You are on page 1of 18

สายน้าคือ

โลหิต
SUSTAINABLE DEVELOPMENT -
GREEN ECONOMY

สาริศา เกียรติกวานกุล (เหมยลี่)


ณัฐนันท์ แจ่มจรัสอโณทัย (เอ็มเอ็ม)
ฑณรดา บัวกลีบ (น้าพั้นซ์)
แพรวไพลิณ วรรณเกษม (มิน ้ ท์)
ฌีน ฉันตระกูลเกษม (ฌีน)
รณกร จิตรโชติวิสุทธิ์ (ไผ่)
ทีม
่ าและ ประเทศไทยเป็ นประเทศเกษตรกรรม น้าจึง
ความสา มีความสาคัญต่อการดาเนินชีวิตของคนไทย
เป็ นอย่างมาก ทัง ้ ในด้านอุปโภคและบริโภค
คัญ แต่ในปั จจุบันพวกเรากลับใช้น้าอย่างไม่
คานึงถึงความสาคัญของน้า เนือ ่ งจากทุก
้ ม่น้าลาคลองหลายแห่งทัง
วันนีแ ้ ในประเทศ
ของเรา มีความแตกต่างจากในอดีตอย่าง
ชัดเจน ทัง ้ มีสีดา ส่งกลิน่ เหม็นโชย
กลายเป็ นแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้า ยุง และ
แมลงวันตอมของเน่าเสียทีอ ่ ยู่ในแม่น้า เป็ น
แหล่งสะสมเชือ ้ โรคชัน
้ ดีในชุมชนต่างๆ
การบําบัดน้ําเสียแบบฟิล์ม
ชีวภาพที่เจริญเติบโต
บน้เมมเบรน้ชน้ิดเส้น้ใย
กลวง
Wastewater treatment by
biofilm growing on hollow fiber
membrane
การบําบัดนํ้าเสียด้วยระบบฟิล์มชีวภาพ การบาบัดน้าประเภทนี้มีกระบวนการที่ทาให้
จุลินทรียยึดเกาะและเจริญเติบโตบนผนังของเมมเบรนชนิดเส้นใยกลวง วิธีนี้ถูกทาการศึกษา
ในห้องปฏิบัติการโดยใช้ถังพลาสติกภายในบรรจุเมมเบรนชนิดเส้นใยกลวงเป็ นถังปฏิกรณ์
และใช้เครื่องเติมอากาศขนาดเล็กเป็ นอุปกรณในการควบคุมการเกิดสภาวะที่มีอากาศและสภาวะ
ที่ขาดอากาศภายในถังปฏิกรณ์

โดยปกติแล้วระบบบาบัดนําเสียแบบฟิล์มชีวภาพ ส่วนใหญ่สามารถบาบัดสารอาหาร
ไนโตรเจนได้ แต่มีข้อจากัดในเรื่องของปริมาณสารอินทรีย (ซึ่งเป็ นแหล่งพลังงานของจุลินท
รียในกระบวนการ ดีไนตริฟเิ คชัน) ไม่เพียงพอทาให้ไม่สามารถเกิดกระบวนการนี้ที่สมบูรณ์ได้
หากต้องการให้เกิดกระบวนการดังกล่าวอย่างสมบูรณ์จาเป็ นต้องมีการแยกกระบวนการบาบัด
ให้มีความซับซ้อนเพิ่มมากขึ้นและค่าลงทุนที่สูงขึน
้ ซึ่งจะช่วยเรื่องการกาจัดสารอาหาร
ไนโตรเจนให้หมดไป

การควบคุมระยะเวลาการทดลอง
4 ชั่วโมง 6 ชั่วโมงและ 8 ชั่วโมง

ไน้ตริฟเิ คชัน้ Nitrification

ไนตริฟเิ คชันคือ การเปลี่ยนแปลงสารประกอบไนโตรเจนไป


เป็ นไนไตรท์ และไนเตรท
ผลการวิจัย

ผลการวิจัยฉบับนี้แสดงให้เห็นวาระยะเวลาในการกัก
เก็บนําในระบบที่ 8 ชั่วโมงนั้นมีประสิทธิภาพในการบาบัด
สารอินทรีย์คาร์บอนและไนโตรเจนทัง ้ หมดที่ดีที่สุด โดย
สามารถบาบัดสารอินทรีย์คาร์บอนและ ไนโตรเจนทั้งหมด
คิดเป็ นร้อยละ 66.2 และ 39.7 ตามลาดับและนอกจากนี้
ผลการทดลองยังแสดงให้เห็นถึงการเกิดกระบวนการไน
ตริฟเิ คชันและดีไนตริฟเิ คชันขึ้นในระบบบาบัดนําเสียที่
จาลองขึ้นโดยใช้ข้อมูลการ เปลี่ยนแปลงสารอินทรีย์
คาร์บอนและไนโตรเจนในระบบบาบัดเป็ นตัวชี้วด ั
เทคโนโลยีนจ
ี้ ะเกิดประโยชน์ต่อภาคส่วนต่าง ๆ อย่างไร?

