6 Corrosion

You might also like

You are on page 1of 37

โปรแกรมวิชาเทคโนโลยีอต

ุ สาหกรรม
คณะวิทยาศาสตร ์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยราชภัฎ
วิชาวัสดุศาสตร ์
(Material Scince)
มหาวิทยาลัยราชภัฎ
ปร ัชญ
ก ้าวทั
า น
มุ ่ ง ่
มั

เทคโนโลยี
ผลิ

สามัคคีคนดีส ่ ู

บทเรียนที 6
การกัดกร่อนของโลหะและการ
ป้ องกัน

การกัดกร่อนของโละหและการ 1
การกัดกร่อนของโลหะและ
การป้ องกัน

เมือโลหะถู กใช ้งาน
หรือทิงไว้ ้ในอากาศ พืนที้ ่
บริเวณผิวของโลหะจะมี
การทาปฏิก ิรยิ า กับ
ออกซิเจน และความชืน้
ทาให ้โลหะเกิดการผุ
กร่อน
หรือการติดตังให้ ้
โลหะต่างชนิ ดกัน สัมผัส
สาเหตุทก่ ่
ี อให้เกิดการกัด
กร่อ น ้ ้จากหลายสาเหตุ
การกัดกร่อนของโลหะจะเกิดขึนได
่ ปได ้ดังนี ้
ด ้วยกัน ซึงสรุ
1. เกิดจากปฏิก ิรย ิ าทางเคมีโดยตรง เกิดขึนได้ ้

2 ลักษณะ คือ การทีโลหะสั มผัสกับ ออกซิเจน และ
ความชืน้ จะทาให ้เหล็กกลายเป็ นเหล็กไฮดรอกไซด ์
หรือสนิ มเหล็ก และเมือน ่ าโลหะไปผสมกับกรดทาให ้
เหล็กกลายเป็ นเหล็กซ ัลเฟตจะมีผลทาให ้เกิดการกัด
กร่อนได ้
2. เกิดจากปฏิก ิรย ิ าไฟฟ้า - เคมี จะมีการไหล
3. เกิดจากการถ่ายเทประจุอเิ ล็กตรอน
ระหว่างโลหะด้วยกัน โลหะแต่ละชนิ ดจะมีคา่ ความ
ต่างศักย ์ไฟฟ้ า ทีแตกต่ ่ างกันโลหะทังสองชนิ้ ่ ความ
ดทีมี
โลหะ ่
ต่างศักย ์ไฟฟ้ าทีแตกต่างกัน จะมีการถ่ายเทประจุ
ค่าความต่างศ ักย ์ทางไฟฟ้า

่ ทองค
อิเล็กตรอนซึงกั นาและกันโดยทีอิ ่ เล็ก1.68 ่
ตรอนจะวิงออกจาก
่ ้
ทองแดง
โลหะทีเป็ น ขัวบวกไปหาโลหะที ่ 0.52 ้
เป็ นขั วลบ ทาให ้เกิด
เงิน 0.80
่ ตะกัว่ เป็
การผุกร่อนทีโลหะที ่ นขัวบวก
้ - 0.13
ดีบุก - 0.14
เหล็ก - 0.44
อะลูมเิ นี ยม 0.67
นิ เกิล - 0.25
โครเมียม่ - 0.56
สังกะสี - 0.76
ไฮโดรเจน 0.00
4. เกิดจากสภาพแวดล้อม สภาวะแวดล ้อมมีผล
ทาให ้เกิดการกัดกร่อนได ้เร็วขึน้
เช่น การนาโลหะไปใช ้งานในพืนที ้ ที
่ ใกล
่ ้ชายทะเลจะทา
่ วขึนหรื
ให ้เกิดการผุกร่อนทีเร็ ้ อการนาเอา โลหะไปใช ้
งานในบริเวณทีอุ ่ ณหภูมสิ งู ก็สง่ ผลทาให ้เกิดการผุ
้ นกัน ตัวอย่างเช่น การนาโลหะไปใช ้ทา
กร่อนเร็วขึนเช่
ท่อไอเสียรถยนต ์ หรือปล่องไฟ เราจะพบว่าชินส่ ้ วน
้ การผุกร่อนทีเร็
เหล่านี จะมี ่ วขึน้
การป้ องกันการกัดกร่อน
ของโลหะ ่
วิธใี นการป้ องกันไม่ให ้เกิดการกัดกร่อนในโลหะเพือ
เป็ นการยืดอายุการใช ้งานของโลหะได ้ดังนี ้
1. กรรมวิธก ี ารเคลือบผิว การเคลือบผิวโลหะจะ
้ วของโลหะ ไปสัมผัสโดยตรง
เป็ นการป้ องกันไม่ให ้พืนผิ
กับความชืน้ หรือนาและอากาศกรรมวิ
้ ธท ี่ ยมนามาใช ้
ี นิ
สาหร ับการเคลือบผิวของโลหะมีอยู่ด ้วยกัน 3 ชนิ ด
ได ้แก่
1.1 การเคลือบผิวโลหะด ้วยสารอินทรีย ์ การเคลือบ
ด ้วยวิธน ้ อนข ้างจะมีราคาถูก และกรรมวิธท
ี ี ค่ ี่
ี ไม่
ซ ับซ ้อน แต่จะขาดคุณสมบัตใิ นการทนต่อความร ้อน
1.3 การเคลือบผิวด ้วย
กรรมวิธท ี างเคมี
่ ยมนามาใช ้ในการ
ทีนิ
เคลือบผิวโลหะมีอยู่ 2 วิธ ี
คือ การรมดาจะเป็ นการ
นาเอาโลหะ ทาด ้วย
้ นเครือง
นามั ่ หรือนามั
้ น

