You are on page 1of 38

สามก๊ก

ตอนกวนอูไปร ับราชการกับโจโฉ
สมาชิก

นางสาว เบญญาภา แก ้วจินดา เลขที่ 7


นางสาว ณิ ชนันทน์ ทบ
ั ทิม เลขที่ 21
นางสาว คณากาญจน์ ทวีปถาวรวงศ ์ เลขที่ 22
นางสาว กัลยร ัตน์ ติระศิรช
ิ ัย เลขที่ 23
้ องย่
เนื อเรื ่ อ
ในสมัยพระเจ ้าเหียนเต ้ ้ วเป็ นมหาอุปราชสาเร็จราชการแผ่นดิน และคิดกาจัดเล่าปี่ ซึง่
้ โจโฉตังตั
ขณะนั้นครองเมืองชีจวอยู ๋ิ ่ เล่าปี่ หนี ไปพานักลีภั้ ยอยู่ทเมื
ี่ องกิจว๋ิ ฝ่ ายโจโฉเมือเข ่ ้ายึดเมืองซีจวของเล่
๋ิ าปี่
ได ้ ก็ยก ไปตีเมืองแหฝ ้ ื อของกวนอู โจโฉส่งทหารไปล่อให ้กวนอูไล่ตามออกมานอกเมืองและล ้อมจับตัว
้ (ทหารฝ่ ายโจโฉ) ซึงกวนอู
กวนอูไว ้ เตียวเลียว ่ เคยช่วยชีวต ้
ิ ไว ้เป็ นผู ้เข ้าไปเกลียกล่ อมกวนอูให ้ไปอยู่
กับโจโฉ
กวนอูยอมจานนแต่ขอเงือนไขเป็ ่ นสญัญา ๓ ข ้อจากโจโฉคือ ขอให ้ได ้เป็ นข ้าพระเจ ้าเหียนเต ้ ้
ขอใหไ้้ด ้ปรนนิ บต ั แิ ละคุ ้มครองพีสะใภ่ ้
้ทังสอง คือนางกาฮูหยินและนางบิฮูหยิน ภรรยาของเล่าปี่ ซึง่
กวนอูนับถือเหมือนเป็ นพีสะใภ ่ ้ และขอไปหาเล่าปี่ ทันทีเมือรู
่ ้ว่าอยู่ทใดี่
้ องย่
เนื อเรื ่ อ

แต่แรกโจโฉไม่ยอมร ับเงือนไขข ้ งยกนิ ทานเรืองอิ
้อสุดท ้าย เตียวเลียวจึ ่ เยียงผู ้กตัญญูมาเล่าเพือ ่
ชีให ้ ้เห็นว่า กวนอูน้ันเป็ นคนกตัญญูมาก หากโจโฉเลียงดู ้ อย่างดีอาจผูกใจกวนอูไว ้ได ้ โจโฉจึงยอมร ับ

เงือนไขของกวนอู โจโฉพากวนอูไปถวายตัวเป็ นทหารพระเจ ้าเหียนเต ้ ่
้ และให ้กวนอูกบั พีสะใภ ้
้ทังสองได ้

อยู่อย่างสุขสบาย แต่กวนอูก็มไิ ด ้มีนาใจตอบสนองโจโฉ ่ ตย ์และจงร ักภัคดีตอ
กลับแสดงว่ายังซือสั ่ เล่าปี่
อย่างแนบแน่ น โจโฉคิดน้อยใจแต่ก็เชือว่ ่ ากวนอูเป็ นคนกตัญญูคงจะไม่จากไปจนกว่าจะได ้ตอบแทน
บุญคุณก่อน

โครงเรือง
่ สามก๊กตอนกวนอูไปร ับราชการกับโจโฉนั้น มีโครงเรืองเกี
สาหร ับเรือง ่ ่
ยวกั
บมหาอานาจใน แต่ละ
่ ละดินแดนนั้นได ้ทาสงครามการเมืองและชิงบัลลังค ์อานาจเพือให
ดินแดน ซึงแต่ ่ ้ตนนั้นเป็ นใหญ่
้ ละตัวละครยังมีกลยุทธ ์ทีเล่
นอกจากนี แต่ ่ ห ์เหลียมที
่ ่
แตกต่ างออกไปสาหร ับการทาสงครามอีกด ้วย
ตัวละคร
โจโฉ

