You are on page 1of 27

อาจารย ์เพชรณพัฒน์ ศรีวท ุ ธิยประภา

สานักวิชานิ ตศ
ิ าสตร ์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
เค้าโครงการ
บรรยาย
1.สังคมระหว่างประเทศ (International Society)

2.ความหมายและลักษณะทัวไปของกฎหมาย
ระหว่างประเทศ
(Definition and General Character of
International Law)
3. วิวฒ
ั นาการของกฎหมายระหว่างประเทศ
(Evolution of International Law)
1.สังคมระหว่างประเทศ
(International Society)
ความหมายของสังคมระหว่าง
ประเทศ
สัง คมระหว่ า งประเทศ อาจเรีย กได อ้ ีก อย่ า ง
หนึ่ งว่า สังคมโลก
ซึง่ คาว่า “สังคม” หมายถึง กลุม ่
่ คนทีอาศั
ยอยู่รว่ มกัน
มีความสัมพันธ ์ต่อเนื่ องกันตามระเบียบกฎเกณฑ ์ โดย
มีวต ั ถุประสงค ์สาคัญร่วมกัน

สัง ค มโ ล ก ห รื อ สั ง ค ม ร ะ ห ว่ า ง ป ร ะ เ ท ศ
หมายถึง กลุ่มบุคคลในทางกฎหมายระหว่างประเทศทีมี ่
ความสัม พัน ธ เ์ กี่ยวเนื่ องกัน ระหว่ า งประเทศ ทังทาง

ความสัมพันธ ์ระหว่าง
ประเทศ

เป็ นความสัมพันธ ์
ระหว่างร ัฐต่อร ัฐ หรือ
ความสัม พัน ธ ์ระหว่า งร ฐั ประชาชาติ ในยุค ปั จ จุบ น ั นี ้
่ ารงอยู่อย่างโดดเดียวตามล
ไม่มรี ัฐใด ชาติใดทีจะด ่ าพัง
โดยทีไม่ ่ ต ้องเกียวข
่ ้องติดต่อกับรฐั อืน่ ๆ หรือสังคมอืน่
ๆ ไ ด ้ อี ก ต่ อไ ป อี ก ทั้ งไ ด ้ มี ก า ร ย อ ม ร ั บ กั น ว่ า
ความสัมพันธ ์ระหว่างการเมืองเศรษฐกิจ สังคมภายใน
รฐั และภายนอกรฐั นั้ นเกียวพั ่ นและเป็ นผลซึงกั ่ นและ
รูปแบบความสัมพันธ ์ระหว่างประเทศ

1.ความสัมพันธ ์อย่างเป็ นทางการหรือไม่เป็ น


ทางการ
2.ความสัมพันธ ์ในลักษณะร่วมมือหรือ
ขัดแย ้ง
3 ความสัมพันธ ์ในลักษณะเข ้มข ้นรุนแรงหรือ
ห่างเหิน
ขอบเขตของความสัมพันธ ์ระหว่างประเทศ

ความสัมพันธ ์ทางการเมือง

ความสัมพันธ ์ทางเศรษฐกิจ

ความสัมพันธ ์ทางสังคม

ความสัมพันธ ์ทางกฎหมาย

ความสัมพันธ ์ทางวิทยาศาสตร ์และเทคโนโลยี


รูปแบบการรวมกลุม
่ ระหว่างประเทศ

การรวมกลุม การรวมกลุม
่ ทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ่ การเมืองระหว่างปร

การรวมกลุม ่
่ ด ้านอืนๆ
ความมุ่งหวังของสังคมระหว่างประเทศ

่ นติภาพและความมั่นคง
ธารงไว ้ซึงสั

พัฒนาสัมพันธไมตรีระหว่างร ัฐประชาชาต
ร่วมมือกันในการแก ้ไขปัญหาระหว่างปร
ประสานการดาเนิ นงานของประชาชาติท