ลินสีด แล ้วนาโลหะทีทา
้ นไป เผาที่
ผิวด ้วยนามั
อุณหภูมป ิ ระมาณ 450 ํ
2. กรรมวิธก ี าร
ตกแต่งผิวโลหะ การ
ตกแต่งให ้ผิวของโลหะทีมี ่
ความเงามันเนื่ องจากผิว

ทีละเอี ยด เงามัน จะช่วย
้ อ
ไม่ให ้ความชืนหรื
สารเคมีแทรกตัวเข ้าไป
ทาปฏิก ิรยิ ากับโลหะได ้
ยากขึน้ กรรมวิธก ี าร
ตกแต่งผิวโลหะจะมีอยู่ 2
วิธ ี คือ
3. การนาโลหะผสมมา
ใช้งาน โลหะผสมจะมีการเพิม ่
คุณสมบัตด ิ ้วยการเติมธาตุผสม
ต่างๆ ให ้มีคณุ สมบัติ ทีเหมาะ ่
ต่อการใช ้งาน เช่น เหล็กกล ้าไร ้
สนิ ม หรือเหล็กกล ้าสแตนเลส
มีการเติมธาตุโครเมียม ่ ลงไปใน
เหล็กกล ้าชนิ ดนี ้ เมือโครเมี
่ ่
ยม
รวมตัวกับออกซิเจนจะเกิด

โครเมียมออกไซด ่
์ ซึงการเกิ ด

โครเมียมออกไซด ่ เวณผิว
์ทีบริ
ของเหล็กกล ้า จะมีลก ั ษณะเป็ น
4. การนาเอาวัสดุ
ประเภทอโลหะมาใช้งาน
วัสดุประเภท อโลหะ จะไม่มี
การเกิดปฏิก ิรยิ าไฟฟ้ าเคมี
จึงช่วยลดปัญหาในเรืองการ ่
กัดกร่อนได ้ แต่มข ี ้อเสียใน
่ 5. การเปลียนแปลงสิ่ ่
งแวดล้ อม การ
เรืองของความ แข็งแรง การ
เปลี ่ ่
ทนต่อความร ้อนหรือ้อมจะเป็ นการตัดวงจรการ
ยนแปลงสิ งแวดล
เกิอุดณปฏิ ก ิ ร ย
ิ าเคมี ใ นการกั ดกร่ อ นซึ ่ นอีกวิธก
งเป็ ี ารหนึ ่ง
หภูมส ิ งู

ทีจะลดการกั ดกร่อน การเปลียนแปลง ่

สิงแวดล ้อมทีนิ ่ ยมนามาใช ้ คือ การลดความเข ้มข ้น
่ ้
1. การกัดกร่อนทีเกิดขึน
สม่าเสมอทัวผิ
่ วหน้า
(General or Uniform Corrosion)