● มีความสามารถมากทังในเรื ้ ่
องการใช ่ ทางกล
้คนและมีเล่ห ์เลียม
ยุทธ ์
● มีสติปัญญาทีสู ่ งกว่าคนธรรมดา
ื่
● ร ับฟังความคิดเห็นของผูอ้ นเสมอ

● ตัวอย่างเช่น ตอนทีจะยกทั พไปตีเมืองแหฝ้ ื อของกวนอู โจโฉ

ถามขุนนางว่า “ท่านทังปวงจะเห็ นเป็ นประการใด” ขุนนาง

ทังหลาย ได ้แก่ ซุนฮก กุยแก และเทียหยก ต่างแสดงความ
คิดเห็นต่อประเด็นต่างๆจนโจโฉเห็นชอบจึงสังการ ่
เล่าปี่

● มีนิสยั ทีโอบอ ้อมอารีและเป็ นทีร่ กั ใคร่แก่คนทัวไป ่
● ตัวอย่าง “ครงนี ้ั ข้ ้าพเจ ้าเป็ นคนอนาถา ซึงท่ ่ านนับถือ
้ ณหาทีสุ
นี คุ ่ ดไม่ แต่กอ ่ นนั้นข ้าพเจ ้าก็แจ ้งอยู่วา่ นาใจ


ท่านกว ้างขวางอารี เลียงทหารมิ ได ้อนาทร ข ้าพเจ ้าก็
่ ่ให ้ท่านใช ้”
คิดอยู่วา่ จะมาพึงอยู
กวนอู
● เป็ นขุนพลทีมี ่ ความกลา้ หาญ เด็ดเดียว ่ ชานาญในการรบ
● ได ้ร ับการยกย่องว่าเป็ นผูท้ มี ี่ ความซือสั
่ ตย ์และกตัญญูตอ ่ ผูม้ ี
พระคุณ

● ตัวอย่างเช่น ตอนทีโจโฉจะไปยึ ๋ิ
ดเมืองชีจวและตี เมืองแหฝ ้ ื อขอ
งกวนอู โจโฉส่งทหารไปล่อให ้กวนอูออกมาและส่งให ้เตียวเลียว ้
กวนอูขอข ้อตกลง ๓ ข ้อ หนึ่ งในนั้น คือ การไปหาเล่าปี่ และขอ
ปรนนิ บต ั ริ วมไปถึงคุ ้มครองพีสะใภ ่ ้ของเล่าปี่ ดังเห็นได ้ว่า กวนอู
นั้นมีความจงร ักภักดีตอ ่ เล่าปี่ มากถึงแม้ว่าจะไปอยู่กบั โจโฉ

เตียวเลียว
● ่ี สติปัญญาในการพูดจาหว่านล ้อมผูอ้ น
เป็ นผูท้ มี ่ื

● ้
ตัวอย่างเช่น การพูดจาเกลียกล่
อมให ้กวนอูไปอยูก
่ บ
ั โจโฉ รวมไปถึง
่ี าให ้เล่าปี่ กับเตียวหุย
การพูดให ้กวนอูรู ้สึกผิดและเป็ น สาเหตุทจะท

พลอยเดือดร ้อนกับการตัดสินใจทีจะไม่ ไปอยูก
่ บ
ั โจโฉ “มหาอุปราชให ้
ทหารล ้อมท่านไว ้เป็ นอันมาก ถ ้าท่านมิสมัครเข ้าด ้วยเห็นชีวต
ิ ท่านจะ
ถึงแก่ความตายหาประโยชน์มไิ ด ้ ถ ้าท่านมิสมัครเข ้าด ้วยเห็นว่าจะถึง

แก่ความตาย” เตียวเลี ้
ยวได ่ มน้าวให ้กวนอูน้ันยอม
้พูดต่อกวนอูเพือโน้
จานนมาอยูก
่ บ ้ อเป็ นนักการทูตทีดี
ั โจโฉ เตียวเลียวถื ่ ทสามารถท
่ี า
การเจรจาได ้ประสบความสาเร็จ เลยทีเดียว

