเครือรัฐออสเตรเลีย ของ
กลุมวิจัยการกักกันพืช กลุมวิจัยโรคพืช กลุมกีฏและสัตววิทยา กลุมวิจัยวัชพืช จาก สำ
นักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ ป 2555
(4) งานวิทยานิพนธ เรื่อง ดัชนีเก็บเกี่ยวขององุนทำไวน พันธุเอกซเซลสิออร และ 316/57 จีเอ็ม ของ
บุญแถม ถาคำฟู จาก วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เกษตรศาสตร) มหาวิทยาลัยเชียงใหม ป 2532
12
(5) งานวิจัย เรื่อง โครงการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตองุน ของ สุภัทรา เลิศวัฒนาเกียรติ ของ
กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ ป 2558
3.2 งานวิจัยตางประเทศ
(1) งานวิจัย เรื่อง Recent applications of grapes and their derivatives in dairy products ชอง
Panagiotis Kandylis , Dimitra Dimitrellou และ Thomas Moschakis จาก Department of Food
Science and Technology, School of Agriculture, Aristotle University of Thessaloniki, P.O.


Thessaloniki, Greece
(2) งานวิจัย เรื่อง Effective utilization of food wastes: Bioactivity of grape seed extraction
and its application in food industry ของ Yan Chen , Jiayu Wen , Zixin Deng , Xiaoqi Pan ,
Xiaofang Xie และ Cheng Peng จาก Key Laboratory of the Ministry of Education for
Standardization of Chinese Medicine Co-founded by Sichuan Province and MOST,
Chengdu,China
(3) งานวิจัย เรื่อง Statement of Boron application impact on yield, composition and
structural properties in Merlot grapes ของ Maiara Arbigaus Bredun , Trilicia Margarida Gomes ,
Thalita Isabel Assumpção , Alberto Fontanella Brighenti , Eduardo S. Chaves, Carolina Pretto
Panceri และ Vívian Maria Burin จาก Department of Food Science and Technology, Federal
University of Santa Catarina, Florianópolis, Santa Catarina, Brazil
สิ๊
(4) งานวิจัย เรื่อง An overview about the impacts of agricultural practices on grape nitrogen
composition: Current research approaches ของ Gastón Gutiérrez-Gamboa , Noelia Alañón-
Sánchez , Roberto Mateluna-Cuadra และ Nicolás Verdugo-Vásquez จาก Universidad de Talca,
Facultad de Ciencias Agrarias, Casilla Talca, Chile
(5) งานวิจัย เรื่อง Stilbenes in grape berries and wine and their potential role as anti-
obesity agents: A review ของ Nawel Benbouguerra , Ruth Hornedo-Ortega , François Garcia ,
Toni El Khawand , Cédric Saucier และ Tristan Richard จาก SPO, Univ. Montpellier, INRA
SupAgro. , Montpellier, France

You might also like