You are on page 1of 26

ลิลต

ิ ตะเลงพ่าย
ิ์
โดย: วรกมล, กษิดเดช, เวณิ กา, กมลชนก
1102
การอ่านและพิ จารณาเนื้อหาและกลวิธีใน
วรรณคดีและวรรณกรรม
เนื้อเรื่องย่อ
เมื่อพระเจ้าหงสาวดีนน ั ทบุเรงทรงทราบว่าสมเด็จพระมหาธรรมราชาเสด็จ
สวรรคต กรุงศรีอยุธยาอาจมีเหตุการ์ณวุ่นวาย จึงคิดฉวยโอกาศสั่งให้พระมหา
อุปราชาผู้เป็นโอรส ยกทัพมารุนรานไทย ในระหว่างนั้น สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
ได้เตรียมทัพเข้าโจมตีเขมร แต่เมื่อท่านได้ทราบข่าวศึกพม่าก็จัดเตรียมทัพรับศึก
นอกพระนคร แต่เมื่อได้ยินเสียงกลองศึกขึน ้ ช้างทรงของสมเด็จพระนรศวรและ
สมเด็จพระเอกาทษรถนัน ้ ตกมัน จึงหลงไปอยู่ใจกลางของทัพข้าศึก ทาให้ทัพของ
พระองค์ตามมาไม่ทน ั พระองค์จง ึ แสดงวาทศิลป์กล่าวท้าให้พระมหาอุปราชออกมา
ทายุทธหัตถีกน ั ท้ายที่สุดพระนเรศวรชนะ เช่นเดียวกับพระเอกาทศรถมีชย ั
เหนือมังจาชโร หลังจากนั้นทัพพม่าก็แตกพ่ ายไป
โครงเรื่อง

กษัตริย์ของพม่าเห็นว่ากษัตริย์ไทยกาลังมีการเปลี่ยนเเผ่นดินจึงคิดจะฉวย
โอกาสที่กาลังวุ่นวายส่งคนไปตีเมืองเเต่ด้วยพระปรีชาความสามารถของกษัตริย์
ไทยจึงปกป้องเมืองไว้ได้
ตัวละคร

ฝ่ายไทย ฝ่ายพม่า

- สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
(พระองค์ดา) - พระเจ้าหงสาวดี(นันทบุเรง)
- สมเด็จพระเอกาทศรถ - พระมหาอุปราชา
(พระองค์ขาว)
- พระมหาธรรมราชา
ฉากท้องเรื่อง
๑. อยุธยา เมืองหลวงไทย
๒. หงสาวดี เมืองหลวงพม่า
๓. เเม่กษัตริย์ เเม่น้าในจังหวัดกาญจนบุรีที่นายกองเมืองกาญจนบุรี ไปซุ่มเพื่ อ
สอดเเนมศัตรู
๔. กาญจนบุรี ระหว่างไทยกับพม่า หน้าด่านของไทย
๕. ราชบุรี พระนเรศวรให้เจ้าเมืองจักทหารไปทาลายสะพานไม้ไผ่
๖. วิเศษชัยชาญ เมืองที่พม่าส่งกองลาดตระเวนขึ้นม้าหาข่าว
๗. ด่านเจดีย์สามองค์ เขตเเดนระหว่างไทยกับพม่า
๘. หนองสาหร่าง ที่ตั้งทัพกน้าของไทย
๙. โคกเผ้าข้าว สถานที่ที่กองทัพหน้าของไทยปะทะกับพม่า
๑๐. ตระพั งตรุ ที่เกิดสงครามยุทธหัตถี
บทเจรจา/ราพึ งราพั น

มาเดียวเปลี่ยวอกอ้า อายสู
สถิตอยู่เอ้องค์ดู ละห้อย
พิ ศโพ้ นพฤกษ์พบู บานเบิก ใจนา
พลางคะนึงนุชน้อย แน่งเนื้อนวลสงวน
“อ้าจอมจักรพรรดิผู้ เพ็ ญยศ
แม้พระเสียเอารส แก้เสี้ยน
จักเจ็บอุระระทด ทุกข์ใหญ่ หลวงนา
ถนัดดั่งพาหาเหี้ยน หั่นกลิ้งไกลองค์”
แก่นเรื่อง/สารัตถะของเรือ
่ ง

ลิลิตตะเลงพ่ ายเเต่งขึ้นมาเพื่ อเล่าถึงเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์เเละให้ผู้อา่ น


ได้รู้ถึงความเสียสละเเละความกล้าหาญของบรรพบุรุษเเละทาให้ผอ ู้ า่ นได้เกิดความ
รักชาติ
การอ่านและพิ จารณาการใช้ภาษาใน
วรรณคดีและวรรณกรรม
การสรรคา
เลือกใช้คาให้ถูกต้องตรงตามความหมายที่ต้องการ

สองโจมสองจูจ่ ว
้ ง บารู
สองขัตติยสองขอชู เชิดด้า
กระลึงกระลอกดู ไวว่อง นักนา
ควาญขับคชแข่งค้า เข่นเขี้ยวในสนาม
เลือกใช้คาให้เหมาะสมกับเรื่องและฐานะของบุคคลในเรื่อง

เบื้องนั้นนฤนาถผู้ สยามินทร์
เบี่ยงพระมาลาผิน ห่อนพ้ อง
ศัสตราวุธอรินทร์ ฤาถูก องค์เอย
เพราะพระหัตถ์หากป้อง ปัดด้วยขอทรง
เลือกใช้คาโดยคานึงถึงเสียง