ฉากท้องเรือง


สามก๊ก มีฉากท ้องเรืองอยู ้
่ในประเทศจีน สมัยพระเจ ้าเหียนเต ่ นฉากทีเหล่
้ ซึงเป็ ่ าก๊กต่างๆ มีการ
ขัดแยง้ แย่งชิงบัลลังค ์ ในช่วงนั้นโจโฉถือเป็ นผู ้ทีมี
่ อานาจมาก จึงถูกแต่งตังเป็
้ นมหาอุปราช และเป็ น
ผู ้นาสาเร็จราชการแผ่นดินแทนพระเจ ้าแผ่นดิน อีกทังยั ้ งนาทัพออกไปปราบหัวเมืองต่างๆ

ฉากท้องเรือง

ฉากท ้องเรืองแรกของเรื
อง่ สามก๊ก ตอน กวนอูไปร ับราชการกับโจโฉ เริมที
่ เมื
่ องฮูโต๋ ซึงเป็
่ นเมืองทีโจโฉ

่ าจัดเมืองต่างๆ
สาเร็จราชการแผ่นดิน และต่อมาโจโฉคิดทีจะก

เมืองชีจว๋ิ เป็ นเมืองแรกทีโจโฉคิ


่ ่ นเมืองทีเล่
ดกาจัด ซึงเป็ ่ าปี่ ปกครอง แต่กาลังจะถูกโจโฉเข ้ามายึดครอง
่ องกิจวที
จึงทาให ้เล่าปี ต ้องหลบหนี ไปทีเมื ๋ิ อ่ ้วนเสียวปกครอง

ถัดมาเป็ น เมืองแหฝ ่ นเมืองทีกวนอู


้ ื อ ซึงเป็ ่ ปกครองอยู่ และโดนโจมตีโดยโจโฉอีกเช่นเคย แต่ตอ
่ มากวน
อูก็ได ้ยอมตามไปร ับราชการกับโจโฉ
บทเจรจา
บทเจรจาระหว่างโจโฉกับกวนอู


้ านี ของเล่
“เสือเก่ าปี่ ให้ บัดนี เล่ ี่
้ าปี่ ไปอยู ่ทใดมิ ้
้ นนี ใส่
ได้แจ้ง ข้าพเจ้าจึงเอาเสือผื
้ั
ชนนอก ่ งหน้าเล่าปี่ ครนจะเอาเสื
หว ังจะดู ตา ้ั ้
อใหม่ ้ั
นนใส่ ้ั
ชนนอก ้
คนทังปวงจะครหา
นิ นทาว่าได้ใหม่แล้วลืมเก่า”


บทเจรจาดังกล่าวทีกวนอู ่ ้เสือใหม่
กล่าวไว ้ เมือได ้ ้ าของเล่าปี่ ทับเสือ้
จากโจโฉแต่ก็ยงั คงใส่เสือเก่
ใหม่ของโจโฉ นั้นแสดงให ้เห็นถึงความจงร ักภักดีและความซือสั ่ ตย ์ต่อกวนอูทยั ี่ งคงมีให ้แก่เล่าปี่

บทเจรจาระหว่างโจโฉกับเตียวเลียว


“เราเลียงกวนอู ้ ว กวนอูยงั มีน้ าใจผู กพันร ักเล่าปี่ อยู ่ เราคิดจะอ่าน
ขนาดฉะนี แล้
ประการใดกวนอูจงึ จะเอาใจออกหากเล่าปี่ ”

จากบทเจรจาดังกล่าวทีท ่ าให ้โจโฉคิดน้อยใจทีตนเองท


่ ้
าดีกบั กวนอูและให ้ของตังมาก มายแต่
่ ตย ์และจงร ักภักดีทมี
กวนอูก็ยงั คงแสดงความซือสั ี่ ตอ
่ เล่าปี่ อยู่เสมอ
บทเจรจาของกวนอู

“อ ันความตายอุปมาเหมือนนอนหลับ”


บทเจรจาดังกล่าวทีกวนอู ้ าตนพร ้อมจะสูก้ บั โจโฉอย่างไม่กลัวตาย
กล่าวไว ้กับเตียวเลียวว่
่ ายและไม่สาคัญ เป็ นเรืองปกติ
แสดงให ้เห็นถึง ความตายเป็ นเรืองง่ ่ ของทุกคน

