You are on page 1of 37

ภาวะฉุ กเฉิ นทางการ


แพทย ์ทีพบบ่อย
ผูป ่ ระดับความรู ้สึกตัว
้ ่ วยทีมี

เปลียนแปลง
ผูป ่ ภาวะลมช ัก
้ ่ วยทีมี
กลุม
่ อาการโรคหลอดเลือด
สมอง
ผู ป ่
้ ่ วยทีมีระดับความ

รู ้สึกตัวเปลียนแปลง
อาการ ระดับความรู ้สึกตัวของ

ผูป้ ่ วยเปลียนแปลงทันที หรือ
ค่อยเป็ นค่อยไป ระดับของการ
ตอบสนอง และระดับความ
เข ้าใจเปลียน ่ จากจาสถานที่
ไม่ได ้จนถึงไม่รู ้สึกตัวเลย
สาเหตุ

1.มีไข ้

2. ภาวะติดเชือ

3. สารพิษรวมทังยาและ
แอลกอฮอล ์

4. ภาวะนาตาลในเลือดต่า
 การให ้การช่วยเหลือ

ให ้การช่วยเหลือโดยไม่ต ้องกังวล

ถึงสาเหตุ ตามขันตอนดั งนี ้

1. ประเมินสภาพผู ้ป่ วยเบืองต ้น
และให ้การช่วยเหลือตาม
สภาพปัญหา ได ้แก่
1.1 ประเมินระดับความรู ้สึกตัว
2. ่
เฝ้ าระวังอาการเปลียนแปลง
เป็ นระยะๆอย่างใกล ้ชิด
3. เตรียมประสานชุดปฏิบต ั ก
ิ าร
ฉุ กเฉิ นทีมี่ ศก
ั ยภาพทีสู่ งกว่า
ี่
สนับสนุ น กรณี ทอาการของ
ผูป้ ่ วยเกินศักยภาพ
ผู ป ่
้ ่ วยทีมีภาวะลมช ัก
อาการช ักเป็ นภาวะฉุ กเฉิ นที่
รุนแรง แต่เป็ นอันตรายถึงชีวต

ได ้น้อย
ระยะเวลาการช ักอาจจะสัน ้
หรือยาว
่ ้
การช ักทีเกิดขึนทันที มักจะ
 อาการช ักมีหลายชนิ ด เกิดจาก
หลายสาเหตุ เช่น
้ ัง
- การเจ็บป่ วยเรือร

- ไข ้สูง / ภาวะติดเชือ้
- สารพิษ/ยา/ แอลกอฮอล ์

- ระดับนาตาลในเลื อดตา่
- การบาดเจ็บทีศี ่ รษะ/ เนื องอกใน

การให้การช่วยเหลือ
ให ้การช่วยเหลือโดยไม่ต ้องกังวลถึงสาเหตุ

ตามขันตอนดั งนี ้
้ ้น และให ้การ
1. ประเมินสภาพผู ้ป่ วยเบืองต
ช่วยเหลือตามสภาพปัญหา ได ้แก่
1.1 ประเมินระดับความรู ้สึกตัว
1.2 ประเมินทางเดินหายใจและการหายใจ
1.3 จัดท่าผูป้ ่ วย
ิ่
1.4 ห ้ามใส่สงใดๆไว ้ในปากผู ้ป่ วย
2. ่
เฝ้ าระวังอาการเปลียนแปลง
เป็ นระยะๆอย่างใกล ้ชิด
3. เตรียมประสานชุดปฏิบต ั ก
ิ าร
ฉุ กเฉิ นทีมี่ ศก
ั ยภาพทีสู่ งกว่า
ี่
สนับสนุ น กรณี ทอาการของ
ผูป้ ่ วยเกินศักยภาพ
สมอง
ี่ ดขึน้
เป็ นความผิดปกติทเกิ
่ ้
เมือเนื อสมองขาดเลือดมา

เลียง หรือมีเลือดออก และ
่ ความผิดปกติของ
เป็ นภาวะทีมี
ระบบหลอดเลือดสมอง ทาให ้

มีป ริมาณเลือดทีไปเลี ้
ยงสมอง

ประเมินสภาพเบืองต้

ิ งั ต่อไปนี ้
a) การซกั ประวัตด
่ ท
- มีปัจจัยเสียงที ่ าให ้เกิดโรค เช่น ความดัน
โลหิตสูง
เบาหวาน ภาวะไขมันในเลือดสูง
- มีอาการอ่อนแรง ชา บริเวณใบหน้า แขน
ขา อ่อนแรง หรือ
่ กของร่างกาย เกิดขึนอย่
ชาครึงซี ้ าง
ทันทีทนั ใด
- การพูดผิดปกติ เช่น ลินคั ้ บปาก พูดไม่ช ัด
b) จากการตรวจร่างกายเบืองต้ ้น
- ประเมินระดับความรู ้สึกตัว