2.ความหมายและลักษณะทัวไปของกฎหมาย
ระหว่างประเทศ (Definition and
General Character of International Law)
ความหมายของกฎหมายระหว่างประเทศ
คาว่า “กฎหมายระหว่างประเทศ” คาๆนี ้ เริมใช
่ ้ครงแรกโดย
้ั
Jeramy Bentham ในปี ค.ศ. 1780 ตรงกับภาษาฝรงเศสว่ ่ั า
“Droit International”
“กฎหมายระหว่ า งประเทศ” คือ กฎเกณฑ ์
ทางกฎหมายที่ใช ้บัง คับ กับ ความสัม พัน ธ ์ระหว่ า ง
ประเทศ กล่า วคือบัง คับระหว่า งรฐั หรือระหว่ า งรฐั
กับ องค ์การระหว่ า งประเทศ หรือ ระหว่ า งองค ก์ าร
ระหว่ า งประเทศ รวมทั้งระหว่ า งร ฐั หรือ องค ก
์ าร
ลักษณะทางกฎหมายของกฎหมายระหว่างประเทศ

กฎหมายระหว่างประเทศ เป็ นกฎหมาย


หรือไม่ ?
กฎหมายระหว่างประเทศ มีผลใช้บงั คับ
กฎหมายระหว่างประเทศเป็ นกฎหมายหรือไม่น้ัน
อย่างไร ?
สามารถศึกษาแสวงหาคาตอบได ้จากแนวความคิด
ของสานักปร ัชญาทางกฎหมายสาคัญ 2 สานัก
กล่าวคือ
-สานักกฎหมายธรรมชาติ (School of
Natural Law)
-สานักกฎหมายบ้านเมือง (School of
Positivism)
สานักกฎหมายธรรมชาติ (School of Natural
Law)
อธิบายว่า กฎหมาย คือ เหตุผลทีมี ่ อยูแ่ ล ้วตามธรรมชาติ
ก ล่ า ว คื อ “ ก ฎ ห ม า ย ที่ แ ท ้จ ริ ง คื อ เ ห ตุ ผ ล ที่ ถู ก ต ้อ ง
สอดคล ้องกับ
ธรรมชาติ แผ่ซา่ นในทุกสิงทุ ่ กอย่าง สม่าเสมอ นิ ร ันดร
เป็ นกฎหมายทีก่ ่ อใหเ้ กิดหน้าทีโดยค่ าสั่งใหก้ ระทาหรืองด
เว ้น
จากความชั่วโดยข อ้ ห า้ มของกฎหมายเป็ นหน้ า ที่ อัน
ศักดิสิ์ ทธิที์ ่
จะไม่ พ ยายามบัญ ญัติก ฎหมายให ข ้ ดั แย ง้ กับ กฎหมายนี ้
เป็ นสิ่งที่ไม่ อ าจยกเลิก หรือ ท าให เ้ สื่อมคลายลง” ดัง นั้ น
ลักษณะของกฎหมายแนวคิดนี จึ ้ งอาจสรุปได ้ว่า
-มีผ ลใช ้บัง คับโดยไม่ จ ากัด เวลา ทังอดี ้ ต ปั จ จุ บ นั
สานักกฎหมายบ้านเมือง (School of Positivism)
อธิบายว่า กฎหมาย คือ กฎเกณฑ ์ทีเกิ่ ดจากเจตจานงของ
ร ัฐ
(will)

กล่าวคือ กฎเกณฑ ์ทีจะเป็ นกาหมายในสายตา
ของนักคิดฝ่ ายนี ้ ก็คอื กระบวนการหรือขันตอนการออก

กฎหมายหรือวางกฎเกณฑ ์จะต ้องสะท ้อนถึงการแสดงออก

ซึงเจตจ ่ ้จริงของร ัฐ
านงทีแท

กฎหมายระหว่า งประเทศที่มีพืนฐานแนวคิ
้ ด จากส านั ก
กฎหมายบา้ นเมือง มักจะปรากฏอยู่ในสนธิสญ ่ ดทา
ั ญาทีจั