บทเจรจาระหว่างเตียวเลียวกั
บกวนอู

่ กทีเบา
"ธรรมดาเกิดมาเป็ นชายให้รู ้จ ักทีหนั ่ ่ กทีเบา
ถ้าผู ใ้ ดมิได้รู ้จ ักทีหนั ่ ้
คนทังปวงก็
้ั
จะล่วงติเตียนว่าผู นนหามี
สติปัญญาไม่"

บทเจรจาดังกล่าวทีเตี่ ยวเลียวเกลี
้ ้
ยกล่ อมให ้กวนอูคด ้ ตน
ิ ถึงบุญคุณของโจโฉ เพราะโจโฉได ้เลียงดู
เป็ นอย่างดี ถึงแม้วา่ กวนอูก็ยงั ไม่ลม ่ ดถึงบุญคุณของเล่าปี่
ื ทีจะคิ
บทเจรจาระหว่างกวนอู กบ ้
ั เตียวเลียว

“ซึงมหาอุ ปราชนี มี ้ งมิได้ ด้วยเล่าปี่ นันมี
้ คุณแก่เราก็จริงอยู ่ แต่จะเปรียบเล่าปี่ นันยั ้
คุณแก่เราก่อนประการหนึ่งก็ได้สาบานไว้ตอ ่ อง เราจึงได้ตงใจร
่ กันว่าเป็ นพีน้ ้ั ักษาสัตย ์อยู ่

ทุกว ันนี เราก็คดิ ถึงคุณมหาอุปราชอยู ่มไิ ด้ขาดถึงมาตรว่าเราจะไปจากก็จะขอแทนคุณ
เสียก่อนให้มช ื่
ี อปรากฏไว้ เราจึงจะไป”

จากบทเจราจาดังกล่าวแสดงให ้เห็นว่ากวนอูน้ันมีความกตัญญูนึกถึงบุญคุณของคนอยู่ เสมอ


่ ตย ์และภักดีกบั เล่าปี่ แต่กวนอูก็ยงั ไม่ลม
ถึงแม้วา่ กวนอูยงั ซือสั ่ ดตอบแทนบุญคุณของโจโฉ
ื ทีจะคิ
บทเจรจาของกวนอู

“ม้าเซ็กเธาว ์ตัวนี มี ้ กาลังมาก เดินทางได้ว ันละหมืนเส้


่ น แม้
ข้าพเจ้ารู ้ข่าวว่าเล่าปี่ อยู ่ทใด
ี่ ถึงมาตรไหลก็จะไปหาได้โดยเร็ว”

จากบทเจราจาดังกล่าวแสดงให ้เห็นว่า แม้จะได ้ม้าตัวใหม่มาจากโจโฉแต่


กวนอูก็ยงั คงกตัญญูตอ่ เล่าปี่ นอกจากนี แม้ว่
้ ากวนอูจะโดนห ้ามแต่ก็จะไม่ฟัง
ทาให ้เห ้นถึงความรอบคอบและฉลาดในการต่อรองกับโจโฉ

แก่นเรือง
สามก๊ก ตอนกวนอูไปร ับราชการกับโจโฉ แสดงให ้เห็นถึงความซือสั ่ ตย ์และจงร ักภักดีตอ
่ ของกวน
ี่ ตอ
อูทมี ่ เล่าปี่ แม้วา่ โจโฉจะทาดีมากแค่ไหน ก็ยงั ไม่เคยลืมบุญคุณและคามันสั
่ ญญาทีเคยให่ ้ไว ้กับเล่าปี่
การสรรคา
่ องการ
๑. การเลือกใช้คาให้ถูกต้องตรงตามความหมายทีต้

สามก๊ก แม้วา่ จะเป็ นวรรณคดีโบราณ แต่วา่ สามก๊กในฉบับที่ เจ ้าพระยาพระคลัง(หน) แต่งขึน้


นั้น มีการใช ้ภาษาทีไม่
่ ยาก เป็ นการเล่าเรืองด
่ ่ ซ ับซ ้อน อ่านแล ้วจะ
้วยบรรยายโวหาร ใช ้ประโยคทีไม่