- ถ ้าระดับความรู ้สึกตัวลดลง/ไม่
รู ้สึกตัว ตรวจทางเดินหายใจและ
เปิ ดทางเดินหายใจ
- ประเมินการหายใจและช่วยการ
หายใจ

การดู แลเบืองต้

กรณี พบอาการดังกล่าวให ้ทาการซ ักประวัติ
่ มเรือง
เพิมเติ ่ เวลาทีเริ
่ มมี
่ อาการ ถ ้าไม่เกิน 3

ชม. รีบประสานศูนย ์สังการเพื ่
อประสาน

สถานพยาบาลทีเหมาะสมเตรี ยมความพร ้อม
เข ้าช่องทางด่วน
ระหว่างการนาส่งให ้การช่วยเหลือดังนี ้
การดูแลทางเดินหายใจ ( ถ ้ามีออกซิเจนให ้
ออกซิเจนอย่างเพียงพอ)
กรณี รู ้สึกตัว นอนศีรษะสูง 30 องศา เพือให่ ้เลือด
ดาไหลกลับสู่ หัวใจ

งดนาและอาหารทางปาก
กลุ่มอาการภาวะหัวใจ
ขาดเลือดเฉี ยบพลัน
เกิดกระทันหัน รุนแรง และ
คุกคามต่อชีวต
ิ เสียชีวติ อย่าง
รวดเร็ว เกิดจากก ้อน/คราบ

ไขมัน ทีก่อตัวตามหลอดเลือด
แดงมีการปริแตก ทาให ้เกิด
การอุดตันของหลอดเลือด
มากกว่าร ้อยละ 50 ผูป้ ่ วย
เสียชีวต
ิ นอกโรงพยาบาล
การร ักษาทีได่ ้ผลดีทสุ ี่ ดคือ

การได ้ร ับยาละลายลิมเลือด
่ ่
โดยเร็วทีสุด ซึงไม่ควรเกิน 6

ชวโมงนั
ั ่
บจากเริมมีอาการ
้ ้น
การประเมินสภาพผู ้ป่ วยเบืองต
a) จากการซ ักประวัติ ดังต่อไปนี ้
- มีประวัตค ่ เช่น ภาวะไขมันในเลือดสูง
ิ วามเสียง
ความดันโลหิตสูง เบาหวาน สูบบุหรี่ หรือประวัติ
คนในครอบคร ัวเป็ น
- จากอาการนา เช่น เจ็บแน่ นหน้าอก แน่ นๆตรง
กลาง เหมือนมีอะไรมาทับหรือบีบร ัด เจ็บนาน

มากกว่า 20 นาที อาจร ้าวไปทีใบหน้ า จนถึง
สะดือ รวมถึงแขน บางรายอาจมีปวดจุกแน่ นลิน้
ปี่ ปวดกราม หน้าอกด ้านขวา ร ้าวไปไหล่จนถึง
ปลายนิ ว้ รวมทังอาจมี
้ อาการของระบบประสาท
อัตโนมัติ เช่น หายใจเหนื่ อย นอนราบไม่ได ้
้ ้น
การดูแลเบืองต
 ประเมินอาการนา ได ้แก่ ลักษณะ
การเจ็บหน้าอก ซึงมี่ การเจ็บคล ้าย

มีอะไรมาบีบร ัด อาจร ้าวไปทีคอ
กราม 2 ข ้าง ไหล่และแขน บาง
รายอาจมีอาการอืนร่่ วม เช่น

หน้ามืด เป็ นลม เหงือออก
่ ้อาเจียน เหนื่
ใจเต ้นเร็ว คลืนไส
ภาวะฉุ กเฉิ นทาง

พฤติกรรมเปลียนแปลง
ี่ ป้ ่ วยแสดงความ
1.เหตุการณ์ทผู
ผิดปกติทางพฤติกรรม ทีไม่ ่ เป็ น

ทียอมร ับหรือทนไม่ได ้ของ
ครอบคร ัว ชุมชน
2.เป็ นการแสดงออกทีเกิ่ ดจาก
อารมณ์ทรุี่ นแรง ช ักนาให ้เกิด