ขึนแต่ ละฉบับโดยอาศัยความยินยอมของรฐั ในการสมัครใจ
เข ้าร่วมเป็ นภาคี
่ จารณาแลว้ ทังในแง่
เมือพิ ้ ของคุณค่าและวิธก ี าร กฎหมาย
ระหว่างประเทศจึงมีสถานะทางกฎหมาย และมีคา่ บังคับอัน
เกิด จากเจตจ านงของร ฐั ในรูป แบบการให ค ้ วามยิน ยอม
เช่น สนธิสญ ั ญา และในขณะเดียวกัน กฎเกณฑ ์ในทาง
ระหว่ า งประเทศบางประการอัน ตั้งอยู่ บ นพื นฐานของ ้
เหตุผลและความเชือว่ ่ าสิงนั
่ ้ นเป็ นสิงที
่ ถู
่ กตอ้ ง ชอบธรรม

และควรค่าทีจะเคารพและปฏิ บต ิ าม กฎเกณฑ ์เช่นว่านั้น
ั ต

ย่ อ มผู ก พัน ร ฐั ทังหลายโดยไม่ จ าต อ้ งได ร้ บ
ั ความยิน ยอม
เช่น จารีตประเพณี ระหว่างประเทศ
ความแตกต่างระหว่างกฎหมายระหว่างประเทศและกฎหมา

กฎหมายระหว่างประเทศ กฎหมายภายใน
(International Law) (Domestic Law)
์ รหลั ก ท าหน้ า ที่
ไม่ มี อ งค ก ์ รภายในของร ฐั ที่ มี
มี อ งค ก
ตราหรือบังคับใช ้กฎหมายกับ อ านาจในการตรา การใช ้
ทุกประเทศทั่วโลก เนื่ องจาก และการบัง คับให เ้ ป็ นไปตาม

รฐั ทังหลายมี เอกราชอานาจ กฎหมาย
อธิป ไตยจึง ต อ้ งอาศัย ความ
ยิ น ย อ ม ห รื อ ผู ก พั น ต า ม
จ า รี ต ป ร ะ เ พ ณี ร ะ ห ว่ า ง
ประเทศ
การแบ่งแยกสาขากฎหมายระหว่างประเทศ

กฎหมายระหว่าง
ประเทศแผนกคดีเมือง

กฎหมายระหว่าง
ประเทศแผนกคดี
บุคคล
3. วิวฒ
ั นาการของกฎหมาย
ระหว่างประเทศ

วิวฒ
ั นาการเชิงประวัตศิ าสตร ์
ประวัตก
ิ ารพัฒนาการของกฎหมายระหว่างประเทศ
มีความสัมพันธ ์กันอย่างใกล ช้ ด
ิ กับ ความสัมพันธ ์ระหว่า ง

ประเทศ ซึงอาจแยกประวั ตก
ิ ารพัฒนาการได ้ 3 ระยะ
ดังนี ้

นับตังแต่
สมัย ศตวรรษที่
ศตวรรษที่
โบราณ 16-18
19
สมัย
โบราณ

• ระยะแรกของการรวมกลุม ่
่ ชน เห็นคนต่างถิน

เป็ นศัตรูจงึ หลีกเลียงการติดต่อ

• ในสมัย นครร ฐั กรีก ได ส้ ร า้ งกฎเกณฑ ท ์ าง


กฎหมายในการติดต่อสัมพันธ ์กันระหว่างเมือง
ต่ า งๆ ขึน้ เช่น การส่ ง ผู ร้ า้ ยข า้ มแดน การ
กาหนดหน้าทีกงสุ ่ ล การใช ้อนุ ญาโตตุลาการ
• ระงั
ในสมับขย้อพิ
สมัพยโรมั
าท น เกิดหลักกฎหมาย โรมัน 2
ชนิ ด คือ
-jus civile
-jus gentium
• ภายหลัง จากอาณาจัก รโรมัน ล่ ม
สลาย
ค.ศ. 476 โดยการรุกรานของ
อานารยชน
กฎหมายระหว่างประเทศจึงขาดการ
ระหว่
• พั ฒนาต่างศตวรรษที
อ ่ 11-14 ศาสนจักรครอบงาเริมมี ่
อิท้หลั
ไร ธิพกลครอบง ่ นอน กร รฐั ต่างๆอยู่ภายใต อ้ ท
เกณฑ ์ทีาอาณาจั
แน่ ิ ธิพล
ทางศาสนา เกิดกฎเกณฑ ์ระหว่างประเทศหลายอย่ าง
ขึน้ เช่น กฎเกณฑ ์ในการทาสงครามทีต ่ ้องมีเหตุผลที่
ยุ ติ ธ รรม กฎเกณฑ ก ์ ารพั ก รบ กฎเกณฑ ด ์ า้ น
มนุ ษยธรรม กฎเกณฑ ์ดา้ นเอกสิทธิและความคุ ม ้ กัน
• ทางการทู
ช่วงศตวรรษที ต กฎเกณฑ ด์ า้ นอนุ ญาโตตุ ล าการ การ
่ 14 อานาจของศา
ประนี
ส น จัปก ระนอม
ร เ สื่ อ ม ค ล า ย ล ง อั น
เนื่ องมาจากความขัด แย ง้ ระหว่ า ง
โป๊ บ โบนิ ฟาสที่ 8 และกษัตริย ์ ฟิ ล
ศตวรรษที่
16-18