เข ้าใจได ้ว่า ใครทาอะไร ทีไหน ่
เมือใด ่ วละครและสถานทีก็
หรืออย่างไร ชือตั ่ มก
ั จะสะกดตรงตัว มี
่ ัดเจนและอ่านง่าย ถึงมีบ ้างทีใช
วรรณยุกต ์กากับทีช ่ ้ถ ้อยคาสานวนโบราณซึงใช
่ ้ต่างไปจากปัจจุบน
ั รวม
่ ยวเลียวเกลี
ไปถึงสามก๊กเป็ นตัวอย่างการใช ้วาทศิลป์ ในการเจรจาความ ตัวอย่างเช่น ตอนทีเตี ้ ้
ยกล่ อม

ให ้กวนอูไปอยู่กบั โจโฉ เตียวเลียวใช ้ถ ้อยคาหว่านล ้อมให ้กวนอูคล ้อยตาม

๒. การเลือกใช้คาให้เหมาะสมกับเรืองและฐานะของบุ ่
คคลในเรือง

ในเรืองสามก๊ ่ ยวเลียว
ก มีการใช ้คาว่า “มหาอุปราช” เรียกแทนโจโฉ ยกตัวอย่างเช่น ตอนทีเตี ้

เกลียกล่ อมให ้กวนอูคด
ิ ถึงบุญคุณของโจโฉ และเป็ นการแนะนาให ้กวนอูใคร่ครวญเป รียบเทียบระหว่าง

นาหนั กบุญคุณของโจโฉกับเล่าปี่ เพือจะตอบแทนได
่ ่
้ตามทีควร ้
“อันมหาอุปราช มีนาใจเมตตาต่
อท่าน
่ าเล่าปี่ อีก เหตุใดท่านจึงมีใจคิดถึงเล่าปี่ อยู่” และกวนอูก็ตอบแก ้กลับว่า “ซึงมหา
ทานุ บารุงท่านยิงกว่ ่

ุ แก่เราก็จริงอยู่ แต่จะเปรียบเล่าปี่ อย่างนั้นมิได ้ ด ้วยเล่าปี่ มีคณ


อุปราชมีคณ ุ แก่เราก่อน ประการหนึ่ งก็
่ อง เราจึงตังใจร
สาบานไว ้ต่อกันว่าเป็ นพีน้ ้ ักษาสัตย ์อยู่” ดังนั้นจะเห็นได ้ว่า การพูดถึงบุคคลทีมี
่ ศก
ั ดิสู์ ง
กว่าตน โจโฉในขณะนั้นดารงตาแหน่ งเป็ น สมุหนายก หรือ ตาแหน่ ง มหาอุปราช ในขณะทีกวนอู
่ เป็ น

เพียงเจ ้าเมือง และเตียวเลียวเป็ นเพียงทหารของโจโฉเท่านั้น
่ นเสียงสัมผัส
๓. คาทีเล่


ในเรืองสามก๊
ก ตอนกวนอูไปร ับราชการกับโจโฉ มีการเล่นเสียงสาผัสในประโยคต่างๆ
ตัวอย่างเช่น
้ านี ของเล่
“เสือเก่ ้ าปี่ ให้ บัดนี เล่
้ าปี่ ไปอยู่ทใดมิ
ี่ ได ้แจ ้ง ข ้าพเจ ้าจึงเอาเสือผื
้ นนี ใส่
้ ชนนอก
้ั หวังจะดู
ต่างหน้าเล่าปี่ ครนจะเอาเสื
้ั ้
อใหม่ น้ันใส่ชนนอก
้ั ้
คนทังปวงจะครหานิ นทาว่าได ้ใหม่แลว้ ลืมเก่า” บท
่ าให ้ประโยคนั้นสวยงามมากขึน้ เวลาอ่านทาให ้มี
เจรจาดังกล่าว มีเสียงสัมผัสระหว่าง ให ้ กับ ไป ซึงท
่ น้
ความไพเราะมากยิงขึ
่ นเสียงหนักเบา
๔. คาทีเล่


