You are on page 1of 36

การเคลือนที ่ งเส ้น
เชิ

1 เป็ นแนวตรง ไม่ย ้อนกลับ (1


มิติ )
2 เป็ นแนวตรง ย ้อนกลับ (1 มิติ
)
3 เป็ นแนวโค ้งพาราโบลา ( 2
มิติ )
4 เป็ นวงกลม ( 2 มิต)ิ

5 เป็ นแนวใดก็ได ้ ( 3 มิต)ิ



การเคลือนที ่ งเส ้น แนวตรงไม่ย ้อนกลับ ทีดู
เชิ ่ ง่ายสุด

คือการเคลือนที ่ ทีสมการเคลื
่ ่
อนที ่
ตามแนวแกน
x,y,z แกนใดแกนหนึ่ ง
S  (4t )iˆ เมต S  (4t )iˆ เมต
ร ร
S  (4t  2)iˆ เมต S  (4t  2)kˆ เมต
ร ร
S  (4t 2  2) ˆj เมต



ตัวอย่าง อนุ ภาค เคลือนที ่ S  4tiˆ
ตามสมการ
ในหน่ วยเมตร
1 ณ วินาที 1 อนุ ภาคอยูท ี่
่ ใดบนแกนพิ ั ฉาก การกระจัด
กด
และระยะทางเท่าใด 
แทนค่า t=1 S  4(1)iˆ  4iˆ
z

y

S  4iˆ
การกระจัด 4 เมตร ทิศ +x
x
ระยะทาง 4 เมตร
2 ณ วินาที 2 อนุ ภาคอยูท ี่
่ ใดบนแกนพิ
กดั ฉาก การกระจัด
และระยะทางเท่าใด


แทนค่า t=2 S  4(2)iˆ  8iˆ
z

y

S  8iˆ การกระจัด 8 เมตร ทิศ +x
ระยะทาง 8 เมตร
x

ลองแทนค่าทีเวลาอืน่ ๆ จะพบว่า แนว

การเคลือนที ่ นแนวตรง ไม่ย ้อนกลับ
เป็

x

3 อัตราเร็วเฉลียระหว่
างวินาที 1 ถึง 2

t 1
S 4 m
4 y
t 2 8

S 4 m
Vav    4 m/s
x t 1 s

อัตราเร็วเฉลีย่ 4 m/s ตอบ



4 ความเร็วเฉลียระหว่
างวินาที 1 ถึง 2

t 1 y
S  4iˆ m
t 2


x  S 4iˆ m
Vav    4iˆ m / s
t 1s
ความเร็วเฉลีย่ 4 m/s ทิศ +x ตอบ

5 อัตราเร็วเฉลียระหว่
างวินาที 1 ถึง 3

t 1
4
y
S 8 m
12
t 3

x S 8 m
Vav    4 m/s
t 2 s
ความเร็วเฉลีย่ 4 m/s ทิศ ตอบ

6 ความเร็วเฉลียระหว่
างวินาที 1 ถึง 3

t 1
 y
S  8iˆ m

t 3

 
x  S 8i m
Vav    4iˆ m / s
t 2 s
ความเร็วเฉลีย่ 4 m/s ทิศ +x ตอบ
ให ้ทดลองหาอัตราเร็วเฉลีย่ และความเร็ว

เฉลียระหว่ ่ ๆ จะพบว่า
างช่วงเวลาอืน
อัตราเร็วเฉลีย่ 4 m/s และความเร็วเฉลีย่
4 m/s ทิศ +x เสมอ

นั่นคือ อนุ ภาคในตัวอย่างนี ้ มี


อัตราเร็วคงที่ และ ความเร็วคงที่

7 ความเร็ว(บัดดล) ทีเวลาใดๆ


  ds d (4tiˆ)
v  vin    4iˆ m / s
st dt

แสดงว่า ไม่วา่ เวลาจะเป็ นเท่าใด ความเร็วจะ


เท่ากับ 4 m/s ทิศ +x เสมอ

นั่นคือ อนุ ภาคมี


ความเร็ว คงที่

8 อัตราเร็ว(บัดดล) ทีเวลาใดๆ

อัตราเร็ว คือ ขนาดของ


ความเร็ว
จะได ้ อัตราเร็ว เท่ากับ 4 m/s

แสดงว่า ไม่วา่ เวลาจะเป็ นเท่าใด อัตราเร็วจะเท่ากับ 4


m/s ทิศ เสมอ

นั่นคือ อนุ ภาคมี


อัตราเร็ว คงที่
9 ความเร่ง(บัดดล) และ อัตราเร่ง(บัดดล)
เป็ นเท่าใด

 dv d (4iˆ)
a  0
dt dt

อัตราเร่ง คือ ขนาดความเร่ง

ดังนั้น ความเร่ง และอัตราเร่ง เป็ น ศูนย ์


หรือไม่เกิดความเร่งและอัตราเร่ง


ตัวอย่าง(การบ ้าน) อนุ ภาคเคลือนที ่S  4tiˆ
ตามสมการ

1 จงหาตาแหน่ ง การกระจัด ระยะทาง ณ วินาที


1 และ 3
2 จงหาอัตราเร็วเฉลีย่ และความเร็วเฉลีย่ ระหว่าง
วินาที 1 ถึง 3
3 จงหาอัตราเร็ว และความเร็ว ณ เวลาใด