● เทคโนโลยีนจี้ ะช่วยขับเคลือ ่ นระบบอุสาหกรรมให้มีประสิทธิภาพยิง


่ ขึน

ในการศึกษาประสิทธิภาพของระบบบาบัดนําเสียในการกาจัดสารอินทรีย์คาร์บอนและ
ไนโตรเจน
● สามารถเป็ นนวัตกรรมทางเลือกได้ในอนาคต
● ช่วยผลักดันเทคโนโลยีสีเขียวในดารแก้ไขปั ญหาการปล่อยนําเสียที่มีการปนเปื้ อนธาตุอาหาร
จากโรงงานอุตสาหกรรมหรือการเกษตรโดยไม่ผ่านการกาจัดในมาตรฐานที่กฎหมายกาหนด
ธาตุอาหารซึง ่ เหล่านัน
้ คือ ไนโตรเจน สารไนโตรเจน
การนาไปประยุกต์ใช้ในโลกปัจจุบัน

น้ิยมใน้สหรัฐอเมริกาและประเทศใน้กลุ่มยุโรป

- DC Water" โรงบาบัดน้าเสียครบวงจรใหญ่ที่สุดใน
โลก ในกรุงวอชิงตัน
การบําบัดน้ําเสียแบบธรรมชาติ
โดยระบบบึงประดิษฐ์
Constructed Wetland for Wastewater Treatment
การบาบัดนําเสียแบบระบบบึงประดิษฐ์อาศัย วิธีการ
เลียนแบบธรรมชาติโดยอาศัยกระบวนการทางธรรมชาติ
ผสมผสานกับการปลูกพืชซึง ่ มีลักษณะคล้ายกับพื้นทีช่ ุ่ม
นํา ซึง
่ ทาให้เป็ นระบบทีส
่ ามารถบาบัดนําเสียทีม
่ ีค่าการ
ปนเปื้ อนของของเสียได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ข้อดี ข้อเสีย
-ค่าก่อสร้างไม่แพงเมือ
่ เทียบกับระบบบาบัด - ความเป็ นพิษของสารเคมีเช่น แอมโมเนีย
ชนิดอืน
่ ๆ และสาร กาจัดแมลง อาจจะมีต่อระบบบาบัด
-ค่าดาเนินงานและการควบคุมดูแลระบบ - ประสิทธิภาพในการบาบัดอาจจะน้อยกว่า
ค่อนข้างตํา ระบบบาบัดนําเสียทั่วๆไปเพราะยังต้องขึน ้ อยู
-การดาเนินงานและการดูแลระบบเป็ นไปตาม กับฤดูกาล การเปลีย ่ นแปลงของ
ระยะเวลาต่างจากระบบอืน ่ ๆ สิง
่ แวดล้อมในบึง รวมทัง ้ อัตราการตกของ
-ระบบมีเสถียรภาพแม้ว่าสภาวะแวดล้อมจะ ฝนและระยะเวลาแห้งแล้ง เมือ ่ คิดเปนอัตรา
เปลีย
่ นไป เฉลีย ่ ต่อปี
-สภาพแวดล้อมเป็ นทีอ่ ยู่อาศัยและแหล่ง -ต้องใช้พื้นทีม่ ากกว่าระบบบาบัดนําเสีย
อาหารของสัตว์ชนิดต่างๆ ไม่มีผลกระทบต่อ ทัว่ ๆไปจึงมีผลต่องบประมาณในการจัดซือ ้
ชุมชน ทีด ่ ิน
เทคโนโลยีนจ
ี้ ะเกิดประโยชน์ต่อภาคส่วนต่าง ๆ อย่างไร?