“เราให ้เงินทองสิงของแก่
ท่านมาเป็ นอันมากก็ไม่ยน
ิ ดี ท่านไม่ชอบใจแลมีความยินดีเหมือน
เราให ้ม้าตัวนี ้ เหตุไฉนท่านจึงร ักม้าอันเป็ นสัตว ์เดียร ัจฉานมากกว่าทร ัพย ์สิงสิ
่ นอีกเล่า” เป็ นคาพูทดีโจ


โฉได ้พูดต่อกวนอู จะเห็นได ้ว่าในตอนแรก มีการใช ้เสียงเบาในการพูด แต่ก็เริมหนั ้ อโจโฉ
กขึนเมื ่

พยายามพูดถึงนาใจของโจโฉแก่
กวนอู
การเรียบเรียงคา

เรียงข้อความทีบรรจุ
สารสาคัญไว้ทา้ ยสุด
มีการเรียบเรียงคาในภาษาทีอ่่ านเข ้าใจง่าย รวมไปถึงมีวธิ ก
ี ารเรียบเรียงคาทีมี่ ความไพเราะ
เหมาะสม ชีให ้ ้เห็นถึงคุณธรรมข ้อคิดทีส
่ าคัญอีกอย่างหนึ่ งของเรือง
่ ซึงก็
่ คอื ข ้อคิดในเรืองของความ

่ ตย ์ ดังเช่น
ซือสั

“ธรรมดาเกิดมาเป็ นผู ช ่ กเบา ถ้าผู ใ้ ดมิได้รู ้จก


้ ายให้รู ้จ ักทีหนั ่ กทีเบา
ั ทีหนั ่ คนทัง้
ปวงก็จะล่วงติเตียนว่าผู น ้ั
้ นหามี
สติปัญญาไม่”


เป็ นการเรียบเรียงประโยคแบบทีบรรจุ ่ นคาพูดทีเตี
สารสาคัญไว ้สุดท ้าย ซึงเป็ ่ ยวเลียวพู
้ ดต่อกวนอู
ให ้ใคร่ครวญเปรียบเทียบระหว่างบุญคุณของโจโฉกับของเล่าปี่


“แม้โจโฉเลียงดู ตนอย่างดี แต่ตนก็ไม่วายคิดถึงเล่าปี่ ”

่ นคาพูดทีเตี
ซึงเป็ ่ ยวเลียวเกลี
้ ้
ยกล่ อมให ้กวนอูคด
ิ ถึงบุญคุณของโจโฉ

เรียบเรียงประโยคให้เนื อหาเข้ ้
มข้นขึนไปตามลาดับแต่คลายความเข้มข้น
ลงในช่วงหรือประโยคสุดท้ายอย่างฉับพลัน
่ ยวเลียว
เป็ นการใช ้วาทศิลป์ ในการเจรจาความ เห็นได ้จากตอนทีเตี ้ เกลียกล่
้ อมให ้กวนอูมาเข ้า
้ ให
กับโจโฉ เตียวเลียวชี ้ ้เห็นโทษ ๓ ประการ โดยพยายามเน้นถึงเล่าปี่ ผูท้ กวนอู
ี่ ่ ดไว ้
กล่าวไว ้ว่าสาคัญทีสุ
ในลาดับสุดท ้าย

“ผลเสียประการแรกคือกวนอูกจ ็ ะไม่มโี อกาสไปตามหาและช่วยเหลือเล่าปี่ ได้ ประการ



ทีสอง ภรรยาของเล่าปี่ จะ ไม่มค ี นดู แลคุม ่
้ ครอง และประการทีสามเท่ ากับไม่ยอมเผชิญ
่ ักษาชีวต
ความลาบากเพือร ิ ไว้คอ ่ ยพบเล่าปี่ ”
การใช้โวหาร

การเปรียบเทียบสิงหนึ ่ งเหมือนกับอีกสิงหนึ
่ ่ง

“ตัวเราก็มไิ ด้ร ักชีวต


ิ อ ันความตายอุปมาเหมือนนอนหลับ”