4 จงหาอัตราเร็ว และความเร็ว ณ เวลาวินาที 1


และ 3
5 จงหาอัตราเร่ง และ ความเร่ง ณ เวลาใด

6 จงหาอัตราเร่ง และ ความเร่ง ณ วินาที 1 และ 3

7 อัตราเร็ว ความเร็ว อัตราเร่ง ความเร่ง



อะไรบ ้างทีคงที ่
 2ˆ
่ ่ S  4t i
ตัวอย่าง อนุ ภาค เคลือนทีตามสมการ
ในหน่ วยเมตร
1 ณ วินาที 1 อนุ ภาคอยูท ี่
่ ใดบนแกนพิ ั ฉาก การกระจัด
กด
และระยะทางเท่าใด 

แทนค่า t=1 S  4 (1) i  4iˆ
z

y

S  4iˆ
การกระจัด 4 เมตร ทิศ +x
x
ระยะทาง 4 เมตร
2 ณ วินาที 2 อนุ ภาคอยูท ี่
่ ใดบนแกนพิ
กดั ฉาก การกระจัด
และระยะทางเท่าใด

 2ˆ
แทนค่า t=2
S  4( 2) i  16iˆ
z

y

S  16iˆ การกระจัด 16 เมตร ทิศ
+x
ระยะทาง 16 เมตร
x

ลองแทนค่าทีเวลาอืน่ ๆ จะพบว่า แนว

การเคลือนที ่ นแนวตรง ไม่ย ้อนกลับ
เป็

x

3 อัตราเร็วเฉลียระหว่
างวินาที 1 ถึง 2

t 1
S  12 m
4 y
t 2 16

S 12 m
Vav    12 m / s
x t 1s

อัตราเร็วเฉลีย่ 12 m/s
ตอบ

4 ความเร็วเฉลียระหว่
างวินาที 1 ถึง 2

t 1 y
S  12iˆ m
t 2


x  S 12iˆ m
Vav    12iˆ m / s
t 1s
ความเร็วเฉลีย่ 12 m/s ทิศ +x ตอบ

5 อัตราเร็วเฉลียระหว่
างวินาที 1 ถึง 3

t 1
4
y
S  32 m
36
t 3

x S 32 m
Vav    16 m / s
t 2 s
ความเร็วเฉลีย่ 16 m/s ทิศ ตอบ

6 ความเร็วเฉลียระหว่
างวินาที 1 ถึง 3

t 1
 y
S  32iˆ m

t 3

 
x  S 32i m
Vav    16iˆ m / s
t 2 s
ความเร็วเฉลีย่ 16 m/s ทิศ +x ตอบ
ให ้ทดลองหาอัตราเร็วเฉลีย่ และความเร็วเฉลีย่
่ ๆ จะพบว่า อัตราเร็ว
ระหว่างช่วงเวลาอืน
เฉลีย่ และความเร็วเฉลีย่ จะเพิมขึ
่ นเรื
้ อย
่ ๆ

นั่นคือ อนุ ภาคในตัวอย่างนี ้ มี


่ น้ และ ความเร็ว
อัตราเร็วเพิมขึ
่ น้
เพิมขึ

7 ความเร็ว(บัดดล) ทีเวลาใดๆ


  ds d (4t 2iˆ)
v  vin    8tiˆ m / s
st dt

นั่นคือ อนุ ภาคมี


ความเร็วไม่คงที่

8 อัตราเร็ว(บัดดล) ทีเวลาใดๆ

อัตราเร็ว คือ ขนาดของ


ความเร็ว
จะได ้ อัตราเร็ว เท่า8
กัtบ m / s

นั่นคือ อนุ ภาคมี


อัตราเร็วไม่คงที่
9 ความเร่ง(บัดดล) และ อัตราเร่ง(บัดดล)
เป็ นเท่าใด

 dv d (8tiˆ)
a   8iˆ m / s 2
dt dt

อัตราเร่ง คือ ขนาดความเร่ง

แสดงว่า อัตราเร่งเท่8
ากัm
บ / s2

ดังนั้น ความเร่ง และอัตราเร่ง คงที่




ตัวอย่าง อนุ ภาคเคลือนที ่ S  (40t  5t 2 )kˆ
ตามสมการ
เมตร ่ ่ นอย่างไร
1 แนวการเคลือนที
เป็
แทนค่า ณ เวลาต่าง ๆ แล ้วนาไปลงพิกด ั
บนแกนพิกดั ฉาก
t  0 ; S  (40(0)  5(0) 2 )kˆ  0
 2 ˆ
t  1 ; S  (40(1)  5(1) )k  35kˆ