• ค.ศ. 1492 ค ้นพบดินแดนใหม่ ทวีปอเมริกา


ถูกค ้นพบโดย โคลัมบัส ทาใหเ้ กิดปัญ หาใหม่
ในทางกฎหมายระหว่ า งประเทศ เช่น การ
ก าหนดหลัก การการเป็ นเจ า้ ของดิ น แดน
เสรีภาพในการคมนาคมระหว่
• ฟรานซิ างประเทศ
สโก วิคตอเรีย (ค.ศ.1480-1546) เ ห็ น ว่ า ร ั ฐ
ต อ้ งมีอิส รภาพเป็ นของตนเองไม่ เ ป็ นดิน แดนของร ฐั อื่น
ย่ อ มมีก ฎหมายและศาลเป็ นของตนเอง ร ฐั อาจใช ้ก าลัง
ปกป้ องกันแทนร ัฐทีอ่่ อนแอกว่า สิทธิการเคลือนย
่ ้ายและตัง้

ถินฐาน สนับสนุ นสิทธิการได ้รบั สัญชาติ สิทธิทางการคา้
ขาย
• ฟรานซิสโก ซัวเรซ (ค.ศ.1548-1617)
เห็นว่าอานาจอันอิสระของร ัฐอาจถูกจากัดโดยกฎเกณฑ ์
ของสังคมระหว่างประเทศ และโดยกฎหมายธรรมชาติ

• ฮูโก โกเธียส (ค.ศ.1583-1645)


ในปี 1608 เขาสนับสนุ นกลักการ
เสรีภาพในทะเลหลวง ผ่านงานเขียน
“mare libelum”
ปี 1625เขียนตาราว่าด ้วยกฎหมาย

เกียวกั บสงครามและสันติภาพ “De Jure
•Beliค.ศ.
ac 1648
Pacis”เกิดสนธิสญั ญาเวสต ์ฟาเลีย
• ปลายศตวรรษที่ 18 กฎหมายระหว่างประเทศได ้
พัฒนาก ้าวหน้าไปอย่างมากภายหลังเหตุการณ์
สาคัญ สองเหตุการณ์คอื การประกาศอิสรภาพของ
อเมริกา และการปฏิวต ั ฝ ่ั
ิ รงเศส

นับตังแต่
ศตวรรษที่
19

• ค.ศ.1865 ตังองค ์การโทรเลข ค.ศ. 1874 ตัง้
่ าคัญในการ
องค ์การไปรษณี ย ์ นับเป็ นก ้าวแรกทีส

ก่อตังองค ์การระหว่างประเทศขึน้
• ปลายศตวรรษที่ 19 เกิดอนุ สญ ั ญากรุงเฮก
1899 และ 1907

• ก่อตังองค ์การสันนิ บาตชาติ

• ก่อตังศาลประจ ายุตธิ รรมระหว่างประเทศ

• ก่อตังองค ์การสหประชาชาติ
League of Nations 1920
• International
Permanent
Court of
Justice; IPCJ
• International
1922 - 1946
Court of
Justice; ICJ
1945
UNITED NATIONS
1945

You might also like