คาที่เล่นเสียงวรรณยุกต์

สลัดไดใดสลัดน้อง แหนงนอน ไพรฤา


เพราะเพื่ อมาราญรอน เศิกไสร้
สละสละสมร เสมอชื่อ ไม้นา
นึกระกานามไม้ แม่นแม้นทรวงเรียม
คาที่เล่นเสียงสัมผัส

ภูบาลอื้นอานวย อวยพระพรเลิศล้น

จงอยุธย์อย่าพ้ น แห่งเงื้อมมือเทอญ พ่ อนา


บัดมงคลพ่ าห์ไท้ ทวารัติ
แว้งเหวี่ยงเบี่ยงเศียรสะบัด ตกใต้
อุกคลุกพลุกเงยงัด คอคช เศิกแฮ
เบนบ่ายหงายแหงนให้ ท่วงท้อทีถอย


สงครามความเศิกซึง แสนกล
จงพ่ ออย่ายินยล แต่ตื้น
อย่าลองคะนองตน ตามชอบ ทานา
การศึกลึกเล่ห์พื้น ล่อเลี้ยวหลอกหลอน
คาที่เล่นเสียงหนักเบา

ภูธรเมิลอมิตรไท้
ธารง สารแฮ

ครบสิบหกฉัตรทรง เทริดเกล้า
บ่ จวน บ่ จวบองค์ อุปราช แลฤา
พลางเร่งขับคชเต้า แต่ตั้งตาแสวง
โดยแขวงขวาทิศท้าว ทฤษฎี แลนา
บัด ธ เห็นขุนกรี หนึ่งไสร้
เถลิงฉัตรจัตุรพิ รีย์ เรียงคั่ง ขูเฮย
หนแห่งฉายาไม้ ข่อยชี้เฌอนาม
คาพ้ องเสียงและคาซ้า

สลัดไดใดสลัดน้อง แหนงนอน ไพรฤา

เพราะเพื่ อมาราญรอน เศิกไสร้


สละสละสมร เสมอชื่อ ไม้นา
นึกระกานามไม้ แม่นแม้นทรวงเรียม

สายหยุดหยุดกลิ่นฟุ ง
้ ยามสาย
สาย บ่ หยุดเสน่ห์หาย ห่างเศร้า
กี่คืนกี่วันวาย วางเทวษ ราแม่
ถวิลทุกขวบค่าเช้า หยุดได้ฉันใด
การเรียบเรียงคา

เรียงข้อความที่บรรจุสารสาคัญไว้ท้ายสุด

อุรารานร้าวแยก ยลสยบ
เอนพระองค์ลงทบ ท่าวดิน ้
เหนือคอคชซอนซบ สังเวช
วายชิวาตม์สุดสิ้น สู่ฟา้ เสวยสวรรค์
เรียงคา วลี หรือประโยคที่มีความสาคัญเท่าๆกัน เคียงขนานกันไป

หัสดินปิ่นธเรศไท้ โททรง
คือสมิทธิมาตงค์ หนึ่งอ้าง
หนึ่งคือคิริเมขล์มง- คลอาสน์ มารเอย
เศียรส่ายหงายงาคว้าง ไขว่แคว้งแทงโถม

สองโจมสองจู่จ้วง บารู
สองขัตติยสองขอชู เชิดด้า
กระลึงกระลอกดู ไวว่อง นักนา
ควาญขับคชแข่งค้า เข่นเขี้ยวในสนาม
งามสองสุริยราชล้า เลอพิ ศ นาพ่ อ
พ่ างพั ชรินทรไพจิตร ศึกสร้าง
ฤารามเริ่มรณฤทธิ์ รบราพณ์ แลฤา
ทุกเทศทุกทิศอ้าง อื่นไท้ไป่เทียม

ขุนเสียมสามรรถต้าน ขุนตะเลง
ขุนต่อขุนไป่เยง หย่อนห้าว
ยอหัตถ์เทิดลบองเลบง อังกุศ ไกวแฮ
งามเร่งงามโทท้าว ท่านสู้ศึกสาร
การใช้โวหาร

การเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งเหมือนกับอีกสิ่งหนึ่ง

พระพลันเห็นเหตุไซร้ เสียวดวง แดเอย


ถนัดดั่งภูผาหลวง ตกต้อง

จะมีคาแสดงความหมาย อย่างเดียวกันกับคาว่าเหมือน ปรากฏว่า ได้แก่คาว่า


เสมือน เปรียบเหมือน ดุจ ประดุจ ดัง

การเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งเป็นอีกสิ่งหนึ่ง

หนึ่งคือคิริเมขล์มง- คลอาสน์
มารเอย
เศียรส่ายหงายงาคว้าง
ไขว่แคว้งแทงโถม

มักจะมีคาว่า คือ หรือ เป็น ปรากฏ อยู่


การกล่าวผิดไปจากที่เป็นจริง

บาเทิงหฤทัยบาน ประดิยุทธ์ นัน



นา
เสนอเนตรมนุษย์ตง
ั้ แต่
หล้าเลอสรวง
การใช้ชื่อส่วนประกอบที่เด่นของสิ่งหนึ่งแทนสิ่งนั้นๆ ทั้งหมด

ขุนเสียมสามรรถต้าน ขุนตะเลง
ขุนต่อขุนไป่เยง หย่อนห้าว
คุณค่าด ้านต่างๆ
1. คุณค่าด ้านวรรณศิลป์

1. คุณค่าด ้านสังคม

You might also like