ปฎิก ิรยิ าเคมีหรือ


ปฎิก ิรยิ าเคมีไฟฟ้ า การ
กัดกร่อนเกิดขึนอย่้ าง
สม่าเสมอบนผิวหรือเป็ น
บริเวณกว ้าง มีผลให ้โลหะ

บางเรือยๆ ้
หรือมีนาหนั ก
หายไป คือ เบาลงเรือยๆ ่
การป้ องกัน
่ ดขึนสม
การกัดกร่อนทีเกิ ้ ่าเสมอ
่ วหน้า
ทัวผิ
ี่
(1) เลือกใช ้วัสดุทเหมาะสมและอาจท าการ
เคลือบผิวด ้วย

(2) ใช ้สารยับยังการกัดกร่อน
(3) ใช ้การป้ องกันแบบคาโทดิก
(cathodic protection)
2. การกัดกร่อนแบบกัลวานิ ก
(Galvanic Corrosion)
โลหะแต่ละชนิ ดจะมี
ค่าศักย ์เฉพาะตัว ดังนั้นถ ้า
หากมีโลหะ 2 ชนิ ด สัมผัส
กันอยู่และมี สารละลาย
อิเลคโตรไลท ์และส่วนโลหะ

เชือมต่ อทีน่ าไฟฟ้ า หรือ
ต่อกันอย่างครบวงจรไฟฟ้ า

เคมี เมือเวลาผ่ านไป โลหะ
่ กย ์ต่ากว่าจะเกิดการ
ทีศั

การป้ องกัน
การกัดกร่อนทีเกิ ่ ดขึนสม ้ ่าเสมอ
ทั ่ วหน้า
วผิ
ี่ คา่ galvanic Series ใกล ้เคียงกัน
1. เลือกใช ้วัสดุทมี
่ นได ้
เท่าทีเป็
่ ตราส่วนของพืนที
2. หลีกเลียงอั ้ คาโธด/อาโนด
่ ้ ่
ปร ับให ้พืนที

ทังสองใกล ้เคียงกัน
3. ใช ้ฉนวนกันในบริ้ เวณทีใช ่ ้โลหะต่างชนิ ดกันมาสัมผัสกัน
4. ใช ้สารเคลือบผิวอย่างระมัด ดูแลการเคลือบผิวให ้อยู่ใน
สภาพดี
5. เติมสารยับยัง้ เพือลดความรุ
่ นแรงของการกัดกร่อน
6. ออกแบบทีให ่ ้สามารถเปลียนชิ ่ ้
นงานที ่ นอาโนดได ้ง่าย
เป็
้ สดุทสามที
7. ติดตังวั ี่ ่ คา่ ความต่างศักย ์น้อยกว่าโลหะทังสอง
มี ้
่ ้เกิดการกัดกร่อนแทน
เพือให
3. ่ ับ
การกัดกร่อนในทีอ
(Crevice Corrosion)
้ อั
ในพืนที ่ บบนผิว
โลหะทีสั่ มผัสโดยตรงกับ
สารกัดกร่อน การกัด
กร่อนประเภทนี เกี ้ ยวข
่ ้อง
กับปริมาณของสารละลาย
่ ้างอยู่ตามพืนที
ทีค ้ ที ่ เป็
่ น
หลุม หรือพืนที้ ที ่ เป็
่ นซอก
บริเวณแคบๆทีมี ่
สารละลายเข ้าไปขังอยู่ได ้
การป้ องกัน
่ ับ
การกัดกร่อนในทีอ

1. ใช ้การเชือมแบบ butt joint แทนการยาหมุ ้ ดหรือการ
ยึดด ้วยสลักเกลียว
2. ปิ ดบริเวณทีเป็ ่ นทีอั ่ บโดยการเชือมหรื ่ อการบัดกรี
3. ออกแบบถังความดันให ้สามารถระบายน้าได ้ดี พยายาม
่ ปร่างทีเป็
หลีกเลียงรู ่ นมุม
4. ตรวจสอบเครืองมื ่ อและสารแปลกปลอมอยู่เสมอ
5. กาจัดของแข็งทีลอยอยู ่ ่กอ่ นเข ้ากระบวนการผลิต
6. กาจัดวัสดุเปี ยกทีตกค ่ ้างอยู่ ในระหว่างการหยุดซ่อม
ประจาปี
7. จัดสภาวะสิงแวดล่ ้อมให ้มีความสม่าเสมอ
่ นของแข็งและไม่มก
8. ใช ้ปะเก็นทีเป็ ี ารดูดซึม