3.ปัจจัยทัวไปที
ท ่ าให ้เกิดการ

เปลียนแปลงพฤติ กรรม สาเหตุที่
พบบ่อย
 ภาวะเครียด

การเจ็บป่ วยหรือการบาดเจ็บ

- นาตาลในเลื อดตา่
- ขาดออกซิเจน
่ ผลต่อต่อจิตใจ
สารทีมี เช่น
สุรา ยาบางชนิ ด
ปัญหาด ้านจิตใจ/ป่ วยทางจิต
เช่น กระวนกระวาย ความคิด
และพฤติกรรมเปลียน่ ทาร ้าย
ตัวเอง อัตวิบาตกรรม ทาร ้าย
ื่ อาการทางจิตอย่างอืน
ผูอ้ น ่
บทบาทของผูป้ ฏิบต ั ก ้ ้น
ิ ารเบืองต
1. จัดให ้ผูป้ ่ วยมีความสุขสบาย สงบ ใหค ้ วาม
มั่นใจกับผูป้ ่ วย
2. ปลอบให ้สงบ อย่าทิงผู ้ ้ป่ วยไว ้ตามลาพัง
3. พิจารณาความต ้องการตามกฎหมาย
4. ถ ้าได ้ร ับยาเกินขนาด ให ้เก็บตัวยานาส่ง
พร ้อมผูป้ ่ วย
หลักการประเมินและการช่วยเหลือ
1. แนะนาตัวเองก่อนเข ้าให ้การช่วยเหลือ
2. บอกให ้ผูป้ ่ วยทราบว่าเรากาลังทาอะไรให ้
3. ถามคาถามด ้วยความสงบ นาเสี ้ ยงที่
ราบเรียบ
4. ควรให ้ผู ้ป่ วยบอกว่าเกิดอะไรขึน้ โดยไม่
ตัดสินว่าผิดหรือถูก
5. ้
ตังใจฟั งผูป้ ่ วย และทวนคาพูดของผูป้ ่ วย
6. ร ับฟังและเข ้าใจความรู ้สึกของผู ้ป่ วย
7. ประเมินสภาวะจิตของผู ้ป่ วยได ้จาก ลักษณะ
ท่าทาง การกระทา การร ับรู ้ เวลา สถานที่
การประเมินความรุนแรงได ้จาก
 สถานทีเกิ ่ ดเหตุ
 ประวัติ จากคนในครอบคร ัว/ผูท ี่ ใ่ น
้ อยู
เหตุการณ์ เรือง่
พฤติกรรมการก ้าวร ้าว การทาร ้ายตัวเอง
ื่
และผูอ้ น
 ท่าทาง มีอาวุธในมือหรือไม่
้ ยง คาพูด มีการขูก
 นาเสี ่ รรโชก

 กริยาท่าทาง เดินไปมา เคลือนไหวเร็ วผิดปกติ
หรือไม่

วิธก
ี ารทาให ้ผูป้ ่ วยสงบ
บอกให ้ผูป้ ่ วยรู ้ว่าเรารู ้สึกเสียใจ และต ้องการ
ช่วยเหลือ
บอกให ้ผูป้ ่ วยทราบว่าเราจะทาอะไรให ้
ถามคาถามด ้วยความสงบ นาเสี ้ ยงทีราบเรี
่ ยบ
อยู่ในระยะห่างทีปลอดภั่ ย
ช ักชวนให ้ผูป้ ่ วยบอกสาเหตุทท ี่ าให ้เกิดปัญหา

ห ้ามเคลือนไหวเร็ วเกินไป
ถามคาถามอย่างตรงไปตรงมา
ห ้ามคุกคามผูป้ ่ วยด ้วยการท ้าทาย โต ้แย ้ง หรือ
ตอบตามความเป็ นจริงอย่าโกหก
ผูป่้ วย
อย่าคล ้อยตามผู ้ป่ วย ในกรณี ท ี่
ผูป่้ วยเห็นภาพหลอน/ได ้ยินเสียง
หลอนมารบกวน
บอกความจริงกับครอบคร ัว/

เพือนของผู ป้ ่ วย
การผูกยึดผู ้ป่ วย

• ควรหลีกเลียงการผู กมัดหรือยึด
ตรึง ถ ้าไม่เป็ นอันตราย

• เมือจะมัด/ ยึดตรึงผูป ้ ่ วย ควรมี
การดูแล ถ ้าเป็ นไปได ้ควรได ้ร ับ

คาสังจากแพทย ์

• หลีกเลียงการใช ้กาลังอย่างไม่
• ตารวจและการดูแลของแพทย ์

- ่
เมือจะผู กยึดผูป้ ่ วย ให ้อยู่
ภายใต ้การดูแลของแพทย ์
- ขอความช่วยเหลือจากตารวจ
ในสถานการณ์ทผู ี่ ้ป่ วยอาละวาด
• การป้ องกันการกล่าวโทษ