t  4 ; S  (40(4)  5(4) 2 )kˆ  80kˆ

t  7 ; S  (40(7)  5(7) 2 )kˆ  35kˆ

t  8 ; S  (40(8)  5(8) 2 )kˆ  0

t  10 ; S  (40(10)  5(10) 2 )kˆ  100kˆ

t 0 ; S 0

t 1 ; S  35kˆ

t4 ; S  80kˆ

t 7 ; S  35kˆ

t 8 ; S 0
y

t  10 ; S  100kˆ

x
2 การกระจัด และระยทาง ณ วินาที 1,4,7,8 และ 10
เป็ นเท่าใด

t  1 ; S  35kˆ

ทีวิ่ นาที 1 อนุ ภาคได ้การกระจัด 35 เมตร S  35kˆ

ทิศ +z
ทีวิ่ นาที 1 อนุ ภาคได ้การระยะทาง 35 เมตร

t  4 ; S  80kˆ

ทีวิ่ นาที 4 อนุ ภาคได ้การกระจัด 80 เมตร S  80kˆ
ทิศ +z
ทีวิ่ นาที 4 อนุ ภาคได ้การระยะทาง 80 เมตร

t  7 ; S  35kˆ

ทีวิ่ นาที 1 อนุ ภาคได ้การกระจัด 35 เมตร ทิศ


+z
ทีวิ่ นาที 1 อนุ ภาคได ้การระยะทาง 80+(80-35)=125 
เมตร S  35kˆ

t 8 ; S 0

ทีวิ่ นาที 8 อนุ ภาคได ้การกระจัด 0 เมตร

ทีวิ่ นาที 8 อนุ ภาคได ้การระยะทาง 80+80=160


เมตร

t  10 ; S  100kˆ

ทีวิ่ นาที 10 อนุ ภาคได ้การกระจัด 100 เมตร


ทิศ - z
ทีวิ่ นาที 10 อนุ ภาคได ้การระยะทาง
80+80+100=260 เมตร


S  100kˆ

3 จงหาอัตราเร็วเฉลียระหว่
างวินาที 0
ถึงวินาที 4
S 80 m
Vav    20 m / s
t 4 s


4 จงหาความเร็วเฉลียระหว่างวินาที 0 
ถึงวินาที
 4 S  80kˆ
 S 80kˆ m
Vav    20kˆ m / s
t 4 s

5 จงหาอัตราเร็วเฉลียระหว่
างวินาที 0
ถึงวินาที 8
S 160 m
Vav    20 m / s
t 8 s


6 จงหาความเร็วเฉลียระหว่ างวินาที 0
ถึงวินาที 8
 S 0
Vav    0 m/ s
t 8 s

7 จงหาอัตราเร็วเฉลียระหว่
างวินาที 0 ถึง
วินาที 10
S 260 m
Vav    2.6 m / s
t 10 s


8 จงหาอัตราเร็วเฉลียระหว่างวินาที 0 ถึง 
S  100kˆ
วินาที 10

 S  100kˆ
Vav     10kˆ m / s
t 10 s
10 ความเร็ว ณ เวลาใด ๆ

 d
v  (40t  5t 2 )kˆ  (40  10t )kˆ
dt

11 จงหาความเร็ว และอัตราเร็ว ณ วินาที 1,4,8


และ10
t  1 ; v  (40  10(1)) kˆ  30kˆ m / s v=30 m

t  4 ; v  (40  10(4)) kˆ  0 m / s v=0 m

t  8 ; v  (40  10(8)) kˆ  40kˆ m / s v=40 m

t  10 ; v  (40  10(10)) kˆ  60kˆ m / s v=60 m

v  0 m/ s


v  30kˆ m / s


v  40kˆ m / s


v  60kˆ m / s
12 ความเร่ง ณ เวลาใด ๆ เป็ นเท่าใด

 d
a  (40  10t )kˆ  10kˆ m / s 2
dt

13 ความเร่ง ณ วินาที 1,4,8 และ 10 เป็ น


เท่าใด
ึ ้ บเวลา ดังนั้น
จะเห็นว่า ความเร่งไม่ขนกั
ความเร่งจะคงที่
ดังนั้น ความเร่ง เท่ากั10
บ kˆ m / s 2
เสมอ

You might also like