9. ใช ้การเชือมแทนการม้ วนเป็ นท่อ
4. การกัดกร่อนแบบรู เข็ม
(Pitting Corrosion)
การกัดกร่อนแบบสนิ มขุม
หรือการกัดกร่อนแบบรู
่ ดขึน้
เข็ม เป็ นปัญหาทีเกิ
มากโดยเฉพาะกับโลหะที่
ได ้พัฒนาให ้มีฟิล ์ม
ป้ องกันการกัดกร่อนแบบ
่ วหน้าได ้แล ้ว แต่เมือ
ทัวผิ ่
ฟิ ล ์มบางแตกแยกออก
เฉพาะบางที่ ก็จะเกิดการ

การป้ องกัน
การกัดกร่อนแบบรู เข็ม
โดยทัวไป่ วิธท ี่ ้ในการป้ องกันการกัดกร่อนในทีอั
ี ใช ่ บก็
สามารถนามาใช ้ในการป้ องกันการกัดกร่อนแบบ pitting
ได ้เช่นกัน วัสดุทมี ี่ การกัดกร่อนหรือมีแนวโน้มทีจะเกิ ่ ดการกัด
กร่อนแบบ pitting ไม่ควรนามาใช ้ในการสร ้างโรงงานหรือ
่ อ วัสดุแต่ละชนิ ดมีความต ้านทานต่อการกัดกร่อนที่
เครืองมื
ต่างกัน เช่นการเติมโมลิดน ิ ่ ัมลงไปในเหล็กกล ้าไร ้สนิ ม 304
ในปริมาณ 2 % ซึงท ่ าให ้ได ้เหล็กกล ้าไร ้สนิ ม 316 โดยจะ

เพิมความต ้านทานต่อการกัดกร่อนแบบ pitting โดยจะทา
ให ้เกิดผิว passive ทีมี ่ ความเสถียรมากกว่า คือมี
ความสามารถในการป้ องกันการกัดกร่อนมาก วัสดุ 2 ชนิ ดนี ้
ประพฤติตวั ต่างกันคือชนิ ดหนึ่ ง ไม่เหมาะสมต่อการนาไปใช ้
ในน้าทะเลแต่อก ี ชนิ ดหนึ่ งสามารถใช ้ได ้ในบางกรณี
5. การกัดก่อนแบบการสู ญเสีย
ส่วนผสมบางตวั
(Selective leaching)
เป็ นรูปแบบหนึ่ งของ
การกัดกร่อนซึงเกิ่ ด
โดยการละลายของ
ธาตุบางตัวจาก
โลหะอัลลอยด ์ เป็ นผล
จากการกระทาซึง่

สิงแวดล ้อมไล่โลหะที่
่ ด ออก
ว่องไวทีสุ
การป้ องกัน
การกัดกร่อนแบบเสียส่วนผสม
บางส่วน
การป้ องกัน
1.ลดความรุนแรงของสภาวะแวดล้อม
เช่นกาจัดออกซิเจนจากสารละลาย
2.ใช้การป้ องกันแบบคาโธด
6. การกัดกร่อนตามขอบเกรน
(Intergranular Corrosion)
โดยขอบเกรนจะแสดง

ตัวเป็ นขัวอาโนด

(สูญเสียเนื อโลหะ)
ภายในเกรนจะแสดงตัว

เป็ นขัวคาโธด หาก
บริเวณขอบเกรนมี

อนุ ภาคอืนๆมา
ตกตะกอนอยู่ หรือมี
การป้ องกัน
การกัดกร่อนตามขอบเกรน

1.การทา heat treatment ่ ณหภูมส


ทีอุ ิ งู ซึง่
ปกติจะเรียกว่า quench annealing หรือ
solution quenching


2.การเติมธาตุบางตัวทีสามารถรวมตั
วเป็ น
คาร ์ไบด ์ได ้ดี (stabilizer)
7. การกัดกร่อน-สึกกร่อน
(Erosion Corrosion)