- การบันทึกพฤติกรรมทีผิ ่ ดปกติ
• ข ้อพิจารณาทางกฎหมาย
- ไม่มป ี ัญหาทางกฎหมาย ถ ้าผู ้ป่ วยต ้องได ้ร ับ
การดูแลร ักษา
- การดูแลผูป้ ่ วยทีต่ ่ อต ้านการร ักษา
่ ความผิดปกติทางจิตมักจะต่อต ้าน
- ผูป้ ่ วยทีมี
การร ักษา – อาจจะ
ทาร ้ายผูช ื่ ้
้ ว่ ยเหลือ/ผูอ้ นได
- การให ้การช่วยเหลือผู ้ป่ วยทีต่ ่ อต ้านการ
ร ักษาผูป้ ่ วยอาจจะทา
อันตรายตนเอง/ผูอ้ นได ื่ ้
- เคลือนย ่ ้ายหลังจากได ้ติดต่อแพทย ์แล ้ว
การคลอดบุตร
A. กายวิภาค สรีรวิทยา และคาต่างๆที่

เกียวกับระบบสืบพันธ ์
1.ช่องทางคลอด-ช่องคลอด และส่วนล่างของ
มดลูก

2.รก( หลังคลอด) –อวัยวะทีทารกใช ่
้แลกเปลียน
อาหารและของเสียขณะอยูใ่ นครรภ ์
่ อจากรกส่งอาหารให ้
3.สายสะดือ-เป็ นสาย ซึงต่
ทารกขณะอยูใ่ น มดลูก
้ า-
4.ถุงนาคร ่ ถุงห่อหุ ้มทารกอยูใ่ นมดลูก
5.การเห็นส่วนนาของศีรษะ-รอยโป่ งบริเวณ
6. การมีมูกเลือดออก- มูกและ

เลือดทีออกมาจากช่ องคลอดเมือ่

จะเริมคลอด
7. การคลอด- เวลาและ

กระบวนการ(ใน3-4ขันตอน ่
) เริม
้ มก
ตังแต่ ี ารหดตัวของมดลูก

จนกระทังทารกเกิ ด
- ระยะใกล ้คลอด
B. ระยะคลอด
1.จวนจะคลอดหรือยัง คาถามที่
ควรถามผูป้ ่ วย
- ครบกาหนดคลอดเมือไหร่ ่
้ นท ้องทีเท่
- ท ้องนี เป็ ่ าไหร่ เคย
คลอดมาแล ้วกีคร ่ ง้ั

- มีเลือดหรือนาไหลออกมาจาก
2. ถ ้ามารดามีลมเบ่ง อยากจะเบ่ง ให ้อธิบาย
่ ง ให ้หายใจเข ้าออกลึกๆ ช ้าๆ
มารดาอย่าเพิงเบ่
3. รีบนาส่งโรงพยาบาล การดูแลระหว่างการนาส่ง
- ให ้มารดานอนตะแคงซ ้าย
- สังเกตการหดร ัดตัวของมดลูกเป็ นระยะๆ ว่ามี
่ อไม่
การหดร ัดตัวถีหรื
- แนะนาให ้หายใจเข ้าออกลึกๆช ้าๆ
้ อมูกเลือดออกจากช่องคลอด
- สังเกตว่ามีนาหรื
หรือไม่
- ถ ้าระหว่างการนาส่ง มีการคลอดฉุ กเฉิ น
4.การดูแลมารดาและทารกกรณี
คลอดบุตรฉุ กเฉิ น(ระหว่างรอชุด
ALS)
- ให ้ขบวนการคลอดเป็ นไปตาม
กลไกธรรมชาติ
้ าและ
- ให ้มารดานอนหงายตังเข่
แยกขาออก
ี่
- วางผ้าสะอาด(ผ้าปูทนอน /

- เมือทารกคลอดออกมาทั ้ วใช ้มือทังสองข
งตั ้ ้าง
ประคองไว ้อย่าดึง
ลาตัวทารก
่ ้าคลอดจับเท ้าทารกไว ้ วางเด็กไว ้ใน
- เมือเท
ระดับเดียวกับช่อง
คลอด
- ผูกสายสะดือด ้วยผ้ากอซ/Clamp Cord
หนี บระหว่างมารดาและ
ทารก วางตัวทารกไว ้บนหน้าท ้องมารดา
ห ้ามตัดสายสะดือ
ให ้ความอบอุน
่ รอชุดปฏิบต ั ก
ิ ารระดับสูง
- เช็ดตัวทารกให ้แห ้ง
- นวดหลัง/ดีดทีฝ่ ่ าเท ้าของทารก

เพือกระตุ ้นให ้หายใจ
- ห่อตัวทารกด ้วยผ้าห่ม และวาง
่ าลาตัว
ให ้ศีรษะตากว่
- จดเวลาคลอด

- สังเกตการเสียเลือดของมารดา
ถาม-ตอบ

You might also like