้ โดยเปรียบเทียบความตายเหมือนกับการนอนหลับ
กวนอูได ้กล่าวกับเตียวเลียว


ซึงหมายถึ ่
งความตายถือเป็ นเรืองเล็ ่
กน้อยไม่ใช่เรืองใหญ่ ่ ไม่
อะไร เหมือนสิงที ่ มค
ี วามสาคัญ เป็ น

เรืองปกติ สาหร ับมนุ ษย ์

การเปรียบเทียบสิงหนึ ่ งเหมือนกับอีกสิงหนึ
่ ่ง

ึ้
“อุปมาเหมือนลู กนกอ ันขนปี กยังไม่ขนพร ้อม”


เป็ นคาพูดทีโจโฉพู ดกับเทียหยกระหว่างการปรึกษาเพือจะน ่ ่ ้
าตัวเล่าปี่ กับม้าเท ้งมาฆ่าเสีย ซึงได
เปรียบเทียบว่าเล่าปี่ นั้นเหมือนกับลูกนกทีมี
่ ปีกแต่ยงั ไม่พร ้อมบิน ซึงมี
่ ความหมายได ้ว่าเล่าปี่ นั้นเป็ นคน

มีสติปัญญา ถ ้าหากละไว ้ช ้าก็จะมีกาลังมากขึนจนสามารถท าอะไรหลายๆอย่างได ้ เหมือนกับการบิน
ของนก
่ นจริง
การกล่าวผิดไปจากทีเป็

“ถึงมาตราว่าท่านจะได้ความลาบากก็อป ุ มาเหมือนหนึ่งลุยเพลิงอ ันลุก แลข้ามพระ


่ ยงท่านไปภายหน้า”
มหาสมุทรอ ันกว้างใหญ่ ก็จะลือชาปรากฏชือเสี

เป็ นการเปรียบเทียบให ้เกินจริงว่า การเผชิญกับความลาบากนั้นยากลาบาก เหมือนกับการทีต ่ ้อง



ลุยไฟ ลุยนาและข ้ามมหาสมุทรทีกว่ ้างใหญ่ ซึงได
่ ้กล่าวเกินจริงไปมาก เพือให
่ ้ผูอ้ า่ นนั้นร ับรู ้ถึงความ
ลาบากของตัวละครได ้ช ัดเจนมากยิงขึ ่ น้
การใช้นามนัย

้ น้ าใจเมตตาท่าน ทานุ บารุงท่านยิงกว่


“อ ันมหาอุปราช นี มี ่ าเล่าปี่ อีก เหตุใดท่านจึงมี
ใจคิดถึงเล่าปี่ อยู ่”


เตียวเลียวได ่
้พูดกับกวนอูโดยใช ้คาว่า มหาอุปราช ซึงในที
นี่ หมายถึ
้ ง โจโฉ เป็ นการใช ้นามแสดง
ให ้เห็นถึงตาแหน่ งของตัวละคร นั้นก็คอื ยศอันสูงของโจโฉ จึงใช ้คาว่า มหาอุปราช และถึงแม้จะใช ้เพียง
คาว่า มหาอุปราช เพียงคาเดียวโดยไม่เอ่ยถึงชือ่ ก็ทาให ้ตัวละครในเรืองและผู
่ อ้ ่านเข ้าใจได ้โดยไม่
่ ้องใช ้ชือว่
จาเป็ นทีจะต ่ ากาลังกล่าวถึง โจโฉ
คุณค่าด้านอารมณ์
เนื่ องจากมีการใช ้ภาษาทีอ่่ านง่ายแล ้ว สามารถทาให ้ผู ้อ่านเข ้าใจความรู ้สึกของตัวละครเป็ นอย่าง
ดี ไม่วา่ จะเป็ น การกระทาของกวนอูทแสดงถึ ี่ งความกตัญญูทมี ี่ ตอ ่ เล่าปี่ แม้จะไม่รู ้ว่าเล่าปี่ ยังมีชวี ต
ิ อยู่