การกัดกร่อนประเภทนี ้

เริมจากการกั ดกร่อนที่
มีของไหล ไหลผ่าน
โลหะและมักไหลด ้วย
ความเร็วสูง หากของ
ไหลนี มี ้ ฤทธิกั์ ดกร่อน

สูง เมือโลหะเริ ่ กจะ
มสึ
การป้ องกัน
การกัดกร่อนแบบการสึกกร่อน
8. การกัดกร่อนเนื่ องจากความ
ล้า
(Fatigue Corrosion)

การกัดกร่อนแบบนี ้

เกิดเมือขนาดแรงเค ้น
่ าค่า yield point
ตากว่
และเกิดเมือถู่ กกระทา
ซาแล ้ ้วซาเล่
้ าใน
ช่วงเวลาหนึ่ ง และใน

สิงแวดล ่ ฤทธิกั
้อมทีมี ์ ด
การป้ องกัน
การกัดกร่อนแบบการสึกกร่อน
9. การกัดกร่อนแบบถู ครู ด
(Fretting Corrosion)
่ ด
เป็ นการกัดกร่อนทีเกิ
ในสภาวะบรรยากาศ
้ ่
ปกติ บริเวณพืนที
ผิวสัมผัสระหว่างโลหะ

เมือโลหะนั ้นกาลังถูก
แรงกระทา

ปัจจัยพืนฐานของการ
เกิด F
การป้ องกัน
การกัดกร่อนแบบถู ครู ด
1. ่ ้วยนามั
หล่อลืนด ้ นทีมี
่ ความหนื ดตา่
คุณสมบัตก ิ ารเกาะยึดสูง
่ load เพือลด
2. เพิม ่ slip ระหว่างผิวหน้า
สัมผัส
่ ดซ ับการสันสะเทื
3. ใช ้ปะเก็นเพือดู ่ อน
ป้ องกันออกซิเจน

4. เพิมความแข็ งแรงผิวหน้าสัมผัส
10. การกัดกร่อนแบบรู พรุน
เป็ นการกัดกร่อน
เฉพาะที่ ซึงเกิ
่ ดจาก
ผลรวมของความ
เสียหายบนผิวโลหะ
เป็ นแห่งๆ อัน
เนื่ องมาจาก
ฟองอากาศทีมาจั่ บตัว
กันซาแล้ ้วซาเล่
้ า หรือ
การป้ องกัน
การกัดกร่อนแบบการสึกกร่อน
1. ปร ับปรุงการออกแบบ เพือให่ ้มีการ

เปลียนแปลงของ hydrodynamic pressure
น้อยทีสุ่ ด
่ งแรงกว่า มีความ
2. เลือกใช ้โลหะทีแข็
ต ้านทานต่อการกัดกร่อนดีกว่า
้ วนบริเวณทีมี
3. ชินส่ ่ โอกาสเกิด
cavitation มาก ให ้แต่งผิวให ้เรียบมาก
11. การกัดกร่อนแบบได้ร ับความ
เค้น
(Stress Corrosion)
เป็ นการกัดกร่อน
เฉพาะที่ ซึงเกิ
่ ดจาก
ผลรวมของความ
เสียหายบนผิวโลหะ
เป็ นแห่งๆ อัน
เนื่ องมาจาก
ฟองอากาศทีมาจั่ บตัว
กันซาแล้ ้วซาเล่
้ า หรือ
การป้ องกัน
การกัดกร่อนแบบได้ร ับความเค้น
12. ้
การกัดกร่อนแบบใต้ชน ั
เคลือบ
(filiform corrosion)
เป็ นการกัดกร่อนที่

เกิดขึนภายใต ้ชน้ั
เคลือบ เช่น การทาสี
พลาสติกบนผิว
เหล็กกล ้า หรือ การ
เคลือบแลกเกอร ์บนผิว
แผ่นเหล็กเคลือบดีบุก
จัดเป็ นการกัดกร่อน
การป้ องกัน
้ั ว
การกัดกร่อนแบบไต้ชนผิ
เคลือบ

You might also like