● เทคโนโลยีนจ
ี้ ะช่วยขับเคลือ
่ นระบบเกษตรกรรมในระดับชุมชนให้มีประสิทธิภาพ
● การลดค่าใช้จ่ายและง่ายในการควบคุมระบบไม่ต้องอาศัยผู้เชีย
่ วชาญเฉพาะด้านใน
การบาบัดนําเสีย
● เหมาะกับสภาพเศรษฐกิจในปั จจุบัน
● การใช้บึงประดิษฐจึงเป็ นทางเลือกในการบาบัดนําเสียจากบ้านเรือนหรือชุมชน
ซึง
่ นอกจากจะลดการปล่อยนําเสียลงสู่แหล่งนําธรรมชาติแล้วยังเป็ นการนานําเสีย
กลับมาใช้ประโยชน์ได้อีกอีกด้วย
การนาไปประยุกต์ใช้ในโลกปัจจุบัน

น้ิยมใน้ประเทศไทย

- เทศบาลเมืองสกลนคร ได้สร้างระบบบึง
ประดิษฐ์เพื่อรับนําหลังบาบัดจากระบบบ่อปรับ
เสถียร (Stabilization Pond) โดยมีขนาด
ของระบบสามารถรองรับนําเสียได้ 16,200
ลูกบาศก์เมตร/วัน โดยใช้พื้นทีใ่ นการก่อสร้าง
ระบบบึงประดิษฐ์ 184.5 ไร่

- เทศบาลนครหาดใหญ่ ได้สร้างระบบบึงประดิษฐ์
เพื่อรับนําหลังบาบัดจากระบบบ่อปรับเสถียร
โดยมีขนาดของระบบสามารถรองนําเสียได้
138,600 ลูกบาศก์เมตร/วัน ใช้พื้นทีใ่ นการ
ก่อสร้างระบบบึงประดิษฐ์ 515 ไร่
การบําบัดน้ํ้าเสียชุมชน้โดยใช้
เครื่องกรองผสมชัน้ ้ ตัวกลาง
หลายชน้ิด
Domestic wastewater treatment using multiple layer media
filter
ถังกรองไร้อากาศ
(Anaerobic filter)
- กระบวนการบาบัดน้าเสียแบบไม่ใช้ออกซิเจน
- ลักษณะของถังกรองเป็ นแบบปิด
- ใช้ตัวกลางจากธรรมชาติเช่น หิน กรวด
ข้อดี
- ผลิตก๊าสมีเทนทีส
่ ามารถนาไปใช้เป็ นเชือ
้ เพลิงได้
- ไม่ต้องมีการแยกตะกอนแบคทีเรีย
- ต้องการธาติอาหารน้อยกว่าแบบใช้ออกซิเจน
ข้อเสีย
- มีปัญหาเรือ
่ งกลิน

- กาจัดไนโตรเจนกับฟอสฟอรัสได้น้อย
- ไม่เหมาะกับการกรองน้าทีม
่ ีตะกอนแขวลอยสูง
เพราะอาจจะอุดตันได้
ถังกรองชีวภาพเติมอากาศ
(Biological Aerated filter)

- บาบัดน้าเสียโดยอาศัยจุลชีพบนฟิลม์ชีวภาพ
- ใช้อากาศช่วยจุลชีพในระบบย่อยสลายสารอินทรีย์
- แบคทีเรียย่อยสลายสารอินทรีย์เพื่อเติบโตและย่อย
แบคทีเรียทีต
่ ายแล้ว
- การกรองชัน ้ นอกอาศัยออกซิเจนส่วนชั้นในไม่อาศัย
ออกซิเจน
เทคโนโลยีนจ
ี้ ะเกิดประโยชน์ต่อภาคส่วนต่าง ๆ อย่างไร?

● เทคโนโลยีนจ ี้ ะช่วยขับเคลือ
่ นระบบเกตรกรรมให้มีประสิทธิภาพและความหลากหลายเพิ่มขึน ้
● สามารถเป็ นนวัตกรรมทีส ่ ามารถทาได้ในครอบครัว และปรับตัวเข้ากับสภาวะต่างๆได้ง่าย
● วัสดุในการบาบัดเป็ นเศษขวดพลาสติก เศษไม้ เศษคอนกรีต เศษเปลือกหอย และถ่านไม้ ซึง ่
่ าบัดน้าเสียทางชีวภาพได้จริงและมีประสิทธิภาพ
ส่วนใหญ่เป็ นเศษวัสดุเหลือใช้หาได้ง่าย ทีบ
การนาไปประยุกต์ใช้ในโลกปัจจุบัน

สามารถน้ําไปประยุกต์ใน้ครัวเรือน้ได้
งาน้วิจัยและแหล่งอ้างอิง
- งานวิจัยเรื่อง
Untitled - CUIR - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
https://cuir.car.chula.ac.th/dspace/bitstream/12345679/58894/3/saritorn_am_ch2.pd
f

- การบาบัดน้าเสียแบบธรรมชาติโดยระบบบึงประดิษฐ์
http://ejsu.siam.edu/journals/PDF_22/03.pdf

- การบาบัดน้าเสียแบบฟิล์มชีวะภาพ
http://www.agi.nu.ac.th/nred/Document/is-PDF/2556/nre_2556_011_FullPaper.pdf

You might also like