หรือไม่ ทาให ้ผูอ้ า่ นรู ้สึกซาบซึงในความจงร กั ภักดีของกวนอูทมี ี่ ตอ่ เล่าปี่ เสมอ อีกทังความมี
้ น้าใจของโจ
่ ตอ
โแทีมี ่ กวนอูอก ่
ี ด ้วย โจโฉได ้ให ้เตียวเลียวไปเกลี ่
ยกล่ อมของกวนอูให ้มาอยู่กบั ตนก็จริง แต่โจโฉก็มน ั
จะปฏิบต ั ก
ิ บั กวนอูดต ี ลอดมา ไม่วา่ จะเป็ น การจัดแจงทีนั ่ ่ นให ้กวนอูน่ ังทีสู ่ งกว่าขุนนาง พร ้อมทังยั ้ งให ้
่ นเครืองทองแก่
เครืองเงิ ่ กวนอูอก ้ั ่ งทีโจโฉเห็
ี ด ้วย ครงหนึ ่ นกวนอูใส่เสือขาด ้ และม้าผอม โจโฉก็นาเสือตั ้ ว
ใหม่พร ้อมทังม้าฝี้ เท ้าดี และทานุ บารุงกวนอูด ้วยยศศักดิศฤงคาร ์ ่ าให ้ผูอ้ า่ นได ้ร ับรู ้ถึงความตังใจ
ซึงท ้
จริงและความดูแลเอาใจใส่ของโจโฉ
คุณค่าด้านคุณธรรม
สามก๊ก ตอนกวนอูไปร ับราชการกับโจโฉ คุณธรรมทีได ่ ้ร ับ คือ ความซือสั
่ ตย ์ ของ กวนอูทมี
ี่ ตอ

เล่าปี่ เช่น ตอนทีกวนอู
่ ่ จะกลั
ยอมเสียสละตนเองไปอยู่กบั โจโฉเพือที ่ บมาช่วยเหลือเล่าปี่ ระหว่างทีกวนอู

่ มบุญคุณของเจ ้านายเก่า หรือ เล่าปี่ กวนอูได ้คานึ งถึงบุญคุณของ
ยา้ ยไปอยู่กบั โจโฉก ้ไม่ได ้คิดทีจะลื
เล่าปี่ อยู่ตลอดเวลา และยังทดแทนบุญคุณของโจโฉก่อนทีจะกลั ่ บไปหาเล่าปี่ อีกด ้วย
คุณค่าด้านวรรณศิลป์
ภาษาทีใช่ ้ในการแต่ง เป็ นการเล่าเรืองด
่ ่ ้ประโยคทีไม่
้วยบรรยายโวหารทีใช ่ ซบั ซ ้อน ใช ้ภาษา
่ อสถานที่ มีการเขียนทับศัพท ์มาจากภาษาจีนแต่ผู ้อ่านก็
โบราณแต่ก็สามารถเข ้าใจได ้ง่าย แม้วา่ ชือหรื
สามารถอ่านได ้ง่ายเพราะมีวรรณยุกต ์กากับช ัดเจน หากอ่านแล ้วพิจารณาบริบทของเรืองจะท ่ าให ้
ผู ้อ่านเข ้าใจบทบาทในตอนนั้นๆมากขึน้ มีการใช ้สานวนเปรียบเทียบทีคมคาย ่ มีบทสนทนาทีใช ่ ้
วาทศิลป์ ในการเจรจารและ มีการใช ้ภาษาเพือโน้ ่ มน้าวใจอย่างมีประสิทธิผล สมกับพระราชปณิ ธาน
ของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลกมหาราช ทีมี ่ พระราชประสงค ์ให ้วรรณคดีเรืองสามก๊
่ ก

“เป็ นหนังสืออันสมควรแปลไว ้เพือประโยชน์ ราชการบ ้านเมือง”
คุณค่าด้านสังคม

ในเรืองสามก๊ ่
ก ตอน กวนอูไปร ับราชการกับโจโฉ ได ้แสดงถึงค่านิ ยมในเรืองของความเชื ่
อของคน

ในสังคม เช่น มีการเชือในเรื ่
องของโชคลาง ่
อย่างความเชือในเรื ่
องความฝั ่ องบุ
น และความเชือเรื ่ ญ

กรรมทีตนได ่
้กระทาไว ้ รวมไปถึง การสะท ้อนเกียวกั
บขนบธรรมเนี ยมประเพณี ตา่ งของสังคมจีน เช่น
้ หรือ การให ้ของกานัล
การจัดเลียง

You might also like